หลักสูตรโรงเรียนชุมชนบ้านมาย
รายวิชาเพิ่มเติมคอมพิวเตอร์
ปีการศึกษา 2565
โดย นายจีรวุฒิ คล่องแคล่ว
ครู โรงเรียนชุมชนบ้านมาย
1
คำนำ
รายวิชาเพม่ิ เตมิ คอมพวิ เตอร์ เป็นหนึ่งในหลักสูตรโรงเรียนชุมชนบา้ นมาย สังกดั สานักงานเขตพนื้ ที่
การศึกษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต 3 ท่ีพัฒนาข้ึนจากความตอ้ งการของผู้ท่ีมีสว่ นเกี่ยวข้องในการจดั การ
ศึกษาใหก้ บั โรงเรยี น โดยมเี ป้าหมายเพื่อส่งเสริมผูเ้ รียนใหม้ ีพน้ื ฐานทางดา้ นคอมพิวเตอรไ์ ด้เรียนรแู้ ละพัฒนา
ตนเองให้ถงึ ศักยภาพสงู สุด ซึ่งอาจทาให้สามารถใช้เป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพได้ หลกั สตู รนเี้ ปน็ ฉบบั ท่ี
สรา้ งขึน้ เพ่ือบรรจุไวใ้ นหลักสูตรโรงเรียนชมุ ชนบา้ นมาย ปกี ารศึกษา 2565 (หลกั สูตรปรับปรุง ปกี ารศึกษา
2562) ซ่ึงได้มกี ารใส่คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในหลักสูตรและมีการใชค้ าศัพท์พ้นื ฐานให้สอดคลอ้ งกบั สภาพ
ปัจจุบัน เป็นตน้ ซง่ึ หวงั ว่าหลักสูตรนีจ้ ะสามารถตอบสนองตอ่ ความต้องการของผเู้ รียน
นายจีรวุฒิ คลอ่ งแคลว่
พฤษภาคม 2565
สำรบญั 2
เรือ่ ง หน้ำ
1. วสิ ัยทัศน์ 1
2. หลกั การ 1
3. จดุ หมาย 1
4 .สมรรถนะและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผู้เรยี น 1
5. คณุ ภาพของผู้เรียน (ทเี่ พม่ิ จากหลกั สูตรแกนกลาง) 3
6. เงอ่ื นไขการนาหลักสตู รไป 3
7. คาอธบิ ายรายวชิ า 5
8. โครงสรา้ งรายวชิ า 20
9. บรรณานกุ รม 26
1
รำยวชิ ำเพมิ่ เติมคอมพิวเตอร์ กลุ่มสำระกำรเรยี นร้วู ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
หลกั สตู รโรงเรยี นชุมชนบ้ำนมำย
วิสัยทศั น์
หลกั สูตรโรงเรียนชุมชนบา้ นมาย รายวชิ าเพ่ิมเติมคอมพวิ เตอร์ มงุ่ พฒั นาขีดความสามารถของผ้เู รียน
ให้มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับการประยุกต์ใช้คอมพวิ เตอร์ในชีวติ ประจาวัน มที กั ษะขน้ั สูงในการใชแ้ ละ
ประยุกต์ใช้คอมพวิ เตอร์อย่างสร้างสรรค์ เพอื่ การศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ อย่างมีคุณธรรมและ
จรยิ ธรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
หลกั กำร
หลักสูตรโรงเรยี นชุมชนบ้านมาย รายวชิ าเพิ่มเตมิ คอมพิวเตอร์ มหี ลกั การที่สาคญั ดงั น้ี
1. เป็นหลกั สตู รการศึกษาที่มุ่งส่งเสรมิ ผเู้ รียนสู่ความเปน็ เลิศทางด้านคอมพิวเตอร์ มจี ดุ หมายและ
มาตรฐานการเรยี นรู้เปน็ เปา้ หมาย สาหรับพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีความรู้ มที ักษะขน้ั สงู มีเจตคติทีด่ ตี อ่ การใช้
คอมพิวเตอร์และมีคุณธรรมจรยิ ธรรม
2. เปน็ หลักสตู รการศกึ ษาท่ีมุ่งสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนมคี ุณธรรม จริยธรรมและความเป็นผู้นาในการพฒั นา
นวตั กรรมด้านคอมพิวเตอร์
3. เป็นหลักสตู รการศึกษาท่ีมุ่งส่งเสริมให้ผเู้ รยี นท่ีมีความสนใจและความถนัดทางด้านคอมพิวเตอร์
ให้มคี วามรู้และทักษะข้นั สงู เพ่อื การศึกษาต่อและประกอบอาชพี ตามความสนใจและความถนัด โดยน้อมนา
หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปรบั ใชใ้ ห้เหมาะสม
4. เป็นหลกั สูตรการศึกษาทีเ่ น้นการมสี ว่ นร่วมในการจดั การศึกษาให้สอดคล้องกบั สภาพและความ
ตอ้ งการของโรงเรยี นและชุมชน
จุดหมำย
หลักสูตรโรงเรียนชมุ ชนบา้ นมาย รายวิชาเพิ่มเติมคอมพิวเตอร์ มงุ่ พฒั นาผู้เรยี นให้เปน็ คนที่มี
ความสามารถทางดา้ นคอมพิวเตอร์ มปี ญั ญา มีความสขุ มีศักยภาพในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพ
เก่ียวกับคอมพิวเตอร์ จึงกาหนดเปน็ จุดหมายเพื่อใหเ้ กิดกบั ผเู้ รยี น เมื่อจบหลกั สูตร ดังนี้
1. ผูเ้ รียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์
2. ผูเ้ รยี นมีความสามารถและทักษะข้ันสงู ในการประยกุ ต์ใชค้ อมพิวเตอร์อย่างสร้างสรรค์ เพื่อ
การศกึ ษาต่อและประกอบอาชีพ
3. ผเู้ รียนมีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในการประยุกต์ใช้คอมพวิ เตอร์ เพ่ือการศกึ ษาต่อและประกอบ
อาชพี
สมรรถนะและคุณลกั ษณะอันทป่ี ระสงคข์ องผูเ้ รยี น
สมรรถนะของผเู้ รียน
หลกั สูตรโรงเรียนชมุ ชนบ้านมาย รายวชิ าเพิ่มเตมิ คอมพิวเตอร์ มงุ่ ใหผ้ ูเ้ รียนเกิดสมรรถนะสาคญั
6 ประการ ดงั น้ี
2
1. ความสามารถในการสอื่ สาร เปน็ ความสามารถในการรบั และส่งสาร นาเสนอผลงานที่สร้างขน้ึ
มวี ัฒนธรรมในการใช้ภาษาถา่ ยทอดความคดิ ความรู้ ความเข้าใจ ความรสู้ ึก และทัศนะของตนเอง เพือ่ แลกเปลยี่ น
ขอ้ มูลขา่ วสารและประสบการณ์อันจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาความสามารถทางด้านคอมพิวเตอร์ รวมทง้ั การ
สอื่ สารเพ่ือขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรอื ไมร่ ับข้อมูลขา่ วสารดว้ ยหลกั เหตผุ ลและความ
ถกู ตอ้ งตลอดจนการเลอื กใชว้ ธิ กี ารส่อื สารที่มีประสทิ ธิภาพ
2. ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์
การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพือ่ นาไปสกู่ ารสรา้ งองค์ความรู้ สร้างสรรค์ชนิ้ งานหรอื สารสนเทศ
เพ่อื การตดั สินใจและการวางแผนในการใช้คอมพิวเตอรไ์ ด้อยา่ งเหมาะสม
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา เปน็ ความสามารถในการแก้ปญั หาและอปุ สรรคต่างๆ ที่เผชญิ ได้อย่าง
สร้างสรรคแ์ ละถูกต้องเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลกั เหตุผล คณุ ธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจความสมั พนั ธ์และ
ปจั จยั ตา่ งๆ ทม่ี ีผลตอ่ การใช้คอมพวิ เตอร์ แสวงหาความรู้ ประยุกตใ์ ช้ความรใู้ นการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาท่ีเกดิ ขน้ึ มี
การตดั สินใจอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ ต่อศักยภาพในการประยุกต์ใชค้ อมพวิ เตอร์
4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการตา่ งๆ จากการฝกึ ปฏบิ ตั ิ
ทางดา้ นคอมพิวเตอร์ ไปใชใ้ นการดาเนินชีวติ ประจาวนั การเรยี นร้ดู ้วยตนเอง การเรยี นร้อู ย่างตอ่ เนอ่ื ง การทางาน
และการอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมดว้ ยการสรา้ งเสริมความสมั พันธ์อันดรี ะหว่างบุคคล การจดั การปัญหาและความขดั แยง้
ตา่ งๆ อย่างเหมาะสม การปรบั ตวั ให้ทันกับการเปลยี่ นแปลงทางสงั คมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จกั หลกี เล่ยี ง
พฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงคท์ สี่ ่งผลกระทบต่อการใช้คอมพิวเตอร์
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือกและใชเ้ ทคโนโลยีดา้ นตา่ งๆ และ มีทักษะ
กระบวนการทางเทคโนโลยี เพอ่ื การพัฒนาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรยี นรู้ การสอื่ สาร การทางาน การแก้ปัญหา
อยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสม และมีคณุ ธรรม
6. ความสามารถในดา้ นคอมพวิ เตอร์ เปน็ ความสามารถในการใชค้ อมพิวเตอรใ์ นด้านซอฟตแ์ วร์ ฮารด์ แวร์
และมที ักษะขน้ั สงู ในการประยุกต์ใช้คอมพวิ เตอรอ์ ย่างสร้างสรรค์ เพอื่ การประกอบทางานและอาชีพ มเี จตคติท่ดี ตี อ่
การใช้คอมพิวเตอร์ ใชค้ อมพวิ เตอร์อย่างมีคณุ ธรรมและจริยธรรม
คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผเู้ รียน
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ซอื่ สัตย์ สจุ ริต ใชค้ อมพิวเตอร์อยา่ งมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม
3. มวี นิ ยั ในการทางานและการฝกึ ฝนดา้ นคอมพิวเตอร์
4. ใฝ่เรียนรู้ในการใชค้ อมพวิ เตอร์
5. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง
6. มงุ่ มน่ั ในการทางานและพฒั นาตนเองสคู่ วามเปน็ เลิศดา้ นคอมพวิ เตอร์
7. รกั ความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
9. มีการเคารพสิทธิทางปญั ญาด้านคอมพิวเตอร์
10. มคี วามสามารถในการแสวงหาความรแู้ ละสบื คน้ ข้อมลู
3
คณุ ภำพของผูเ้ รียน ( ท่เี พิม่ จำกหลักสตู รแกนกลำง )
ชั้นมธั ยมศกึ ษำปีที่ 1
ผูเ้ รียนสามารถใชค้ อมพวิ เตอรพ์ ้นื ฐานได้เปน็ อย่างดี ใชซ้ อฟตแ์ วร์ประยุกต์ในการสรา้ งสรรค์งาน เพื่อ
การทางานหรือการเรยี นรู้ในสาขาวชิ าอนื่ ได้ สามารถผลิตส่ือเอกสาร ส่ิงพมิ พ์ และสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ โดยการ
ประยุกต์ใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรูป เพ่อื การตอ่ ยอดในการทางานและประกอบอาชีพ อยา่ งมคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 2
ผ้เู รยี นมคี วามสามารถในการประยกุ ตใ์ ช้โปรแกรมสาเร็จรูปต่างๆ เพื่อการเรียนและประกอบอาชีพ
สามารถออกแบบชิ้นงานขัน้ สูงข้ึน โดยผ่านกระบวนการวางแผน การลงมอื ปฏิบัติ สามารถแกป้ ัญหาด้วย
เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ โดยใช้คอมพวิ เตอรใ์ นการสร้างสรรค์และนาเสนอผลงานหรอื โครงงานได้อย่างมือ
อาชีพ มีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 3
ผูเ้ รียนมคี วามสามารถในการประยุกตใ์ ช้คอมพิวเตอร์ได้อย่างคล่องแคล่ว มีความรู้ความสามารถ
เกี่ยวกบั การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์พ้นื ฐาน นาเสนอ เผยแพร่ เพื่อพัฒนาผลงานตนเองได้อย่าง
เหมาะสมและใชค้ อมพวิ เตอร์สร้างสรรคช์ ิ้นงานไดต้ ามจนิ ตนาการ สามารถแก้ปญั หาและซอ่ มบารุงรักษา
คอมพิวเตอร์ รวมถงึ การติดต้ังซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์และการบารงุ รักษา เครื่องคอมพิวเตอร์ มจี ติ สานึกและ
มีสว่ นรว่ มรบั ผิดชอบต่อการใช้งานคอมพิวเตอร์
เง่ือนไขในกำรใช้หลกั สตู ร
เพอ่ื ให้การใชห้ ลกั สตู รสาระเพ่ิมเตมิ คอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพสูงสุดในการพฒั นาศักยภาพสู่ความ
เปน็ เลศิ ของผเู้ รยี น จึงมเี ง่ือนไขในการนาหลักสูตรไปใช้ ดงั นี้
1. โรงเรียนตอ้ งมีห้องปฏิบตั กิ ารและวัสดุอุปกรณ์ในการเรยี นรู้คอมพวิ เตอร์ที่เพียงพอ อย่างน้อย 1
คนต่อหน่ึงเครอ่ื งและมหี อ้ งปฏบิ ัตกิ ารทเ่ี หมาะสม ท้ังห้องปฏบิ ตั ิการด้านซอฟต์แวรแ์ ละปฏิบตั กิ ารดา้ น
ฮาร์ดแวร์ มีระบบอนิ เทอรเ์ น็ตที่เพียงพอ
2. โรงเรยี นต้องมคี รทู สี่ อนคอมพวิ เตอร์ที่สาเรจ็ การศึกษาด้านคอมพวิ เตอร์โดยตรงหรือมีความรู้
ความสามารถในสาขาท่สี อน รวมถึงโรงเรียนควรให้ครูผ้สู อนพฒั นาโดยการไปอบรมปฏิบัติการในวิชาหรอื
สาขาทีส่ อนอย่างสม่าเสมอ เน่อื งจากความรูด้ า้ นเทคโนโลยีมกี ารเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็ และควรมจี านวนครู
คอมพวิ เตอรต์ ่อนักเรียนในหลักสตู รทพี่ อเพยี งในการดูแลและให้คาแนะนาในการเรียนรู้ของผเู้ รยี น ในสดั ส่วน
ครูสอนคอมพิวเตอร์ 1 คน ต่อนักเรียน 10-20 คน
3. โรงเรียนตอ้ งมีกิจกรรมท่ชี ่วยส่งเสรมิ ให้เกดิ การพฒั นาทักษะขัน้ สงู รวมถงึ ความสนใจของผ้เู รยี น
เช่น การจัดประกวดแข่งขนั การจดั นิทรรศการด้านคอมพวิ เตอร์ เป็นตน้
4
4. ผ้ปู กครองควรเหน็ ความสาคัญและสนับสนุนอย่างจริงจงั การเรียนหลกั สูตรคอมพวิ เตอรข์ องบุตร
หลาน เน่ืองจากทักษะทางคอมพิวเตอรเ์ ปน็ ทกั ษะท่ีตอ้ งฝกึ ฝนและปฏิบัตเิ ปน็ ประจา และต่อยอดจากสิง่ ที่
เรียนรใู้ นห้องเรยี น
5. โรงเรียนตอ้ งจดั แสดงผลงาน หรือจดั ค่ายเพื่อสง่ เสริมความเป็นเลิศทางคอมพิวเตอร์ รวมถงึ จัด
กจิ กรรมพิเศษเพื่อใหผ้ ้เู รียนปฏิบตั กิ ิจกรรม แสดงความสามารถในทางสร้างสรรค์ เชน่ ชมรมแกป้ ัญหา
คอมพิวเตอร์ สาหรบั คนท่ัวไปในโรงเรียนหรอื ชุมชน เปน็ ตน้ โดยดาเนนิ แสดงผลงาน หรือจดั คา่ ยคอมพิวเตอร์
อย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 ครัง้
6. โรงเรียนหรือหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งต้องจัดซื้อซอฟต์แวร์ท่ถี กู ต้องตามกฎหมายเพ่อื ใชใ้ นการเรียนใน
หลกั สูตรและส่งเสรมิ คุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนในการใชข้ องท่ีถกู ต้องตามลิขสิทธ์ิ
7. เนื้อหาท่ีกาหนดไวใ้ นระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ในโครงสรา้ งหลักสูตรมี 3 หน่วย
การเรยี น ซ่ึงค่อนขา้ งมาก ดังน้นั ให้โรงเรยี นเลอื กสอน 2 ใน 3 หนว่ ยการเรียน โดยเลือกตามจุดเน้นและความ
พร้อมของโรงเรียน
5
คำอธบิ ำยรำยวิชำเพิ่มเติม
กลมุ่ สำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี รำยวิชำ ว 21201 คอมพวิ เตอร์ 1
ชั้นมธั ยมศกึ ษำปที ี่ 1 ภำคเรียนที่ 1 เวลำ 20 ชวั่ โมง 0.5 หน่วยกติ
ศกึ ษาประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกตแ์ ละหลกั การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอรป์ ระเภทตา่ งๆ เช่น
โปรแกรมเอกสาร โปรแกรมตาราง/ขอ้ มูลทางาน โปรแกรมนาเสนองานและโปรแกรมอ่ืนๆ
โดยใช้การปฏิบตั ิสร้างชิ้นงานจากการใชง้ านซอฟตแ์ วรป์ ระยุกต์ ออกแบบเอกสารและการจดั ทา
เอกสารในสานักงานอยา่ งมืออาชีพ จดั กระทาข้อมลู ระดับสงู และสร้างงานนาเสนออย่างมืออาชพี ตลอดจน
สามารถประยุกตโ์ ปรแกรมต่างๆ มาชว่ ยเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการทางาน ในรปู แบบที่เหมะสมกับลักษณะงาน
โดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม กระบวนการสบื คน้ กระบวนการออกแบบ กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอดและ
การสร้างสรรค์ผลงานเปน็ สากล รวมถงึ การฝกึ ปฏิบตั ิอยา่ งเขม้ เพื่อเปน็ พนื้ ฐานในการศึกษาต่อและการ
ประกอบอาชีพ
เพ่ือพัฒนาผเู้ รียนให้เข้าใจและเหน็ คุณคา่ ของซอฟต์แวร์ สามารถจัดทาชิ้นงานจากซอฟต์แวร์ประยกุ ต์
มคี วามรบั ผดิ ชอบ มวี นิ ยั ใฝเ่ รียนรแู้ ละมีความม่งุ มนั่ ในการทางาน ประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวันได้อย่างมี
จิตสานึกและรบั ผิดชอบ สามารถติดต่อสื่อสาร คิดแก้ปัญหา นาชนิ้ งานเผยแพร่ส่สู าธารณะชนได้อยา่ งมี
คุณธรรมและจรยิ ธรรม
ผลกำรเรยี นรู้
1. ผเู้ รียนอธิบายความหมายและความสาคญั เกยี่ วกับซอฟต์แวรป์ ระยุกตต์ า่ งๆ
2. ผเู้ รียนปฏบิ ตั กิ ารออกแบบและสร้างสรรคผ์ ลงานขั้นสงู จากโปรแกรมสรา้ งงานเอกสาร อย่างมี
คณุ ธรรมโดยไมล่ อกเลียนผลงานของคนอืน่
3. ผเู้ รียนปฏิบตั ิการออกแบบและจดั การข้อมูลงานจากโปรแกรมตาราง/ข้อมูลทางาน
4. ผู้เรยี นปฏิบตั กิ ารออกแบบและสร้างสรรค์งานนาเสนอข้ันสงู จากโปรแกรมนาเสนอ อยา่ งมี
คณุ ธรรมโดยไม่ลอกเลยี นผลงานของคนอ่ืน
กิจกรรมกำรเรยี นรู้
1. นกั เรยี นใชก้ ระบวนการสบื เสาะความรเู้ กยี่ วกับซอฟต์แวร์ประยุกต์และประเภทของซอฟต์แวร์
2. นกั เรียนศกึ ษาวิธกี ารใชโ้ ปรแกรมประยกุ ต์ การใชแ้ ถบเครอ่ื งมือตา่ งๆ จากการสาธติ ของครู
กระบวนการกลุ่ม ศึกษาจากใบความรู้และส่ือต่างๆ
3. ใหน้ ักเรียนฝกึ ปฏบิ ัติการใช้โปรแกรมประยุกต์ข้นั สงู
4. ประเมินทกั ษะการใช้โปรแกรม
5. นักเรยี นสร้างสรรค์ชนิ้ งานขน้ั สงู โดยใช้โปรแกรมโปรแกรมสรา้ งงานเอกสาร โปรแกรมตาราง/ข้อมลู
ทางานและโปรแกรมนาเสนองาน โดยเน้นให้นักเรยี นสร้างช้ินงานทเ่ี ป็นสากล โดยใช้ภาษาอังกฤษ
6. นักเรยี นแลกเปล่ยี นเรยี นรู้และใหน้ กั เรียนกล่มุ เรยี นเกง่ ช่วยสอนกลุ่มนกั เรียนทีเ่ รียนอ่อน
6
กำรวัดและประเมินผล
1. การประเมินแผนผงั ความคิดหรอื การสร้างความคดิ รวบยอดของนกั เรียน
2. การทดสอบประจาหนว่ ยการเรียนรู้
3. การสงั เกตทักษะการใช้โปรแกรม
4. การประเมนิ ช้นิ งาน เช่น จดหมาย ใบประกาศ แผน่ พบั จดหมายเวียน ปกรายงาน/หนังสือ
งานนาเสนอขัน้ สูง งานโปรแกรมคานวณ การทาบญั ชี เปน็ ต้น
5. การประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้
ภำระงำนทนี่ ักเรยี นปฏิบัติ
1. ทาแผนผงั มโนทศั นเ์ ก่ยี วกับความรเู้ กี่ยวกบั ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์และประเภทซอฟตแ์ วรป์ ระยุกต์
2. ทดสอบประจาหน่วยการเรยี นรู้
3. สร้างสรรค์ชนิ้ งาน เชน่ จดหมาย ใบประกาศ แผ่นพับ จดหมายเวยี น ปกรายงาน/หนังสอื
งานนาเสนอข้ันสงู งานโปรแกรมคานวณ เปน็ ต้น
4. ทาใบงาน
สือ่ /อปุ กรณ์/แหล่งเรยี นรู้
1. หอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์
2. หนังสอื ความร้เู กี่ยวกบั เร่ือง Microsoft Office 2010
3. ใบงาน
4. ใบความรู้ เกี่ยวกับการใชโ้ ปรแกรมประยุกต์ต่างๆ
5. สื่ออนิ เทอร์เน็ต เรอื่ งการใช้โปรแกรมประยุกต์ตา่ งๆ เช่น http://www.oho888.com/word.htm
6. ส่ืออินเทอรเ์ น็ตทส่ี อนการใชโ้ ปรแกรมจากเวบ็ ไซต์ youtube
หมำยเหตุ เน่อื งจากเนื้อหามีคอ่ นข้างมาก ดงั นน้ั ให้โรงเรียนเลือกสอน 2 ใน 3 โปรแกรม ตามเนื้อหา
ตามจดุ เนน้ วา่ ต้องการเนน้ ให้นักเรียนไปใชด้ า้ นใด ซึง่ ประกอบดว้ ย การใชโ้ ปรแกรมประมวลคาขน้ั สงู
การใช้โปรแกรมตาราง/คานวณข้ันสงู และการใช้โปรแกรมนาเสนองานขั้นสูง
7
กลมุ่ สำระกำรเรียนรูว้ ิทยำศำสตร์ฯ คำอธบิ ำยรำยวิชำเพิ่มเตมิ
ช้นั มัธยมศกึ ษำปีที่ 1 รำยวิชำ ว 21202 คอมพิวเตอร์ 2
ภำคเรยี นท่ี 2 เวลำ 20 ชัว่ โมง 0.5 หน่วยกติ
ศึกษาเก่ยี วกบั กระบวนการผลติ สื่อสงิ่ พมิ พ์ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ วิธกี ารออกแบบส่งิ พิมพ์ การใช้อุปกรณ์ท่ี
เกี่ยวขอ้ ง การใช้เคร่ืองมือและคาสัง่ การผลิตส่ือสิ่งพิมพ์ในโปรแกรมผลิตสือ่ ส่ิงพมิ พ์
โดยการปฏิบัติสร้างส่ือสิ่งพิมพต์ ้งั แต่การใช้เครื่องมือ การจัดข้อความ ภาพและวตั ถุ รวมถึงเอกสาร
ส่งิ พิมพ์ประเภทต่างๆ และอเิ ลก็ ทรอนิกสไ์ ด้อย่างชานาญ การถ่ายทอดความคิดส่ผู า่ นการออกแบบและ
สรา้ งสรรคผ์ ลงาน ใช้ซอฟต์แวรส์ รา้ งสรรค์งานสอื่ สิ่งพมิ พ์และหนังสืออิเล็กทรอนิกส์อย่างเปน็ สากล โดยใช้
จินตนาการตามความคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์
เพอ่ื ใหพ้ ัฒนาผเู้ รยี นให้มคี วามสามารถออกแบบส่อื ส่งิ พมิ พ์แบบตา่ งๆ และหนังสืออิเล็กทรอนิกสไ์ ด้
อยา่ งมืออาชีพ เผยแพร่สูส่ าธารณะชนได้อย่างมคี ุณธรรมและจริยธรรม
ผลกำรเรยี นรู้
1. ผเู้ รยี นอธิบายกระบวนการผลติ สื่อสิ่งพิมพด์ ว้ ยคอมพวิ เตอร์
2. ผู้เรยี นใช้โปรแกรมผลิตส่อื สง่ิ พมิ พไ์ ด้อย่างชานาญ
3. ผเู้ รียนเลอื กใช้โปรแกรมออกแบบสิง่ พิมพ์ใหต้ รงกับวตั ถปุ ระสงคข์ องงาน
4. ผเู้ รยี นปฏบิ ัติการสรา้ งสื่อสิ่งพมิ พป์ ระเภทต่างๆ อยา่ งสากลและมีคุณธรรมโดยไมล่ อกเลยี นผลงาน
ของคนอ่ืน
5. ผ้เู รยี นใชโ้ ปรแกรมผลิตหนังสอื อิเล็กทรอนิกส์
6. ผเู้ รยี นสร้างช้นิ งานที่เปน็ สากลดว้ ยโปรแกรมทาหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ อย่างมีคุณธรรมโดยไมล่ อก
เลียนผลงานของคนอืน่
7. ผู้เรยี นนาเสนอส่อื ที่ผลิตข้ึนได้อย่างเหมาะสม
กจิ กรรมกำรเรยี นรู้
1. นักเรยี นใช้กระบวนการสบื เสาะความรเู้ กยี่ วกับกระบวนการผลิตส่ือสงิ่ พิมพด์ ้วยคอมพิวเตอร์
2. นกั เรยี นศกึ ษาวธิ กี ารใช้โปรแกรมประเภทต่างๆ ในการผลติ ส่ือสิง่ พิมพ์ ได้แก่ ทาความรจู้ ักกบั
โปรแกรม การทางานกับเครื่องมือ การจัดการข้อความ การจัดการรปู ภาพ การจดั การกับหนา้ ส่ิงพมิ พ์ ฯลฯ
3. ให้นกั เรียนฝกึ ปฏบิ ตั ิการใช้โปรแกรมสื่อสิง่ พิมพ์ ได้แก่ การทาโปสเตอร์ แผ่นพบั ป้ายโฆษณา
ปา้ ยหาเสียง รายการเมนใู นร้านคา้ ตา่ งๆ
4. นกั เรียนฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารใช้โปรแกรมในการออกแบบส่ิงพิมพต์ ามใบงานจนเกิดความชานาญ
5. ประเมินความรูแ้ ละทักษะการใช้โปรแกรม
6. นักเรียนกลุม่ เรยี นเก่งช่วยสอนกล่มุ นักเรยี นทเี่ รียนอ่อน
8
7. นกั เรียนปฏบิ ัติการสร้างสรรคส์ ่ิงพิมพ์ ประกอบด้วย ปกหนังสือ ปา้ ยโฆษณา ลายสกรนี เสอ้ื
นามบตั ร โปสเตอร์ ใบปลวิ โดยครูเปน็ ผกู้ าหนดประเด็นหัวขอ้ ในการทาให้ เช่น ปกหนังสอื เรอ่ื ง
ภาวะโลกร้อน ใบปลวิ เรือ่ ง การประหยัดพลงั งาน ฯลฯ ท้งั ท่ีเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
8. นักเรียนศึกษาวิธกี ารใช้โปรแกรมสรา้ งหนังสืออิเล็กทรอนิกสจ์ ากใบความรู้ หนงั สือเรียน หรือสื่อ
จากอนิ เทอรเ์ นต็ และฝึกปฏิบัตจิ ากใบงาน
9. นกั เรียนปฏิบัติการสร้างสื่อหนังสืออิเล็กทรอนิกสต์ ามความคดิ และจนิ ตนาการ โดยบูรณาการกบั
วิชาอื่น
10. นาเสนอส่อื สง่ิ พิมพแ์ ละหนังสืออิเล็กทรอนิกสผ์ ่านรูปแบบตา่ งๆ เช่น ปา้ ยนิเทศ นทิ รรศการ หรอื
เครือข่ายออนไลน์
กำรวัดและประเมินผล
1. การประเมินแผนผังความคิดหรอื การสร้างความคดิ รวบยอดของนกั เรยี น
2. การทดสอบประจาหน่วยการเรียนรู้
3. การสังเกตทักษะการใช้โปรแกรม
4. การประเมินชิ้นงาน ประกอบด้วย ปกหนังสอื ป้ายโฆษณา ลายสกรนี เส้ือ นามบตั ร โปสเตอร์
ใบปลวิ โดยครูเป็นผ้กู าหนดประเด็นหัวขอ้ ในการทาให้ เชน่ ปกหนงั สอื เรื่อง ภาวะโลกร้อน ใบปลวิ เรอ่ื ง
การประหยดั พลงั งาน ฯลฯ และหนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์
5. การประเมินพฤติกรรมการเรยี นรู้
ภำระงำนท่นี กั เรยี นปฏิบัติ
1. ทาแผนผงั มโนทศั น์
2. ทดสอบประจาหนว่ ยการเรียนรู้
3. สรา้ งสรรค์ชิน้ งาน ประกอบดว้ ย ปกหนงั สือ ปา้ ยโฆษณา ลายสกรีนเสอ้ื นามบตั ร โปสเตอร์
ใบปลิว โดยครเู ป็นผู้กาหนดประเดน็ หัวข้อในการทาให้ เชน่ ปกหนังสือ เร่ือง ภาวะโลกร้อน ใบปลิว เรื่อง
การประหยัดพลงั งาน ฯลฯ และหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ท้งั ที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
4. ทาใบงาน
9
สอ่ื /อุปกรณ/์ แหลง่ เรยี นรู้
1. หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพิวเตอร์
2. หนงั สอื โปรแกรมผลิตสอ่ื ส่ิงพิมพ์ เชน่ รวมสดุ ฮติ โปรแกรมสรา้ งงานสิ่งพิมพบ์ น Windows เปน็ ต้น
3. ใบงาน
4. ใบความรู้
5. ส่อื อินเทอรเ์ น็ต เร่ืองการใชโ้ ปรแกรมประยกุ ตต์ ่างๆ เช่น
http://www.horhook.com/content/index.htm
http://www.oknation.net/blog/freeday888/2009/09/08/entry-1
10
กลมุ่ สำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตรฯ์ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำเพ่ิมเตมิ
ช้นั มัธยมศกึ ษำปที ่ี 2 รำยวิชำ ว 22201 คอมพวิ เตอร์ 3
ภำคเรยี นที่ 1 เวลำ 20 ชว่ั โมง 0.5 หน่วยกติ
ศกึ ษาเกี่ยวกับประวตั คิ วามเป็นมาของกราฟกิ คุณสมบัติของงานกราฟกิ บทบาทและความสาคัญของ
งานดา้ นกราฟิก กราฟิกกบั ชีวิตประจาวัน ความหมายและความเปน็ มาของการออกแบบกราฟิก ระบบ
คอมพวิ เตอรส์ าหรับงานกราฟิก การประยุกตง์ านการออกแบบกราฟิก อนาคตของการออกแบบกราฟิก สี
ทฤษฏีสกี บั การออกแบบงานกราฟิก โปรแกรมสาหรับงานกราฟิก เทคนิคการสรา้ งภาพกราฟิก การจัดเกบ็
แฟม้ ภาพกราฟกิ
โดยการปฏิบตั กิ ารออกแบบ และสรา้ งสรรคง์ านอยา่ งสากล โดยใช้ซอฟตแ์ วร์ดา้ นกราฟิก ใช้เครือ่ งมอื
และอปุ กรณต์ ่าง ๆ รวมถึงคาสงั่ ทส่ี าคัญในการออกแบบคอมพวิ เตอร์กราฟิก ในโปรแกรมกราฟิกได้อยา่ ง
ชานาญ การนาภาพจากแหล่งภาพตา่ งๆ มาสร้างสรรคง์ านกราฟิกให้มจี ินตนาการตามความคดิ รเิ ริม่ ทั้งยัง
ศกึ ษาหลักการออกแบบเทคนิคการใช้โปรแกรมการออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟกิ ได้จากเว็บไซตต์ ่างๆ
ปฏิบตั กิ ารออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิกด้วยโปรแกรมกราฟิก เพ่ือนามาประยกุ ต์ใช้ในการสรา้ งสรรค์งาน
ประเภทตา่ งๆ เพอื่ ให้พฒั นาผู้เรยี นสามารถใชซ้ อฟต์แวร์ดา้ นกราฟิกออกแบบและสรา้ งสรรค์ผลงานดา้ นศิลปะ
ไดอ้ ยา่ งมคี ุณธรรมและจริยธรรม
ผลกำรเรยี นรู้
1. ผู้เรียนอธบิ ายความหมายของการออกแบบกราฟิก และสรปุ เกีย่ วกบั ระบบคอมพวิ เตอร์สาหรับอ
งานกราฟิก
2. ผเู้ รียนอธิบายประวตั ิ คณุ สมบตั ิ บทบาทและความสาคญั ของงานกราฟิก
3. ผู้เรียนจาแนกทฤษฎีสี และหลักการเลือกใชส้ ใี นคอมพิวเตอร์สาหรับงานกราฟิก
4. ผู้เรียนวเิ คราะห์ประเภทของโปรแกรมกราฟิก ชนิดของภาพ และการจัดเก็บแฟ้มภาพกราฟิก
5. ผเู้ รียนปฏบิ ัติการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอรส์ าหรับงานกราฟิกอย่างชานาญ
6. ผู้เรียนปฏิบัตกิ ารออกแบบและสรา้ งงานกราฟิกโดยใชโ้ ปรแกรมสาหรบั งานกราฟิก
7. ผู้เรยี นสร้างสรรคผ์ ลงานกราฟกิ ประกอบดวั ย โปสเตอร์ แผน่ พับ ปา้ ยโฆษณา การ์ดแตง่ งาน
การด์ อวยพร ปกซีด/ี ดวี ดี ี การดัดแปลงและตกแตง่ ภาพถา่ ย และอื่นๆ ทั้งท่เี ปน็ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
อย่างมีคุณธรรมโดยไม่ลอกเลยี นผลงานของคนอน่ื
8. ผเู้ รียนทาโครงงานการสรา้ งสรรค์งานกราฟิก
กจิ กรรมกำรเรียนรู้
1. นักเรยี นใช้กระบวนการสืบเสาะ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสร้างสรรคค์ วามรูด้ ว้ ยตนเองเพ่ือ
สร้างความร้เู กี่ยวกบั ประวตั ิ คุณสมบตั ิ บทบาทและความสาคัญของงานกราฟิก ความหมายของการออกแบบ
กราฟิก ระบบคอมพิวเตอร์สาหรบั งานกราฟิกทฤษฎีสีและหลกั การเลือกใช้สใี นคอมพวิ เตอรส์ าหรบั งานกราฟกิ
11
2. นกั เรียนศึกษาวิธกี ารใชโ้ ปรแกรมประเภทตา่ งๆ ในการผลิตสอื่ สิ่งพิมพ์ ได้แก่ ทาความรูจ้ กั กับ
โปรแกรม การทางานกบั เครอ่ื งมอื การจดั การข้อความ การจัดการรปู ภาพ การจดั การกับหน้าสง่ิ พมิ พ์ ฯลฯ
3. นกั เรยี นฝึกปฏบิ ัติการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอรส์ าหรับงานกราฟิกอยา่ งชานาญ จากใบงาน การทา
ตามจากการสาธิตของครู การสืบค้นจากสอื่ และแหลง่ เรยี นรู้ ใบความรู้ หรอื คู่มือการเรียน
4. ประเมนิ ความรแู้ ละทักษะการใช้โปรแกรม
5. นกั เรยี นกลมุ่ เรยี นเก่งช่วยสอนกลมุ่ นักเรยี นทีเ่ รียนอ่อน
6. นักเรียนปฏบิ ตั ิการสรา้ งสรรค์งานกราฟกิ เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ประกอบด้วย โปสเตอร์
แผน่ พับ ป้ายโฆษณา การด์ แต่งงาน การ์ดอวยพร ปกซดี ี/ดีวีดี การดัดแปลงและตกแต่งภาพถ่าย และอื่นๆ
7. นกั เรยี นทาโครงงานงานกราฟิก โดยใชค้ วามร้แู ละทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์สาหรบั งานกราฟิก
เพ่ือสร้างสรรคช์ น้ิ งานในรปู โครงงาน
8. นาเสนอผลงานผา่ นรปู แบบต่างๆ เช่น ป้ายนิเทศ นิทรรศการ หรอื เครือขา่ ยออนไลน์
กำรวัดและประเมินผล
1. การประเมนิ แผนผังความคิดหรอื การสรา้ งความคิดรวบยอดของนักเรยี น
2. การทดสอบประจาหน่วยการเรยี นรู้
3. การสงั เกตทักษะการใชโ้ ปรแกรม
4. การประเมนิ ชนิ้ งาน ประกอบด้วย โปสเตอร์ แผ่นพบั ป้ายโฆษณา การ์ดแต่งงาน การ์ดอวยพร
ปกซีด/ี ดีวีดี การดดั แปลงและตกแต่งภาพถา่ ย และอืน่ ๆ
5. การประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้
ภำระงำนท่ีนกั เรยี นปฏบิ ตั ิ
1. ทดสอบประจาหน่วยการเรียนรู้
2. สร้างสรรค์ชิน้ งาน ประกอบด้วย โปสเตอร์ แผน่ พบั ปา้ ยโฆษณา การด์ แตง่ งาน การด์ อวยพร
ปกซีด/ี ดีวดี ี การดดั แปลงและตกแตง่ ภาพถา่ ย และอื่นๆ
3. ทาใบงาน
ส่อื /อุปกรณ/์ แหล่งเรยี นรู้
1. หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์
2. หนงั สือทเี่ น้ือหาเก่ยี วข้อง เชน่ คู่มอื Photoshop CS4 Professional Guide ฉบบั สมบรู ณ์ + CD
3. ใบงาน
4. ใบความรู้
5. สอ่ื อนิ เทอรเ์ นต็ เช่น http://www.webthaidd.com/photoshop/
12
คำอธิบำยรำยวิชำเพ่ิมเติม
กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี รำยวชิ ำ ว 22202 คอมพิวเตอร์ 4
ชน้ั มธั ยมศึกษำปที ี่ 2 ภำคเรยี นท่ี 2 เวลำ 20 ชวั่ โมง 0.5 หน่วยกติ
ศกึ ษาหลักการทางานของแอนเิ มชนั ข้ันตอนการเตรยี มงานสาหรบั ทาแอนิเมชนั ขน้ั ตอนในการผลิต
งานสาหรบั ทาแอนเิ มชัน สามารถใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในการสร้างสรรค์งานแอนิเมช่ัน
โดยการปฏิบตั ิการสร้างงานแอนเิ มชนั สองมติ ิ หรอื สามมิติอยา่ งสากล โดยการออกแบบ สรา้ งสรรค์
ตามจติ นาการได้อย่างเหมาะสมในรูปแบบของมัลติมเี ดีย ท่ีเกี่ยวกบั ภาพ เสยี ง ภาพเคลือ่ นไหว และการนา
โปรแกรมมาประยกุ ต์ในการสร้างช้ินงาน และการนาเสนอผลงาน รู้จักแก้ปญั หา อธบิ าย วเิ คราะห์ และทางาน
อย่างมีประสทิ ธิภาพ
เพื่อให้พัฒนาผู้เรียนใหใ้ ช้คอมพวิ เตอร์สร้างสรรค์ผลงานได้อยา่ งถูกวิธี ทางานอย่างมีประสิทธภิ าพ
และมีประสทิ ธผิ ล สามารถนาเสนอผลงานได้อย่างมืออาชพี สามารถนาความรแู้ ละทักษะการสรา้ งแอนิเมชัน
ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวันไดอ้ ย่างมีจิตสานกึ ท่ีดี มีความรับผิดชอบ มคี ุณธรรม รวมถงึ ใชท้ รพั ยากรอยา่ ง
ประหยดั คุ้มคา่ และมีคุณธรรม
ผลกำรเรยี นรู้
1. ผู้เรยี นอธิบายหลักการสรา้ งงานแอนิเมชนั
2. ผู้เรียนอธิบายขน้ั ตอนการเตรยี มงานสาหรบั ทาแอนิเมชัน
3. ผู้เรยี นปฏิบัตกิ ารสร้างสรรคง์ านแอนเิ มชนั สองมติ ิ อย่างมคี ณุ ธรรมโดยไม่ลอกเลยี นผลงาน
ของคนอน่ื
4. ผเู้ รียนปฏิบัติการสรา้ งสรรค์งานแอนเิ มชันสามมิติ อย่างมีคณุ ธรรมโดยไม่ลอกเลยี นผลงาน
ของคนอืน่
5. ผู้เรียนทาโครงงานการสรา้ งสรรคง์ านแอนิเมชนั
กจิ กรรมกำรเรยี นรู้
1. นักเรยี นใชก้ ระบวนการสืบเสาะ กระบวนการกลมุ่ กระบวนการสร้างสรรคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเองเพ่อื
สร้างความรู้เกี่ยวกบั หลักการสร้างแอนเิ มชนั และขนั้ ตอนการเตรยี มงานสาหรับทาแอนเิ มชนั
2. นกั เรยี นศึกษาวิธีการใช้โปรแกรมการสรา้ งแอนิเมชนั
3. นกั เรียนฝกึ ปฏบิ ตั ิการใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าหรบั การสร้างแอนิเมชันจนชานาญ จากใบงาน
การทาตามจากการสาธติ ของครู การสบื คน้ จากสือ่ และแหล่งเรียนรู้ ใบความรู้ หรอื คู่มอื การเรยี น
4. ประเมินความรู้และทักษะการใช้โปรแกรม
5. นักเรียนกลุ่มเรียนเก่งช่วยสอนกลมุ่ นกั เรียนทเี่ รยี นอ่อน
6. นกั เรยี นปฏบิ ัติการสรา้ งสรรค์งานแอนเิ มชันสองมิติ
7. นักเรยี นปฏบิ ตั ิการสร้างสรรคง์ านแอนเิ มชันสามมิติ
13
8. นกั เรียนนาเสนอและเผยแพร่ผลงานผ่านเครือข่ายออนไลน์
9. นักเรยี นรวมกล่มุ ทาโครงงานงานแอนเิ มชนั
10. นกั เรียนนาเสนอโครงงานผา่ นรูปแบบต่างๆ เชน่ ป้ายนิเทศ นทิ รรศการ หรือเครอื ข่ายออนไลน์
กำรวดั และประเมนิ ผล
1. การประเมนิ แผนผงั ความคิดหรือการสร้างความคดิ รวบยอดของนักเรยี น
2. การทดสอบประจาหนว่ ยการเรยี นรู้
3. การสงั เกตทักษะการใช้โปรแกรม
4. การประเมนิ ผลงานแอนิเมชัน
5. การประเมนิ พฤติกรรมการเรยี นรู้
ภำระงำนท่นี ักเรียนปฏบิ ตั ิ
1. ทดสอบประจาหนว่ ยการเรียนรู้
2. ผลงานแอนเิ มชนั
3. ทาใบงาน
สอ่ื /อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้
1. หอ้ งปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์
2. หนงั สอื สร้างงานด้านแอนเิ มชน่ั เชน 3DS MAX ANIMATION BASIC
3. ใบงาน
4. ใบความรู้
5. ส่ืออินเทอรเ์ นต็ เช่น - http://www.animagonline.com
- บทเรยี นสาหรับ Animation
(http://thanetnetwork.com/animation/web/basic.html)
14
กล่มุ สำระกำรเรยี นร้วู ิทยำศำสตรฯ์ คำอธิบำยรำยวชิ ำเพิ่มเตมิ
ชัน้ มัธยมศกึ ษำปีท่ี 3 รำยวิชำ ว 23201 คอมพวิ เตอร์ 5
ภำคเรยี นท่ี 1 เวลำ 20 ช่ัวโมง 0.5 หน่วยกติ
ศกึ ษาการติดต้ังชุดคอมพิวเตอร์ การต่อสายอุปกรณช์ นิดต่างๆ เขา้ กบั ตวั เครือ่ งและฮาร์ดแวร์
คอมพิวเตอร์ ติดตั้งระบบปฏิบัติการลงบนเครื่อง โปรแกรมออฟฟิศ และโปรแกรมต่างๆ เข้าใจชนดิ ไวรัส
คอมพวิ เตอร์และวธิ ปี ้องกนั ไวรสั คอมพิวเตอร์
โดยการใช้กระบวนการกลุ่มติดต้ังชุดคอมพิวเตอร์ ต่อสายอุปกรณ์ชนดิ ต่างๆ เขา้ กับตวั เครอ่ื ง
กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด กระบวนการจัดการ กระบวนการแก้ปญั หา วิเคราะหอ์ าการผิดปกติของ
ฮารด์ แวร์คอมพิวเตอร์ ตดิ ตั้งระบบปฏบิ ตั ิการลงบนเครือ่ ง ตดิ ตั้งโปรแกรมไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ และ
โปรแกรมต่างๆ กระบวนการฝึกปฏบิ ตั กิ าจดั และปอ้ งกนั ไวรสั คอมพิวเตอร์ และตดิ ตัง้ โปรแกรมป้องกันไวรัส
คอมพวิ เตอร์
เพอื่ ให้พัฒนาผเู้ รียนให้มีนสิ ยั รกั การทางาน รกั การคน้ คว้า มีความรับผดิ ชอบ ทางานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ ได้
อย่างมีความสขุ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และใชท้ รัพยากรอย่างประหยดั คุ้มคา่ จนสามารถนาทักษะปฏิบัติงานไป
ใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้
ผลกำรเรยี นรู้
1. ผ้เู รียนประกอบและตดิ ต้ังชุดคอมพิวเตอร์ ต่อสายอปุ กรณช์ นิดต่างๆ เข้ากับตวั เคร่ือง
2. ผเู้ รยี นวิเคราะห์และจัดการปัญหาอาการผดิ ปกติของฮารด์ แวรค์ อมพิวเตอร์
3. ผู้เรยี นติดตงั้ ระบบปฏบิ ตั ิการลงบนเครอ่ื ง อย่างมีคณุ ธรรม
4. ผเู้ รียนติดตัง้ โปรแกรมออฟฟศิ และโปรแกรมต่างๆ
5. ผู้เรยี นกาจดั และป้องกันไวรสั คอมพวิ เตอร์
6. ผู้เรียนติดตง้ั โปรแกรมป้องกนั ไวรัสคอมพวิ เตอร์และกาจัดไวรัสคอมพิวเตอร์
7. ผเู้ รียนติดตง้ั โปรแกรมลงบนเครอื่ งคอมพิวเตอรแ์ บบพกพา อยา่ งมีคุณธรรม
8. ผเู้ รียนวิเคราะห์และจดั การปญั หาอาการผิดปกติของเครอื่ งคอมพิวเตอรแ์ บบพกพา
กจิ กรรมกำรเรยี นรู้
1. นกั เรียนทบทวนความรเู้ กี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ อุปกรณต์ า่ งๆ ของคอมพิวเตอร์ของนกั เรียนแต่ละคน
2. นกั เรียนศึกษาวดิ ีโอส่วนประกอบคอมพวิ เตอร์ และการประกอบคอมพิวเตอร์
3. นกั เรยี นแบ่งกลุม่ ออกเปน็ 4-5 คน ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ ถอดอุปกรณค์ อมพวิ เตอร์ท่ีครูจัดเตรยี มไว้
ใหพ้ ร้อมบนั ทึก ตามใบงาน แลว้ สง่ ตวั แทนออกมานาเสนอ
4. นกั เรยี นปฏิบตั กิ ารถอดแยกและประกอบอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์โดยครสู ังเกตการปฏบิ ัตกิ าร
แต่ละคน
15
5. นกั เรียนวเิ คราะห์ลักษณะสาเหตแุ ละอาการเสียของเครื่องคอมพวิ เตอร์ กลุ่มละประเดน็ จากสบื คน้
และหาวิธกี ารรกั ษาและป้องกันพร้อมเสนอแนวทางแกป้ ัญหาด้วยวธิ ีต่างๆ และฝึกปฏบิ ตั กิ ารจัดการแกป้ ัญหา
อาการเสยี ของเคร่อื งคอมพิวเตอร์
6. นักเรยี นดูวดิ ีโอการตดิ ต้งั ระบบปฏิบตั ิการ และโปรแกรมพื้นฐานจาเป็น
7. นักเรียนศึกษาใบความรู้ เร่ือง การติดตัง้ โปรแกรม แลว้ ปฏิบตั ิตามใบความรดู้ ้วยตนเอง
8. นักเรียนปฏิบตั กิ ารติดต้ังซอฟต์แวร์คอมพวิ เตอร์ดว้ ยตนเอง
9. นักเรยี นปฏิบตั ิการติดตง้ั ซอฟต์แวรค์ อมพวิ เตอร์โดยครเู ปน็ ผู้สงั เกตอย่างใกล้ชดิ
10. นักเรียนเก่งช่วยเหลอื นกั เรยี นกลุ่มท่ีไมส่ ามารถปฏบิ ตั กิ ารตดิ ตงั้ ซอฟตแ์ วร์คอมพิวเตอรไ์ ด้สาเร็จ
11. ครทู บทวนความรู้เดิมของนกั เรียนเกี่ยวกบั ไวรสั คอมพิวเตอร์
12. นกั เรยี นใชก้ ระบวนการสืบเสาะ และกระบวนการกลุ่มในการแบง่ กลุ่ม สบื ค้นเกีย่ วกับประเภท
และความเป็นมาของไวรัสคอมพิวเตอร์
13. นกั เรียนศกึ ษาจากใบความรู้ อภิปรายเก่ียวกับไวรัสคอมพิวเตอร์ และฟังการอธบิ ายเพิ่มเตมิ จาก
ครูโดย Power Point
14. นกั เรยี นทาแบบทดสอบเกย่ี วกับไวรัสคอมพวิ เตอร์
15. นกั เรียนศกึ ษาวธิ ปี ้องกันไวรสั และกาจดั ไวรสั คอมพวิ เตอร์
16. นักเรียนตดิ ต้ังโปรแกรมการกาจัดไวรัสคอมพิวเตอร์ และทดลองการใชง้ านโปรแกรม
17. นกั เรยี นจดั ทาแผนผังมโนทัศน์เกย่ี วกับไวรสั คอมพิวเตอร์
18. นักเรยี นศึกษาและฝึกปฏิบัติการตดิ ต้งั โปรแกรมบนเครื่องแท็บเลต็ จากใบความรู้ วิดีโอการสอน
การสาธิต หรือจากวทิ ยากรภายนอก
19. นักเรยี นวเิ คราะห์ลักษณะสาเหตแุ ละอาการเสียของเครอื่ งแทบ็ เลต็ จากใบความรู้ การสาธิต หรือ
จากวิทยากรภายนอก และฝึกปฏิบัติการจัดการแก้ปัญหาอาการเสยี ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โดยใช้
กระบวนการกลุม่
20. ครูประเมนิ ผลการเรยี นรู้
กำรวัดและประเมนิ ผล
1. การประเมนิ แผนผังความคิดหรือการสร้างความคดิ รวบยอดของนกั เรียน
2. การทดสอบประจาหน่วยการเรียนรู้
3. การสงั เกตทักษะการใชโ้ ปรแกรม
4. การประเมนิ ผลงาน
5. การประเมินพฤติกรรมการเรยี นรู้
16
ภำระงำนที่นักเรยี นปฏิบตั ิ
1. ทาแผนผังมโนทศั น์
2. ทดสอบประจาหนว่ ยการเรียนรู้
3. ผลงานจากการปฏิบตั ิ ประกอบเครือ่ ง การติดตัง้ โปรแกรม และการแก้ปญั หาคอมพวิ เตอร์
4. ทาใบงาน
ส่อื /อปุ กรณ์/แหลง่ เรียนรู้
1. หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์
2. หนังสอื ทเี่ กี่ยวข้อง เช่น ลว้ งไต!๋ ไวรัส ป้องกันและกาจดั ไวรสั ด้วยตวั เอง
3. หนงั สอื ทเ่ี ก่ียวข้อง เชน่ คู่มือเซยี น ลา้ งเคร่ือง ลง Windows ฉบบั สมบรู ณ์+CD
4. ใบความรู้
5. ใบงาน
6. วีดโี อเก่ยี วกบั อาการผิดปกตขิ องเคร่ืองคอมพิวเตอร์
7. วดี ีโอ การตดิ ตั้งซอฟต์แวร์คอมพวิ เตอร์
8. สอ่ื อนิ เทอร์เน็ต
- www.diw.go.th/hawk/internal/วธิ ปี ้องกนั ไวรสั คอมพวิ เตอร.์ pdf เป็นต้น
17
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำเพ่ิมเตมิ
กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี รำยวิชำ ว 23202 คอมพวิ เตอร์ 6
ชั้นมธั ยมศกึ ษำปที ่ี 3 ภำคเรียนท่ี 2 เวลำ 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกติ
ศึกษาความรเู้ กยี่ วกับหลักการ ความสาคัญ ขั้นตอนของการออกแบบเวบ็ ไซต์ ประโยชนข์ องโปรแกรม
ออกแบบเวบ็ ไซต์ การเรียกใช้งานโปรแกรม หนา้ ตา่ งของโปรแกรม การใช้คาส่ังในโปรแกรม การใช้เครื่องมือ
ในการออกแบบ การจัดและตกแตง่ ข้อความ การจัดการภาพกราฟกิ การใชง้ านเลเยอร์เก่ียวกับเวบ็ ไชต์ และ
โครงสรา้ งของเว็บไซต์
โดยการปฏบิ ตั ิการสรา้ งเว็บไซต์โดยใช้โปรแกรมสาเรจ็ รปู และการเขยี นโปรแกรมภาษาได้อย่างถูกวธิ ี
และอยา่ งสรา้ งสรรค์ มีทักษะการออกแบบเว็บไซตโ์ ดยสามารถใช้งานกับเฟรม การทางานกบั ตาราง
การออกแบบและสรา้ งจุดเช่อื มโยง การออกแบบปมุ่ คลิก การนาไฟลจ์ ากโปรแกรมอืน่ มาใชง้ าน การจัดตัง้ และ
เผยแพร่เว็บไซต์ กระบวนการออกแบบและโครงสรา้ งการทางานของเวบ็ ไซต์ โครงสรา้ งและไวยากรณ์ของ
โปรแกรมและภาษา หรอื กระบวนการการใชเ้ ครื่องมือการสร้างเวบ็ ไซต์ การออกแบบและกาหนดสว่ นประกอบ
ท่จี าเป็นของเวบ็ ไซต์ได้ถูกต้องและเหมาะสม ใช้โปรแกรมสาเรจ็ รปู และโปรแกรมภาษาออกแบบและสรา้ ง
เว็บไซตท์ ้งั ทเ่ี ป็นภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
เพอ่ื ให้พัฒนาผ้เู รียนให้มีความร้คู วามเข้าใจและทักษะในการใช้โปรแกรมภาษาเกยี่ วกบั การสร้าง
เวบ็ ไซต์จากจินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ เพ่ือนาเสนองานตา่ งๆ และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ใน
ชวี ิตประจาวันได้อย่างมีจิตสานกึ ทีด่ ี มีความรบั ผดิ ชอบ มคี ุณธรรม และใช้ทรัพยากรอย่างประหยดั คุ้มคา่
ผลกำรเรียนรู้
1. ผเู้ รียนอธบิ ายความร้เู กี่ยวกับการออกแบบและสรา้ งเว็บไชต์
2. ผเู้ รียนนาเสนอกระบวนการออกแบบและสรา้ งเวบ็ ไซต์
3. ผู้เรยี นเขยี นกระบวนการออกแบบและโครงสร้างการทางานของเวบ็ ไซต์
4. ผเู้ รยี นออกแบบและกาหนดสว่ นประกอบสาคัญของเว็บไซตไ์ ดถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสม
5. ผเู้ รยี นเขยี นโครงสร้างและไวยากรณ์ของภาษาและโปรแกรมสร้างเว็บไซต์
6. ผเู้ รยี นใชเ้ ครอ่ื งมือของโปรแกรมสร้างเว็บไซต์อย่างชานาญ
7. ผเู้ รียนเขยี นโปรแกรมภาษาออกแบบและสร้างเวบ็ ไซตต์ ามจินตนาการ ทั้งที่เปน็ ภาษาไทยและ
ภาษาองั กฤษ อยา่ งมีคุณธรรมโดยไมล่ อกเลียนผลงานของคนอ่นื
กิจกรรมกำรเรยี นรู้
1. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ ออกเป็น 3-5 คน ใชก้ ระบวนการสบื เสาะสืบค้นการหลักการ การทางานของ
ระบบเวบ็ การสรา้ งเวบ็ ไซต์ และการออกแบบเวบ็ ไซต์ และการออกแบบและสร้างเวบ็ ไซต์
2. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มสรุปประเด็นท่ีได้จากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม แลว้ สง่ ตัวแทนออกมานาเสนอ
3. นกั เรียนรว่ มอภิปรายสรปุ ประเด็นท้งั หมด
18
4. นักเรียนฝกึ การเขยี นเว็บเพจด้วยภาษา HTML
- ลักษณะและโครงสรา้ งของภาษา HTML
- การจัดวางเนอ้ื หาบนเว็บเพจ
- การกาหนดลักษณะตวั อกั ษรในเวบ็ เพจ
- การแทรกรปู ภาพในเว็บเพจ
5. นักเรียนกลุม่ เก่งชว่ ยเหลือนกั เรียนกลมุ่ ออ่ น
6. นกั เรยี นทกุ คนสร้างเว็บเพจแนะนาตนเอง ด้วยภาษา HTML คนละ 1 เว็บเพจ ตามรูปแบบที่ได้
ออกแบบไว้
7. นักเรยี นนาเว็บเพจแนะนาตนเอง เผยแพรใ่ นเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต
8. นกั เรียนศกึ ษาตัวอยา่ งการใช้โปรแกรมสาเรจ็ รปู ในการสร้างเว็บไซต์ และวิดีโอการทาเวบ็ ไซต์
9. นักเรียนศกึ ษาการใช้โปรแกรมการสรา้ งเว็บไซต์ เช่น Joomla, WordPress, CoffeeCup
VisualSite Designer เปน็ ต้น
10. นกั เรียนใช้กระบวนการกลุม่ ในการออกแบบเวบ็ ไซตข์ องกลุ่ม
11. นักเรียนศึกษาการทาเวบ็ ไซต์จากใบความรู้ หนงั สือ อินเทอรเ์ นต็ ดว้ ยโปรแกรมสาเร็จรูป หรือ
เขยี นด้วยภาษา HTML หรือศึกษาจากการบรรยายของครู
12. นกั เรยี นวางแผนการทาเวบ็ ไซตข์ องตนเอง โดยรา่ งแบบ เนอื้ หา องคป์ ระกอบต่างๆ
13. นักเรียนปฏิบัติการสร้างเว็บของตนเองตามหัวขอ้ ทตี่ นสนใจ ทั้งท่ีเปน็ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
อยา่ งมีคณุ ธรรมโดยไม่ลอกเลยี นผลงานของคนอ่นื
14. นกั เรียนเผยแพร่เวบ็ ไซต์ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
15. ประเมินผลการเรียนรู้
กำรวดั และประเมินผล
1. การประเมนิ แผนผงั ความคิดหรอื การสรา้ งความคิดรวบยอดของนกั เรยี น
2. การทดสอบประจาหนว่ ยการเรยี นรู้
3. การสงั เกตทักษะการเขยี นโปรแกรมภาษาและการใช้งานโปรแกรม
4. การประเมินผลงานเว็บไซต์
5. การประเมนิ พฤติกรรมการเรียนรู้
ภำระงำนที่นกั เรียนปฏิบัติ
1. ทาแผนผังมโนทัศน์
2. ทดสอบประจาหนว่ ยการเรยี นรู้
3. ผลงานเว็บไซต์
4. ทาใบงาน
19
ส่อื /อุปกรณ์/แหลง่ เรียนรู้
1. หอ้ งปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์
2. หนังสือเรยี นที่เก่ียวข้องกับ การสรา้ งเว็บเพจ (ภาษา HTML) เปน็ ต้น
3. ใบความรู้
4. ใบงาน
5. วดี ีโอ
6. สื่ออินเทอรเ์ น็ต
-http://www.makewebeasy.com/websitestep
โครงสร้ำงหลักสูตรรำยวิช
ชนั้ มัธยมศึกษำปที ่ี 1 ภำคเรียนที่
ลำดบั ที่ ช่ือหน่วยกำรเรยี น ทักษะและควำมสำมำรถ
1 การใช้โปรแกรมประมวล ผู้เรยี นใช้ซอฟต์แวรป์ ระยกุ ต์ออกแบบและ
คาข้ันสูง สร้างงานเอกสารในสานกั งาน เอกสาร
วิชาการ และเอกสารอนื่ ๆ ได้อยา่ งถูกต้อง
และมปี ระสทิ ธิภาพ
2 การใชโ้ ปรแกรมตาราง / ผเู้ รยี นจัดกระทาขอ้ มลู สารสนเทศขัน้ สูง
คานวณขน้ั สูง ออกแบบและจดั ทาบัญชสี านกั งาน สรา้ ง
ตารางการทางาน ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
3 การใชโ้ ปรแกรมสร้าง ผเู้ รียนออกแบบและสร้างสรรค์งานนาเสนอ
งานนาเสนองานข้นั สงู ขั้นสูง ไดอ้ ย่างถูกต้องและเหมาะสม
รวม
ชำเพ่มิ เตมิ คอมพวิ เตอร์ 1 เวลำ 20
1 เวลำ 20 ช่ัวโมง 0.5 หน่วยกติ (ชัว่ โมง)
น้ำหนักกำรประเมนิ
สำระกำรเรียนรู้ 7 (ร้อยละ)
35
-ความหมายและความสาคัญเกี่ยวกับ 7
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ตา่ งๆ 35
-การใช้โปรแกรมสรา้ งงานเอกสารขน้ั สงู 6
-ปฏบิ ตั ิการออกแบบและสรา้ งสรรค์ 30
ผลงานข้ันสูงจากโปรแกรมสรา้ งงาน 20
เอกสาร 100
-ใช้โปรแกรมตาราง/คานวณขั้นสูง
-ปฏบิ ตั ิการออกแบบและสรา้ งสรรค์
ผลงานขั้นสงู จากโปรแกรมตาราง/
ขอ้ มูลทางาน
-การใชโ้ ปรแกรมสร้างงานนาเสนอ
ผลงานขน้ั สงู
- ปฏบิ ัตกิ ารออกแบบและสร้างสรรค์
ผลงานขั้นสงู จากโปรแกรมนาเสนองาน
โครงสรำ้ งหลกั สูตรรำยวิช
ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 1 ภำคเรียนท่ี
ลำดบั ท่ี ช่ือหน่วยกำรเรียน ทกั ษะและควำมสำมำรถ
1 ความร้เู ก่ยี วกับการผลติ ผู้เรยี นเขยี นกระบวนผลติ สอ่ื ส่ิงพมิ พ์
ส่ือส่งิ พิมพ์ อยา่ งเปน็ มืออาชีพ
2 โปรแกรมทใ่ี ชใ้ นสง่ิ พมิ พ์ ผเู้ รยี นใช้โปรแกรมผลติ ส่อื ส่งิ พิมพ์ได้
เหมาะสมกบั ประเภทของงาน
3 ปฏบิ ตั ิการสร้างส่อื ผเู้ รยี นออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพท์ ง้ั
สิ่งพิมพ์ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้แก่
ปกหนังสอื ป้ายโฆษณา ลายสกรนี เสือ้
นามบตั ร โปสเตอร์ ใบปลิว
4 ปฏิบตั ิการสรา้ งหนังสือ ผ้เู รียนออกแบบและสรา้ งสรรค์หนังสอื
อิเล็กทรอนกิ ส์ อิเลก็ ทรอนิกส์ พร้อมนาเสนองานได้อย่าง
มืออาชีพ ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
รวม
21
ชำเพมิ่ เติม คอมพวิ เตอร์ 2 เวลำ น้ำหนกั กำรประเมนิ
2 เวลำ 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต (ชั่วโมง) (ร้อยละ)
10
สำระกำรเรยี นรู้ 3
-กระบวนการผลิตส่ือส่ิงพิมพ์ดว้ ย 4 20
คอมพิวเตอร์
-การใชโ้ ปรแกรมผลิตส่อื สงิ่ พิมพ์ 6 40
-โปรแกรมทใ่ี ชใ้ นส่งิ พิมพ์
-ปฏิบตั ิการสร้างส่อื สง่ิ พิมพ์
-การใช้โปรแกรมผลิตหนงั สอื 7 30
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 20 100
-ปฏิบตั ิการสรา้ งหนังสอื อิเลก็ ทรอนกิ ส์
โครงสรำ้ งหลกั สูตรรำยวิช
ช้ันมธั ยมศึกษำปที ี่ 2 ภำคเรยี นท่ี
ลำดบั ที่ ชอื่ หน่วยกำรเรยี น ทกั ษะและควำมสำมำรถ
1 ความรู้เกย่ี วงานกราฟิก
ผเู้ รยี นเขียนกระบวนการของงานกราฟิก
เลอื กสไี ด้อยา่ งเหมาะสม และออกแบบงาน
กราฟิกได้อย่างสร้างสรรค์และนา่ ดึงดูดใจ
รวมการจัดเก็บแฟม้ งานกราฟิกได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม
2 การใช้โปรแกรมกราฟิก ผ้เู รียนใช้โปรแกรมงานกราฟิกได้อยา่ ง
ชานาญ เลือกใชโ้ ปรแกรมได้อย่างเหมาะสม
กบั ชนิดของงานนัน้ ๆ
3 ปฏบิ ัติการสรา้ งงาน ผูเ้ รยี นออกแบบและสรา้ งสรรค์งานกราฟิก
กราฟิก ท้งั ทเ่ี ป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้อยา่ ง
มืออาชีพ ประกอบดวั ย โปสเตอร์ แผ่นพบั
ป้ายโฆษณา การด์ ต่างๆ ปกซีด/ี ดีวีดี
การตกแต่งภาพถา่ ย และอ่ืนๆ
รวม
ชำเพิ่มเติม คอมพวิ เตอร์ 3 เวลำ 22
1 เวลำ 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต (ชั่วโมง)
น้ำหนักกำร
สำระกำรเรียนรู้ 2 ประเมิน (ร้อยละ)
-ประวตั ิ คณุ สมบัติ บทบาทและ 8 10
ความสาคัญของงานกราฟิก
-ปฏบิ ัตกิ ารออกแบบกราฟิก 40
-ทฤษฎสี ี และหลกั การเลือกใชส้ ีใน
คอมพวิ เตอรส์ าหรับงานกราฟิก
-ประเภทของโปรแกรมกราฟิก ชนดิ ของ
ภาพและการจัดเก็บแฟ้มภาพกราฟิก
-การใชโ้ ปรแกรมงานกราฟิก
-ปฏบิ ัติการงานกราฟิก 10 50
20 100
โครงสรำ้ งหลกั สูตรรำยวิช
ช้ันมธั ยมศึกษำปีท่ี 2 ภำคเรียนที่
ลำดับที่ ชอ่ื หน่วยกำรเรียน ทักษะและควำมสำมำรถ
1 หลักการทางานแอนิเมชัน ผเู้ รียนเขยี นข้ันตอนการสรา้ งงานแอนิเมชัน
ได้อย่างมืออาชีพ ข้ันตอนการเตรยี มงาน
สาหรบั ทาแอนเิ มชัน
2 ปฏบิ ตั กิ ารสรา้ งแอนิเมชนั -ผู้เรียนออกแบบและสร้างสรรค์งาน
2D แอนเิ มชันสองมิตแิ ละสามมติ ิไดอ้ ย่างมี
3 ปฏิบตั ิการสรา้ งแอนิเมชนั ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล
3D -ผู้เรียนการจัดทาโครงงานแอนเิ มชนั
รวม
23
ชำเพ่ิมเติม คอมพิวเตอร์ 4 เวลำ น้ำหนกั กำรประเมนิ
2 เวลำ 20 ช่ัวโมง 0.5 หน่วยกติ (ช่วั โมง) (ร้อยละ)
15
สำระกำรเรียนรู้ 3
-หลักการทางานแอนิเมชนั
10 50
-ปฏิบัติการสรา้ งแอนิเมชนั 2D 7 35
-ปฏบิ ัตกิ ารสรา้ งแอนเิ มชนั 3D 20 100
-โครงงานแอนิเมชัน
โครงสรำ้ งหลกั สตู รรำยวิช
ชัน้ มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 3 ภำคเรยี นที่
ลำดับท่ี ชือ่ หน่วยกำรเรยี น ทักษะและควำมสำมำรถ
1 การติดต้ังชดุ คอมพวิ เตอร์ ผู้เรียนประกอบและตดิ ต้ังชุดคอมพวิ เตอร์
พ้ืนฐาน ตอ่ สายอุปกรณช์ นดิ ต่างๆ เข้ากบั ตวั เคร่อื งได้
อย่างมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล
2 วิเคราะหอ์ าการ ผู้เรียนวิเคราะห์และจัดการปัญหาอาการ
คอมพิวเตอร์ ผดิ ปกตขิ องฮารด์ แวร์คอมพวิ เตอร์
3 ตดิ ตงั้ ระบบปฏบิ ตั กิ ารและ ผู้เรยี นตดิ ต้ังโปรแกรม ออฟฟิศและโปรแกรม
โปรแกรมพ้นื ฐาน ต่างๆ ที่จาเป็นตอ่ คอมพวิ เตอร์ ได้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล
4 ไวรสั คอมพิวเตอร์ ผ้เู รียนกาจดั และป้องกนั ภัยคุกคามตา่ งๆ ตอ่
คอมพิวเตอร์ เชน่ ไวรัส สแปม แฮกเกอร์
เป็นตน้ ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล
5 คอมพวิ เตอรแ์ บบพกพา ผู้เรียนติดตง้ั วเิ คราะหแ์ ละจดั การปญั หาอาการ
ผดิ ปกติของคอมพวิ เตอรแ์ บบพกพา
รวม
ชำเพ่ิมเตมิ คอมพิวเตอร์ 5 เวลำ 24
1 เวลำ 20 ชั่วโมง 0.5 หนว่ ยกิต (ชั่วโมง)
นำ้ หนกั กำรประเมนิ
สำระกำรเรยี นรู้ 5 (รอ้ ยละ)
25
-ติดตงั้ ชดุ คอมพิวเตอร์ ตอ่ สายอุปกรณ์ 4 20
ชนดิ ตา่ งๆ เขา้ กับตัวเครื่อง 3 15
10
-วเิ คราะห์อาการผดิ ปกติของฮารด์ แวร์ 2
คอมพิวเตอร์ 30
-ติดตั้งระบบปฏบิ ตั กิ ารวินโดว์ลงบนเครื่อง 6
-ตดิ ตั้งโปรแกรมไมโครซอฟท์ ออฟฟศิ 100
และโปรแกรมตา่ งๆ 20
- ชนิดของไวรสั คอมพวิ เตอร์
- วธิ ีป้องกันไวรสั คอมพิวเตอร์
- ตดิ ตัง้ โปรแกรมและกาจดั ไวรสั
คอมพวิ เตอร์
-ตดิ ตง้ั โปรแกรมบนเครือ่ งคอมพวิ เตอร์
แบบพกพา
-วเิ คราะห์และจัดการปัญหาอาการผิดปกติ
ของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา
โครงสร้ำงหลกั สตู รรำยวิช
ชัน้ มัธยมศึกษำปีที่ 3 ภำคเรียนท่ี
ลำดับที่ ชอ่ื หน่วยกำรเรียน ทกั ษะและควำมสำมำรถ
1 ความรเู้ กยี่ วกบั เวบ็ ไชต์
ผเู้ รยี นเขียนข้ันตอนการออกแบบและ
สรา้ งสรรค์เวบ็ ไซตไ์ ด้อยา่ งถกู ตอ้ ง
2 การออกแบบและสร้าง ผ้เู รยี นออกแบบและกาหนดองค์ประกอบ
เวบ็ ไซต์ ของเว็บไซตไ์ ดอ้ ย่างมืออาชพี
3 โครงสร้างและไวยากรณ์ ผู้เรยี นเขยี นโครงสรา้ งและไวยากรณข์ อง
ของภาษา ภาษา และใช้โปรแกรมสรา้ งเวบ็ ไซตไ์ ด้อยา่ ง
ถูกต้อง เพื่อนาไปใช้ในการสร้างเว็บไซตแ์ ละ
เขยี นภาษาโปรแกรมอนื่ ๆ ต่อไป
4 โปรแกรมสรา้ งเวบ็ ไซต์ ผเู้ รียนสรา้ งเว็บไซต์และการเขียนโปรแกรม
ภาษาออกแบบและสร้างเว็บไซต์ได้อย่าง
มอื อาชีพ ทง้ั ทีเ่ ป็นเวบ็ ไซตภ์ ายในประเทศ
และตา่ งประเทศ
รวม
25
ชำเพมิ่ เตมิ คอมพิวเตอร์ 6 เวลำ น้ำหนกั กำรประเมนิ
2 เวลำ 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต (ชว่ั โมง) (ร้อยละ)
10
สำระกำรเรยี นรู้ 2
-ความรเู้ กย่ี วกบั การออกแบบและ 3 15
สร้างสรรคเ์ วบ็ ไชต์ 4 20
- กระบวนการออกแบบและสร้าง
เวบ็ ไซต์
-การออกแบบและสร้างเวบ็ ไซต์
-โครงสร้างและไวยากรณ์ของภาษา
-เครอ่ื งมือของโปรแกรมสร้างเว็บไซต์ 11 55
-โปรแกรมสร้างเวบ็ ไซต์ 20 100
26
บรรณำนุกรม
ดวงแก้ว สวามิภักด.์ิ (2546). ระบบฐานข้อมูล. กรงุ เทพ : ซีเอ็ด ยเู คช่ัน.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2554). การสืบคน้ สารสนเทศผา่ นเครอื ข่ายอินเทอร์เนท็ . พิมพค์ ร้ังที่ 2.
มหาสารคาม: สานกั พมิ พ์มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.
ทิศนา แขมมณี. (2553). ศาสตรก์ ารสอน องค์ความรเู้ พ่ือการจดั กระบวนการเรยี นร้ทู ี่มีประสิทธภิ าพ .
พมิ พค์ รง้ั ที่12. กรุงเทพฯ : สานักพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.
พมิ พันธ์ เดชะคปุ ต์ และ พเยาว์ ยินดีสุข. (2555). สอนเขยี นแผนบูรณาการบนฐานเด็กเป็นสาคญั .
กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
วณี า ประชากลู และ ประสาท เนอื งเฉลมิ . (2554). รปู แบบการเรียนการสอน. พิมพค์ รัง้ ท่ี 2.
มหาสารคาม : สานักพิมพ์มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.
สวุ ิมล ว่องวานชิ . (2545). การวัดทกั ษะปฏบิ ัต.ิ กรงุ เทพฯ : ภาควิชาวิจยั การศึกษา คณะครุศาสตร์
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
Agarwal, V. and Agarwal, N. (2013). E-Learning: A New Revolution in Education.
International Journal of Innovative Research & Development. 2(3) : 607-615.
Aitken, J.E., Fairley, J.P. and Carlson, J.K. (2012). Communication Technology for
Students in Special Education and Gifted Programs. Hershey, PA : Information
Science Reference.
Cole, P.G. and Chan, L. (1994). Teaching Principles and Practice. 2nd ed. New York :
Prentice Hall.
Hsu, P. and Chang, T. (2013). The Design Concept of e-Decision Making Competence
Based Self-Determination Learning On-Line System. Journal of Advances in
Computer Networks. 1(1) : 49-51.
Lueg, C. (2001). Information, Knowledge and Networked Minds. Journal of Knowledge
Management. 5(2) : 151 –160.
Lunenberg, F.C. (1998). Constructivism and Technology : Instructional Designs for
Successful Education Reform. Journal of Instructional Psychology. 51(2) :
75-82.
Marzano, R.J., Pickering, D.J. and Pollock, J.E. (2001). Classroom Instruction
that Works : Research-based Strategies for Increasing Student Achievement.
Virginia : Association for Supervision and Curriculum Development.
Wiggins, G. and McTighe, J. (2000). Understanding by Design. 2nd ed. New York :
Prentice Hall.