The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเกิดลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pwaeaminah, 2021-10-31 21:44:53

การเกิดลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ

การเกิดลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ

การเกดิ ลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ

โดย
ครูแวอามนี ะห์ แปเฮาะอีเล

การเกดิ ลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ

ลมฟ้าอากาศ คอื สภาวะของอากาศบนพืน้ ทใี่ ดๆในชว่ งเวลาหนึ่ง
ภมู อิ ากาศ คือ สภาวะโดยทว่ั ไปของลมฟา้ อากาศบนพืน้ ท่ีใดๆ ใน
ชว่ งเวลานาน ๆ ซงึ่ พิจารณาจากการตรวจอากาศซา้ ๆ กนั หลายครัง้ เป็นระยะ
เวลานานประมาณ 30 - 35 ปี
ลมฟ้าอากาศแตกตา่ งจากภูมอิ ากาศ ตรงท่กี ารเปลี่ยนแปลงของลม
ฟา้ อากาศจะเกิดขนึ ้ ในระยะเวลาสนั้ ๆ เชน่ ลมฟ้าอากาศในระยะเวลาหนึ่ง
เดือนท่ีแล้วมา เป็นต้น

การเกดิ ลมฟ้าอากาศและภูมอิ ากาศ

- ปัจจยั สาคญั ท่สี ่งผลต่อการรับรังสีดวงอาทติ ย์ของพนื้ ผวิ โลก
- การหมุนเวยี นของอากาศ
- การหมุนเวียนของนา้ ผิวหน้ามหาสมุทร
- ปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญา

ความเข้มรังสีดวงอาทติ ย์ท่พี ืน้ ผวิ โลกแต่ละบริเวณได้รับในรอบวนั

ความเขม้ รังสีดวงอาทิตย์ คือ พลงั งานจากรังสีดวงอาทิตยใ์ นหน่ึงหน่วยเวลา
ต่อหนึ่งหน่วยพืน้ ที่

ความเขม้ รังสีดวงอาทิตย์ = พลงั งานจากรังสีดวงอาทติ ย์ (จลู )
เวลา วนิ าที × พนื ้ ที่(ตารางเมตร)

มีหน่วยเป็ น จูลต่อวินาทีต่อตารางเมตร หรือ วัตต์ต่อตารางเมตร

ปัจจัยสาคญั ที่ส่งผลต่อการรับรังสีดวงอาทติ ย์ของพืน้ ผวิ โลก

1. สัณฐานโลกและการเอียงของแกนโลก
2. เมฆและละอองลอย
3. ลักษณะของพนื้ ผวิ โลก

1. สัณฐานโลกและการเอียงของแกนโลก
สัณฐานโลกคล้ายทรงกลม ทาให้รังสีดวงอาทติ ย์ตกกระทบพนื้ ผิวโลก ณ บริเวณละตจิ ูด
ต่างๆ ด้วยมุมท่ีแตกต่างกัน บริเวณท่รี ังสีดวงอาทติ ย์ตกกระทบในแนวตงั้ ฉากจะมีความเข้ม

รังสีดวงอาทติ ย์มากกว่าบริเวณท่ตี กกระทบในแนวเฉียง

การเอยี งของแกนโลก

แกนโลกเอยี ง 23.5 องศากบั แนว
ต้งั ฉากกบั ระนาบการโคจรของโลกรอบ
ดวงอาทติ ย์

การทโ่ี ลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์ ทาให้
ตาแหน่งทรี่ ังสีดวงอาทติ ย์ตกต้ังฉากกบั
พืน้ ผวิ โลกเปลยี่ นแปลงไปในรอบ 1 ปี

2. เมฆและละอองลอย

ละอองลอย คือ อนุภาคของแขง็
หรือของเหลวท่มี ีขนาดเล็ก และ
แขวนลอยอยู่ในอากาศ เช่น ฝ่ ุน
เขม่า

หากท้องฟ้ามีเมฆและละอองลอย
มาก รังสีดวงอาทติ ย์จะถกู ดดู กลืน
สะท้อน และกระเจงิ ได้มาก ทาให้
รังสีดวงอาทติ ย์ตกกระทบพนื้ ผิว
โลกมีความเข้มน้อยลง

3. ลกั ษณะของพืน้ ผวิ โลก

พืน้ ผวิ โลกแต่ละบริเวณมลี กั ษณะแตกต่างกนั ทาให้มคี วามสามารถในการสะท้อนรังสี

ดวงอาทติ ย์แตกต่างกนั ซึ่งแสดงด้วย อตั ราส่วนรังสีสะท้อน
อตั ราส่วนรังสีสะท้อน คือ อตั ราส่วนของความเข้มรังสีทส่ี ะท้อนออกจากพื้นผวิ วตั ถตต่อ

ความเข้มรังสีท้งั หมดทตี่ กกระทบพืน้ ผวิ วตั ถต

อัตราส่วนรังสีสะท้อน = ความเข้มรังสีท่ีสะท้อนออกจากพนื้ ผิววัตถุ
ความเข้มรังสีทงั้ หมดท่ีตกกระทบพนื้ ผิววัตถุ

พืน้ ผิวโลกบริเวณท่มี อี ัตราส่วนรังสีสะท้อนมาก จะสะท้อนรังสดี วงอาทติ ย์ในปริมาณท่ี
มากกว่า แต่ดูดกลืนรังสไี ด้น้อยกว่าบริเวณท่มี ีอตั ราส่วนรังสสี ะท้อนน้อย



การหมตนเวยี นของอากาศ

1. ความแตกต่างของความกดอากาศกบั การหมตนเวยี นของอากาศ
2. การหมตนรอบตวั เองของโลกกบั การหมตนเวยี นของอากาศ
3. การหมตนเวยี นของอากาศบนโลก

1. ความแตกต่างของความกดอากาศกับการหมุนเวยี นของอากาศ

พนื้ ผวิ โลกแต่ละบริเวณได้รับพลังงานจากดวงอาทติ ย์ในปริมาณท่แี ตกต่างกนั
ทาให้แต่ละบริเวณบนโลกมีอุณหภมู ิอากาศแตกต่างกันส่งผลให้เกดิ การถ่ายโอนความ
ร้ อนระหว่ างกนั

พนื้ ผวิ โลกบริเวณท่มี ีอุณหภูมิสูงจะทาให้อากาศเหนือพนื้ ผวิ โลกบริเวณนัน้ มี
ความกดอากาศต่า ส่วนพนื้ ผวิ โลกบริเวณท่มี ีอุณหภมู ิต่าจะทาให้อากาศเหนือ
พนื้ ผวิ โลกบริเวณนัน้ มีความกดอากาศสูง เม่ือความกดอากาศของสองบริเวณแตกต่าง
กันจะเกดิ แรงท่เี กดิ จากความแตกต่างของความกดอากาศ (Pressure gradient
force) ทาให้เกดิ การหมุนเวียนของอากาศทงั้ ในแนวราบ และแนวด่งิ

ความกดอากาศ (atmospheric pressure)

ความกดอากาศ มีความหมายเดียวกบั ความดันอากาศ หมายถงึ
แรงท่ีอากาศกระทาตงั ้ ฉากต่อหนงึ่ หน่วยพืน้ ท่หี รือนา้ หนกั ของอากาศทีก่ ดลงบนพืน้
โลกต่อหนึง่ หนว่ ยพืน้ ท่ี

อากาศท่ีอย่บู ริเวณความกดอากาศสงู (H) เกิดการจมตวั และอากาศที่อยู่
บริเวณหย่อมความกดอากาศต่า (L) เกิดการยกตวั

บริเวณหยอ่ มความกดอากาศต่า (L) มีเมฆมาก เพราะเป็นบริเวณท่ีอากาศ
จะเกิดการยกตวั ทาให้มโี อกาสเกดิ เมฆมาก สว่ นบริเวณความกดอากาศสงู (H)
อากาศเกิดการจมตวั ทาให้มีโอกาสเกิดเมฆน้อยกว่าหยอ่ มความกดอากาศต่า(L)





แบบจาลองอากาศการหมุนเวยี นแบบเซลลเ์ ดียว ของจอร์จ แฮดลีย์

2. การหมตนรอบตวั เองของโลกกบั การหมตนเวยี นของอากาศ

เน่ืองจากการหมุนรอบตวั เองของโลก ทาให้เกดิ แรง
ท่เี รียกว่า แรงคอริออลิส ซ่งึ ทาให้ทศิ ทางการเคล่ือนท่ขี อง
อากาศเบ่ียงเบนไปจากเดมิ โดยผู้สังเกตท่อี ยู่บนซีกโลกเหนือ
เหนือเม่ือหนั หน้าไปตามทศิ ทางการเคล่ือนท่ขี องอากาศ
จะสังเกตเหน็ แนวการเคล่ือนท่ขี องอากาศเบนไปทางขวามือ
ขวามือ แต่ถ้าผู้สังเกตอยู่บนซีกโลกใต้เม่ือหนั หน้าไปตามทศิ
ทางการเคล่ือนท่ขี องอากาศ จะสังเกตเหน็ แนวการเคล่ือนท่ี
ของอากาศเบนไปทางซ้ายมือ

3. การหมตนเวยี นของอากาศบนโลก

การหมนุ เวียนของอากาศบนโลก เป็นการหมนุ เวียนแบบ 3 เซลล์ ดงั นี ้
1. แฮดลีย์เซลล์ หรือ การหมุนเวียนอากาศแถบเขตร้อน

(ระหว่างละติจดู 0 - 30 องศาเหนือและใต้)
2. โพลาร์เซลล์ หรือ การหมุนเวียนอากาศแถบขัว้ โลก

(ระหวา่ งละตจิ ดู 60 องศาเหนือและใต้ - ขวั้ โลกเหนือและใต้)
3. เฟอร์เรลเซลล์ หรือ การหมุนเวียนอากาศ แถบละตจิ ดู กลาง

(ระหว่างละตจิ ดู 30 - 60 องศาเหนือและใต้)





ลกั ษณะภูมอิ ากาศและลมประจาเขตละตจิ ูด

การหมุนเวียนของอากาศ ภมู อิ ากาศ ลมประจา
ในแต่ละแถบละตจิ ูด เขตละตจิ ูด

การหมุนเวียนอากาศแถบเขตร้ อน ภูมอิ ากาศตงั้ แต่แบบร้อนชืน้ ลมตะวันออก
(ละตจิ ูด 0 - 30 ° N , S) จนถงึ ภมู ิอากาศแบบแห้งแล้ง หรือลมค้า

การหมุนเวียนอากาศแถบขัว้ โลก ภมู ิอากาศตัง้ แต่ภูมิอากาศ ลมตะวันออก
(ละตจิ ูด 60 ° N, S - ขัว้ โลก N , S อบอุ่นจนถงึ ภมู ิอากาศหนาว

การหมุนเวียนอากาศแถบละตจิ ูดกลาง ภูมิอากาศตงั้ แต่แบบแห้งแล้ง ลมตะวันตก
(ระหว่างละตจิ ูด 30°– 60° N, S ) จนถงึ ภูมิอากาศแบบอบอุ่น

ลักษณะลมฟ้าอากาศทพี่ บบริเวณรอยตอ่ ของเขตละตจิ ดู และการเกิด

บริเวณรอยต่อ ลักษณะลมฟ้าอากาศ การเกิด
เส้นศูนย์สูตร
มีเมฆมากเกิดฝนฟ้า ลมค้าจากซีกโลกเหนือ และซีกโลกใต้พดั เข้า
ละตจิ ูด 30 องศา
เหนือและใต้ คะนองและฝนชุกตลอดปี หากันบริเวณศูนย์สูตร ทาให้อากาศ

ละตจิ ูด 60 องศา ยกตัวอย่างรุนแรง
เหนือและใต้
แห้งแล้ง มีหยาดนา้ ฟ้า เกิดการจมตัวของอากาศท่เี คล่ือนท่มี าจาก

น้อย แถบ ศูนย์สูตร

เกดิ เมฆและหยาดนา้ ฟ้า การหมุนอากาศในแถบละตจิ ูดกลางมาปะทะ

ปริมาณมาก ทาให้ กับอากาศเยน็ จากการหมุนเวียนอากาศแถบ

อากาศอบอุ่นและชืน้ ขัว้ โลกแล้วยกตัวขนึ้

ตลอดปี

การหมตนเวยี นของนา้ ผวิ หน้ามหาสมตทร

ปัจจยั ท่สี ่งผลต่อทศิ ทางการไหลของกระแสนา้ ผิวหน้ามหาสมุทร ได้แก่
• ลม ลมท่พี ัดผ่านผิวหน้ามหาสมุทรจะทาให้นา้ ไหลไปตามทศิ ทางของลม
• ขอบทวีป เม่ือกระแสนา้ ผวิ หน้ามหาสมุทรไหลไปตามทศิ ทางของลมจนกระท่งั ปะทะ
กับขอบทวีปทศิ ทางการไหลของกระแสนา้ ผิวหน้ามหาสมุทรเปล่ียนแปลงไป
• แรงคอริออลสิ กระแสนา้ ผิวหน้ามหาสมุทรเคล่ือนท่ไี ปตามทศิ ทางลม แต่เน่ืองจาก
อิทธิพลของแรงคอริออลสิ ทาให้ ทศิ ทางการไหลของนา้ เบ่ียงออกจากทศิ ทางลม

นา้ จะเคล่ือนท่หี มุนเวียนเป็ นวงในทศิ ตามเขม็ นาฬิกาในซกี โลกเหนือ
และทวนเข็มนาฬิกาในซกี โลกใต้



กระแสนา้ อ่นต และกระแสนา้ เยน็

กระแสนา้ อุ่น คือ กระแสนา้ ท่ีมอี ณุ หภมู สิ งู กวา่ นา้ ทะเลบริเวณ
โดยรอบ กระแสนา้ อ่นุ จะไหลจากละตจิ ดู ต่าไปยงั บริเวณละตจิ ูดทีส่ งู ขนึ ้

กระแสนา้ เยน็ คือ กระแสนา้ ท่ีมอี ณุ หภมู ติ ่ากวา่ นา้ ทะเลบริเวณ
โดยรอบ กระแสนา้ เยน็ จะไหลจากละตจิ ดู สงู ไปยงั บริเวณละตจิ ดู ท่ีตา่ ลง

ความสัมพนั ธ์ระหว่างกระแสนา้ กบั อตณหภูมอิ ากาศและปริมาณฝน

กระแสนา้ ส่งผลต่ออุณหภมู อิ ากาศและปริมาณฝน
- บริเวณท่มี กี ระแสนา้ อนุ่ ไหลผา่ นจะเกิดการถา่ ยโอนความร้อนจากนา้ ไปยงั อากาศ

ทาให้อณุ หภมู อิ ากาศสงู ขนึ ้ และเกิดฝนตกได้มากเนอ่ื งจากนา้ สามารถระเหยเข้าสู่อากาศ
ได้มากจงึ มีความความชืน้ สงู

- บริเวณทมี่ ีกระแสนา้ เย็นไหลผา่ นจะเกิดการถ่ายโอนความร้อน จากอากาศไปยงั นา้
ทาให้อณุ หภมู อิ ากาศตา่ ลงและเกิดฝนตกได้น้อยเนือ่ งจากนา้ สามารถระเหยเข้าสู่อากาศได้น้อย
จึงมีความความชืน้ ต่า

บริเวณท่มี ีกระแสนา้ อ่นุ กับกระแสนา้ เยน็ ไหลมาบรรจบกันมคี วาม
อุดมสมบรู ณ์ เน่ืองจากกระแสนา้ เยน็ มสี ารอาหารมากเม่อื มาบรรจบกับ
กระแสนา้ อ่นุ ทาให้บริเวณดังกล่าวเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของ
แพลงก์ตอนพชื ซ่งึ เป็ นอาหารให้กบั สัตว์นา้ ชนิดอ่นื ในมหาสมุทร เม่ือมี
แพลงก์ตอนพชื จานวนมากจะส่งผลให้บริเวณดังกล่าวมี สัตว์นา้ ชุกชุม เช่น
บริเวณครู ิลแบงค์ ซ่ึงอย่นู อกชายฝ่ังประเทศญ่ีป่ นุ

การไหลมาบรรจบกันของกระแสนา้ อ่นุ และกระแสนา้ เยน็ ยงั
ก่อให้เกดิ สภาพลมฟ้าอากาศท่เี ป็ นหมอกปกคลุมไปท่วั บริเวณทาให้ทศั น
วสิ ยั ในการมองเหน็ ต่า การเดนิ ทางโดยเรือในบริเวณนีจ้ ึงต้องใช้ความ
ระมดั ระวงั เป็ นพเิ ศษ เพราะอาจทาให้เกดิ อบุ ตั เิ หตุทางทะเล

ปรากฏการณ์ เอลนีโญและลานีญา

เอลนีโญและลานีญา เป็ นรูปแบบการเปล่ียนแปลง
อุณหภมู ขิ องนา้ ผวิ หน้ามหาสมุทรบริเวณมหาสมุทร
แปซฟิ ิ ก โดยนา้ จะอุ่นขนึ้ หรือเยน็ ลงผดิ ปกติ

ปรากฏการณ์เอลนีโญ

ปรากฏการณ์เอลนีโญ เกิดขนึ้ เม่อื ลมค้าอ่อนกาลังกว่าปกติ
นา้ อุ่นบริเวณผิวหน้ามหาสมุทรแปซฟิ ิ กถกู พดั ไปสะสมยัง
ชายฝ่ังด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซฟิ ิ กได้น้อยลง ทาให้บริเวณ
นีม้ อี ุณหภมู ติ ่ากว่าปกติ ส่วนชายฝ่ังด้านตะวนั ออกของมหาสมุทร
แปซฟิ ิ กนา้ ชนั้ ล่างยกตัวขนึ้ ด้านบนได้น้อยลง ทาให้บริเวณนีม้ ี
อุณหภมู สิ ูงกว่าปกติ

ปรากฏการณ์ลานีญา

ปรากฏการณ์ลานีญาเกดิ ขนึ้ เม่อื ลมค้ามีกาลังแรงกว่าปกติ
นา้ อุ่นบริเวณผิวหน้ามหาสมุทรแปซฟิ ิ กถกู พดั ไปสะสมยัง
ชายฝ่ังด้านตะวันตกของมหาสมุทรแปซฟิ ิ กได้ มากขนึ้ ทาให้
บริเวณนีม้ ีอุณหภมู สิ ูงกว่าปกติ ส่วนชายฝ่ังด้านตะวันออกของ
มหาสมุทรแปซฟิ ิ กนา้ ชัน้ ล่างยกตวั ขนึ้ ด้านบนได้มากขนึ้ ทาให้
บริเวณนีม้ อี ุณหภมู ติ ่ากว่าปกติ

ลมค้าในสภาวะปกติ

เอลนีโญ เกดิ เม่อื ลมค้าอ่อนกาลังกว่าปกติ

ลานญี า เกดิ เม่ือ ลมค้ามกี าลงั แรงกว่าปกติ


Click to View FlipBook Version