The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

4.3 RBM-65_กกว.1-65_211264-ebook

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Narumon Sunthornthip, 2021-12-10 00:58:05

4.3 RBM-65

4.3 RBM-65_กกว.1-65_211264-ebook

ประชุมคณะกรรมการวชิ าการ ครงั้ ทเอี่ ก1ส/2า5ร6ป5ระวกนั อทบี่ ร2ะ1เบมธยีนัคบวอวา.าค2รมะท2่ี546.34

หลกั สตู รบรหิ ารธุรกิจบณั ฑติ
สาขาวชิ าการจดั การธรุ กิจภัตตาคาร

หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2565

หลักสูตรปริญญาตรปี ฏบิ ตั กิ าร

คณะการจัดการธรุ กจิ อาหาร
สถาบันการจดั การป'ญญาภิวฒั น)

ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

สารบญั หนา5

เร่อื ง

หมวดที่ 1 ข5อมลู ทั่วไป 1
1. รหัสและชื่อหลักสูตร 1
2. ชือ่ ปรญิ ญาและสาขาวิชา 1
3. วิชาเอก 1
4. จาํ นวนหนว! ยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 1
5. รปู แบบของหลักสูตร 1
6. สถานภาพของหลกั สูตรและการพจิ ารณาอนุมตั /ิ เห็นชอบหลักสตู ร 2
7. ความพรอ2 มในการเผยแพร!หลักสูตรทมี่ ีคุณภาพและมาตรฐาน 2
8. อาชพี ทส่ี ามารถประกอบไดห2 ลังสาํ เรจ็ การศึกษา 2
9. ชื่อ นามสกลุ เลขประจําตัวบตั รประชาชน ตําแหนง! และคุณวุฒิการศกึ ษาของอาจารยผ= รู2 บั ผิดชอบหลกั สูตร 3
10. สถานทีจ่ ดั การเรียนการสอน 4
11. สถานการณ=ภายนอกหรือการพฒั นาทจ่ี าํ เป?นต2องนาํ มาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 4
12. ผลกระทบจาก ข2อ 11.1 และ 11.2 ตอ! การพฒั นาหลักสูตรและความเกี่ยวข2องกับพันธกจิ ของสถาบนั 6
13. ความสัมพันธ=กับหลักสูตรอ่ืนทเ่ี ปดA สอนในคณะ/ภาควิชาอนื่ ของสถาบนั 8

หมวดท่ี 2 ข5อมูลเฉพาะของหลกั สูตร 9
1. ปรชั ญา ความสําคญั และวัตถปุ ระสงค=ของหลักสูตร 9
2. แผนพัฒนาปรับปรุง 11

หมวดท่ี 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสร5างของหลักสูตร 13
1. ระบบการจดั การศกึ ษา 13
2. การดําเนินการหลกั สตู ร 13
3. หลักสตู รและอาจารยผ= ู2สอน 15
4. องค=ประกอบเกยี่ วกับประสบการณ=ภาคสนาม 56
5. ขอ2 กาํ หนดเกยี่ วกับการทาํ โครงงานหรืองานวิจยั 57

ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

สารบัญ (ต?อ) หน5า

เรื่อง

หมวดท่ี 4 ผลการเรียนรู5ของหลกั สตู ร กลยุทธ)การจดั การศกึ ษา และวธิ ีการประเมนิ ผล 58
1. แผนการเตรยี มความพรอ2 มของนักศึกษาเพอื่ ใหบ2 รรลผุ ลลัพธ=การเรียนร2ตู ามทคี่ าดหวัง 58
2. ความสอดคล2องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF) และประเภทของผลลัพธ=การเรียนรู2
ตามท่ีคาดหวังของหลกั สูตร (Program Learning Outcomes: PLOs) 60
3. กลยุทธก= ารจดั การศึกษาให2เป?นไปตามผลลัพธ=การเรยี นร2ูตามทีค่ าดหวงั ของหลกั สูตร 63
4. ผังแสดงความเช่อื มโยงผลการเรียนรู2จากหลักสูตรสร!ู ายวิชา (Curriculum Mapping) 72

หมวดที่ 5 หลักเกณฑ)ในการประเมินผลนักศกึ ษา 87
1. กฎระเบยี บหรือหลกั เกณฑ=ในการประเมนิ ผลการศึกษา 87
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 87
3. เกณฑ=การสาํ เรจ็ การศึกษาตามหลกั สูตร 88

หมวดท่ี 6 การพฒั นาอาจารย) 89
1. การเตรียมการสาํ หรับอาจารย=ใหม! 89
2. การพฒั นาความรู2และทักษะให2แก!คณาจารย= 89

หมวดที่ 7 การประกนั คุณภาพหลกั สูตร 91
1. การกํากับมาตรฐาน 91
2. บัณฑติ 91
3. นกั ศกึ ษา 91
4. อาจารย= 92
5. หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมนิ ผ2ูเรยี น 92
6. สิ่งสนับสนนุ การเรียนรู2 94
7. ตัวบง! ช้ผี ลการดาํ เนนิ งาน (Key Performance Indicators) 95

ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

สารบญั (ตอ? ) มคอ.2

เรื่อง หนา5

หมวดท่ี 8 การประเมินและปรบั ปรงุ การดําเนนิ การของหลกั สูตร 97
1. การประเมนิ ประสิทธิผลของการสอน 97
2. การประเมนิ หลักสูตรในภาพรวม 98
3. การประเมินผลการดาํ เนนิ งานตามรายละเอยี ดหลักสตู ร 98
4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรบั ปรุง 98

ภาคผนวก 99
100
ภาคผนวก ก ประวัตอิ าจารย=ผ2ูรบั ผิดชอบหลักสูตรและอาจารยป= ระจําหลักสตู ร 130
144
ภาคผนวก ข ข2อบังคบั สถาบันการจดั การปfญญาภวิ ฒั น= ว!าด2วยการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2560 148
192
ระเบียบสถาบันการจดั การปfญญาภวิ ัฒน= วา! ดว2 ยการเทยี บโอนผลการเรียน 194
ระดับปรญิ ญาเข2าส!ูการศึกษาในระบบ พ.ศ. 2560 195

ภาคผนวก ค รายละเอยี ดการปรับปรุงหลักสูตร 197

ภาคผนวก ง คําส่งั สถาบนั การจัดการปfญญาภวิ ัฒน= ท่ี 132/2562
เรอ่ื ง แต!งต้ังคณะกรรมการวิชาการ สถาบนั การจัดการปfญญาภิวัฒน=

คําสงั่ สถาบันการจดั การปญf ญาภวิ ัฒน= ท่ี 213/2563
เร่ือง แต!งต้ังคณะกรรมการวชิ าการ สถาบันการจัดการปfญญาภวิ ฒั น= ด2านพยาบาล (เพิ่มเติม)

คาํ สั่งสถาบนั การจัดการปญf ญาภิวัฒน= ท่ี 217/2564

เรอื่ ง แตง! ตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลกั สูตรบริหารธรุ กิจบัณฑิต
สาขาวชิ าการจดั การธรุ กจิ ภัตตาคาร

หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2565

ภาคผนวก จ กระบวนการกําหนดผลลัพธก= ารเรยี นรู2ตามที่คาดหวงั ของหลกั สูตรและการ
ออกแบบรายวิชาในหลักสตู ร บนหลักการ Outcome – based Education

ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

หลกั สตู รบรหิ ารธุรกิจบณั ฑติ
สาขาวชิ าการจดั การธุรกจิ ภตั ตาคาร

หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2565

ช่ือสถาบนั อดุ มศึกษา สถาบนั การจดั การปญf ญาภวิ ัฒน=
คณะ/ วิทยาลัย คณะการจัดการธุรกจิ อาหาร

หมวดที่ 1 ขอ5 มลู ทว่ั ไป

1. รหัสและชื่อหลกั สูตร
รหัสหลกั สูตร : 25582501100147
ภาษาไทย : หลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ บณั ฑิต สาขาวิชาการจัดการธรุ กจิ ภตั ตาคาร
ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Business Administration Program in Restaurant Business
Management

2. ช่ือปริญญาและสาขาวิชา
ภาษาไทย (ช่อื เตม็ ) : หลักสตู รบรหิ ารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการธุรกจิ ภัตตาคาร)
(อักษรยอ! ) : บธ.บ. (การจัดการธรุ กิจภตั ตาคาร)
ภาษาองั กฤษ (ช่ือเต็ม) : Bachelor of Business Administration
(Restaurant Business Management)
(อักษรย!อ) : B.B.A. (Restaurant Business Management)

3. วชิ าเอก
ไมม! ี

4. จํานวนหน?วยกติ ทเ่ี รียนตลอดหลักสูตร
120 หน!วยกติ

5. รปู แบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
เป?นหลักสูตรระดบั ปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปn และใช2เวลาศึกษาไมเ! กนิ 8 ปnการศึกษา
5.2 ประเภทของหลกั สตู ร
เป?นหลกั สตู รปริญญาตรที างปฏบิ ตั กิ าร
5.3 ภาษาที่ใช5
หลักสูตรจดั การเรยี นการสอนเปน? ภาษาไทยและ/หรอื ภาษาองั กฤษ
5.4 การรับเข5าศกึ ษา
รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาตา! งชาตทิ ีส่ ามารถฟงf พดู อา! น เขียน และมคี วามเข2าใจภาษาไทยไดด2 ี
5.5 ความร?วมมือกับสถาบนั อ่ืน
เป?นหลักสตู รของสถาบนั โดยเฉพาะ

สถาบันการจัดการปfญญาภิวัฒน= 1

ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

5.6 การใหป5 รญิ ญาแก?ผส5ู าํ เร็จการศกึ ษา
ให2ปรญิ ญาเพยี งสาขาวิชาเดยี ว

6. สถานภาพของหลกั สตู รและการพจิ ารณาอนุมตั ิ/เหน็ ชอบหลักสตู ร
หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2565
กําหนดเปAดสอนภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกn ารศึกษา 2565
หลักสูตรปรับปรงุ จากหลกั สตู รบรหิ ารธรุ กิจบณั ฑิต สาขาวิชาการจดั การธรุ กิจภัตตาคาร
หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. 2562
คณะกรรมการพัฒนาหลักสตู ร เหน็ ชอบในการประชมุ หลักสตู รคร้งั ท่ี 1/2565
เมอ่ื วนั ที่ 3 เดือน กันยายน พ.ศ. 2564

☐ คณะกรรมการวิชาการสถาบัน เห็นชอบให2นําเสนอหลักสูตรต!อสภาสถาบัน ในการประชุม
ครงั้ ท่ี 1/2565 เมือ่ วันท่ี 21 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2564

☐ ได2รับอนุมัติหลักสูตรจากสภาสถาบัน ในการประชุมคร้ังท่ี 1/2565 เม่ือวันที่ 25 เดือน มกราคม
พ.ศ. 2565

7. ความพร5อมในการเผยแพร?หลักสตู รทีม่ ีคุณภาพและมาตรฐาน
หลกั สตู รมีความพรอ2 มในการเผยแพร!คุณภาพและมาตรฐานตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ ารเรอ่ื ง

มาตรฐานคุณวุฒิระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2552 ในปnการศึกษา 2567

8. อาชพี ท่สี ามารถประกอบได5หลงั สาํ เรจ็ การศึกษา
(1) ผูป2 ระกอบการธุรกจิ ร2านอาหารและภตั ตาคาร
(2) ผู2จดั การร2านอาหารและภัตตาคาร
(3) ทมี บริหารดา2 นธุรกิจร2านอาหารและภตั ตาคาร
(4) นกั พัฒนาและออกแบบเน้ือหา(content)ท่เี กีย่ วข2องกับธุรกจิ อาหารและภตั ตาคารบนสอ่ื ออนไลน=
(5) เจ2าหน2าท่ีฝsกอบรมดา2 นธุรกจิ ร2านอาหารและภัตตาคาร
(6) ตวั แทนจาํ หนา! ยและผ2ใู ห2คาํ แนะนําดา2 นเครื่องมือ อุปกรณ=ในธรุ กจิ รา2 นอาหารและภัตตาคาร
(7) เจา2 หน2าที่จัดซอ้ื จดั หาวตั ถดุ บิ และส!วนประกอบทเี่ ก่ียวข2องกบั ธุรกจิ รา2 นอาหารและภตั ตาคาร

สถาบนั การจดั การปญf ญาภิวัฒน= 2
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั



9. ช่อื นามสกุล เลขประจําตัวบัตรประชาชน ตาํ แหน?ง และคณุ วฒุ ิการศึกษาของอาจารย)ผ

ลําดับที่ ชอื่ – สกลุ ตําแหน?งทาง คณุ วุฒิ สาขาวิชาเอก
วชิ าการ
1 อ. นภเกตน= สายสมบตั ิ อาจารย= วท.ม. คหกรรมศาสตร=

อาจารย= คศ.บ. อาหารและโภชนาการ

อาจารย= ปร.ด. การจดั การ
อาจารย= (ภาคภาษาอังกฤษ)

2 อ. ดร.อัครพันธ= รัตสขุ อาจารย= M.A. Social Sciences

M.A. Economics

บธ.บ. การตลาด

3 อ. รตั นศ= ริน แกว2 ตา M.B.A International Business
4 อ. สุนันทา คเชศะนันทน=
บธ.บ. การจัดการโฆษณา

บธ.ม. บริหารธรุ กจิ

วท.ม. จุลชวี วิทยาทาง

อุตสาหกรรม

วท.บ. จุลชวี วทิ ยา

คศ.ม. บรหิ ารธรุ กจิ คหกรรม

5 อ. จรุ ีมาศ ชะยะมังคะลา ศาสตร=

วท.บ. คหกรรมศาสตร=

สถาบนั การจดั การปญf ญาภวิ ัฒน=

มคอ.2

ผู5รับผิดชอบหลักสูตร ปHทส่ี ําเร็จ เลขประจําตวั ประชาชน/
เลขที่หนงั สอื เดินทาง
สถาบันที่สําเร็จการศกึ ษา
2552 3 1005 0101X XX X
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร= 2549
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
สถาบันบัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร= 2563

Queens College, New York, USA 2554 3 1006 0019X XX X
Brooklyn College, New York, USA
มหาวิทยาลัยรงั สิต 2549
Southern States University, California, U.S.A
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ 2541
มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
จุฬาลงกรณ=มหาวิทยาลยั 2556 3 7301 0145X XX X
2550
จุฬาลงกรณม= หาวิทยาลยั
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 2557

มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร= 2529 3 1009 0472X XX X

2524

2555
1 1008 0054X XX X

2553

3
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

10. สถานท่จี ดั การเรยี นการสอน
สถาบนั การจดั การปญf ญาภวิ ัฒน= จงั หวัดนนทบรุ ี

☐ สถาบันการจดั การปfญญาภวิ ัฒน= วิทยาเขตอีอีซี จงั หวัดชลบุรี

11. สถานการณ)ภายนอกหรอื การพฒั นาที่จาํ เปJนต5องนาํ มาพจิ ารณาในการวางแผนหลกั สตู ร
11.1 สถานการณห) รือการพฒั นาทางเศรษฐกจิ
จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห!งชาติ ฉบับท่ี 13 ซ่ึงเป?นแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5

ปn (พ.ศ. 2566 – 2570) เพ่ือให2เกิดผลสัมฤทธิ์ในทิศทางที่จะนําไปส!ูการบรรลุเป€าหมายตามยุทธศาสตร=ชาติ 20 ปn
การวางกรอบทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 มีจุดประสงค=เพื่อพลิกโฉมประเทศ
ไทยหรือเปลี่ยนแปลงประเทศขนานใหญ! (Thailand’s Transformation) ภายใต2แนวคิด “Resilience” ซึ่งมี
จุดม!ุงหมายในการลดความเปราะบาง สร2างความพร2อมในการรบั มือกับการเปล่ียนแปลง สามารถปรบั ตัวให2อย!ูรอด
ได2ในสภาวะวิกฤติ โดยสร2างภูมิคุ2มกันทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพ่ือให2ประเทศสามารถเติบโตได2อย!างย่ังยืน
ในองค=ประกอบสําคัญ 4 ประการ ได2แก! 1) เศรษฐกิจมูลค!าสูงที่เป?นมิตรต!อสิ่งแวดล2อม (High Value-Added
Economy) 2) สังคมแห!งโอกาสและความเสมอภาค (High Opportunity Society) 3) วิถีชีวิตที่ย่ังยืน (Eco-
Friendly Living) และ 4) ปfจจัยสนับสนนุ การพลกิ โฉมประเทศ (Key Enablers for Thailand’s Transformation)
โดยประเทศไทยให2ความสําคัญกับการเสริมสร2างความสามารถในการบริหารจัดการและรับมือกับความเสี่ยง
ตลอดจนสรรค=สร2างประโยชน=จากโอกาสที่เกิดข้ึนได2อย!างเหมาะสมและทันท!วงที ซ่ึงความเชื่อมโยงระหว!าง
แนวโน2มการเปลี่ยนแปลงระดับโลก (Megatrends) ตลอดจนผลกระทบและความปกติใหม! (New Normal) จาก
สถานการณ=การแพร!ระบาดของโรคโควิด-19 ส!งผลต!อแนวโน2มการเปล่ียนแปลงระดับโลกหลายประการอย!างมี
นัยสําคัญ โดยแนวโน2มการเปลี่ยนแปลงที่ได2รับผลกระทบจากโควิด-19 มากที่สุด ได2แก! ความก2าวหน2าทาง
เทคโนโลยี การดูแลรักษาสุขภาพและการรักษาพยาบาล การขยายตัวของความเป?นเมือง แนวโน2มเศรษฐกิจ
การเมอื งระหว!างประเทศ และอนาคตของงาน รวมถงึ พฤติกรรมการดํารงชวี ิตที่เปล่ียนแปลงไป โดยมียุทธศาสตร=ที่
สําคัญ คือ การพัฒนาคนทุกช!วงวัยให2เต็มตามศักยภาพ โดยเฉพาะในกล!ุมผ2ูสูงวัยท่ียังมีสุขภาพดี เพ่ือให2สามารถ
พงึ่ พาตนเองและช!วยเหลือสังคมได2 และสามารถปรับใช2เทคโนโลยีได2อย!างเหมาะสม เนื่องจากการเข2าสู!สังคมสงู วัย
มีแนวโน2มทําให2งานในอุตสาหกรรมการแพทย=และสุขภาพมีจํานวนเพ่ิมข้ึน ตลอดจนกระแสความใส!ใจด2าน
สงิ่ แวดล2อมจะส!งผลให2งานสีเขียว (Green Jobs) ทวีความสาํ คัญในตลาดแรงงานมากยิ่งข้ึน นําไปสู!การเกิดข้ึนของ
งานในอาชีพใหม!ๆ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงข2างต2น นําไปส!ูความต2องการทักษะของแรงงานในลักษณะใหม!ๆ โดย
นอกเหนือจากทักษะทางปfญญา (Cognitive) หรือทักษะเชิงเทคนิค (Technical Skills) อาทิ สเต็ม (Science
Technology Engineering and Mathematics;STEM) แล2ว ยังเป?นที่คาดการณ=กันว!าทักษะทางพฤติกรรม
(Non-Cognitive) หรือทักษะด2านมนุษย[ (Human Skills) อาทิความคิดสร2างสรรค= การสื่อสาร หรือการทํางาน
เป?นทีม ทักษะด2านภาษาต!างประเทศ ทักษะด2านดิจิทัลและทักษะการเป?นผู2ประกอบการ รวมถึงทักษะ
ทางสังคม/พฤติกรรม (Soft Skills) อาทิ ทักษะการคิดเชิงวิพากษ= ความคดิ สร2างสรรค= ความสามารถในการปรบั ตัว
การยอมรับความแตกต!าง และการส่ือสารและการทํางานร!วมกับผู2อ่ืนพร2อมท้ังส!งเสริมการสร2างสังคมแห!งการ
เรยี นร2ูตลอดชีวิตจะเป?นที่ต2องการและเป?นงานสําหรับอนาคต เนอ่ื งจากเป?นทักษะเฉพาะที่เทคโนโลยีสมัยใหม!ยังไม!
สามารถทดแทนแรงงานมนษุ ย=ได2

ธุรกิจภัตตาคาร เป?นธุรกิจพื้นฐานที่ค!ูกับสังคมไทย และเป?นธุรกิจท่ีเก่ียวเนื่องกับการบริโภคและ
อุตสาหกรรมการท!องเที่ยว แต!สภาพแวดล2อมธุรกิจร2านอาหารยังมีความท2าทายสูงจากความเส่ียงของโควิด-19

สถาบนั การจัดการปfญญาภิวฒั น= 4
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

และกําลังซื้อของผู2บริโภคที่ลดลง ซึ่งคาดว!าจะส!งผลกระทบต!อร2านอาหารแต!ละประเภท ในรูปแบบท่ีต!างกัน โดย
ศูนยว= จิ ยั กสกิ รไทย ประเมินว!าธุรกิจร2านอาหารในปn 2564 มูลค!าตลาดร2านอาหารยังขยายตวั ท่ปี ระมาณร2อยละ 1.4
– 2.6 จะมีมูลค!ารวม 4.10 – 4.15 แสนล2านบาท ในภาวะที่ความท2าทายรอบด2านสูง ผ2ูประกอบการจําเป?นต2อง
ปรับรูปแบบธุรกิจมาเป?นร2านอาหารขนาดเล็ก (Compact Size) มากขึ้น ซ่ึงจําเป?นต2องเคลื่อนเข2าส!ูกล!ุมลูกค2า
เป€าหมายได2อย!างครอบคลุมและรวดเร็ว (Mobility) ตัวอย!างของร2านอาหารประเภทดังกล!าวได2แก! ร2านอาหาร
ช่ัวคราว (Pop up restaurant) ,ร2านอาหารประเภท ฟ€ูดทรัค (Food Truck) รวมไปถึงร2านอาหารประเภทครัว
กลาง (Cloud Kitchen) และความยืดหย!ุนในการบริหารจัดการ (Flexibility) ท่ีรวมถึงความยืดหย!ุนในช!องทาง
การตลาด หรือความสามารถในการปรับเปล่ียนข้ันตอนและรูปแบบต!างๆ ในห!วงโซ!ธุรกิจ โดยตัวอย!าง ได2แก!
ร2านอาหารขนาดเล็กที่มีพื้นท่ีจํากัด ซึ่งมีจุดเด!นที่การใช2เงินลงทุนล!วงหน2าและเงินทุนหมุนเวียนท่ีน2อยกว!า
ร2านอาหารขนาดกลาง-ใหญ! โอกาสในความสําเร็จยังข้ึนอยู!กับปfจจัยเฉพาะ แต!ละร2านอาหาร ซ่ึงรวมถึงมาตรฐาน
ของการป€องกันโควิดในทุกๆจุดของบริการ ไม!ว!าจะเป?นด2านวัตถุดิบ การปรุง และการจัดส!ง เพราะสถานการณ=ท่ี
เกิดขึ้นทําให2ผู2บริโภคคงจะเลือกซื้อจากผ2ูประกอบการท่ีทําเรื่องดังกล!าวได2อย!างน!าเช่ือถือมากกว!า ดังนั้นเพ่ือ
ตอบสนองกล!ุมผู2ประกอบการด2านธุรกิจร2านอาหารและภัตตาคารกล!ุมดังกล!าว ที่ต2องการบุคลากรที่มีความร2ู และ
ทักษะในการทํางานและรองรับการขยายตัวของธุรกิจร2านอาหารและภัตตาคาร หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการธุรกิจภัตตาคาร คณะการจัดการธุรกิจอาหาร จึงได2มีการปรับปรุงหลักสูตรให2สอดคล2องกับ
สถานการณ=ปfจจุบัน โดยการปรับปรุงรายวิชาต!าง ๆ ให2มีความทันสมัย มีการบูรณาการความร2ูด2านต!าง ๆ ให2
สามารถนําไปปฎิบัตไิ ด2จริง โดยเฉพาะความรทู2 ่ีเกี่ยวกับการจัดการธรุ กิจภัตตาคาร การนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยและ
นวัตกรรมไปประยุกต=ใช2ในธุรกิจ รวมท้ังให2สอดคล2องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห!งชาติ ฉบับที่ 13 ท่ีให2
ธรุ กิจอาหารเป?นหน่ึงในธุรกิจทมี่ ีศักยภาพในการพัฒนา และมีแนวโน2มเติบโตอยา! งตอ! เนอื่ งทั้งภายในประเทศ และ
ต!างประเทศ ตลอดจนผลิตบัณฑิตท่ีมีความร2ูความสามารถและตรงตามความต2องการของผู2ประกอบการธุรกิจ
ภตั ตาคาร เปน? การเสริมสร2างศักยภาพใหแ2 ก!ธุรกิจภตั ตาคารของประเทศไทยอยา! งย่ังยนื

11.2 สถานการณ)หรือการพัฒนาทางสังคมและวฒั นธรรม
ปfจจุบันรูปแบบการดําเนินชีวิตของคนไทยมีการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบคนเมืองมากขึ้น ทั้งด2าน

การติดต!อสื่อสารและการรับวัฒนธรรมระหว!างสังคมต!าง ๆ มีวิถีชีวิตท่ีเต็มไปด2วยความเร!งรีบ และแข!งขัน
กลายเป?นสังคมเมือง (Urbanization) เพ่ิมมากข้ึน ทําให2พฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนไทยเปลี่ยนแปลง
มีเวลาจาํ กัดในการจัดการเร่อื งอาหารทจ่ี ะบริโภคในแต!ละม้ือ จึงจําเป?นต2องใช2บริการอาหารนอกบา2 นเป?นส!วนใหญ!
ซ่งึ ผบู2 ริโภคจะให2ความสําคัญกบั ความสะดวก คุณภาพของอาหารและความปลอดภัยต!อการบริโภค นอกเหนือจาก
รสชาติของอาหาร การเปลี่ยนแปลงเหล!าน้ีเป?นสิ่งจําเป?นสําหรับผ2ูประกอบการธุรกิจภัตตาคารท่ีต2องนํามาปรับกล
ยทุ ธ=การดาํ เนินธรุ กิจให2สอดคล2องกบั พฤติกรรมของผบู2 ริโภค ซึง่ เป?นปจf จัยสาํ คัญนํามาส!คู วามสําเรจ็ ในการประกอบ
ธุรกิจ ดังน้ันหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจภัตตาคารจึงจําเป?นต2องมีการปรับปรุงและ
พัฒนาหลักสูตร ให2สอดคล2องกับบริบทของสังคมและวัฒนธรรมตลอดจนรูปแบบ การดําเนินชีวิตของผ2ูบริโภคใน
ยุคปfจจบุ นั

สถาบันการจัดการปญf ญาภวิ ฒั น= 5
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

12. ผลกระทบจาก ข5อ 11.1 และ 11.2 ต?อการพัฒนาหลักสูตรและความเก่ยี วข5องกับพนั ธกิจของสถาบัน
12.1 การพฒั นาหลกั สูตร
จากการเปล่ียนแปลงทางด2านเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม รวมทั้งข2อเสนอแนะในการ

ดําเนินงานของหลักสูตรจากผู2ประกอบการด2านธุรกิจภัตตาคารซ่ึงเป?นผู2มีส!วนได2เสียและผ2ูทรงคุณวุฒิในการ
ประเมินหลักสูตร หลักสูตรจึงได2มีการปรับปรุงโครงสร2างหลักสูตร โดยมีการเปลี่ยนแปลงจํานวนรายวิชาในทุก
หมวดวิชาของหลักสูตร รวมท้ังมีการเพิ่มหรือลดรายวิชาในแต!ละหมวดวิชาเฉพาะทางด2านการจัดการธุรกิจ
ภัตตาคาร เพื่อให2ตอบโจทย=ภาคธุรกิจ ให2มีความทันสมัยทันต!อสถานการณ=ปfจจุบัน รวมท้ังสอดคล2องต!อการ
เปล่ียนแปลงตามบรบิ ทด2านเศรษฐกิจและสงั คมในยคุ โลกาภิวัฒน= หลักสตู รได2มกี ารบรู ณาการความรู2ในศาสตร=ด2าน
ต!าง ๆ เพื่อนําไปส!ูการสร2างรายวิชาท่ีมีความทันสมัยและเป?นที่ต2องการของภาคธุรกิจเพิ่มมากขึ้น อาทิเช!น การ
จัดการคุณภาพและความปลอดภัยของอาหารสําหรับธุรกิจภัตตาคาร การจัดการนวัตกรรมในธุรกิจภตั ตาคาร การ
จัดการอุปกรณ=ครัวและสิ่งอํานวยความสะดวกในธุรกิจภัตตาคาร การจัดการสูตรอาหารเพื่อการประกอบธุรกิจ
การจัดการวัตถุดิบและการประกอบอาหาร การบริหารต2นทุนในธุรกิจภัตตาคาร กฎหมายและข2อบังคับสําหรับ
ธุรกิจภัตตาคาร การเปน? ผป2ู ระกอบการในธรุ กิจภัตตาคาร เปน? ตน2 เพ่ือใหส2 อดคลอ2 งกบั สถานการณ=ปจf จบุ นั ของภาค
ธุรกิจและนโยบายประเทศไทย 4.0 โดยเน2นการเพิ่มศักยภาพการผลิตบุคลากรด2านการจัดการธุรกิจภัตตาคารที่มี
ความร2ู ทักษะวิชาชีพ และทักษะการสื่อสารภาษาต!างประเทศท่ีมีความพร2อมปฏิบัติงานได2ทันที เพ่ือตอบสนอง
ความตอ2 งการกําลงั คนในภาคธุรกิจภัตตาคาร

หลักสูตรดําเนินการพัฒนาหลักสูตรตามหลักการ Outcome Based Education (OBE) และ
ใช2เกณฑ=การประกันคุณภาพระดับสากลของ Asean University Network Quality Assurance Version 4.0
(AUN-QA Version 4.0) เป?นแนวทาง โดยจัดทําข2อกําหนดที่สําคัญของหลักสูตรจากข2อมูลป€อนกลับและ
ข2อเสนอแนะของผู2มีส!วนได2เสียภายนอกที่สําคัญ ได2แก! ผู2ใช2บัณฑิตหรือนายจ2าง ผู2ทรงคุณวุฒิ ศิษย=เก!า นักศึกษา
ปfจจุบัน รวมทั้งข2อมูลอ่ืนๆจากท้ังภาครัฐและนโยบายของสถาบัน และการเปล่ียนแปลงบริบทต!างๆของสังคม
ภายนอก เป?นต2น และใช2ข2อกําหนดนี้เป?นแนวทางในการออกแบบหลักสูตร โดยสร2างข2อกําหนดท่ีสําคัญเป?น
ผลลัพธ=การเรียนรู2ของหลักสูตร(Program Learning Outcomes : PLOs) จากการเก็บข2อมูลจากผู2มีส!วนได2เสีย
และแหล!งข2อมลู อื่นๆทีส่ าํ คญั ดงั นี้

- ความต2องการของนายจ2าง จากการสํารวจจากสถานประกอบการด2านธุรกิจภัตตาคารโดยใช2
แบบสอบถามและการสมั ภาษณค= วามพงึ พอใจและความคาดหวงั ต!อบคุ ลากรด2านการจดั การธุรกจิ ภตั ตาคาร

- ข2อคิดเห็นและข2อเสนอแนะจากผ2ูทรงคุณวุฒิต!อวัตถุประสงค=ของหลักสูตร โครงสร2างหลักสูตร
การจดั การเรียนการสอน เนอื้ หาสาระของหลกั สูตร

- ข2อคดิ เหน็ จากศษิ ยเ= กา! และนกั ศกึ ษาปfจจุบัน
- ทักษะท่ีจําเป?นในศตวรรษท่ี 21 ได2แก! ทักษะการเรียนร2ูและนวัตกรรม ทักษะเทคโนโลยีดิจิตัล
ทักษะชีวิตและอาชีพ
- มาตรฐานการเรียนรู2 5 ด2านตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดบั อุดมศึกษาแห!งชาติ
- วัตถุประสงค=และเป€าหมายในการผลิตบณั ฑติ ของหลกั สตู ร
- วิสยั ทัศน= ปรชั ญา และปณิธาน ของสถาบนั การจัดการปfญญาภวิ ัฒน=
- อัตลักษณ=นักศึกษาของสถาบันการจัดการปfญญาภิวัฒน=และคณะการจัดการธุรกิจอาหาร
สาขาวิชาการจัดการธรุ กจิ ภตั ตาคาร
- ทกั ษะการเรยี นร2ตู ลอดชวี ติ

สถาบันการจดั การปfญญาภวิ ัฒน= 6
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

จากการประมวลข2อมูลต!างๆข2างต2น หลักสูตรได2นํามาสังเคราะห=เป?นองค=ประกอบที่จําเป?นและมี
ประโยชน=ต!อการประกอบอาชีพในสายงานด2านธุรกิจภัตตาคาร และจัดทําเป?นผลลัพธ=การเรียนรู2ของหลักสูตร
(PLOs) และได2นําข2อคิดเห็นอื่นๆมาประกอบเป?นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร เมื่อได2เป?น
ผลลัพธ=การเรียนรูข2 องหลักสูตรแล2วจงึ มาจําแนกในกรอบของความร2ู ทักษะ และทัศนคติ เพ่ือระบุรายวชิ าที่จะเปAด
สอนในหลักสูตร ในการกําหนดรายวิชาของหลักสูตรนอกเหนือจากการนําผลลัพธ=การเรียนรู2มาเป?นข2อกําหนดที่
สาํ คัญ หลักสูตรได2คาํ นงึ ถึงปfญหาของการประยุกต=ใช2ความรต2ู !างๆของนักศึกษาในการคิด วิเคราะห=และสังเคราะห=
เพ่ือมุ!งสร2างความรู2ให2เกิดขึ้นได2ด2วยตนเอง จึงได2มีการปรับปรุงหลักสูตรจากเดิมท่ีเป?นหลักสูตรที่เน2นเนื้อหา
(Content-Based) ไปเป?นหลักสูตรท่ีเป?นฐานสมรรถนะ (Competency – Based) คือม!ุงไปยังพฤติกรรมของ
ผ2ูเรียนโดยตรง ยึดความสามารถที่ผู2เรียนพึงปฏิบัติได2เป?นหลัก เพ่ือเป?นหลักประกันว!าผู2เรียนจะมีทักษะและ
ความสามารถด2านต!างๆ อย!างเหมาะสมตามผลลัพธข= องการเรียนรู2ท่ีได2ระบุไว2 เมื่อผ!านการเรียนร2ูตามแนวทางของ
หลักสตู ร ซงึ่ การจัดทาํ หลักสูตรในลกั ษณะของฐานสมรรถนะดงั กล!าวยังมคี วามสอดคล2องกับปรัชญาการศึกษาของ
สถาบนั ที่เน2นการเรยี นร2ูของนักศึกษาผ!านระบบการเรียนร2ูภาคทฤษฎีควบคกู! บั การลงฝsกปฏิบตั ิ และการทาํ งานจริง
ที่เน2นการเรียนร2ูจากประสบการณ=จริง (Work-based Education; WBE) ทําให2นักศึกษานอกจากจะได2เรียนรู2ใน
ลักษณะท่ีทําให2เกิดสมรรถนะท่ีจําเป?นสําหรับการทํางานแล2ว ยังได2ลงฝsกปฏิบัติงานในสถานการณ=จริงท่ีมีความ
เช่ือมโยงกับบทเรียน เพ่ือสร2างความม่ันใจว!าการพัฒนาบุคลากรด2านการจัดการธุรกิจภัตตาคารของสถาบันฯ
จะสามารถตอบสนองความต2องการของตลาดแรงงาน และรองรับกับบริบทของแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5
ปn เพ่ือบรรลุเป€าหมายตามยุทธศาสตร=ชาติ 20 ปn ยกระดับการเรียนการสอนของสาขาวิชาการจัดการธุรกิจ
ภตั ตาคารใหม2 ปี ระสิทธภิ าพยง่ิ ขนึ้

12.2 ความเกี่ยวข5องกบั พันธกิจของสถาบัน
จากพนั ธกิจหลกั ของสถาบนั การจัดการปญf ญาภวิ ัฒน= ซ่ึงประกอบดว2 ย
- การสร2างคนที่มีคุณภาพและตรงกับความต2องการของภาคธุรกิจ สังคม และประชาคมโลกโดย

เน2นการเรียนร2จู ากประสบการณ=จริง (WBE)
- ผสมผสานองค=ความรู2เชิงวิชาการ และองค=กรธุรกิจ เพ่ือการจัดการเรียนการสอน การวิจัย

การบรกิ ารวชิ าการ และทาํ นุบํารงุ ศลิ ปวฒั นธรรม (Combination of Academic and Professional Expertise)
- สร2างเครือข!ายความร!วมมือ เพ่ือพัฒนาองค=ความร2ูและส!งเสริมนวัตกรรม (Collaborative

Networking)
- พัฒนาองค=กรท่ีพร2อมรับการเปล่ียนแปลง และมีระบบการบริหารจัดการท่ีดี (Transformative

Organization & Good Governance)
จากแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรในข2อ 12.1 ซึ่งใช2มาตรฐาน AUN-QA Version 4.0

และการจัดหลักสูตรในลักษณะของฐานสมรรถนะตามที่กล!าวไว2แล2ว จะเห็นได2ว!ามีความสอดรับและส!งเสริมพันธ
กิจของสถาบันฯ เป?นอย!างดี โดยเฉพาะอย!างยิ่งในด2านของการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ ตรงกับความต2องการของ
ผู2ใช2บัณฑิต มีขีดความสามารถในการผสานองค=ความรู2และเรียนร2ูได2ด2วยตนเองซ่ึงทําให2สามารถตอบรับกับการ
เปล่ียนแปลงและความต2องการต!างๆในอนาคตได2 นอกจากนี้หลักสูตรยังได2ใช2สมรรถนะหลักด2านเครือข!ายความ
ร!วมมือในธุรกิจอาหารและภัตตาคารท้งั ในประเทศและต!างประเทศในการเสริมสร2างสมรรถนะให2กับบัณฑิต ท้ังใน
ด2านของการให2ความร2ูจากผ2ูเช่ียวชาญที่ปฏิบัติจริงในธุรกิจ การจัดสถานที่ฝsกงานและพี่เล้ียงในระหว!างการฝsก
ปฏิบัติงานแก!นักศึกษา ซึง่ นอกจากจะทําให2นักศกึ ษาไดร2 ับความรู2จากการลงมอื ปฏบิ ัติจริงแล2ว ยังเสริมสร2างให2เกิด

สถาบันการจัดการปญf ญาภิวัฒน= 7

ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

คุณธรรม จริยธรรม หล!อหลอมพฤติกรรมของนักศึกษาให2เป?นบุคลากรและพลเมืองที่มคี ุณภาพ ทําให2การปรับปรุง
หลักสูตรของสาขาวิชาการจัดการธุรกิจภัตตาคาร หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565 ในครั้งนี้มีความพร2อมท่ีจะผลิต
บุคลากรมืออาชพี ปอ€ นแก!ภาคธุรกจิ ตลอดหว! งโซอ! ปุ ทานอาหารไดต2 ัง้ แตต! น2 น้ําจนถึงปลายนํา้

13. ความสมั พนั ธ)กบั หลกั สตู รอืน่ ทเี่ ปKดสอนในคณะ/ภาควชิ าอนื่ ของสถาบนั
13.1 กล?มุ วิชา/รายวชิ าในหลกั สูตรน้ีทีเ่ ปดK สอนโดยคณะ/ภาควชิ า/หลกั สตู รอ่นื
หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป
หมวดวิชาเฉพาะ
หมวดวชิ าเลอื กเสรี
13.2 กลุ?มวิชา/รายวชิ าในหลกั สูตรท่ีเปKดสอนให5ภาควชิ า/หลกั สูตรอืน่ ตอ5 งมาเรยี น
☐หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หมวดวชิ าเฉพาะ
หมวดวชิ าเลือกเสรี
13.3 การบริหารจดั การ
ในการจัดการเรียนการสอนน้ัน หลักสูตรได2มีการประสานงานกับสํานักและคณะต!าง ๆ ที่จัด

รายวิชาซ่ึงนักศึกษาในหลักสูตรต2องเรียน โดยวางแผนร!วมกันระหว!างผ2ูบริหาร อาจารย=ผ2ูสอนภายในคณะและ
ตา! งคณะ รวมถึงผู2ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข2องกับปฏิบัติการด2านการประกอบอาหาร การจัดการภัตตาคาร โดยมีการใช2
รูปแบบของการดําเนินงานของหลักสูตรเพื่อกําหนดเนื้อหา กลยุทธ=การสอน รวมถึงการวัดและประเมินผล ท้ังนี้
เพอื่ ให2นกั ศกึ ษาได2บรรลุผลการเรียนรู2ตามวัตถุประสงค=หลกั สูตร

สถาบนั การจดั การปfญญาภวิ ัฒน= 8
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

หมวดที่ 2 ข5อมลู เฉพาะของหลักสตู ร

1. ปรัชญา ความสาํ คญั และวัตถปุ ระสงคข) องหลกั สตู ร
1.1 ปรชั ญา
ม!ุงมั่นผลิตบัณฑิตท่ีมีความร2ู และทักษะวิชาชีพด2านการจัดการธุรกิจภัตตาคาร สอดคล2องกับความ

ต2องการของภาคธุรกิจ และสอดคล2องกับปรัชญาการศึกษาของสถาบันการจัดการปfญญาภิวัฒน= ที่มุ!งเน2นให2
นักศึกษาเรียนร2ูจากประสบการณ=จริง (Work-based Education) สามารถสร2างสรรค=นวัตกรรมท่ีนําไปใช2
ประโยชนใ= นภาคธุรกจิ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ในการปฏบิ ตั งิ านดา2 นธรุ กจิ ภัตตาคาร

1.2 ความสําคญั
จากสถานการณ=แพร!ระบาดของโควิด-19 ในรอบแรก ทําให2เกิดสิ่งที่เรียกว!า ความปกติใหม! (New
Normal) หรือชีวิตวิถีใหม! ท่ีเน2นเร่ืองการป€องกันตนเองด2วยมาตรการต!างๆ แต!เม่ือเกิดการระบาดใหม!ขึ้นอีก
ถงึ แม2คนจะเร่ิมคุ2นเคยกับสถานการณ= ไม!ตื่นตระหนกและรู2จักการใช2ชีวิตวิถีใหม!แล2ว แตเ! พ่อื ปอ€ งกันและยบั ยัง้ การ
แพร!ระบาดท่ีรวดเร็วและรุนแรงที่อาจเกิดขึ้นได2อีก จึงจําเป?นท่ีต2องสร2างความปกติถัดไป (Next Normal) ให2
เกิดข้ึน สําหรับ ความปกติถัดไป (Next Normal) คือการให2ความสําคัญกับการระมัดระวังและป€องกันตนเองเพ่ือ
ไม!ให2ไปสร2างปfญหาต!อผู2อื่น เช!น การระวังตนเองที่จะไม!นําเชื้อไปเผยแพร!แก!ผ2ูอ่ืน ซ่ึงทั้งกรณีของความปกติใหม!
และ ความปกติถัดไป (Next Normal) ที่เป?นสิ่งต2องปฏิบัติสําหรับผ2ูคนในสังคมก็ได2ส!งผลกระทบต!อธุรกิจต!างๆ
รวมท้ังธุรกิจภัตตาคารด2วย ทําให2เห็นถึงปรากฎการณ=ปรับตัวในรูปแบบต!างๆของธรุ กิจภัตตาคาร ไม!ว!าจะเป?นการ
ตรวจคัดกรองลกู คา2 ที่จะเขา2 ไปนงั่ รับประทานในรา2 น การจดั ให2มแี อลกอฮอล=ฆา! เชื้อไว2บริการตลอดเวลา การปรับวิธี
และความถ่ีของการทาํ ความสะอาดฆ!าเช้ือโรคภายในรา2 น การจัดการด2านสุขอนามัยสว! นบุคคลของพนักงานในรา2 น
การเข2าส!ูแพลตฟอร=มการส!งอาหาร (Delivery Platform) เป?นตน2 ซึ่งจะกลายเป?นวิถีปฏิบัติของธุรกิจภัตตาคารใน
ทส่ี ุด รวมทั้งการสรรหานวัตกรรมใหม!ๆท้ังในด2านการปฏบิ ัติการ ผลิตภัณฑ= และรูปแบบของการส!งมอบ สิ่งต!างๆ
เหล!าน้ีทําให2ธุรกิจภัตตาคารในอนาคตจําเป?นต2องอาศัยบุคลากรท่ีมีความรอบร2ู ไม!เพียงแต!ในด2านการประกอบ
อาหาร แตต! 2องมคี วามรูใ2 นการจัดการทุกดา2 นอย!างเหมาะสม ร2ูจักใช2เครื่องมือต!างๆในยุคใหม!ท้ังเทคโนโลยีและส่ือ
ออนไลน= รวมทั้งมีความคิดในเชิงบวกพร2อมที่จะฝ“าฝfนอุปสรรคต!างๆและตอบสนองต!อการเปลี่ยนแปลงต!างๆได2
อย!างรวดเร็ว การปรับปรุงหลกั สตู รเพ่ือใหท2 ันต!อการเปลย่ี นแปลงตา! งๆดงั กล!าวจะช!วยให2นักศึกษามคี วามพร2อมใน
การทํางานและเขา2 ใจในสถานการณ=ของโลกและสังคมที่มีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา เป?นบัณฑิตที่พึงประสงค=ต!อ
สังคมและผู2ประกอบการ และเปน? พลเมืองท่ีเปน? กําลงั สําคัญของประเทศในอนาคต
1.3 วตั ถปุ ระสงค)

1) ผลิตบัณฑิตที่มีความรู2 และทักษะวิชาชีพด2านการจัดการธุรกิจภัตตาคารสอดคล2องกับความ
ตอ2 งการของภาคธรุ กิจ เนน2 การเรียนรจู2 ากประสบการณจ= ริง

2) ผลิตบัณฑิตท่ีสามารถวิเคราะห=ข2อมูลและนําความรู2จากศาสตร=ต!างๆไปบูรณาการใช2ในธุรกิจ
ร2านอาหารและภัตตาคาร ตลอดจนสามารถสร2างสรรคน= วัตกรรมทีน่ ําไปใช2ประโยชนใ= นภาคธรุ กิจ

3) ผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม มีความเป?นผู2นํา มีความใฝ“รู2 สามารถใช2ความร2ูด2านภาษาใน
การสื่อสารและการเขียน รวมท้ังสามารถใช2เทคโนโลยีสารสนเทศได2อย!างมีประสิทธิภาพ และสามารถปฏิบัติตน
เปน? แบบอย!างทด่ี ีได2

4) ผลติ บณั ฑิตทีส่ ามารถแกไ2 ขปญf หาเฉพาะหน2าและกล2าตดั สนิ ใจในสถานการณ=ตา! งๆได2ดี
5) ผลิตบัณฑิตทสี่ ามารถปรับตวั เข2ากบั ทมี ในการปฏบิ ัตงิ านได2เป?นอย!างดี

สถาบนั การจดั การปญf ญาภิวัฒน= 9
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

1.4 ผลลัพธ)การเรียนรข5ู องหลักสูตร (Program Learning Outcomes : PLOs)
PLO1 อธบิ ายหลกั การและทฤษฎพี ้นื ฐานด2านการบรหิ ารจัดการ
PLO2 เลอื กเทคโนโลยเี พือ่ การจดั การธรุ กิจภตั ตาคาร
PLO3 ใช2ภาษาไทยในการส่ือความได2
PLO4 ใช2เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการค2นหาความร2ูสอ่ื สารและนําเสนอ
PLO5 ใชภ2 าษาต!างประเทศในการสอ่ื ความได2
PLO6 ประยกุ ต=ใช2หลกั การและทฤษฎีพนื้ ฐานด2านการบริหารจดั การกับการฝsกปฏบิ ตั ิและการ
บรหิ ารจดั การธุรกจิ ภตั ตาคาร
PLO7 วิเคราะห=ข2อมูลทั้งท่เี ป?นตวั เลขและไม!เป?นตัวเลข
PLO8 แก2ปญf หาเฉพาะหน2าในการให2บรกิ ารธรุ กิจภัตตาคาร
PLO9 แกป2 ญf หาในการดาํ เนินธรุ กจิ ภัตตาคารโดยใช2หลักการจดั การความเส่ยี ง
PLO10 ปฏิบัตงิ านในธรุ กิจภตั ตาคารไดต2 ามค!มู ือการปฏิบัติงาน
PLO11 ปฏบิ ตั งิ านในธรุ กิจภัตตาคารไดต2 ามสถานการณ=
PLO12 สร2างส่งิ ใหมท! ี่เป?นประโยชนต= !อธุรกจิ ภตั ตาคาร
PLO13 ยอมรับกฎระเบียบของสถานที่ปฏิบัตงิ าน
PLO14 แสดงถึงความรบั ผดิ ชอบตอ! งานที่ไดร2 ับมอบหมาย
PLO15 แสดงถึงความซ่ือสัตย=สจุ รติ
PLO16 อาสาทํางานท้ังท่ีได2รับการรอ2 งขอ หรือโดยไม!ต2องร2องขอ
PLO17 สรา2 งความสมั พนั ธ=สําหรับทีมงานท่ีมีความแตกต!างกันในการดําเนนิ ธุรกจิ ภตั ตาคาร
PLO18 ปฎบิ ัตงิ านรว! มกบั ผ2ูอ่ืนไดอ2 ยา! งราบรืน่
PLO19 ปฏบิ ัติตนอยา! งมจี ริยธรรมในการเรยี นและการทาํ งาน

1.5 เหตผุ ลของการพฒั นาหรอื การปรบั ปรงุ หลกั สตู ร
1) ดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรทุก ๆ 5 ปn เพื่อให2หลักสูตรมีความทันสมัย สอดคล2องกันความ

ตอ2 งการของผูใ2 ช2บัณฑติ

2) นําข2อเสนอแนะจากการปรับปรุง มคอ. 5 และ มคอ.7 ซ่ึงเป?นข2อเสนอแนะของผู2ปฏิบัติงาน ท้ัง

ผ2ูสอน ผเ2ู รียนมาใช2ในการปรับปรุงหลกั สูตร

3) สภาพเศรษฐกิจและสังคมมีการเปล่ียนแปลงอย!างต!อเน่ืองและรวดเร็ว ความก2าวหน2าของ

เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม! ๆ มีส!วนกับการจัดการภาคธุรกิจภัตตาคาร จึงมีความจําเป?นต2องปรับปรุงหลักสูตร

เดิมใหม2 ีความทนั สมัยและสอดคล2องกับสถานการณใ= นปจf จุบัน

4) สถาบันม!ุงเน2นให2ผ2ูเรียนนําความร2ูท่ีได2สามารถนําไปใช2ได2ในการปฏิบัติงาน จึงต2องปรับปรุง
เนอื้ หาของหลกั สตู รใหมใ! ห2องคค= วามรู2ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัตมิ ีความสอดคล2องกนั

5) สถาบนั กาํ หนดนโยบายให2ประยกุ ตใ= ชเ2 กณฑ= ASEAN University Network (AUN) เปน? แนวทาง
ในการปฏิบัติการประกันคุณภาพระดบั หลกั สูตรต้ังแตป! nการศกึ ษา 2563 โดยท่ีเกณฑ= AUN-QA ถือได2ว!าเป?นเกณฑ=
ที่ให2ความสําคัญกับคุณภาพของการศึกษา ซึ่งจะทําให2เกิดการพัฒนาการประกันคุณภาพในองค=รวมเพื่อยกระดับ
มาตรฐานของสถาบันการศึกษา การเรียนการสอน การวิจัยและการบริการวิชาการ จึงทําให2หลักสูตรต2องมีการ
ปรบั ปรุงเพ่อื ให2การดาํ เนินงานตา! งๆสอดคลอ2 งกบั เกณฑ=เพื่อการพัฒนาคุณภาพ

สถาบนั การจดั การปญf ญาภิวฒั น= 10
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

2. แผนพัฒนาปรับปรุง

แผนการพัฒนา/เปล่ียนแปลง กลยุทธ) หลักฐาน/ตัวบ?งชี้

มีการพัฒนาหลกั สูตร ทุก ๆ 5 ปn รวบรวมติดตามผลการประเมิน หลักฐาน : ผลประเมินความพึงพอใจ

คุณภาพของหลักสูตร ทุก 5 ปn ใน จากผู2ใช2บณั ฑิต

ด2านความพึงพอใจและสภาวะการมี ตัวบ!งชี้ : ร2อยละของบัณฑิตที่มีงาน

งานทําของบัณฑิต ทําภายใน 1 ปnและระดับความพึง

พอใจของผ2ูท่มี สี !วนไดส2 ว! นเสยี

ปรับปรุงตามข2อเสนอแนะมคอ 5 รวบรวมข2อเสนอแนะจากมคอ 5 หลักฐาน : รายวิชาที่มีการปรับปรุง

และมคอ 7 และ มคอ7 เพ่ือนํามาปรับปรุง เนื้อหาให2สอดคล2องกับข2อเสนอแนะ
ร า ย วิ ช า น้ั น ๆ โ ด ย อ า จ า ร ย= ตามมคอ 5 และ มคอ 7

ผรู2 ับผิดชอบรายวิชา

ปรับปรุงหลักสูตรตามเกณฑ= 1. จัดทําข2อกําหนดของหลักสูตร หลักฐาน : ผลลัพธ=การเรียนรู2ของ
AUN-QA และการจดั การเรียนการ (ผลลัพธ=การเรียนร2ู)โดยเก็บรวบรวม หลักสตู ร

สอน การประเมินผลตามหลักการ วิเคราะห= และสังเคราะห=ข2อมูลจากผ2ู
ของการศึกษาฐานสมรรถนะ มีส!วนได2เสียและปfจจัยภายนอก-

( Competency – Based ภายในอื่นๆ เพ่ือนํามาออกแบบ

Education : CBE) หลักสูตรตามหลักการของการจัด
การศึกษาแบบมุ!งเน2นผลการเรียนรู2

(Outcome-Based Education;

OBE)

2. สร2างรายวิชา ออกแบบการ หลกั ฐาน : รายวิชา คําอธบิ ายรายวิชา

จดั การเรียนการสอน การประเมินผล และวิธีการประเมินผล
เพ่ือให2นักศึกษามีความสามารถทาง

วิ ช า ก า ร แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ง า น ไ ด2 ต า ม
ผลลพั ธก= ารเรียนร2ู

การพัฒนาการเรียนการสอน 1. จัดกิจกรรมเตรียมความพร2อม หลักฐาน : กิจกรรมเตรียมความ

เพื่อใหม2 คี วามพร2อมในการทํางาน ก! อ น ก า ร ฝs ก ป ฎิ บั ติ โ ด ย เ ชิ ญ พ ร2 อ ม ก! อ น ฝs ก ป ฏิ บั ติ ง า น โ ด ย
ผู2เชี่ยวชาญจากสถานประกอบการ ผเ2ู ชยี่ วชาญจากสถานประกอบการ

มาอบรม/ถ!ายทอดประสบการณ=ให2 ตัวบ!งชี้ : ผลประเมินการฝsกภาคปฏิบัติ

นกั ศึกษา จากสถานประกอบการ

2. กําหนดให2มีการจัดการเรียนการ หลักฐาน : เอกสารประกอบการสอน
สอนโดยการสอดแทรกภาษาอังกฤษ รายวิชาท่ีมกี ารสอดแทรก

ในรายวิชาตา! ง ๆ เชน! การใช2คาํ ศัพท= ภาษาองั กฤษ

เฉพาะเปน? ภาษาอังกฤษ กรณศี ึกษา ตัวบ!งชี้ : ผลการทดสอบย!อยเพ่ือ
ประเมนิ ความเข2าใจของนักศกึ ษา

3. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดย หลักฐาน : เอกสารประกอบการเรียน
ใช2ระบบ PIM e-learning ประกอบ การสอน โดยใช2ระบบ PIM

สถาบนั การจดั การปfญญาภิวฒั น= 11
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ) หลักฐาน/ตัวบง? ชี้

การเรียนการสอนอย!างน2อยร2อยละ e-learning

80 ของรายวชิ าในหลกั สตู ร ตัวบ!งชี้ : จํานวนรายวิชา ท่ีสอนโดย
ใช2ระบบ PIM e-learning

4. จัดประสบการณ=การเรียนรู2จาก หลักฐาน : เอกสารการนําเสนอ หลัง
ส ถาน ประก อบกา รจริง โ ดยใ ห2 ก า ร ฝs ก ภ า ค ป ฏิ บั ติ ณ ส ถ า น

นักศึกษามีการนําเสนอผลการปฏิบัติ ประกอบการ

จากสถานประกอบการ ตัวบ!งชี้ : คะแนนการนําเสนอผลการ

ฝsกภาคปฏบิ ัติ

5. พฒั นาทักษะการสอนของอาจารย= หลักฐาน : แผนพัฒนาทักษะการสอน
โดยเน2นความเช่ียวชาญด2านความรู2 อาจารยข= องหลักสตู ร

และทักษะเฉพาะทางวิชาชีพ ทักษะ ตัวบ!งช้ี : ผลประเมินผู2สอนโดย
การสื่อสารและการใช2เทคโนโลยี นักศกึ ษา
สารสนเทศ

การพัฒนาอัตลักษณ=นกั ศกึ ษา จดั กิจกรรมเสรมิ หลกั สตู รดา2 นตา! ง ๆ หลักฐาน : เอกสารสรุปโครงการ /

เพ่ือพัฒนาอัตลักษณ=ของนักศึกษา กิจกรรมที่จัดตามแผนการพัฒนา

ดงั ตอ! ไปนี้ นักศึกษา
1. ด2านความเปน? ผูน2 ํา ตัวบ!งชี้ : จํานวนโครงการ / กิจกรรม

2. ด2านนวัตกรรมและความคิดริเริ่ม ตามเกณฑป= ระเมนิ คณุ ภาพของคณะ

ส ร2 า ง ส ร ร ค= ต! อ ย อ ด ด2 า น ธุ ร กิ จ
ภตั ตาคาร

3. ด2านทักษะของนักการจัดการด2าน

ธุรกจิ ภัตตาคาร
4. ด2านการสร2างเสริมคุณธรรม

จรยิ ธรรม จิตสาธารณะ
5. ด2านการอนุรักษ=ศิลปะ วัฒนธรรม
ไทย และภูมปิ fญญาท2องถ่ิน

6. ด2านภ าษาต!างประเทศแล ะ
เทคโนโลยี

พัฒนารายวิชาให2มีความทันสมัย จัดกิจกรรมปรับเน้ือหาในรายวิชา หลักฐาน : รายวิชาท่ีมีการปรับปรุง
ทั น ต! อ ส ถ า น ก า ร ณ= ธุ ร กิ จ ของหลักสูตรให2มีความทันสมัยและ เนื้อหาให2สอดคล2องตามสถานการณ=
ร2านอาหารและภัตตาคารใน ส อ ด ค ล2 อ ง ค ว า ม ต2 อ ง ก า ร ข อ ง ในปจf จบุ ันของธรุ กิจภตั ตาคาร

ปจf จบุ ัน ผ2ูประกอบการ ตัวบ!งชี้ : จํานวนรายวิชาท่ีมีการปรับ
เนือ้ หา

สถาบันการจัดการปfญญาภิวัฒน= 12
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาํ เนนิ การ และโครงสรา5 งของหลกั สูตร

1. ระบบการจดั การศกึ ษา
1.1 ระบบ
ระบบทวิภาค โดย 1 ปnการศึกษาแบ!งเป?น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติ

มีระยะเวลาศึกษาไม!น2อยกว!า 15 สัปดาห= โดยเป?นไปตามข2อบังคับของสถาบันการจัดการปfญญาภิวัฒน=
วา! ด2วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2560

1.2 การจดั การศึกษาภาคฤดรู 5อน
อาจจัดให2มีการจัดการเรยี นการสอนในภาคฤดูร2อนโดยภาคการศึกษาฤดูร2อนมีระยะเวลาการศึกษา

ไม!น2อยกวา! 8 สัปดาห= โดยกําหนดระยะเวลาและจํานวนหนว! ยกติ ให2มีสัดส!วนเทียบเคียงกับการศึกษาภาคปกติ
1.3 การเทยี บเคียงหนว? ยกติ ในระบบทวิภาค
ไม!มี

2. การดาํ เนนิ การหลกั สตู ร
2.1 วัน-เวลาในการดาํ เนนิ การเรียนการสอน
วนั – เวลาราชการปกติ
อ่นื ๆ นอกเวลาราชการ ได2แก! วนั เสารแ= ละ/หรอื วันอาทิตย= (เวลา 08.00-18.30 น.)
ภาคการศึกษาท่ี 1 เดือนสงิ หาคม ถงึ พฤศจิกายน
ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนมกราคม ถงึ เมษายน
ภาคการศกึ ษาฤดรู อ2 น เดอื นพฤษภาคม ถึง มถิ ุนายน
ท้ังน้ี อาจมีการเปล่ียนแปลง ให2เป?นไปตามประกาศฯ และ/หรือปฏิทินการศึกษาของสถาบัน
โดยเป?นไปตามเกณฑม= าตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี
2.2 คุณสมบตั ขิ องผู5เขา5 ศกึ ษา
เป?นผู2สําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท!า และ/หรือเป?นไปตามข2อบังคับของ

สถาบันการจัดการปญf ญาภิวัฒน= วา! ด2วยการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2560

☐ เปน? ผู2สําเรจ็ การศึกษาประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชั้นสูงหรอื เทียบเทา! หรอื อนปุ ริญญา

☐ มีเกณฑ=คุณสมบตั เิ พมิ่ เติม (ระบ)ุ .................................................................................................

2.3 ปญ' หาของนกั ศึกษาแรกเข5า
ความรด2ู า2 นภาษาตา! งประเทศไม!เพยี งพอ
ความร2ูดา2 นคณิตศาสตร/= วทิ ยาศาสตร=ไมเ! พยี งพอ
การปรับตวั จากการเรียนในระดับมธั ยมศกึ ษา

☐ นกั ศกึ ษาไมป! ระสงค=จะเรยี นในสาขาวิชาทส่ี อบคัดเลอื กได2
☐ อื่น ๆ ...................................................................................................
2.4 กลยทุ ธ)ในการดาํ เนินการเพ่อื แกไ5 ขปญ' หา / ข5อจาํ กดั ของนกั ศึกษาในขอ5 2.3

จดั สอนเสริมเตรียมความรูพ2 ้ืนฐานกอ! นการเรียน
จัดการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม! แนะนําการวางเป€าหมายชีวิต เทคนิคการเรียนใน
ระดบั อุดมศกึ ษาและการแบง! เวลา
จัดให2มีระบบอาจารย=ที่ปรึกษาเพื่อทําหน2าที่ดูแล ให2คําแนะนําแก!นักศึกษาและให2เน2นย้ําใน
กรณีที่นักศึกษามปี fญหาตามข2างตน2 เปน? กรณีพเิ ศษ

สถาบันการจดั การปญf ญาภวิ ฒั น= 13

ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

จัดกิจกรรมท่ีเก่ียวข2องกับการสร2างความสัมพันธ=ของนักศึกษาและการดูแลนักศึกษา ได2แก!วัน
แรกพบระหว!างนักศึกษากับอาจารย= การติดตามการเรียนของนักศึกษาชั้นปnที่ 1 จากอาจารย=ผู2สอน และจัด
กิจกรรมสอนเสรมิ ถา2 จําเปน?

☐ อืน่ ๆ

2.5 แผนการรับนักศึกษาและผส5ู ําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปH

ระดบั ชน้ั ปH จาํ นวนนักศึกษาแต?ละปกH ารศึกษา 2569
2565 2566 2567 2568 100
97
นกั ศกึ ษาชัน้ ปnที่ 1 100 100 100 100 95
95
นักศกึ ษาช้นั ปทn ่ี 2 - 97 97 97 387
95
นกั ศกึ ษาชั้นปnท่ี 3 - - 95 95
2569
นักศกึ ษาชน้ั ปnท่ี 4 - - - 95 28,269,200
28,269,200
รวม 100 197 292 387
387
คาดวา? จะจบการศึกษา - - - 95 73,047

2.6 งบประมาณรายได5คา? ใช5จา? ย
2.6.1 งบประมาณรายได5 (หนว? ย : บาท)

ประเภทรายได5 2565 2566 ปกH ารศกึ ษา 2568
31,160,000 31,100,400 2567 28,389,200
ค!าเลา! รยี น* 31,160,000 31,100,400 28,389,200
รวมรายรบั 29,766,000
408 409 29,766,000 387
จํานวนนกั ศึกษาสะสม 76,373 76,040 73,357
รายรบั ต?อหัวนกั ศกึ ษา 381
78,126

*ค!าเล!าเรียนหลังหักทุนการศึกษา PIM แลว2

สถาบันการจดั การปfญญาภวิ ัฒน= 14
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

2.6.2 งบประมาณรายจ?าย (หนว? ย : บาท)

ประเภทรายจ?าย ปHการศกึ ษา 2568 2569
2565 2566 2567
5,256,476 5,644,010
ค?าใช5จา? ย 321,269 262,106
5,577,745 5,906,116
คา! ใช2จ!ายการเรียนการสอน 4,799,182 4,694,374 4,714,935
387 387
ค!าใช2จา! ยในการดําเนนิ งาน(หลกั สูตร) 480,343 440,909 332,804 14,413 15,261

รวมรายจา? ย 5,279,524 5,135,283 5,047,739 0 0

จาํ นวนนกั ศึกษาสะสม 408 409 381

ค?าใช5จ?ายต?อหัวนกั ศึกษา 12,940 12,556 13,249

2.6.3 งบประมาณการลงทนุ ในทรัพย)สิน (หน?วย : บาท)

คา! ครภุ ัณฑ= 000

หมายเหตุ - คา! ใชจ2 !ายต!อหัวนักศกึ ษา 13,684 บาทต!อปn (อัตราเฉล่ยี 5 ปกn ารศกึ ษา) ท้งั นี้ อัตราค!าเลา! เรยี นให2ขน้ึ อย!ูกับประกาศ
ของสถาบนั

- จํานวนนกั ศึกษาสะสม หมายถงึ จาํ นวนนกั ศึกษาในหลกั สตู รเดมิ และหลักสตู รปรบั ปรงุ

2.7 ระบบการศึกษา
แบบชัน้ เรียน

2.8 การเทียบโอนหนว? ยกติ รายวิชาและการลงทะเบียนเรยี นข5ามมหาวิทยาลัย

การเทียบโอนหน!วยกิตและรายวิชาระหว!างหลักสูตรในสถาบันและระหว!างสถาบันให2เป?นไปตาม
ข2อบังคับสถาบันการจัดการปfญญาภิวัฒน= ว!าด2วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2560 และระเบียบสถาบัน
การจัดการปfญญาภวิ ัฒน= วา! ด2วยการเทียบโอนผลการเรยี นระดับปริญญาเข2าส!กู ารศึกษาในระบบ พ.ศ. 2560

3. หลกั สตู รและอาจารย)ผู5สอน

3.1 หลักสตู ร

3.1.1 จาํ นวนหน?วยกติ รวมตลอดหลักสูตร จาํ นวน 120 หน?วยกิต

3.1.2 โครงสรา5 งหลกั สตู ร

1) หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป จํานวน 30 หนว? ยกิต ประกอบด2วย 2 หมวด ดังน้ี

1.1) หมวดอตั ลักษณ=ของพไี อเอ็ม (PIM) 12 หนว! ยกิต

1.2) หมวดศาสตร=แห!งชวี ิต 18 หน!วยกิต

1.2.1 กล!ุมภาษาเพ่ือการสื่อสาร จาํ นวน 12 หน!วยกิต

1.2.2 กลุม! ชวี ติ และสงั คมแห!งความสขุ จํานวน 3 หนว! ยกิต

1.2.3 กล!มุ การจัดการและนวัตกรรม จาํ นวน 3 หนว! ยกติ

2) หมวดวิชาเฉพาะ จํานวน 84 หน?วยกติ ประกอบด2วย 3 กล!ุมวิชา ดังน้ี

2.1) กล!ุมวิชาแกนธรุ กิจ 15 หน!วยกิต

2.2) กล!มุ วชิ าบังคบั 45 หน!วยกิต

2.3) กลุม! วิชาเลอื ก 24 หนว! ยกิต

3) หมวดวชิ าเลือกเสรี จาํ นวน 6 หน?วยกิต

สถาบันการจดั การปญf ญาภิวฒั น= 15

ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

3.1.3 รายวิชา
ความหมายของรหสั วิชา
รหสั วชิ า ประกอบดว2 ย ตัวเลขรวม 7 หลัก เปน? ตวั เลขอารบิก ดังน้ี

ความหมาย ลาํ ดับท่ี
1 2 3 4567
ตัวเลขประจาํ คณะวิชา/วทิ ยาลัย/สาํ นกั XX
ตัวเลขระบุหลักสตู ร/หมวดวชิ า
ตวั เลขระบุกลมุ! วชิ า X
ตวั เลขระบรุ ะดบั ช้ันปn/ระดับรายวิชา X
ตัวเลขระบุลําดบั รายวิชา X
XX

1) ลําดับท่ี 1 - 2 หมายถึง ตัวเลขประจําคณะวิชา/ วิทยาลัย/ สาํ นัก ประกอบด2วยคณะวิชา
ดังน้ี

10 หมายถึง สํานักการศกึ ษาทว่ั ไป
11 หมายถึง คณะบรหิ ารธุรกจิ
23 หมายถึง คณะการจดั การธุรกจิ อาหาร
………………………………..
2) ลําดับท่ี 3 หมายถงึ ตวั เลขระบหุ ลักสูตร/ หมวดวิชา ประกอบดว2 ย
2.1) ตวั เลขหมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป
1 หมายถงึ หมวดอัตลกั ษณ=ของสถาบัน PIM
2 หมายถงึ หมวดศาสตร=แห!งชีวิต
………………………………..
2.2) ตัวเลขหลักสตู ร คณะการจดั การธุรกิจอาหาร
0 หมายถึง กล!ุมรายวชิ าแกนกลางคณะการจดั การธรุ กจิ อาหาร
1 หมายถึง หลกั สูตรบรหิ ารธุรกิจบัณฑติ

สาขาวิชาการจดั การธรุ กจิ อาหาร (FBM)
2 หมายถึง หลกั สูตรบรหิ ารธรุ กิจบัณฑติ

สาขาวชิ าการจดั การธรุ กจิ ภัตตาคาร (RBM)
3 หมายถึง หลักสตู รบริหารธรุ กจิ บัณฑิต

สาขาวชิ าการจดั การธรุ กจิ อาหาร (ตอ! เน่อื ง) (CFBM)
4 หมายถงึ หลักสูตรบรหิ ารธุรกจิ บัณฑิต

สาขาวชิ าการจดั การธุรกจิ ภตั ตาคาร (หลักสูตรนานาชาติ) (IRBM)
………………………………..
3) ลาํ ดับที่ 4 หมายถงึ ตวั เลขระบกุ ลม!ุ วิชา

3.1) ตวั เลขกล!ุมวชิ าหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
0 หมายถงึ กลมุ! บรู ณาการ
1 หมายถึง กล!มุ ภาษาเพือ่ การส่อื สาร
2 หมายถึง กล!มุ ชีวติ และสังคมแห!งความสขุ

สถาบนั การจัดการปญf ญาภวิ ัฒน= 16
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

3 หมายถงึ กล!มุ การจัดการและนวัตกรรม
………………………………..
3.2) ตัวเลขระบกุ ล!ุมวชิ า
0 หมายถงึ กลุ!มวชิ าปรบั พน้ื ฐาน
1 หมายถงึ กลมุ! วชิ าแกน/ กลุ!มวิชาพ้นื ฐาน/กลม!ุ วิชาพ้ืนฐานวิชาชีพ/

กลม!ุ วชิ าชพี ครู/อ่นื ๆ ตามกลมุ! วชิ าท่รี ะบใุ น มคอ.1 (ถ2ามี)
2 หมายถึง กลมุ! วชิ าบงั คบั / กลุ!มวชิ าเอก/ กล!มุ วชิ าเฉพาะดา2 น/

กล!มุ วิชาเฉพาะ/อนื่ ๆ ตามกล!มุ วชิ าท่รี ะบุใน มคอ.1 (ถา2 มี)
3 หมายถึง กลุม! วชิ าเลือก/ กลุม! วชิ าเลอื กเฉพาะสาขา
4 หมายถึง กลม!ุ วชิ าดุษฎีนิพนธ/= วิทยานิพนธ=/ การคน2 คว2าอิสระ
5 หมายถึง กลม!ุ วิชาเลือกเสรี
………………………………..
4) ลาํ ดับที่ 5 หมายถงึ ตัวเลขระบุระดับชน้ั ปn/ระดับรายวิชา เป?นตัวเลขบอกความเขม2 ข2นของ
เน้ือหาวชิ าหรือวิชาน้ันเรยี นระดบั ชัน้ ปใn ดหรือระดบั ปรญิ ญาใด มีหลักเกณฑ= ดงั นี้
1 หมายถึง รายวชิ าระดับปรญิ ญาตรี สําหรบั นกั ศกึ ษาช้ันปn 1
2 หมายถึง รายวชิ าระดับปรญิ ญาตรี สําหรับนักศึกษาชั้นปn 2
3 หมายถงึ รายวชิ าระดบั ปรญิ ญาตรี สาํ หรบั นักศึกษาชนั้ ปn 3
4 หมายถึง รายวชิ าระดับปริญญาตรี สําหรับนกั ศึกษาช้นั ปn 4
5 หมายถงึ รายวชิ าระดบั ปรญิ ญาตรี สําหรับหลกั สูตร 5 ปn
6 หมายถงึ รายวิชาระดับระดับปรญิ ญาตรี สาํ หรบั หลกั สตู ร 6 ปn

หรือรายวชิ าระดับปริญญาตรคี วบปริญญาโท หรอื ระดบั
ปรญิ ญาโทควบปรญิ ญาเอก
.......................................
5) ลาํ ดับท่ี 6 และ 7 หมายถึง ตวั เลขระบลุ ําดับรายวชิ า
01 หมายถึง รายวิชาลาํ ดบั ที่ 1
(ลําดบั ท่ี 01-50 รายวชิ า “บรรยายหรอื ทฤษฎี/ปฏิบตั /ิ
โครงงาน/การศกึ ษาคน2 ควา2 อสิ ระ/วิทยานพิ นธ/= ดุษฎีนิพนธ=”)
………………………………..
51 หมายถงึ รายวิชาลําดับที่ 51
(ลําดับที่ 51 เป?นตน2 ไป รายวชิ า “การเรียนรู2ภาคปฏบิ ตั ดิ า2 น...”)
……………………………….

สถาบันการจัดการปญf ญาภวิ ฒั น= 17
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

รายวชิ า
1) หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป นักศึกษาต2องเรียนรายวชิ า จํานวน 30 หนว! ยกิต จากหมวดดังนี้
1.1) หมวดอัตลักษณ)ของพีไอเอ็ม (PIM) จํานวน 12 หน?วยกิต กําหนดให2นักศึกษาเรียนครบท้ัง

4 รายวิชา ดังนี้

รหัสวชิ า ชอ่ื วิชา หนว? ยกิต วชิ าบังคับก?อน

1010101 ภาษาไทยเพือ่ การสื่อสารในยุคดิจทิ ลั 3(3-0-6) -

(Thai for Digital Communication)

1010102 ศลิ ปะการนําเสนออยา! งสร2างสรรค= 3(3-0-6) -

(The Art of Creative Presentation)

1010103 ปญf ญาภิวฒั นเ= พอื่ การจัดการ 3(3-0-6) -

(Panyapiwat for Management)

1010104 วิถีพลเมอื งดิจิทัล 3(3-0-6) -

(Digital Citizenship)

1.2) หมวดศาสตร)แหง? ชวี ิต จาํ นวน 18 หนว? ยกติ กาํ หนดให2นกั ศกึ ษาเรยี นจากทุกกลม!ุ ดังน้ี

1.2.1) กลุ?มภาษาเพือ่ การสือ่ สาร จาํ นวน 3 หน!วยกิต

รหสั วชิ า ช่อื วิชา หนว? ยกิต วิชาบังคับก?อน

1021105 ภาษากบั วฒั นธรรมไทย 3(3-0-6) -

(Thai Language and Culture)

1021106 ภาษาไทยในฐานะภาษาต!างประเทศ 3(3-0-6) -

(Thai as a Foreign Language)

1021207 หลักภาษาและการใช2ภาษาไทย 3(3-0-6) -

(Language Structure and Usage of Thai)

1021208 การอ!านออกเสยี งภาษาไทย 3(3-0-6) -

(Thai Oral Reading)

1021309 วถิ ไี ทย ภมู ิปfญญาไทย และวัฒนธรรมไทย 3(3-0-6) -
(Thai Way of Life, Wisdom, and Culture)

1021210 ภาษาองั กฤษเพื่อการสมัครงานและสัมภาษณ= 2(1-2-3) -
(English for Job Application and Interviews)

1021212 ภาษาองั กฤษเชงิ ธรุ กิจ 2(1-2-3) -
(Business English)

1021213 ภาษาจีนในชวี ติ ประจาํ วัน 3(3-0-6) -
1021214 (Chinese in Daily Life) 3(3-0-6) -
1021215 3(3-0-6) -
1021216 ภาษาจีนเพ่ือธุรกิจบริการ 3(3-0-6) -
(Chinese for Service Business)

ภาษาจนี ในสํานักงาน
(Chinese in Office Work)

ภาษาจนี เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
(Chinese for Business Communication)

สถาบันการจดั การปfญญาภวิ ัฒน= 18
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

รหสั วชิ า ชือ่ วิชา หนว? ยกติ วชิ าบงั คับกอ? น
1021117 ภาษาองั กฤษในชีวติ ประจําวัน
1021118 (English in Daily Life) 2(1-2-3) -
1021219 ภาษาองั กฤษในโลกสมัยใหม!
1021220 (English in Modern World) 2(1-2-3) -
1021221 ภาษาองั กฤษเพื่อธุรกิจและการทํางาน
1021322 (English for Business and Work) 2(1-2-3) -
ภาษาอังกฤษเพ่ือการนําเสนออยา! งสรา2 งสรรค=
1021223 (English for Creative Presentation) 2(1-2-3) -
1021224 ภาษาอังกฤษในส่อื มวลชน
1021225 (English in Mass Media) 2(1-2-3) -
1021226 ภาษาองั กฤษสําหรับการสอบวัดมาตรฐาน
(English for Standardized Tests) 2(1-2-3) -

ภาษาเมียนมาในชีวิตประจําวนั 3(3-0-6) -
(Burmese in Daily Life)
3(3-0-6) -
ภาษาเมยี นมาเพื่อการส่อื สารธุรกจิ
(Burmese for Business Communication) 3(3-0-6) -
ภาษาเขมรในชวี ติ ประจําวนั
(Cambodian in Daily Life) 3(3-0-6) -

ภาษาเขมรเพื่อการสือ่ สารธุรกจิ
(Cambodian for Business Communication)

รหสั วิชา 1.2.2) กลุ?มชีวิตและสังคมแห?งความสุข จํานวน 3 หน!วยกิต หน?วยกิต วชิ าบงั คับกอ? น
1022203 ชอื่ วิชา
3(3-0-6) -
1022204 มนษุ ย=หลากมิติ
(Multi-Dimensional Humans) 3(3-0-6) -
1022205
ความรกั และสัมพันธภาพ 3(3-0-6) -
1022206 (Love and Relationships)
รูโ2 ลกกว2าง 3(3-0-6) -
1022207 (World Wide Perspective)
3(3-0-6) -
สงิ่ แวดลอ2 ม การพัฒนา และความยงั่ ยืน
(Environment, Development, and Sustainability)
มหศั จรรย=แหง! สุขภาพดี
(Miracle of Good Health)

สถาบันการจดั การปญf ญาภวิ ฒั น= 19
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

รหสั วชิ า 1.2.3) กล?ุมการจดั การและนวตั กรรม จาํ นวน 3 หนว! ยกติ หน?วยกิต วชิ าบังคับกอ? น
1023202 ชอ่ื วิชา
1023203 3(3-0-6) -
1023205 หมากล2อมปfญญาภวิ ฒั น=
1023208 (Panyapiwat GO) 3(3-0-6) -
1023209
1023210 การจัดการเพือ่ ความมั่งค่ัง 3(3-0-6) -
(Management for Wealth)
3(3-0-6) -
นวตั กรรมกับการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต
(Innovations and Quality of Life Development) 3(3-0-6) -

การจดั การธุรกิจยุคใหม! 3(3-0-6) -
(Business Management in New Era)

การคิดและวเิ คราะห=เพื่อการตัดสินใจ
(Thinking and Analytics for Decision)

เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพื่อการทํางาน
(Digital Technology for Work)

สถาบนั การจดั การปfญญาภวิ ฒั น= 20
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

2) หมวดวิชาเฉพาะ นักศึกษาต2องศึกษารายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ จํานวน 84 หน!วยกิต

จากกลม!ุ วชิ า ดงั นี้

2.1) กลุม? วชิ าแกนธุรกจิ ให2เรยี นจาํ นวน 15 หนว! ยกติ จากรายวชิ าต!อไปนี้

รหัสวิชา ชือ่ วิชา หนว? ยกติ วชิ าบังคบั กอ? น

1101102 การจัดการองค=การและทรพั ยากรมนุษย=ในยคุ ดจิ ทิ ลั 3(3-0-6) -

(Organization and Human Resource Management in

Digital Era)

1101103 การจดั การโลจิสตกิ สแ= ละหว! งโซ!อปุ ทาน 3(3-0-6) -

(Logistics and Supply Chain Management)

1101104 การจัดการธุรกิจแบบองคร= วม 3(3-0-6) -

(Holistic Business Management)

1101105 การตลาดดิจทิ ลั 3(3-0-6) -

(Digital Marketing)

1101106 การบญั ชีและการเงนิ เพอ่ื การจดั การธรุ กจิ 3(3-0-6) -

(Accounting and Finance for Business Management)

2.2) กลมุ? วิชาบังคับ ให2เรียนจํานวน 45 หนว! ยกิต จากรายวิชาตอ! ไปน้ี

รหสั วิชา ชือ่ วิชา หน?วยกิต วิชาบังคบั ก?อน
-
2322101 การจดั การคุณภาพและความปลอดภัยของอาหารในธุรกจิ 3(2-2-5)
-
ภัตตาคาร -

(Quality Assurance and Food Safety Management in -

the Restaurant Business) -
-
2322102 การจัดการบริการในธุรกจิ ภัตตาคาร 3(2-2-5) -

(Service Management in the Restaurant Business)

2322203 การจัดการวตั ถดุ ิบและการประกอบอาหารสําหรบั ธรุ กิจ 3(0-6-3)

ภัตตาคาร

(Raw Material Management and Cooking for the

Restaurant Business)

2322204 การจัดการอปุ กรณ=ครัวและสิ่งอํานวยความสะดวกในธุรกจิ 3(2-2-5)

ภัตตาคาร

(Kitchen Equipment and Facility Management in the

Restaurant Business)

2322205 การจัดการสตู รอาหารเพ่ือการประกอบธุรกจิ ภตั ตาคาร 3(0-6-3)

(Food Recipe Management for the Restaurant Business)

2322306 การวจิ ยั สาํ หรบั ธรุ กจิ ภตั ตาคาร 3(0-6-3)

(Research for the Restaurant Business)

2322307 การเป?นผปู2 ระกอบการในธุรกิจภัตตาคาร 3(0-6-3)

(Entrepreneurship in the Restaurant Business)

สถาบนั การจดั การปญf ญาภิวัฒน= 21
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

รหสั วิชา ชอ่ื วิชา หนว? ยกิต วชิ าบงั คับก?อน
2322151
2322152 การเรยี นรู2ภาคปฏบิ ัตดิ 2านการจดั การธรุ กิจภตั ตาคาร 1 3(0-40-0) -
2322253 (Work-based Learning in the Restaurant Business
2322254 Management 1) 3(0-40-0) 2322151
2322355
2322356 การเรยี นรูภ2 าคปฏิบตั ดิ า2 นการจดั การธรุ กิจภัตตาคาร 2 3(0-40-0) 2322152
2322457 (Work-based Learning in the Restaurant Business
2322458 Management 2) 3(0-40-0) 2322253

การเรยี นร2ภู าคปฏิบัตดิ 2านการจัดการธุรกิจภัตตาคาร 3 3(0-40-0) 2322254
(Work-based Learning in the Restaurant Business
Management 3) 3(0-40-0) 2322355

การเรียนรภ2ู าคปฏิบตั ิด2านการจดั การธุรกิจภตั ตาคาร 4 3(0-40-0) 2322356
(Work-based Learning in the Restaurant Business
Management 4) 3(0-40-0) 2322457

การเรยี นรู2ภาคปฏิบัติดา2 นการจดั การธรุ กจิ ภัตตาคาร 5
(Work-based Learning in the Restaurant Business
Management 5)

การเรียนรูภ2 าคปฏิบตั ดิ 2านการจดั การธุรกจิ ภัตตาคาร 6
(Work-based Learning in the Restaurant Business
Management 6)

การเรยี นร2ภู าคปฏบิ ตั ิด2านการจัดการธรุ กิจภตั ตาคาร 7
(Work-based Learning in the Restaurant Business
Management 7)

การเรยี นร2ภู าคปฏิบตั ิดา2 นการจัดการธรุ กิจภตั ตาคาร 8
(Work-based Learning in the Restaurant Business
Management 8)

สถาบนั การจดั การปญf ญาภิวฒั น= 22
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

2.3) กล?มุ วิชาเลอื ก ใหเ2 ลือกเรียนจาํ นวน 24 หนว! ยกิต จากรายวชิ าต!อไปนี้

รหสั วิชา ชอ่ื วิชา หน?วยกติ วิชาบังคบั กอ? น
3(3-0-6) -
2323201 การบรหิ ารต2นทุนในธรุ กจิ ภัตตาคาร 3(3-0-6) -
3(2-2-5) -
(Cost Management in the Restaurant Business)
3(3-0-6) -
2323202 วัฒนธรรมและพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารนานาชาติ 3(3-0-6) -

(International Food Culture and Consumer Behavior) 3(3-0-6) -
3(3-0-6) -
2323203 การจัดการอาหารเชงิ สร2างสรรค=ในธรุ กจิ ภตั ตาคาร 3(3-0-6) -
3(3-0-6) -
(Creative Food Management in the Restaurant 3(3-0-6) -
3(3-0-6) -
Business) 3(2-2-5) -

2323204 หลกั การธรุ กจิ ภัตตาคารแฟรนไชส=

(Principles of Franchise the Restaurant Business)

2323305 การบรหิ ารธรุ กจิ ภัตตาคารในระดบั สากล

(International Business Management in the

Restaurant Management)

2323306 การจดั การทําเลที่ต้ังสาํ หรับภัตตาคาร

(Restaurant Location Management)

2323307 การจัดการพ้นื ทภ่ี ตั ตาคาร

(Restaurant Space Management )

2323308 กลยุทธ=ทางการตลาดสาํ หรบั ธุรกจิ ภัตตาคาร

(Marketing Strategy for the Restaurant Business)

2323309 การจัดการความพึงพอใจของลกู คา2

(Customer Satisfaction Management)

2323410 กฎหมายและขอ2 บังคบั สาํ หรบั ธรุ กิจภัตตาคาร

(Laws and Regulations for the Restaurant Business)

2323411 การจัดการธุรกิจอาหารเพ่ือสุขภาพ

(Healthy Food for Business Management)

2323412 การจดั การนวตั กรรมในธุรกจิ ภตั ตาคาร

(Innovation Management in the Restaurant Business)

3) หมวดวิชาเลือกเสรี นกั ศกึ ษาตอ2 งศึกษารายวชิ าในหมวดวิชาเลือกเสรี จาํ นวน 6 หน!วยกิต
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาที่เปAดสอนในสถาบันการจัดการปfญญาภิวัฒน= หรือ

สถาบนั อุดมศกึ ษาอน่ื โดยต2องได2รบั ความเห็นชอบจากอาจารยท= ่ีปรกึ ษา
ทั้งน้ี ในรายวิชาทุกวิชาของสถาบันท่ีมีวิชาบังคับก!อน คณบดีสามารถอนุมัติให2นักศึกษาลงทะเบียนใน

รายวชิ านนั้ ได2 โดยสอดคล2องกับศกั ยภาพของผเู2 รียนและมาตรฐานการจัดการเรียนการสอน

สถาบันการจดั การปfญญาภิวฒั น= 23
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

3.1.4 แผนการศึกษา ช้นั ปทH ี่ 1

รหสั วชิ า ภาคการศึกษาท่ี 1 หน?วยกติ รหัสวิชา ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หนว? ยกิต
10xxxxx รายวิชา 3 10xxxxx รายวชิ า 3
10xxxxx 3 10xxxxx 2
10xxxxx หมวดอัตลักษณ=ของพไี อเอม็ (1) 2 10xxxxx หมวดอัตลกั ษณ=ของพไี อเอม็ (2) 3
1101102 หมวดศาสตรแ= หง! ชวี ติ 3 1101103 3
หมวดศาสตรแ= ห!งชีวิต
2322101 หมวดศาสตรแ= ห!งชวี ิต 3 2322102 3
การจดั การองคก= ารและ หมวดศาสตร=แห!งชีวิต
2322151 ทรพั ยากรมนุษยใ= นยคุ ดิจทิ ัล
การจดั การคุณภาพและความ การจัดการโลจสิ ติกสแ= ละหว! งโซ!
ปลอดภัยของอาหารในธุรกจิ อปุ ทาน
ภัตตาคาร
การเรยี นรู2ภาคปฏิบตั ิด2านการ การจดั การบริการในธรุ กิจ
จดั การธุรกจิ ภัตตาคาร 1 ภัตตาคาร

รวม 3 2322152 การเรยี นร2ูภาคปฏิบตั ิด2านการ 3
17 จดั การธุรกจิ ภตั ตาคาร 2 17

รวม

ชั้นปHท่ี 2

รหัสวิชา ภาคการศึกษาที่ 1 หน?วยกิต รหัสวชิ า ภาคการศกึ ษาท่ี 2 หน?วยกิต
10xxxxx รายวิชา 3 10xxxxx รายวชิ า 3
10xxxxx 2 1101106 3
หมวดอัตลกั ษณข= องพีไอเอม็ (3) หมวดศาสตรแ= หง! ชีวิต
1101104 หมวดศาสตร=แหง! ชีวิต การบัญชแี ละการเงินเพ่ือการ 3
2322203 จัดการธุรกจิ 3
การจัดการธุรกจิ แบบองคร= วม 3 1101105 การตลาดดจิ ทิ ัล
2322204 3 2322205 การจัดการสตู รอาหารเพ่ือการ 3
การจัดการวัตถดุ ิบและการประกอบ 3 XXXXXXX ประกอบธรุ กจิ ภัตตาคาร
2322253 อาหารสาํ หรับธรุ กิจภตั ตาคาร วิชาเลอื ก (1) 3
3 2322254
การจัดการอุปกรณค= รวั และส่ิง 17 การเรยี นรู2ภาคปฏิบตั ิด2านการ 18
อํานวยความสะดวกในธรุ กจิ จัดการธุรกจิ ภัตตาคาร 4
ภัตตาคาร
รวม
การเรยี นร2ูภาคปฏบิ ตั ดิ 2านการ
จดั การธรุ กจิ ภัตตาคาร 3

รวม

สถาบันการจัดการปfญญาภวิ ัฒน= 24
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

ช้ันปทH ี่ 3

ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2
รายวชิ า
รหัสวิชา รายวิชา หน?วยกิต รหสั วิชา หน?วยกติ
10xxxxx การวิจยั สาํ หรบั ธรุ กิจภตั ตาคาร 3
10xxxxx หมวดอตั ลกั ษณข= องพไี อเอม็ (4) 3 2322306 3
2322307 วิชาเลอื ก (4)
XXXXXXX หมวดศาสตร=แห!งชวี ิต 3 XXXXXXX
XXXXXXX
การเปน? ผป2ู ระกอบการในธรุ กิจ 3 XXXXXXX วิชาเลอื ก (5) 3
2322355 ภัตตาคาร

วชิ าเลือก (2) 3 XXXXXXX วิชาเลอื ก (6) 3
3
วิชาเลอื ก (3) 3 2322356 การเรยี นรูภ2 าคปฏิบตั ิดา2 นการ
จดั การธุรกจิ ภัตตาคาร 6

การเรยี นรภ2ู าคปฏิบตั ิด2านการ 3 รวม 15
จัดการธุรกจิ ภตั ตาคาร 5 18

รวม

ช้ันปHท่ี 4

รหัสวิชา ภาคการศึกษาที่ 1 หนว? ยกติ รหัสวชิ า ภาคการศกึ ษาที่ 2 หนว? ยกติ
XXXXXXX รายวิชา 3 XXXXXXX รายวชิ า 3
XXXXXXX 3 XXXXXXX 3
วิชาเลือก (7) วชิ าเลอื ก (8)
2322457 3 2322458 3
วิชาเลอื กเสรี (1) วชิ าเลือกเสรี (2)
9 9
การเรยี นร2ูภาคปฏิบตั ิด2านการ การเรยี นร2ภู าคปฏบิ ตั ิด2านการ
จดั การธุรกจิ ภัตตาคาร 7 จัดการธรุ กจิ ภตั ตาคาร 8

รวม รวม

สถาบันการจดั การปญf ญาภิวฒั น= 25
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

3.1.5 คาํ อธบิ ายรายวิชา

1) หมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป

1.1) หมวดอตั ลักษณ)ของพีไอเอ็ม (PIM)

1010101 ภาษาไทยเพ่อื การส่ือสารในยุคดจิ ิทัล 3(3-0-6)

(Thai for Digital Communication)

วิชาบงั คับก?อน : ไมม? ี

(Prerequisite Course: None)

การส่ือสารด2วยภาษา มารยาทในการส่ือสาร การสร2างความตระหนักถึงคุณค!าของภาษาและ

วัฒนธรรมไทย หลักการและศิลปะการฟfง พูด อ!าน และเขียนเพ่ือการส่ือสาร การพัฒนาทักษะการวางแผน

คดิ วิเคราะห=ด2วยภาษาอย!างสรา2 งสรรค= การฝsกปฏบิ ัติการจับประเด็นจากการฟfงและการอ!าน การพดู การเขียน

และการนําเสนอ ตลอดจนการประยกุ ตใ= ชภ2 าษาไทยในสอ่ื เทคโนโลยีใหม!

Language communication. Communication Etiquettes. Raising awareness of the

value in the Thai language and culture. Principles of listening, speaking, reading, and writing for

communication. Development of planning. Creative and critical thinking. Practice capturing the

main point from listening, reading, speaking, and writing. Presentation and Applied Thai language

in new digital media.

1010102 ศิลปะการนําเสนออย?างสร5างสรรค) 3(3-0-6)

(The Art of Creative Presentation)

วชิ าบังคบั กอ? น : ไมม? ี

(Prerequisite Course: None)

หลักการและรูปแบบการนําเสนออย!างสร2างสรรค= การวิเคราะห=ผ2ูฟงf การเตรียมโครงเรื่อง เนื้อหา

และการจัดลําดับข2อมูลเพ่ือการนําเสนอ การออกแบบและจัดทําสอ่ื นําเสนอ การพฒั นาทักษะในการนําเสนอท้ัง

การใช2น้ําเสียง สายตา คําพูด และบุคลิกภาพ ตลอดจนกรณีศึกษาและการฝsกปฏิบัติการเล!าเรื่อง การพูดโน2ม

นา2 ว การเจรจาตอ! รอง การอภปิ ราย และการโตแ2 ย2งแสดงเหตุผล

Creative presentation theory and guidance; audience identification and

understanding; structuring presentation effectively; designing and presenting media.

Enhancement of presentation techniques including posture, gesture, storytelling, persuasive

skills, negotiation skills, debating, giving opinions constructively.

สถาบนั การจดั การปญf ญาภวิ ฒั น= 26
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

1010103 ปญ' ญาภิวัฒนเ) พ่ือการจัดการ 3(3-0-6)

(Panyapiwat for Management)

วิชาบงั คับกอ? น : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

แนวคิดของมหาวิทยาลัยแห!งองค=กรธุรกิจและรูปแบบการเรียนร2ูควบค!ูการฝsกประสบการณ=จริง

(Work-based Education) อัตลักษณ=ปfญญาภิวัฒน=เพื่อการสร2างนักจัดการให2เรียนเป?น คิดเป?น ทํางานเป?น

เน2นวัฒนธรรม และรักความถกู ต2อง จริยธรรมในการทํางานและความรับผิดชอบต!อตนเองและสังคม วัฒนธรรม

องคก= รและการปรับตัวใหส2 อดคล2องกับวฒั นธรรมทแ่ี ตกต!าง การมสี !วนรว! มและความผกู พนั ตอ! องค=กร ภาวะผ2นู ํา

และภาวะผู2ตาม ตลอดจนการวางแผนและการสร2างสมดลุ ชีวติ อย!างมคี วามสุข

Conceptual definition of the corporate university, work-based education, and the

Panyapiwat identity. Development of a well-rounded executive with a sense of responsibility

for oneself and society. Defining organizational engagement; leadership; supports. Planning for

a successful work-life balance.

1010104 วถิ ีพลเมืองดิจิทลั 3(3-0-6)

(Digital Citizenship)

วชิ าบงั คบั ก?อน : ไมม? ี

(Prerequisite Course: None)

วิถีแห!งพลเมืองเน็ตและแนวโน2มเทคโนโลยีดิจิทัล ปfญญาประดิษฐ= (Artificial Intelligence : AI)

ในชีวิตประจําวัน การสืบค2นข2อมูลออนไลน=และการร2ูเท!าทันส่ือ การใช2เทคโนโลยีดิจิทัลอย!างหลากหลายและ

สรา2 งสรรค= การใชเ2 ครื่องมอื แบง! ปนf ข2อมูลและทาํ งานร!วมกบั ผู2อนื่ แบบออนไลน= การใช2แอปพลิเคชันในการทาํ งาน

การผลิตส่ือดิจิทัล การใช2เครื่องมือแบ!งปfนข2อมูล การสนทนาและทํางานร!วมกับผู2อ่ืนแบบออนไลน= กฎหมาย

ธุรกรรมออนไลน= ลิขสิทธ์ิและความตระหนักถึงสิทธิรูปแบบต!างๆ การรักษาความปลอดภัยของข2อมูลบนโลก

ออนไลน= ตลอดจนการนําความรไ2ู ปประยกุ ต=ใชเ2 พื่อการปฏิบตั งิ านในองค=กรยคุ ใหม!

Netizenship; trends of digital technology, Artificial Intelligence in daily life, online

searching, and media literacy, using digital technology creatively and diversely, data-sharing

tools and online co-working, using applications for working, digital media creation, online

conversation, and co-working, Electronic Transactions Act, copyright and rights awareness, cyber

security, and knowledge application to operate in new organizations.

สถาบันการจัดการปญf ญาภวิ ฒั น= 27
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

1.2) กล?มุ ศาสตรแ) หง? ชีวิต

1.2.1) กลุ?มภาษาเพ่อื การสื่อสาร

1021105 ภาษากับวฒั นธรรมไทย 3(3-0-6)

(Thai Language and Culture)

วิชาบังคับก?อน : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

การศึกษาพลวัตทางภาษาและวัฒนธรรมตามบริบทของสังคมไทย การวิเคราะห=อิทธิพลของสังคม

ท่ีมีต!อภาษา และอิทธิพลของภาษาที่มีต!อสังคม ความสัมพันธ=ระหว!างภาษากับวัฒนธรรมในระดับสังคม

ประกอบด2วย ระดบั ครอบครวั ระดบั องคก= ร ระดบั ประเทศ และระดบั สากล

A study of linguistic and cultural dynamics in the context of Thai society, an analysis

of the influence of society on the language, and the influence of language on society. The

relationship between language and culture at the social level consisting of family,

organizational, national, and international levels.

1021106 ภาษาไทยในฐานะภาษาต?างประเทศ 3(3-0-6)

(Thai as a Foreign Language)

วชิ าบังคับกอ? น : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

หลักการและฝsกทกั ษะการสนทนาภาษาไทยในชีวิตประจําวัน การเพิ่มพูนวงศพั ท= การออกเสียงให2

ถูกต2อง การใชค2 ํา และเรยี บเรียงประโยคเพื่อการส่อื สารท่ีชัดเจนมปี ระสทิ ธิภาพ

Principles and practice of Thai language conversation skill in daily life; vocabulary

enhancement; correct pronunciation; word usage; and creating sentences for clear and effective

communication.

1021207 หลักภาษาและการใช5ภาษาไทย 3(3-0-6)

(Language Structure and Usage of Thai)

วิชาบังคับก?อน : ไมม? ี

(Prerequisite Course: None)

โครงสร2างภาษาไทย โครงสร2างพยางค=ในภาษาไทย การใช2คําโครงสร2างกลุ!มคําและประโยค

การใช2ระดับคํา การใช2ภาษาไทยให2ถูกต2องตามสถานะและสถานการณ= ปfญหาการใช2ภาษาไทยในปfจจุบัน

วิเคราะห=การใช2ภาษา ตลอดจนการศึกษาแนวทางแก2ไขปรับปรุงและการใช2ภาษาไทยให2ถูกต2องตามลักษณะ

ภาษาไทย

Thai language structure; syllable structure in Thai language; use of words; structure

of phrases and sentences; use of word levels; correct use of Thai language in accordance with

statuses and situations; problems of current Thai language usage; analysis of language usage;

study of guidelines for correction and improvement of the use of Thai language.

สถาบนั การจดั การปfญญาภิวฒั น= 28
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1021208 การอ?านออกเสียงภาษาไทย 3(3-0-6)

(Thai Oral Reading)

วิชาบังคบั ก?อน : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

องค=ประกอบและหลักการอ!านออกเสียง อวัยวะที่ใช2ในการออกเสียง การฝsกปฏิบัติการออกเสียง

ให2ถูกต2องชัดเจน การฝsกปฏิบัติการใช2นํ้าเสียงให2เหมาะสมกับความหมายของคําในบริบทต!างๆ ท่ีส!งผลต!อการ

สื่อสารใหเ2 กิดประสทิ ธิผล

Components and principles of oral reading; speech organs; practicing correct and

clear pronunciation; and practicing the use of sounds appropriate with word meanings in various

contexts for effective communication.

1021309 วิถีไทย ภมู ปิ ญ' ญาไทย และวัฒนธรรมไทย 3(3-0-6)

(Thai Way of Life, Wisdom, and Culture)

วชิ าบังคับก?อน : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

วิถีชีวิตไทย ภูมิปfญญาไทยจากความคิด คติ ความเช่ือ สุภาษิตสํานวนไทย และมรดกทาง

วัฒนธรรมแขนงต!างๆ การประยุกต=ความร2ูความเข2าใจปรับใช2ในการดําเนินชีวิต และการประกอบอาชีพอย!างมี

ความสุขความสําเรจ็

Thai way of life and Thai wisdom derived from ideas, mottos, beliefs, Thai proverbs

and various cultural heritages; and the application of obtained knowledge and understanding

for successful and happy living and careers.

1021210 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสมัครงานและสมั ภาษณ) 2(1-2-3)

(English for Job Application and Interviews)

วิชาบงั คบั ก?อน : ไมม? ี

(Prerequisite Course: None)

คําศัพท= สํานวน และโครงสร2างภาษาอังกฤษ ที่เกี่ยวข2องกับอาชีพ หน2าที่ความรับผิดชอบของ

ตาํ แหน!งงาน และการสมคั รงาน ความสามารถในการออกเสียงไดถ2 ูกตอ2 ง การเตรียมตัวและการเสริมบุคลิกภาพ

เพ่ือการสัมภาษณ=งาน การสัมภาษณ=งานเสมือนจริง การอ!านประกาศรับสมัครงาน การเขียนจดหมาย

อิเล็กทรอนิกส=เพือ่ สมคั รงาน การเขียนประวตั ิยอ! รวมถึงการกรอกแบบฟอรม= ในรูปแบบตา! ง ๆ

Vocabulary, idioms, and English language structure concerning careers, duty and

responsibility of each work position, and job application; the ability to pronounce correctly; the

preparation and personality enhancement for job application; the simulated job interviews; the

reading of job announcements; the writing of electronic job application letters; the writing of

resume; and completion of various application forms.

สถาบันการจดั การปญf ญาภวิ ัฒน= 29
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1021212 ภาษาอังกฤษเชงิ ธรุ กิจ 2(1-2-3)

(Business English)

วชิ าบงั คับก?อน : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

การฟfง การพูด การอ!าน และการเขียนภาษาอังกฤษเพ่ือการเรียนร2ูพหุวัฒนธรรม วัจนภาษา

และอวัจนภาษา สําหรับการติดต!อธุรกิจอย!างมีประสิทธิผล การแก2ปfญหาการสื่อสารระหว!างวัฒนธรรม

การวิเคราะห=กรณีศึกษาในบริบทของการตดิ ต!อธรุ กิจในสถานการณ=ทหี่ ลากหลาย

Listening, speaking, reading and writing English for multicultural learning; verbal and

nonverbal languages for making business contact efficiently; problem solving in inter-cultural

communication; analyzing case studies in the context of doing business in different situations.

1021213 ภาษาจีนในชีวิตประจาํ วัน 3(3-0-6)

(Chinese in Daily Life)

วชิ าบังคบั ก?อน : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

สัทอักษรพินอิน คําศัพท=และประโยคที่พบบ!อยในชีวิตประจําวัน ฝsกทักษะการฟfงและการพูด

การแนะนําตัวเบ้ืองต2น การบอกจํานวนและตัวเลข การบอกวันเวลา การบอกทิศทาง ตลอดจนการเรียนร2ู

ขนบธรรมเนียมและวฒั นธรรมจนี

Phonetics of Pinyin alphabet; common vocabulary and sentences in daily life; practice

of listening and speaking skills; preliminary self-introduction; telling numbers and numerals; telling

dates and time; giving directions; and learning about Chinese traditions and culture.

1021214 ภาษาจีนเพ่ือธุรกจิ บรกิ าร 3(3-0-6)

(Chinese for Service Business)

วชิ าบังคบั กอ? น : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

คําศัพท=และประโยคเกี่ยวกับธุรกิจบริการ ฝsกสนทนาภาษาจีนท่ีเกี่ยวข2องกับการทํางานหน2าร2าน

การแนะนําผลิตภัณฑ= การซื้อขายสินค2า การนําเสนอโปรโมชั่น การให2บริการด2านโทรศัพท=และการชําระเงิน

การสนทนาเพ่ือให2ความช!วยเหลือลูกค2า ประยุกต=ใช2ภาษาจีนด2วยสถานการณ=จําลอง ตลอดจนการเรียนรู2

วฒั นธรรมในการดําเนินธรุ กิจ

Vocabulary and sentences about Service Business, practicing Chinese conversation

related to counter work in shops; introduction of products; buying and selling products; presentation

for promotion of products; provision of telephone and payment services; conversation for provision

of helps to customers; application of Chinese language usage through simulations; and learning of

culture in business transaction.

สถาบันการจัดการปญf ญาภิวัฒน= 30
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1021215 ภาษาจีนในสาํ นกั งาน 3(3-0-6)

(Chinese in Office Work)

วิชาบังคับกอ? น : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

คําศัพท=และประโยคเกี่ยวกับสํานักงาน ตําแหน!งและหน2าที่ความรับผิดชอบ การฝsกสนทนาใน

สถานการณ=จําลองต!างๆ การทักทาย การสัมภาษณ=งาน การขอลางาน การพูดในที่ประชุม การโต2ตอบสนทนาทาง

โทรศัพท= ตลอดจนการเรยี นรูข2 นบธรรมเนยี มและวฒั นธรรมจนี

Vocabulary and sentences about in office, titles, and responsibility, practice of

conversation in different role-play situations, greetings, job interviews, how to leave work, how

to speak in meetings, telephone conversations, and learning about Chinese customs and

traditions.

1021216 ภาษาจีนเพอ่ื การส่อื สารทางธรุ กจิ 3(3-0-6)

(Chinese for Business Communication)

วชิ าบังคบั ก?อน : ไมม? ี

(Prerequisite Course: None)

คําศัพท=และประโยคเกี่ยวกับการเจรจาทางธุรกิจ การนัดหมาย การจัดประชุม การนําเสนอ

ฝsกปฏิบัติโต2ตอบภาษาจีนตามวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมจีน ตลอดจนการสนทนาตามสถานการณ=จําลอง

ตามบรบิ ททางธุรกจิ

Vocabulary and sentences about communication in the context of occupation

Practice conversations about business negotiations, making appointments, arrange meetings,

presentations, and trading etiquette with Chinese people.

1021117 ภาษาองั กฤษในชวี ติ ประจาํ วัน 2(1-2-3)
(English in Daily Life)

วิชาบังคบั ก?อน : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

คําศัพท= และสํานวนท่ีเก่ียวข2องกับการดํารงชีวิต โครงสร2างประโยคภาษาอังกฤษเพ่ือการสนทนา
ในชีวิตประจําวัน การเขียนเร่ืองราวใกลต2 ัว การบอกเล!าประสบการณ=ของตนเอง การอ!านออกเสียงระดับคํา วลี

และประโยค ตลอดจนการฟfงเพอ่ื จบั ใจความจากบทสนทนาผ!านสื่อท่ที นั สมยั

Vocabulary and idioms related to daily life; the structure of English sentences for
everyday conversations; writing about things surrounding oneself; talking about one’s own

experience; reading aloud at word, phrase and sentence levels; and listening comprehension

using conversations in modern media.

สถาบันการจดั การปญf ญาภิวัฒน= 31
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1021118 ภาษาองั กฤษในโลกสมยั ใหม? 2(1-2-3)

(English in Modern World)

วิชาบงั คบั กอ? น : ไม?มี
(Prerequisite Course: None)

การพัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษ เน2นทักษะการฟfง การพูด การอ!าน และการเขียน การแสดง

ความคิดเห็น การตอบคําถาม การต!อบทสนทนา คาํ ศัพท= สํานวน โครงสรา2 งทางภาษาเพอ่ื การส่ือสาร การออก

เสียงอย!างถูกต2อง การพูดคุยสนทนาในชีวิตประจําวันเพ่ือความทันสมัยและทันต!อเหตุการณ=ในศตวรรษท่ี 21

การตระหนักถึงวัฒนธรรมสากล

Developing learners' English language competency focusing on listening, speaking,

reading, and writing skills. Improving learners' communication skills in up-to-date settings where

cultural differences are concerned; asking and answering questions, making conversations,
having discussions. Vocabulary and phrases used in conversations, correct pronunciation, and

grammatical sentence structures for any particular situation.

1021219 ภาษาอังกฤษเพอื่ ธุรกจิ และการทํางาน 2(1-2-3)

(English for Business and Work)

วชิ าบงั คับกอ? น : ไม?มี
(Prerequisite Course: None)
คําศัพท= สํานวน และโครงสร2างภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข2องกับงานอาชีพ การบูรณาการการฟfง การ

พูด การอ!าน และการเขียนภาษาอังกฤษในงานอาชีพ การประยุกต=ใช2ภาษาอังกฤษในบริบทท่ีหลากหลายด2วย

ตนเองผ!านส่ือท่ีทันสมัย การสรุปความ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การให2ข2อมูลอย!างถูกต2อง การใช2
ภาษาองั กฤษเพื่อปฏิสมั พนั ธ=ในการทาํ งาน ตลอดจนมารยาทในการตดิ ต!อทางธุรกจิ

Vocabulary, idioms and English language structures related to careers; integration of
English listening, speaking, reading and writing in careers; application of English language in
various contexts by oneself via modern media; summarization and conclusion; exchanges of

opinions; giving correct information; using English language for interaction at work; and etiquette
in the use of English language for business transaction.

1021220 ภาษาอังกฤษเพื่อการนาํ เสนออย?างสรา5 งสรรค) 2(1-2-3)

(English for Creative Presentation)

วชิ าบังคบั กอ? น : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

คําศพั ท= สํานวน และโครงสรา2 งประโยคภาษาองั กฤษที่เก่ียวข2องกับการนาํ เสนอ ตัวเลข กราฟ และ

แผนภูมิ การใช2วัจนภาษาและอวัจนภาษาในการนําเสนอ การวเิ คราะห=สื่อภาษาอังกฤษที่เผยแพร!ในโลกออนไลน=

การแสดงความคิดเห็น การวางแผนและกลวิธีในการนําเสนอ การเรียงลําดับเนื้อหา ข้ันตอนการนําเสนอ

การประเมินการนําเสนอของตนเองและผู2อนื่ ตลอดจนการประยุกต=ใช2ข2อมูลและส่ือให2เหมาะสมกับรูปแบบการ

นาํ เสนออยา! งสรา2 งสรรค=

สถาบนั การจดั การปญf ญาภิวฒั น= 32
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

Vocabulary, idioms and English sentence structure concerning presentation;
numbers; graphs and charts; the use of verbal and nonverbal languages for presentation;
analysis of online English media; expressing opinions; presentation planning and strategies;
sequencing of presentation contents; steps of giving a presentation; evaluation of one’s own
presentation and others’ presentations; and the application of information and media
appropriate with the patterns of business presentation via modern media.

1021221 ภาษาองั กฤษในสื่อมวลชน 2(1-2-3)
(English in Mass Media)
วชิ าบังคบั ก?อน : ไมม? ี

(Prerequisite Course: None)

คําศัพท= สํานวน และโครงสร2างภาษาอังกฤษ ท่ีเกี่ยวข2องกับข!าวและข2อมูลในสื่อมวลชน การบูรณา

การฟfง การพดู การอ!าน และการเขียนภาษาอังกฤษจากสอ่ื ประเภทตา! ง ๆ การตคี วาม การสรุปความ การ

วิเคราะห=แหล!งที่มาของข!าวและข2อมูลข!าวสาร ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเหตุการณ=สําคัญใน

ปfจจุบันทีเ่ กดิ ขึ้นทวั่ โลก

Vocabulary, idioms, and English language structure related to news and information

in the mass media; integration of listening, speaking, reading, and writing of English through the
media; interpretation; summarization; analysis of news and information sources; giving opinions

about current significant world events.

1021322 ภาษาอังกฤษสําหรบั การสอบวดั มาตรฐาน 2(1-2-3)

(English for Standardized Tests)

วชิ าบังคบั กอ? น : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

จุดประสงค=ของการสอบมาตราฐานในรูปแบบต!างๆ โครงสร2างข2อสอบวัดมาตรฐานภาษาองั กฤษ

และโครงสร2างการวัดผล เทคนิคการจัดการเวลา วิธีการและช!องทางการสมัครสอบ พัฒนาทักษะการฟfงเพ่ือ

จับใจความสําคัญ การฟfงเพื่อจับใจความอย!างละเอียด การพูดเพ่ือสื่อสารในชีวิตประจําวันและพูดเพ่ือวิพากษ=

การอ!านเพ่ือจับใจความสําคัญ เทคนิคการอ!านเร็ว การเขียนบรรยาย ครอบคลุมคําศัพท= และไวยากรณ=

ภาษาอังกฤษที่ปรากฏในข2อสอบวัดมาตรฐานภาษาอังกฤษ ฝsกฝนทักษะภาษาอังกฤษจากการทําข2อสอบวัด

มาตราฐานแบบจําลอง

Acknowledgment of different purposes of Standardized Tests in the market; General

structure of standardized tests and their assessments. Time management; application channels.

Development of English skills; listening for the main idea, listening for details, speaking for

everyday use and discussion, reading comprehension skills, speed reading technique, writing for

general purpose. Vocabulary and language structures used in standardized tests. Practice English

skills by taking a simulation test.

สถาบันการจัดการปญf ญาภิวฒั น= 33
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

1021223 ภาษาเมยี นมาในชีวิตประจาํ วัน 3(3-0-6)

(Burmese in Daily Life)

วิชาบังคบั กอ? น : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

โครงสร2างและหลักไวยากรณ= การฟfงและการออกเสียงภาษาเมียนมาเบื้องต2น คําศัพท=และสํานวน

ท่ใี ช2ในชีวติ ประจําวนั การสนทนา การบอกจํานวน ตัวเลขและสกุลเงนิ การบอกวันที่ ตลอดจนคําศพั ทพ= ้ืนฐานท่ี

เกี่ยวข2องกบั การทาํ งาน

Grammatical structure and principles; basic listening and pronunciation of Burmese

language; vocabulary and sentences used in daily life; conversations in daily life; numbers,

numerals and money system; telling about dates, months and years; and basic vocabulary

concerning work.

1021224 ภาษาเมียนมาเพ่อื การสื่อสารธุรกิจ 3(3-0-6)

(Burmese for Business Communication)

วิชาบงั คบั ก?อน : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)
คําศัพท=ท่ีเก่ียวข2องกับการส่ือสารธุรกิจ การสนทนาภาษาเมียนมาท่ีเก่ียวข2องกับการสื่อสารธุรกิจ

เช!น การนําเสนอสินค2าและ การให2บริการ การสอบถามความต2องการของลูกคา2 การเสนอโปรโมชั่น การเปลี่ยน

สนิ คา2 การคนื สินคา2 ตลอดจนการฝกs ปฏิบัติในสถานการณจ= าํ ลอง
Business communication vocabulary; basic conversations in Burmese language

concerning business communication, such as presentation of goods, asking customers in order

to provide services to them; customers services; presentation for promotion of products;
changing of goods; and returning of goods. role-play situations.

1021225 ภาษาเขมรในชวี ิตประจาํ วนั 3(3-0-6)

(Cambodian in Daily Life)

วชิ าบงั คับก?อน : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

ลกั ษณะและโครงสร2างภาษาเขมร สทั วิทยา การออกเสียงภาษาเขมร อักษรและอักขรวิธี ศัพท=และ

รูปประโยคพื้นฐาน ทักษะการฟfง พูด คําศัพท=และสํานวนท่ีใช2ในชีวิตประจําวัน การสนทนา การบอกจํานวน

ตวั เลขและสกลุ เงิน การบอกวนั ท่ี ตลอดจนคําศพั ทพ= ้ืนฐานที่เก่ยี วขอ2 งกบั การทํางาน

Characteristics and structures of Cambodian, phonology, pronunciation, scripts and

orthography; elementary vocabulary and expressions; skills in listening, speaking, everyday-life

topic vocabulary, idioms, conversations, expressing numbering, and currency, telling dates,

and fundamental vocabulary related to work.

สถาบันการจดั การปfญญาภวิ ฒั น= 34
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1021226 ภาษาเขมรเพ่ือการส่ือสารธุรกิจ 3 (3-0-6)

(Cambodian for Business Communication)

วชิ าบงั คบั ก?อน : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

คําศัพท=ท่ีเกี่ยวข2องกับการสื่อสารธุรกิจ การนําเสนอสินค2า การให2บริการ การสอบถามความ

ตอ2 งการของลกู คา2 การเสนอโปรโมชั่น การเปล่ียนสนิ ค2า และการคนื สนิ คา2 ตลอดจนการฝกs ปฏิบัติสนทนาภาษา

เขมรในสถานการณ=จําลอง

Business correspondence glossary; product presentation, customers service

dialogues; inquiring customer's need, offering a promotion, and returning goods. Business role-

play in Cambodian.

1.2.2) กลุ?มชีวติ และสังคมแหง? ความสุข

1022203 มนุษย)หลากมิติ 3(3-0-6)

(Multi-Dimensional Humans)

วิชาบงั คบั ก?อน : ไมม? ี

(Prerequisite Course: None)

การแสวงหาความรู2ด2านมนษุ ยศาสตร=อยา! งบูรณาการ แนวคดิ ความเชื่อ ปรชั ญาและการใช2เหตผุ ล

ประวัติศาสตร= วรรณกรรม ศิลปะและวัฒนธรรมท่ีหล!อหลอมวิธีคิดของมนุษย=ให2มีความแตกต!าง ตลอดจนใช2

กรณศี ึกษา และสถานการณจ= ําลอง

Integrated pursuit of human knowledge; thoughts; beliefs; philosophy and

reasoning; history; literature; arts and culture that blend human’s ideas to be diverse; and the

uses of case studies and simulations.

1022204 ความรกั และสัมพนั ธภาพ 3(3-0-6)

(Love and Relationships)

วิชาบงั คบั ก?อน : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

ทักษะการเข2าสังคม การปรับตัว การสร2างความประทับใจ การพัฒนาบุคลิกภาพภายในและ

ภายนอก จิตวิทยาสัมพันธภาพ การสร2างและรักษาความสัมพันธ= ความรักประเภทต!าง ๆ เช!น ความรักชาติ

ศาสนา พระมหากษัตริย= และการรักตนเอง การสร2างครอบครัว มิตรภาพ ตลอดจนการรับมือกับความ

เปล่ยี นแปลง

Social skills; personal adjustment; how to make first impressions; internal and

external personality development; psychology of interpersonal relationships; building and

nurturing relationship; different types of love, for example, love of one’s country, religion and

monarchy; self-love; building a family, friendship; and coping with changes.

สถาบนั การจดั การปfญญาภวิ ัฒน= 35
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1022205 รโ5ู ลกกว5าง 3(3-0-6)

(World Wide Perspective)

วิชาบังคับก?อน : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

สังคมโลกยุคปfจจุบัน ประวัติศาสตร=ของความขัดแย2ง การค2ามนุษย= ความร!วมมือระหว!างกล!ุม

ประเทศท่ีประสบความสําเร็จและล2มเหลว การเมืองและเศรษฐกิจของโลก อาเซียน ไทย แนวคิดลักษณะร!วม

และลักษณะเฉพาะด2านในสังคมโลกปfจจุบัน สังคมไทยและวัฒนธรรมภายใต2กระแสโลกาภิวัตน= ตลอดจนการ

เปล่ียนแปลงของโลกในยุคดิจทิ ัล

Current global society; history of conflicts, human trafficking, collaboration between

successful and failure countries; global, ASEAN, and Thailand's politics and economy; concepts

on common and special aspects in the current global society; Thai society and culture in

globalization and the digital era.

1022206 ส่งิ แวดล5อม การพัฒนา และความยั่งยนื 3(3-0-6)

(Environment, Development, and Sustainability)

วิชาบังคบั กอ? น : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

แนวคิดส่ิงแวดล2อม การพัฒนา และเป€าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development

Goals: SDGs) เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) และเศรษฐกิจ

สีเขียว (Green Economy) การอนุรักษ=และการจัดการสิ่งแวดล2อมในดิน น้ํา อากาศ ทะเลและชายฝf™ง

ผลกระทบต!อการเปลี่ยนแปลงในบริบทของการพัฒนาต!อสังคมและสิ่งแวดล2อม ตลอดจนสถานการณ=ปfจจุบัน

ของการพัฒนาอย!างยงั่ ยนื

The concepts of environmental, development, and Sustainable Development

Goals, Bioeconomy, Circular Economy, Green Economy. Conservation and environmental

management in soil, water, air, sea, and coast. The impact of changes in the context of

development on society and the environment as well as the current situation of sustainable

development.

1022207 มหัศจรรยแ) ห?งสุขภาพดี 3(3-0-6)

(Miracle of Good Health)

วิชาบังคบั กอ? น : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

ความสําคัญของสุขภาพตอ! ชวี ิต ปfญหาสุขภาพของคนยุคปfจจุบนั การประเมินสุขภาพ โครงสร2าง

กลไก และพัฒนาการของร!างกายมนุษย= โภชนาการเพื่อสุขภาพ การดูแลสุขภาพจิต การออกกําลังกาย

การใช2ยาและเวชสําอางค=ในชีวิตประจําวัน รวมท้ังสิ่งแวดล2อมกับสุขภาพ ความก2าวหน2าทางวิทยาศาสตร=

สขุ ภาพ และเวชศาสตรช= ะลอวัย

สถาบันการจดั การปfญญาภิวฒั น= 36
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

The essentials of health and life, health problems of the current generation, health
assessment, developmental structure and mechanism of the human body, nutrition for health,
mental health care, exercise, drugs, and cosmeceuticals for daily usage, the environment and
health, the evolution of health science, and anti-aging medicine.

1.2.3) กลุ?มการจดั การและนวัตกรรม 3(3-0-6)
1023202 หมากล5อมป'ญญาภวิ ัฒน)

(Panyapiwat GO)
วิชาบงั คบั กอ? น : ไม?มี
(Prerequisite Course: None)

ความเป?นมา กฎกติกาการเล!นหมากล2อม ทักษะและเทคนิคการเล!นหมากล2อม การฝsกหมากล2อม

เพ่ือพัฒนาทักษะการวางแผนและการตัดสินใจเชงิ ธรุ กิจ แนวคิดหมากล2อมกับการจดั การการเงนิ การบูรณาการ

ภมู ปิ fญญาตะวนั ออกผา! นหมากลอ2 มเพือ่ การดาํ เนนิ ชวี ติ และการทาํ งาน ตลอดจนหมากล2อมกับปfญญาประดษิ ฐ=

Background, rules and regulations of GO; GO skills and technics; GO practicing for

development of planning and business decision making skills; GO concepts and financial
management; the integration of oriental wisdom via GO for living and working; and GO and

artificial intelligence.

1023203 การจดั การเพอื่ ความม่ังค่งั 3(3-0-6)

(Management for Wealth)

วิชาบงั คับกอ? น : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

การวางแผนการเงินตามช!วงวัย การจัดการการเงินเพื่อวัตถุประสงค=เฉพาะ การจัดทํางบดุลและ

งบประมาณส!วนบุคคล การออม การลงทุน การประกัน ความเสี่ยง และผลตอบแทน การวางแผนเครดิตทาง

การเงินเพ่ือชีวิต สินเช่ือรูปแบบต!างๆ กลยุทธ=ภาษีเงินได2บุคคลธรรมดา เทคโนโลยีด2านการเงินและความ

ปลอดภัย ตลอดจนการจดั การทรัพยากรดา2 นเวลาและบุคคลเพ่ือความม่ังคัง่ ย่ังยนื

Financial planning based on age groups; financial management for specific purposes;

creating personal balance accounts and budgets; savings; investment; insurance, risks and

returns; financial credit planning for life; various types of loans; personal income tax strategies;

financial and security technology; and management of time and personal resources for

sustainable prosperity.

สถาบนั การจัดการปfญญาภวิ ัฒน= 37
ใช้ภายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

1023205 นวตั กรรมกบั การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ 3(3-0-6)

(Innovations and Quality of Life Development)

วิชาบงั คบั ก?อน : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

ความหมาย ความสําคญั และประเภทนวตั กรรม การคดิ เชงิ วิเคราะห= การคิดเชิงสรา2 งสรรค= การ

คิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) การคิดเชิงนวัตกรรม การจัดการทรัพย=สินทางปfญญา แนวทางการพัฒนา

คุณภาพชวี ิตด2วยนวัตกรรม ตลอดจนการประยุกตใ= ช2ในชวี ติ

Definition, importance, and classification of innovation. Analytical thinking; design

thinking; innovative thinking; intellectual property management; quality of life development

using innovation; and the application of innovations in daily life.

1023208 การจดั การธรุ กิจยุคใหม? 3(3-0-6)

(Business Management in New Era)

วชิ าบงั คบั กอ? น : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

วิธีการเริ่มธุรกิจหรือพัฒนาธุรกิจใหม! จริยธรรมและจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ กลยุทธ=การ

ดําเนินธุรกิจยุคใหม! การออกแบบต2นแบบทางธุรกิจการระบุโอกาสและพัฒนาธุรกิจ การสร2างแรงบัลดาลใจใน

การเป?นผปู2 ระกอบการ การจัดโครงสร2างองค=การ การจัดทาํ แผนธุรกจิ ทักษะท่ีจาํ เป?นสําหรับการเขียนแผนธุรกิจ

ท่ีครบถ2วนและประสบผลสําเร็จ เทคนิคการนําเสนอโครงการให2นักลงทุน กรณีศึกษาเก่ียวกับการจัดการอย!าง

ผูป2 ระกอบการในทางธุรกิจ

The foundations of a start-up, managerial ethics and social responsibility, business

strategy in a digital age, designing a creative and innovative business model, inspiration to

become an entrepreneur, organizational structure, crafting a business plan; skills required for

building a successful business plan, investor-pitching techniques, and entrepreneurship case

studies.

1023209 การคิดและวเิ คราะห)เพ่ือการตัดสนิ ใจ 3(3-0-6)

(Thinking and Analytics for Decision)

วชิ าบังคับกอ? น : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

ความหมายของการคิด ทักษะการคิดและลักษณะการคิด เทคนิคการตัดสินใจ การพัฒนา

กระบวนการคิดรูปแบบต!าง ๆ การคิดสร2างสรรค= การคิดวิพากษ= กระบวนการให2เหตุผล การวิเคราะห=ข!ายงาน

การวิเคราะห=การค2ุมทุนกับการประกอบอาชีพในอนาคต ตลอดจนการวิเคราะห=ข2อมูลในการตัดสินใจ เพื่อ

แก2ปfญหา

Definition of thinking, thinking skills, and patterns, decision-making techniques,

development of thinking processes, creative thinking, critical thinking, justification process,

network analysis, break-even analysis in a future career, and data analysis for decision-making

and problem-solving.

สถาบนั การจัดการปญf ญาภิวัฒน= 38
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

1023210 เทคโนโลยดี จิ ิทัลเพื่อการทาํ งาน 3(3-0-6)

(Digital Technology for Work)

วิชาบังคบั ก?อน : ไมม? ี
(Prerequisite Course: None)

การออกแบบอินโฟกราฟAก (Infographic) ออกแบบภาพเคลื่อนไหว (Animation) และการสร2างส่ือ

ประสม (Multimedia) เบ้ืองต2น การใช2เครื่องมือใน การออกแบบวางแผนจัดเก็บข2อมูล เพื่อการคํานวณ

วิเคราะห= แปลผลข2อมูล และการนําเสนอข2อมูลในรูปแบบแดชบอร=ด (Dashboard) แผนภูมิพาเรโต แผนภาพ

การกระจาย ตลอดจนการใช2เทคโนโลยีเพื่อการติดต!อส่ือสาร และการประชุมทางไกลผ!านเครือข!าย (VDO

Conference) โดยเนน2 การทาํ งานดว2 ยเทคโนโลยีดิจทิ ลั บนระบบคลาวด= (Cloud)

Infographic design; animation design; and basic multimedia creation. Data

management tools for data storage, data calculation, data analysis, data interpretation, and

data presentation; dashboard; Pareto chart; scatter diagram. Communication technology and
VDO conference emphasizing cloud computing.

1101102 2) หมวดวิชาเฉพาะ 3(3-0-6)
2.1) กลุ?มวิชาแกนธรุ กิจ

การจดั การองค)การและทรัพยากรมนุษยใ) นยุคดจิ ทิ ลั
(Organization and Human Resource Management in Digital Era)
วิชาบงั คับกอ? น : ไม?มี
(Prerequisite Course: None)

แนวคิด ทฤษฎี และหลักการจัดการองค=การธุรกิจ การบริหารจัดการทีมงาน หลักธรรมาภิบาล
และความรับผิดชอบต!อสังคม วัฒนธรรมองค=การ การจัดการการเปล่ียนแปลงและการจัดการเสี่ยงในยุคดิจิทัล
การบริหารทรัพยากรมนุษย= ทักษะสําหรับตลาดแรงงานสากล ภาวะผ2ูนํา ความสมดุลแห!งชีวิตและการทํางาน
และกรณศี ึกษา

Concepts, theories and principles of business organization management; team
management; good governance principle and corporate social responsibility; organizational
culture; change management and risk management in digital era; human resource management;
skills for international labor market; leadership; the balance between life and work; case studies

สถาบนั การจดั การปfญญาภิวัฒน= 39
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1101103 การจัดการโลจสิ ติกสแ) ละห?วงโซอ? ปุ ทาน 3(3-0-6)

(Logistics and Supply Chain Management)

วิชาบงั คับกอ? น : ไมม? ี

(Prerequisite Course: None)

แนวคิด ทฤษฎีและกลยทุ ธ=ด2านการจัดการโลจสิ ติกสแ= ละห!วงโซ!อุปทานในยคุ ดิจทิ ัล การพยากรณ=

การวางแผนการผลติ การควบคุมคุณภาพ การจดั การสนิ ค2าคงคลังและการจดั การคลังสินคา2 การเลือกทาํ เลทีต่ ั้ง

การจัดซื้อ ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีในห!วงโซ!อุปทาน การขนส!ง กรณีศึกษาจากธุรกิจท่ีสอดคล2องกับ

สถานการณป= fจจบุ นั และการประยกุ ตโ= ดยใช2ทฤษฎีท่ีเรียน

Concepts, theories and strategies of logistics and supply chain management in the

digital era; forecasting; production planning; quality control; inventory and warehouse

management; location selection; procurement; information system and technology in supply

chain; transportation; case studies related to current situations; theory application.

1101104 การจดั การธรุ กิจแบบองค)รวม 3(3-0-6)

(Holistic Business Management)

วชิ าบงั คบั ก?อน : ไมม? ี

(Prerequisite Course: None)

แนวคิด ทฤษฏี และบทบาทของการจัดการธุรกิจ การบริหารการค2าปลีกและการสร2างข2อ

ได2เปรียบทางการแขง! ขนั กลยทุ ธก= ารเจริญเติบโตในธุรกิจการค2าสมัยใหม!และระบบเฟรนไชส= ประเภทของธุรกิจ

การค2าสมัยใหม! การจดั หาทําเลทต่ี ้ังและรูปแบบการออกแบบร2านค2าสมัยใหม! พฤติกรรมผ2ูบรโิ ภคกับการบรหิ าร

ร2านค2า การบริหารพ้ืนท่ีขายและสินค2า และเทคนิคนําเสนอสินค2าให2แก!ลูกค2า การบริหารความขัดแย2งภายใน

รา2 นคา2 การวางแผนการเลือกสรรสินค2าและการบริหารสินค2าคงคลัง ระบบการซอ้ื และการตั้งราคา การบริหาร

ทรัพยากรมนุษย= การบัญชีและการเงิน การจัดการทางการตลาดแบบ Omni Channel และ Multi-Channel

การประยุกต=ใช2เครือข!ายสังคมออนไลน=เพ่ือการจัดการธรุ กิจการค2าสมัยใหม! และสังเคราะห=ประเด็นการจัดการ

ธรุ กิจการคา2 สมัยใหม!

Concepts, theories and roles of business management, the retail business management

and creating competitive advantage, growth strategy in modern trade business and franchise

system, type of modern trade business , location selection and designing of store layout, consumer

behavior and store management, store space and merchandise management and merchandise

presentation technique, conflict management in the store, product selection and inventory

management, purchasing system and pricing strategy, human resource management, accounting

and financial management, Omni Channel and Multi-Channel Marketing Management, application of

social network for modern trade business management and analysis of modern trade business

management issue.

สถาบันการจดั การปญf ญาภวิ ฒั น= 40
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

1101105 การตลาดดจิ ิทลั 3(3-0-6)

(Digital Marketing)

วิชาบังคบั กอ? น : ไมม? ี

(Prerequisite Course: None)

การวิเคราะห=สภาวะแวดล2อมทางการตลาดดิจิทัล วิเคราะห=พฤติกรรมผ2ูบริโภค กําหนด

กลุ!มเป€าหมายทางการตลาด การสร2างแบรนด=ในยุคดิจิทัล การพัฒนาการตลาดเชิงเน้ือหา การออกแบบ

การตลาดผา! นทางเว็บไซด=และส่ือสังคมออนไลน= การพัฒนาการตลาดผ!านทางผมู2 ีอิทธิพล กลยุทธ=การตลาดด2วย

เคร่ืองมือค2นหา การเลือกสรรผลิตภัณฑ=เพ่ือขาย การประยุกต=ใช2องค=ความรู2การตลาดดิจิทัลรูปแบบที่

หลากหลายเพือ่ สร2างธุรกิจออนไลนแ= ละกลยุทธ=การชําระเงินออนไลน= การออกแบบกลยุทธ=การตลาดดิจทิ ัล การ

ประเมนิ ผลความสาํ เร็จของการตลาดดจิ ิทัล ตลอดจนจรยิ ธรรมในการทาํ การตลาดดิจิทัล

Digital marketing environmental analysis, consumer behavior analysis, the target market

strategy, branding in digital age, content marketing development, website and social media

marketing design, influencer marketing development, search engine marketing strategy, product

selection for sales, applying various forms of digital marketing knowledge to create an online

business and online payment strategy, digital marketing strategy, digital marketing assessment,

including digital marketing ethics.

1101106 การบญั ชแี ละการเงินเพ่อื การจดั การธุรกิจ 3(3-0-6)

(Accounting and Finance for Business Management)

วิชาบงั คบั ก?อน : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

หลักการทางบัญชี การวิเคราะห=และคํานวณต2นทุนสินค2าเพื่อการกําหนดราคาขาย การวางแผน

เพื่อการควบคุมความเส่ียง การบริหารเงินทุนหมุนเวียน การจัดหาแหล!งเงินทุน การวิเคราะห=งบลงทุน

ตลอดจนการวิเคราะห=ข2อมูลทางการบัญชีและการเงินเพื่อการประเมินตัดสินใจทางธุรกิจ ภายใต2กรณีศึกษาใน

ยคุ ดจิ ทิ ัล

Principles of accounting, analysis and calculation of product cost for pricing, planning

for risk management, working capital management, sourcing of funds, capital budgeting analysis, as

well as, accounting and financial statement analysis for business decision making under case studies

in digital era.

สถาบันการจัดการปญf ญาภิวัฒน= 41
ใชภ้ ายใน PIM เท่าน้นั

มคอ.2

2.2) กลมุ? วชิ าบังคบั

2322101 การจดั การคุณภาพและความปลอดภัยของอาหารในธุรกิจภตั ตาคาร 3(2-2-5)

(Quality Assurance and Food Safety Management in the Restaurant Business)

วิชาบงั คบั ก?อน :ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

ความหมายและความสําคัญของการจัดการคุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร องค=ประกอบ

ในห!วงโซ!อุปทานของอาหารและความสําคัญของห!วงโซ!อุปทานอาหารต!อธุรกิจภัตตาคาร การใช2มาตรการ

ควบคุมอันตรายของอาหาร หลักการท่ัวไปเกี่ยวกับสุขลักษณะอาหารและระบบการวิเคราะห=อันตรายและจุด

วิกฤตที่ต2องควบคุมสําหรับธุรกิจภัตตาคารในความปกติใหม! การตรวจวัดด2านคุณภาพและความปลอดภัยของ

อาหาร

Meaning and importance of food quality and safety management; elements in food

supply chains and the importance of food supply chains to the restaurant business;

implementation of food hazard control measures, general principles of food hygiene and

hazard analysis critical control points for restaurant business in the new normal era; food quality

and safety measurements.

2322102 การจดั การบรกิ ารในธุรกจิ ภตั ตาคาร 3(2-2-5)

(Service Management in the Restaurant Business)

วชิ าบงั คบั กอ? น :ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

หลักการท่ัวไปของการบริการส!วนหน2าในธุรกิจภัตตาคาร รูปแบบการให2บริการ เคร่ืองมือและ

อุปกรณ=ในการให2บริการ อาหารและเครื่องดื่มในการบริการ การจัดโครงสร2างสําหรับการบริการในส!วนหน2า

การสร2างบุคลิกภาพและทักษะการปฏิบัติงาน การจัดการระบบบริหารงานขายและระบบการจัดส!งอาหาร

พิมพ=เขียวการให2บริการ การแก2ไขปfญหาเฉพาะหน2าในการบริการ ปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดการบริการส!วน

หน2าในธรุ กจิ ภัตตาคาร

Principles of service in the restaurant business; service model; equipment and

utensil for service; food and beverage in service; organizing of front service; building of

personality and practical service skill; sales management and delivery system; service

blueprint; problem solving of front service; practice in front service the restaurant business

management.

สถาบนั การจัดการปfญญาภวิ ัฒน= 42
ใช้ภายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

2322203 การจัดการวัตถดุ บิ และการประกอบอาหารสําหรับธรุ กจิ ภัตตาคาร 3(0-6-3)

(Raw Material Management and Cooking for the Restaurant Business)

วชิ าบังคับก?อน : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

ประเภท แหล!งที่มา และองค=ประกอบของวัตถุดิบ การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา ชีวเคมี คุณค!า

ทางโภชนาการ ข2อกําหนดวัตถุดิบ การควบคุมคุณภาพของวัตถุดิบตลอดห!วงโซ!อุปทานอาหาร การตรวจสอบ

และการประเมินคุณภาพ การเก็บรักษา การวางแผนจัดหาและการบริหารสตšอควัตถุดิบเบื้องต2น การเลือกใช2

วัตถุดิบทดแทน อุปกรณ= เครื่องมือในการเตรียมวัตถุดิบก!อนการประกอบอาหาร เทคนิคพื้นฐานการประกอบ

อาหาร และการตกแตง! จานอาหารเบอื้ งตน2 ปฏบิ ัติการเกีย่ วกบั การจัดเตรียมวตั ถุดิบและประกอบอาหาร

Types, sources and component of raw materials; physiological changes,

biochemical; nutritional values; raw material specification; quality control of raw materials in

the food supply chain; food supply chain; inspection and quality assessment; storage;

procurement planning and basic raw material stock management; selection of alternative raw

materials; equipment, tools for preparing raw materials before cooking; basic cooking

techniques and preliminary decoration of dishes; practice in raw material preparation and

cooking.

2322204 การจดั การอุปกรณค) รัวและสง่ิ อํานวยความสะดวกในธุรกิจภตั ตาคาร 3(2-2-5)

(Kitchen Equipment and Facility Management in the Restaurant Business)

วชิ าบังคับกอ? น : ไมม? ี

(Prerequisite Course: None)

ความร2ูเกี่ยวกับการจัดการอุปกรณ=ครัวและสิ่งอํานวยความสะดวกในธุรกิจภัตตาคาร เครื่องมือ และ

เทคโนโลยีในธรุ กิจภัตตาคาร และคาํ ศัพท=ท่ีเก่ียวข2อง การเลือกใช2วัสดุ และอุปกรณ=มาตรฐานสาํ หรบั ภตั ตาคาร การเลือกใช2

ระบบสารสนเทศในธุรกิจภัตตาคาร เทคโนโลยีเคร่ืองมือและอุปกรณ=การประกอบอาหาร การสอบเทียบเครื่องมือและ

อปุ กรณ= การบํารุงรกั ษาเครอ่ื งมือและอปุ กรณ=ภายในครัว

Knowledge of kitchen equipment and facility management; tools and technology

in the restaurant business and related terms; material selection and standard equipment for

restaurants; selection of information systems in the restaurant business; tools technology and

cooking equipment; calibration of tools and equipment; maintenance of kitchen tools and

equipment.

สถาบนั การจัดการปfญญาภิวัฒน= 43
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั

มคอ.2

2322205 การจดั การสูตรอาหารเพื่อการประกอบธรุ กิจภตั ตาคาร 3(0-6-3)

(Food Recipe Management for the Restaurant Business)

วชิ าบงั คบั กอ? น : ไม?มี

(Prerequisite Course : None)

การออกแบบและวางแผนสูตรอาหาร การส่ังซ้ือวัตถุดิบตามเมนูอาหาร การคํานวณต2นทุนและ

การกําหนดราคาจําหน!ายอาหาร การสร2างสูตรมาตรฐานและการจัดทําระบบข2อมูลสูตรอาหาร การจัดทํา

เมนอู าหาร การนําเสนอเมนูอาหาร

Designing and planning recipe; ordering raw material according to the menu;

calculating cost and setting food sales prices; creating standard recipe and preparing food recipe

information system; preparing the food menu; presenting the food menu.

2322306 การวจิ ัยสําหรบั ธุรกจิ ภัตตาคาร 3(0-6-3)

(Research for the Restaurant Business)

วชิ าบังคบั ก?อน : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

การวิเคราะห=สถานการณ=ท่ีเก่ียวข2องกับธุรกิจภัตตาคารเพ่ือกําหนดหัวข2อวิจัย การค2นหา

สารสนเทศเพ่ือการวิจัย การพัฒนาสมมติฐานงานวิจัย การออกแบบกระบวนการวิจัย การเลือกเครอื่ งมือและ

วิธีเก็บข2อมูล การวิเคราะห=ข2อมูลและรายงานผล การแปลผลการวิจัยและอภิปราย การสรุปงานวิจัยและให2

ขอ2 เสนอแนะ การนําเสนอผลงานวจิ ัย

Analyzing the situation related to the restaurant business to determine the

research topic; information searching for research; research hypotheses development; research

process design; selection of tools and methods for data collection; data analysis and result

reporting; interpretation of research findings and discussion; summarizing the research and giving

recommendations; research presentation.

2322307 การเปนJ ผ5ปู ระกอบการในธรุ กจิ ภัตตาคาร 3(0-6-3)

(Entrepreneurship in the Restaurant Business)

วชิ าบังคับกอ? น : ไม?มี

(Prerequisite Course: None)

ภาวะผนู2 าํ สําหรบั ผป2ู ระกอบการภัตตาคาร การบริหารความหลากหลายในธรุ กจิ ภัตตาคาร การบริหาร

ความเส่ียงในธุรกิจภัตตาคาร การบริหารการเปล่ียนแปลงในธุรกิจภัตตาคาร การจัดการทรัพยากรบุคคลในธุรกิจ

ภัตตาคาร การพัฒนากลยุทธ=การตลาดในธุรกิจภัตตาคาร การวิเคราะหก= ารเงินในธุรกิจภตั ตาคาร การสร2างแผนธรุ กิจ

ภัตตาคาร

Leadership of restaurant enterpreneurs; diversity management in the restaurant business;

risk management in the restaurant business; change management in the restaurant business; human

resource management in the restaurant business; marketing strategy development in the restaurant

business; financial analysis in the restaurant business; restaurant business plan development.

สถาบันการจัดการปfญญาภวิ ัฒน= 44
ใชภ้ ายใน PIM เทา่ น้นั


Click to View FlipBook Version