The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Narumon Sunthornthip, 2021-05-09 09:57:50

มคอ.2_AVI-2565

มคอ.2_AVI-2565

เอกสารประกอบวาระที่ 4.2 มคอ.2

ประชมุ Pre วชิ าการ ครั้งที่ 4/2564 วันท่ี 13 พ.ค. 2564

หลกั สูตรบรหิ ารธุรกจิ บัณฑิต
สาขาวชิ าการจดั การธุรกิจการบนิ

หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565

หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาการ

คณะวทิ ยาการจดั การ 0
สถาบันการจัดการปญั ญาภิวฒั น์

สถาบนั การจดั การปัญญาภิวัฒน์

มคอ.2

สารบัญ หนา้

เรื่อง

หมวดท่ี 1 ข้อมูลทั่วไป 1
1. รหสั และชอ่ื หลกั สูตร 1
2. ช่อื ปริญญาและสาขาวิชา 1
3. วิชาเอก 1
4. จํานวนหนว่ ยกติ ทเ่ี รียนตลอดหลักสตู ร 1
5. รปู แบบของหลกั สูตร 1
6. สถานภาพของหลกั สตู รและการพจิ ารณาอนุมัต/ิ เหน็ ชอบหลักสตู ร 2
7. ความพรอ้ มในการเผยแพรห่ ลกั สตู รทมี่ คี ณุ ภาพและมาตรฐาน 2
8. อาชพี ทีส่ ามารถประกอบได้หลังสาํ เร็จการศึกษา 2
9. ชื่อ นามสกลุ เลขประจาํ ตวั บัตรประชาชน ตาํ แหนง่ และคณุ วฒุ กิ ารศกึ ษาของอาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบหลกั สตู ร 3
10. สถานทจี่ ัดการเรียนการสอน 3
11. สถานการณภ์ ายนอกหรือการพัฒนาทจ่ี ําเป็นต้องนํามาพิจารณาในการวางแผนหลกั สูตร 3
12. ผลกระทบจาก ข้อ 11.1 และ 11.2 ต่อการพฒั นาหลักสูตรและความเกย่ี วข้องกบั พันธกจิ ของสถาบนั 5
13. ความสมั พนั ธ์กับหลกั สตู รอื่นท่ีเปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน 6

หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลกั สตู ร 7
1. ปรัชญา ความสาํ คญั และวตั ถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู ร 7
2. แผนพัฒนาปรบั ปรงุ 9

หมวดที่ 3 ระบบการจดั การศกึ ษา การดาํ เนนิ การ และโครงสรา้ งของหลกั สูตร 10
1. ระบบการจดั การศึกษา 10
2. การดาํ เนินการหลกั สูตร 10
3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 12
4. องคป์ ระกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม 46
5. ข้อกาํ หนดเก่ียวกับการทําโครงงานหรอื งานวิจัย 46

หมวดที่ 4 ผลการเรยี นรู้ของหลกั สูตร กลยุทธ์การจัดการศกึ ษา และวธิ กี ารประเมนิ ผล 48
48
1. แผนการเตรียมความพร้อมของนกั ศกึ ษาเพ่ือให้บรรลุผลลพั ธก์ ารเรยี นร้ตู ามท่คี าดหวัง
49
2. ความสอดคลอ้ งกับกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดับอดุ มศกึ ษา (TQF) และประเภทของผลลพั ธ์การเรียนรู้ 50
ตามทค่ี าดหวงั ของหลกั สตู ร (Program Learning Outcomes: PLOs) 54

3. กลยทุ ธ์การจดั การศกึ ษาให้เป็นไปตามผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ตามท่ีคาดหวังของหลักสูตร

4. ผงั แสดงความเช่ือมโยงผลการเรียนรจู้ ากหลักสตู รส่รู ายวิชา (Curriculum Mapping)

สถาบนั การจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์ 0

มคอ.2

สารบญั (ต่อ) หนา้

เร่ือง

หมวดที่ 5 หลกั เกณฑ์ในการประเมนิ ผลนกั ศึกษา 59
1. กฎระเบียบหรือหลกั เกณฑใ์ นการให้ระดับคะแนน (เกรด) 59
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธข์ิ องนกั ศกึ ษา 59
3. เกณฑ์การสาํ เรจ็ การศึกษาตามหลักสตู ร 60

หมวดที่ 6 การพัฒนาอาจารย์ 61
1. การเตรียมการสําหรับอาจารย์ใหม่ 61
2. การพัฒนาความรแู้ ละทักษะใหแ้ ก่คณาจารย์ 61

หมวดท่ี 7 การประกนั คุณภาพหลกั สูตร 62
1. การกาํ กบั มาตรฐาน 62
2. บณั ฑิต 62
3. นักศกึ ษา 62
4. อาจารย์ 62
5. หลักสูตร การเรยี นการสอน การประเมนิ ผ้เู รยี น 63
6. ส่ิงสนับสนนุ การเรียนรู้ 63
7. ตัวบ่งชผี้ ลการดาํ เนินงาน (Key Performance Indicators) 65

หมวดท่ี 8 การประเมนิ และปรบั ปรุงการดาํ เนนิ การของหลักสตู ร 66
1. การประเมนิ ประสิทธิผลของการสอน 66
2. การประเมนิ หลักสูตรในภาพรวม 66
3. การประเมนิ ผลการดาํ เนินงานตามรายละเอยี ดหลักสตู ร 67
4. การทบทวนผลการประเมนิ และวางแผนปรบั ปรงุ 67

ภาคผนวก ประวตั ิอาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สูตรและอาจารย์ประจาํ หลกั สูตร 68
ภาคผนวก ก 69
ภาคผนวก ข ขอ้ บังคับสถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ัฒน์ วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2560 92

ภาคผนวก ค ระเบียบสถาบันการจดั การปญั ญาภิวฒั น์ วา่ ด้วยการเทียบโอนผลการเรียน 105
ระดบั ปรญิ ญาเข้าสู่การศกึ ษาในระบบ พ.ศ. 2560 109
 
  รายละเอยี ดการปรับปรุงหลกั สตู ร
 

สถาบนั การจัดการปัญญาภวิ ฒั น์ 1

มคอ.2

สารบญั (ต่อ) หน้า

เรอ่ื ง

ภาคผนวก ง คาํ สั่งสถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ฒั น์ ที่ 132/2562 148
ภาคผนวก จ
เร่อื ง แต่งตั้งคณะกรรมการวชิ าการ สถาบนั การจัดการปญั ญาภวิ ฒั น์ 150
151
คําสงั่ สถาบนั การจัดการปัญญาภิวัฒน์ ท่ี 213/2562 153

เรอื่ ง แตง่ ต้ังคณะกรรมการวิชาการ สถาบันการจดั การปญั ญาภิวัฒน์

ดา้ นการพยาบาล (เพมิ่ เติม)

คาํ ส่งั สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ ท่ี 063/2564

เรื่อง แตง่ ต้งั คณะกรรมการพฒั นาหลักสูตรบรหิ ารธรุ กจิ บัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการธรุ กิจการบนิ หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2565

ตารางการวิเคราะห์ความสอดคลอ้ งของ PLOs กบั วิสัยทศั น์ พันธกิจ คณุ ลักษณะของ
บณั ฑติ และความต้องการของผูม้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี

สถาบนั การจัดการปัญญาภวิ ัฒน์ 2

มคอ.2

หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑิต
สาขาวชิ าการจัดการธรุ กจิ การบิน

หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565

ช่อื สถาบนั อดุ มศกึ ษา สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
คณะ/ วทิ ยาลยั คณะวิทยาการจัดการ

หมวดที่ 1 ข้อมลู ทวั่ ไป

1. รหัสและชอื่ หลักสตู ร
รหสั หลักสูตร : 25572501100495
ภาษาไทย : หลักสูตรบรหิ ารธุรกจิ บัณฑติ สาขาวชิ าการจัดการธุรกจิ การบิน
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Business Administration Program in
Aviation Business Management

2. ช่อื ปรญิ ญาและสาขาวชิ า : บริหารธรุ กจิ บัณฑติ (การจดั การธรุ กิจการบนิ )
ภาษาไทย (ชื่อเต็ม) : บธ.บ. (การจดั การธรุ กิจการบิน)
(อกั ษรย่อ) : Bachelor of Business Administration
ภาษาอังกฤษ (ช่ือเต็ม) (Aviation Business Management)
B.B.A. (Aviation Business Management)
(อักษรยอ่ ) :

3. วิชาเอก
ไมม่ ี

4. จํานวนหนว่ ยกติ ทเ่ี รยี นตลอดหลกั สตู ร
122 หนว่ ยกติ

5. รปู แบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี หลกั สูตร 4 ปี และใชเ้ วลาศึกษาไมเ่ กิน 8 ปีการศึกษา
5.2 ประเภทของหลักสูตร
เป็นหลักสตู รปริญญาตรที างวชิ าการ
5.3 ภาษาทีใ่ ช้
หลักสูตรจดั การเรียนการสอนเปน็ ภาษาไทย และ/หรือภาษาอังกฤษ
5.4 การรบั เข้าศกึ ษา
รับนักศึกษาไทยและนกั ศกึ ษาต่างชาติทสี่ ามารถฟัง พูด อา่ น เขยี น และมคี วามเข้าใจภาษาไทยไดด้ ี

สถาบันการจัดการปญั ญาภิวฒั น์ 1

มคอ.2

5.5 ความร่วมมอื กับสถาบนั อ่นื
 เป็นหลักสตู รของสถาบนั โดยเฉพาะ

5.6 การใหป้ ริญญาแก่ผู้สาํ เร็จการศกึ ษา
 ให้ปรญิ ญาเพียงสาขาวชิ าเดียว

6. สถานภาพของหลกั สูตรและการพจิ ารณาอนมุ ตั /ิ เหน็ ชอบหลักสูตร
 หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2565
กําหนดเปิดสอนภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565
 หลกั สตู รปรับปรุงจากหลักสตู รบรหิ ารธุรกจิ บัณฑติ สาขาวชิ าการจัดการธุรกิจการบนิ
หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2562
 คณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตร เห็นชอบในการประชุมหลกั สตู รคร้ังที่ 2/2564
เม่ือวนั ท่ี 25 เดอื น มนี าคม พ.ศ. 2564
 คณะกรรมการวิชาการสถาบัน เห็นชอบให้นําเสนอหลักสูตรต่อสภาสถาบัน ในการประชุม
ครงั้ ท่ี 4/2564 เมื่อวันท่ี 8 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2564
 ไดร้ ับอนมุ ัติหลกั สตู รจากสภาสถาบัน ในการประชุมคร้งั ท่ี 4/2564
เมอื่ วันท่ี 20 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564

7. ความพรอ้ มในการเผยแพรห่ ลักสูตรที่มีคณุ ภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรมีความพร้อมในการเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามกรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

พ.ศ. 2552 ในปีการศกึ ษา 2567

8. อาชพี ทสี่ ามารถประกอบไดห้ ลังสาํ เรจ็ การศกึ ษา
(1) เจ้าหน้าท่ีบรกิ ารและต้อนรบั ภาคพ้ืนของสายการบนิ องคก์ รรัฐวิสาหกจิ และองค์กรภาครัฐ
(2) เจ้าหน้าท่ใี นองค์การและธรุ กจิ อื่น ๆ ทีเ่ กย่ี วข้องกบั ธรุ กิจสายการบนิ เช่น การท่าอากาศยานแหง่
ประเทศไทย กรมการบนิ พลเรือน
(3) เจา้ หน้าทฝ่ี า่ ยบริการและต้อนรับบนเคร่ืองบิน
(4) เจ้าหน้าท่ฝี า่ ยขนส่งสนิ คา้ ทางอากาศ เจ้าหนา้ ที่แผนกคลังสนิ ค้าทางอากาศ (Air Cargo)
ของสายการบิน องค์กรรฐั วสิ าหกจิ และองค์กรภาครัฐ
(5) เจา้ หน้าท่คี รวั การบินของสายการบิน
(6) เจา้ หนา้ ทแี่ ผนกสํารองทีน่ งั่ และจดั จําหนา่ ยบตั รโดยสารของบริษทั ตวั แทนการท่องเที่ยว
ตัวแทนสง่ เสรมิ การตลาดสายการบนิ เจา้ หนา้ ทดี่ า้ นการบริการการทอ่ งเท่ียว
(7) เจ้าหน้าทีด่ ้านการจดั การความปลอดภยั ของสายการบนิ องคก์ รรัฐวิสาหกิจ และองค์กรภาครฐั
(8) เจา้ หนา้ ท่ีประจําแผนกสนิ ค้าปลอดภาษขี องสนามบนิ
(9) ศกึ ษาตอ่ ในระดับที่สูงขน้ึ เพือ่ เปน็ อาจารย์สถาบันการศึกษา วิทยากรบรรยาย ฯลฯ

สถาบนั การจดั การปญั ญาภิวัฒน์ 2

มคอ.2

9. ชอ่ื นามสกลุ เลขประจาํ ตวั บัตรประชาชน ตาํ แหน่ง และคณุ วุฒกิ ารศกึ ษาของอาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร

ลําดบั ช่อื – สกลุ ตาํ แหน่งทาง คณุ วฒุ ิ สาขาวิชาเอก สถาบนั ทีส่ ําเรจ็ การศกึ ษา ปที ่ี เลขประจําตวั
ที่ วิชาการ สําเรจ็ ประชาชน/เลขที่
วท.ม. การบรหิ ารการบิน หนงั สอื เดนิ ทาง
อาจารย์ ร.ม. รฐั ศาสตร์
ศศ.บ. ภาษาอังกฤษ มหาวทิ ยาลยั อีสเทริ ์นเอเชีย 2563
อาจารย์ บธ.ม. การจัดการการบนิ
1 อ. อรทัย เกียรติวิรุฬหพ์ ล กศ.บ. เทคโนโลยี มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง 2557 3 4098 0005XXXX
ผชู้ ว่ ย
ศาสตราจารย์ ทางการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง 2545
ศศ.ม. การจัดการการบนิ
อาจารย์ กศ.ม บรหิ ารการศึกษา จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย 2555
อาจารย์ ค.บ. สงั คมศกึ ษา
2 อ. รพพี ร ตันจ้อย วท.ม. การบรหิ ารการบนิ มหาวทิ ยาลยั บรู พา 2540 3 2599 0013XXXX
ศศ.บ. ภาษาอังกฤษ
บธ.ม. การจดั การการบนิ มหาวิทยาลยั เกษมบัณฑติ 2562
อ.บ. สารนเิ ทศศกึ ษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
3 ผศ. บวรลกั ษณ์ เกอ้ื สวุ รรณ วิทยาลยั ครูสงขลา 2547 3 9305 0049XXXX
4 อ. ลลิตลกั ษณ์ ธารเี กษ มหาวิทยาลัยอีสเทริ ์นเอเชีย
5 อ. อชิ ยาพร ช่วยชู มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 2533
จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย
จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 2556 3 1005 0409XXXX
2545

2553 3 1201 0139XXXX

2545

10. สถานที่จดั การเรียนการสอน
 สถาบนั การจัดการปัญญาภิวฒั น์ จงั หวดั นนทบุรี

11. สถานการณ์ภายนอกหรอื การพฒั นาทจ่ี าํ เปน็ ตอ้ งนํามาพจิ ารณาในการวางแผนหลกั สตู ร
11.1 สถานการณ์หรอื การพฒั นาทางเศรษฐกจิ
ธุรกิจท่องเที่ยวและบริการเป็นรายได้อันดับต้นๆ ของประเทศคิดเป็นร้อยละ 12 และร้อย 50

ของผลติ ภณั ฑม์ วลรวมในประเทศ (GDP-Gross domestic product) ตามลาํ ดับ จากสถติ ทิ ีผ่ ่านมาช่วงสถานการณ์
โรคระบาดจะเห็นได้จากตัวเลขนักท่องเท่ียวรวมถึงเท่ียวบินที่ลดลง อย่างไรก็ตาม ท่ามกลางวิกฤติประเทศไทย
ก็สามารถพิสูจน์ให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการควบคุมการแพร่ระบาด จนได้รับการยอมรับในระดับโลก
ทําให้คนเชื่อม่ันอยากเดินทางมาประเทศไทย จุดขายเรื่องความปลอดภัย การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ จึงเป็นตัวชูโรง
ด้านการท่องเท่ียวของประเทศไทยหลังสถานการณ์โรคระบาด อีกหน่ึงจุดขายคือ เร่ืองความคุ้นเคย ท้ังด้าน
วัฒนธรรมและอาหาร ตลอดจนจุดขายเรื่องความสวยงามของท้ังธรรมชาติที่ได้รับการฟ้ืนฟู และนํ้าใจของคนไทย
ในการช่วยเหลอื เกอ้ื กลู กเ็ ปน็ อีกจุดขายของการทอ่ งเทยี่ ว

ในปัจจุบันการท่องเที่ยวและธุรกิจการบินปรับตัวรับ ความปกติใหม่ (New Normal) แม้จะเป็น
ช่วงยากลําบากของอุตสาหกรรมการบิน โดยมีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ระบบควบคุมอัตโนมัติ
(Automation system) เข้ามาใช้ในกระบวนการทํางานมากข้ึน เพ่ือลดการปฏิสัมพันธ์ และการสัมผัสติดต่อ
ระหว่างบุคคลให้น้อยลง ซึ่งสถานการณ์น้ีส่งผลกระทบอย่างมากต่อสถานะทางการเงินของสายการบิน รวมถึง
ความตอ้ งการจ้างแรงงานทลี่ ดลง ในวิกฤติแต่ก็ยังมีโอกาสหลายอย่างท่จี ะเป็นโอกาส ในการปรบั รูปแบบการตลาด
เพื่อรองรับนักเดินทางหลังสถานการณ์โรคระบาด มีแนวโน้มท่ีนักเดินทางหลังจากนี้จะเป็นนักเดินทาง
แบบการท่องเที่ยวส่วนบุคคล (FIT -Free Individual Traveler) มากข้ึน ผลิตภัณฑ์ของสายการบินหรือธุรกิจ
ท่ีเก่ียวข้องกับการท่องเท่ียวเดินทางจึงควรเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีนักเดินทางแบบเฉพาะเจาะจงไปที่ความต้องการของ
นักเดินทางแต่ละคนแทน โดยดูจากพฤติกรรมของนักเดินทาง เช่น นอกจากนี้นักเดินทางจะเลือกท่องเท่ียวชุมชน
มากข้ึน เพราะชุมชนเล็กๆ มีแนวโน้มจะจัดการเรื่องสขุ อนามยั (Hygiene) ได้ดีกว่าการเรียนรู้ ปรับตัว และต่อยอด
จึงเปน็ ความท้าทายธรุ กจิ ทางการบนิ

สถาบันการจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์ 3

มคอ.2

11.2 สถานการณห์ รือการพฒั นาทางสงั คมและวฒั นธรรม
ในการจัดทําหลักสูตรนี้ได้คํานึงถึงสภาวะความต้องการแรงงานในด้านธุรกิจการบินและการขนสง่

ทางอากาศ การเดินทาง ท่องเที่ยว ในการพัฒนาระบบธุรกิส่งออก ซึ่งเป็นรายได้หลักของ-จการค้า การนําเข้า
ประเทศถึงร้อยละ 70 และการบริการที่มีความต้องการกําลังคนด้านธุรกิจการบินค่อนข้างสูง ซึ่งธุรกิจการบินได้
ส่งผลกระทบในมิติทางสังคมและวัฒนธรรมอย่างต่อเน่ือง อันก่อให้เกิดองค์ความรู้ในด้านผลกระทบในมิติสังคม
และวัฒนธรรม โดยธุรกิจการบินก็ส่งผลกระทบในเชิงดังกล่าวเช่นกัน ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนในธุรกิจการบินนั้นมี
หลากหลายและมอี ยหู่ ลายมิติ โดยในตอนนี้จะขอกลา่ วถึงมิติทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งในแต่ละธุรกิจสายการบิน
ก็จะส่งผลในมิติสังคมและวัฒนธรรมกับแต่ละพื้นท่ีที่สายการบินได้ลงทุนไป กล่าวคือในทุกท้องท่ีมีการเข้าถึงธุรกิจ
สายการบินกจ็ ะเกิดผลกระทบทัง้ ในเชงิ บวก และเชงิ ลบด้านสงั คม และวัฒนธรรม ดังนี้

การเพ่ิมของประชากรชนิดถาวร โดยธุรกิจการบินก่อให้เกิดการจ้างแรงงานในระดับต่างๆ
โดยที่มาของแรงงานที่จะเข้าสู่ธุรกิจการบินน้ัน ก่อให้เกิดการเพ่ิมข้ึนของประชากรทั้งในรูปแบบของครัวเรือนมูล
ฐานในท้องถิ่นน้ัน และปริมาณการเพิ่มของประชากรที่ย้ายเข้ามาเพ่ือประกอบอาชีพในธุรกิจการบิน ในแต่ละ
ภูมิภาคของประเทศไทย

การเพ่ิมของประชากรชนิดบางช่วงเวลา โดยในบางฤดูกาลเช่นฤดูท่ีมีจํานวนนักเดินทางเป็น
จํานวนมาก ทําให้ปริมาณแรงงานหล่ังไหลเข้ามายังธุรกิจการบิน โดยเฉพาะภูมิภาคใดที่มีการขยายตัวของธุรกิจ
การบินมาก แรงงานประเภทต่างๆ ก็จะเพ่ิมข้ึนมากขึ้น อย่างไรก็ตามความต้องการต้องการแรงงานในธุรกิจนี้
สามารถรองรับได้เป็นจํานวนจํากัด เนื่องจากธุรกิจการบินต้องการแรงงานเฉพาะด้านท่ีมีความรู้ในด้านการบินมาก
แต่ปริมาณประชากรเพ่ิมมากขึ้นก็มิอาจจะตอบสนองความต้องการได้ ข้อดีของประชากรประเภทน้ีคือในกรณีท่ี
ธุรกิจขาดแรงงานก็สามารถจ้างแรงงานเหล่าน้ีเข้าทํางานได้ แต่ข้อเสียคือหากเกิดภาวะแรงงานในท้องถิ่นมีมาก
เกินไปกอ็ าจเกดิ ภาวการณว์ ่างงานมากขึน้ เปน็ เงาตามตวั

ปริมาณการเพ่ิมครัวเรือน ซ่ึงแต่ละบุคคลย่อมอยากมีเคหะสถานในการพํานักอยู่ใกล้ที่
ทํางาน ดังนั้นเราจะสามารถเห็นการขยายของชุมชนในบริเวณรายรอบสนามบิน ข้อดีของปริมาณการเพ่ิม
ครัวเรือน ในข้อดีอาจทําให้เกิดการมีการพัฒนาในด้านต่าง ๆ เพ่ือส่งเสริมคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้น เช่น
ส่ิงจําเป็นพ้ืนฐาน (Infrastructure) และในทางกลับกันอาจก่อให้เกิดปัญหาภาวะความแออัดของชุมชน ทําให้เกิด
ปัญหาด้าน คุณภาพชีวิตและสภาพความเปน็ อยู่

ความเปลี่ยนแปลงด้านการแพร่กระจายของประชากร การขยายตัวของธุรกิจการบินย่อมเกิด
ความขยายตัวของภาคแรงงานตามขึ้นมา โดยการอพยพเข้ามาทํางานน้ันทําให้อัตราของประชากรในช่วงวัยต่าง ๆ
มีเป็นจํานวนไมเ่ ทา่ กนั กลา่ วคือในบรเิ วณรายรอบธรุ กจิ การบนิ ทาํ ให้มปี ระชากรในวัยแรงงานมาก และจํานวนของ
เด็ก วัยรุ่น วัยชรา น้ันมีอัตราส่วนท่ีไม่เทา่ กันทําให้เกิดภาวะท่ไี ม่สมดุล และยังสามารถจะเกิดความไม่สมดุลในดา้ น
เพศชายมากกวา่ หญงิ หรอื หญิงมากกว่าชาย (ด้านเช้ือชาติ และชาติพันธ์ุ)

การเปลี่ยนแปลงทางประชากรสู่ความเป็นเมืองใหญ่ เม่ือมีการกระจุกตัวของประชากรราย
ล้อมธุรกิจการบินทําให้เกิดการขยายตัวของประชากรจากประชากรทเี่ ป็นชุมชนหรือสงั คมเล็กๆ สู่ชุมชนเมือง ทําให้เกิด
การเปล่ียนแปลงท้ังในเชิงบวกและเชิงลบเชิงบวก คือการขยายเมืองสู่ความทันสมัย แต่ในทางกลับกันในเชิงลบ
กย็ งั สามารถกอ่ ใหเ้ กิดปญั หาตา่ งๆ เหมือนอย่างที่ในเมืองใหญๆ่ หลายเมืองประสบอยู่ทกุ วนั น้ี

สถาบันการจดั การปัญญาภวิ ัฒน์ 4

มคอ.2

12. ผลกระทบจาก ข้อ 11.1 และ 11.2 ต่อการพฒั นาหลกั สูตรและความเกยี่ วขอ้ งกบั พันธกจิ ของสถาบนั
12.1 การพฒั นาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรมีความจําเป็นต่อความสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน โดยมุ่งการพัฒนา

เชิงรุกที่สนองตอบศักยภาพการผลิตบัณฑิตสู่ตลาดแรงงาน ซึ่งมีจุดเน้นเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ โดยมีระบบ
การจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดพัฒนาการทุกด้าน ทั้งการเรียนรู้เชิงวิชาการท่ีจําเป็นต่อการ
ประกอบวชิ าชีพ และทกั ษะดา้ นต่างๆ ท่ชี ว่ ยส่งเสริมใหก้ ารประกอบวิชาชพี นัน้ มปี ระสทิ ธภิ าพ ประกอบดว้ ย ทกั ษะ
ในการใช้การภาษาไทยที่เป็นทางการ ทักษะในภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ รวมไปถึง ภาษาท่ีสาม ทักษะ
วิชาชีพที่ได้จากการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง และรวมถึงทักษะทางอารมณ์และสังคม ทักษะการใช้
ชีวิตสู่การพัฒนาทักษะการคิดและวิเคราะห์ด้านต่างๆ อีกท้ังส่งเสริมให้ผู้เรียนตระหนักถึงคุณธรรม-จริยธรรม
จรรยาบรรณในวชิ าชีพ มีทัศนคตทิ ด่ี ี มีใจบรกิ าร และมบี คุ ลิกลกั ษณะทีเ่ ปน็ นกั บริการอย่างมอื อาชีพ ที่พรอ้ มออกสู่
ตลาดแรงงาน ตรงตามความตอ้ งการของสถานประกอบการ ซง่ึ ไดค้ วามร่วมมอื จากเครอื ข่ายพนั ธมติ รในธุรกจิ ต่างๆ
และภาคการศกึ ษาอืน่ ๆ เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษามี โอกาสเรยี นรู้ประสบการณท์ ี่กว้างขวางและหลากหลาย

12.2 ความเกยี่ วขอ้ งกบั พันธกจิ ของสถาบนั
สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่เน้นการเรียนทฤษฎีควบคู่การเรียน

ปฏิบัติ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างบัณฑิตที่มีคุณภาพในเชิงวิชาการและสามารถปฏิบัติงานได้จริง โดยการจัดการ
เรียนการสอนแบบการเรียนรู้บนพื้นฐานของการทํางานจริง (Work-based Learning) โดยนักศึกษาจะต้องเข้า
ทํางานหรือฝกึ งานจริงในสถานประกอบการ

จากพันธกิจหลักดังกล่าวของสถาบัน หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน
จึงมีความจําเป็นอย่างมาก เน่ืองจากการเติบโตทางเศรษฐกิจท่ีขยายตัว และการแข่งขันรุนแรงมากย่ิงขึ้น ทําให้
แต่ละสถานประกอบการตระหนักถึงความสําคัญในการเพ่ิมประสิทธิภาพ และลดต้นทุนในการดําเนินงาน
สร้างประสิทธิภาพ และความได้เปรียบในการแข่งขัน โดยกําลังคนท่ีผลิตน้ันจะต้องมีความพร้อมทางด้านทักษะ
ที่จะปฏิบัติงานได้จริง และมีศักยภาพทางวิชาการในการพัฒนาตนเองให้เข้ากับลักษณะงานและสภาพแวดล้อม
การทํางานที่จะไปปฏบิ ตั ิไดเ้ ป็นอย่างดี

โดยในหลักสูตรได้สอดแทรกระบบคุณธรรมจริยธรรมทางสังคมและการเรียนรู้ซึ่งวัฒนธรรมไทย
ตามกรอบแนวทางในการประกอบวิชาชีพด้านธุรกิจการให้บริการ อีกทั้งสาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน และ
สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ยังได้รับความอนุเคราะห์จากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนท่ีเก่ียวข้องในการ
จัดการเรียนการสอน รวมทั้งศึกษาดูงานจากสภาพการปฏิบัติงานจริงและการฝึกงานภาคสนาม
ในสถานประกอบการ จงึ เปน็ ส่วนสาํ คัญทีส่ ถาบนั การจัดการปัญญาภวิ ัฒน์ ไดจ้ ัดทําหลักสตู รดงั กลา่ วข้นึ

สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ฒั น์ 5

มคอ.2

13. ความสมั พันธ์กับหลักสตู รอ่นื ท่ีเปิดสอนในคณะ/ภาควชิ าอ่นื ของสถาบนั
13.1 กลุ่มวชิ า/รายวิชาในหลกั สูตรน้ที ี่เปิดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลกั สตู รอ่ืน
 หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป
 หมวดวชิ าเฉพาะ
 หมวดวชิ าเลือกเสรี

13.2 ก☐ล่มุ หวมชิ วาด/รวาชิ ยาวศิชกึ าษใานทหัว่ ลไปักสูตรท่ีเปดิ สอนให้ภาควชิ า/หลักสตู รอนื่ ตอ้ งมาเรียน

 หมวดวิชาเฉพาะ
 หมวดวิชาเลือกเสรี
13.3 การบริหารจัดการ
ในการจัดการเรียนการสอนนั้น จะต้องมีการประสานงานกับคณะสาขาวิชาต่า ๆ ท่ีจัดรายวิชาซึ่ง
นักศึกษาในหลักสูตรนี้ต้องไปเรียน โดยต้องมีการวางแผนร่วมกันระหว่าง ผู้เกี่ยวข้องต้ังแต่ผู้บริหารและอาจารย์
ผู้สอน ซึ่งอยู่ต่างคณะ โดยจะใช้รูปแบบของคณะกรรมการ เพ่ือกําหนดเน้ือหาและกลยุทธ์การสอนตลอดจนการวัด
และประเมินผล ทงั้ น้เี พื่อให้นกั ศึกษาได้บรรลผุ ลการเรียนรู้ตามหลกั สตู รนี้

สถาบนั การจัดการปญั ญาภิวฒั น์ 6

มคอ.2

หมวดท่ี 2 ขอ้ มูลเฉพาะของหลักสูตร

1. ปรชั ญา ความสําคญั และวัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตร
1.1 ปรชั ญา
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีการพัฒนา

ทักษะและองค์ความรู้ทางด้านการจัดการธุรกิจการบิน ซึ่งจะมีการผสมผสาน ท้ังความรู้ในทฤษฎีสมัยใหม่ ควบคู่
กับการปฏิบัติงาน ทั้งในการฝึกปฏิบัติในชั้นเรยี น และฝึกปฏบิ ัติกบั สถานประกอบการทางดา้ นอตุ สาหกรรมการบนิ
มีทศั นคติทีด่ ตี ่อวิชาชีพ เพ่อื ท่ีจะออกไปรับใชส้ งั คมและเปน็ กําลังสําคัญในการพฒั นาประเทศชาติ

1.2 ความสําคญั
อุตสาหกรรมการบิน เป็นอุตสาหกรรมสาขาหน่ึงของกระบวนการงานด้านโลจิสติกส์และการขนส่ง

ซึ่งปัจจุบันอุตสาหกรรมการบิน มีความสําคัญและขยายตัวอย่างต่อเน่ือง อันเน่ืองมาจากภาวะความต้องการ
ในการเดินทางที่สะดวกรวดเร็วขึ้น การตอบสนองด้านการท่องเท่ียว การประกอบธุรกิจด้านการค้าระหว่าง
ประเทศ ซึ่งนนั่ หมายถึงการติดต่อค้าขาย การเจรจา การศกึ ษา แรงงาน การดาํ เนนิ กจิ กรรมต่างๆ ระหว่างประเทศ
ท่ัวโลกจะเกิดข้ึนอย่างมากมาย ซ่ึงประเทศไทยนับว่าเป็นศูนย์กลางของอาเซียนได้เป็นอย่างดี เน่ืองจาก
ประเทศไทยมีข้อได้เปรียบในแง่ของชัยภูมิท่ีตั้ง และประเทศไทยได้มีความคาดหวังว่า จะเป็นประเทศศูนย์กลาง
ด้านการขนส่งทางอากาศ หรอื ท่เี รียกว่า ฮบั การขนสง่ ทางอากาศ

ดังนั้น ประเทศไทยจึงจําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเตรียมความพร้อมเพื่อจะก้าวเข้าสู่ความเป็น
ศูนย์กลางด้านการขนสง่ ทางอากาศ ทั้งในด้าน สนามบิน เครื่องมือและองค์ประกอบด้านการบนิ และบุคลากรดา้ น
ธุรกิจการบิน ซึ่งมีส่วนสําคัญอย่างยิ่งในการนําพาธุรกิจด้านการบินและการขนส่งทางอากาศของประเทศไทย
พัฒนาใหก้ า้ วหนา้ และทนั สมัย เพอื่ รองรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ซ่ึงเป็นสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ที่ตั้งอยู่ในเขต
กรุงเทพฯ และปริมณฑลที่เป็นแหล่งความต้องการแรงงานและแหล่งกระจายสินค้า คน และการบริการ ไปยังทั่ว
ทุกภาคของประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน และยังต้ังอยู่ในเขตพ้ืนที่ท่ีมีการพัฒนาระบบโลจิสติกส์และการขนส่ง
เพื่อตอบสนองต่อธุรกิจการค้าการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง โดยสามารถใช้เขตพ้ืนท่ีให้เกิดประโยชน์ต่อหลักสูตร
และเชิญผู้มีประสบการณ์ในสายงาน มาบรรยายเสริมให้หลักสูตรมีความเข้มแข็งและพัฒนาศักยภาพของบัณฑิต
ได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังมีการศึกษาดูงานจากสภาพการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการต่างๆ และการฝึกงาน
ภาคสนามในเขตพื้นที่กรุงเทพฯ และเขตปริมณฑล เพ่ือให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทักษะการปฏิบัติงานจริง
จึงเป็นโอกาสท่ีดีในการที่สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์จะร่วมเป็นส่วนหน่ึงในการเตรียมความพร้อมด้าน
บุคลากรของประเทศ เพือ่ ตอบสนองตอ่ การเปดิ เสรที างการค้า และการกา้ วเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น

1.3 วตั ถปุ ระสงค์
1.3.1 ผลติ บัณฑติ ทมี่ คี ณุ ภาพไดม้ าตรฐานและตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานด้านธุรกิจการ

บนิ โดยเน้นให้นกั ศกึ ษาเรียนรูจ้ ากประสบการณจ์ ริง
1.3.2 ผลิตบัณฑิตท่ีมีความสามารถในการนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ในภาคธุรกิจการบิน และ

อตุ สาหกรรมการบรกิ ารอืน่ ๆ เพ่อื เพมิ่ ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ตลอดจนสามารถสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมใหม่ ๆ ได้
1.3.3 ผลิตบัณฑิตท่ีมีความเป็นผู้นํา มีความใฝ่รู้ สามารถใช้ความรู้ด้านภาษาในการพูด และเขียน

รวมท้ังสามารถใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการสือ่ สารไดเ้ ป็นอยา่ งดี

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ 7

มคอ.2

1.4 ผลลพั ธก์ ารเรยี นรูข้ องหลักสตู ร (Program Learning Outcomes : PLOs)
คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบินดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรฯ

ท่ีเน้นการมีส่วนร่วมและการรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ประกอบด้วยธุรกิจ ในธุรกิจด้านการบิน
ท้ังเก่ียวข้องโดยตรง และเกี่ยวข้องทางอ้อม หรือเกี่ยวข้องในบริบทการสนับสนุนด้านต่างๆ โดยดําเนินการศึกษา
รวบรวมข้อมูล รวมท้ังวิเคราะห์ผลจากการสอบถาม การสัมภาษณ์จาก นักศึกษาปัจจุบัน ศิษย์เก่า คณาจารย์
สถานประกอบการผู้รับนักศึกษาและสถานประกอบการผู้ใช้บัณฑิตในธุรกิจด้านการบิน นํามาสู่การกําหนดผลลัพธ์
การเรยี นรขู้ องหลกั สูตรฯ ได้ดงั นี้

PLO1 แสดงออกถงึ การปฏบิ ตั ิตามระเบียบวินยั ความรับผดิ ชอบ และความซอื่ สัตย์ตอ่ ตนเองและสงั คม
PLO2 แสดงออกซึ่งการช่วยเหลือบุคคลอื่นโดยไม่หวังผลตอบแทนและความมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและ

ปฏิบัติงานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ ได้
PLO3 วิเคราะห์และสังเคราะห์หลักการและทฤษฎีพื้นฐานด้านการบริหารจัดการธุรกิจการบินและ

นาํ ไปประยกุ ตใ์ ช้ในสายอาชีพ
PLO4 บรู ณาการศาสตรต์ ่างๆท่ีเกย่ี วขอ้ งกับการบริหารจัดการธรุ กจิ การบิน
PLO5 วิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้หลักการบริหารจัดการด้านธุรกิจการบินและนําไปประยุกต์ในสาย

อาชีพ
PLO6 แก้ปญั หาสถานการณใ์ นธรุ กิจการบินโดยเลอื กใช้หลักการทเ่ี หมาะสม
PLO7 สือ่ สารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในบรบิ ทธุรกจิ การบนิ
PLO8 นาํ เสนอขอ้ มูลเชงิ วเิ คราะห์โดยใชเ้ ทคโนโลยี
1.5 เหตผุ ลของการพัฒนาหรือการปรบั ปรุงหลกั สตู ร
1.5.1 มีการปรับปรุงหลักสูตรทุก ๆ 5 ปี เพ่ือให้หลักสูตรมีความทันสมัยเข้ากับยุคปัจจุบัน เพ่ือเพ่ิม
ความหลากหลายในรายวิชามากข้ึนเพ่ือเป็นแนวทางประกอบอาชีพให้กับนักศึกษา และตรงกับความต้องการของ
สถานประกอบการในอตุ สาหกรรมการบิน
1.5.2 ปรับเนื้อหาบางรายวิชาในหลักสูตร เพ่ือให้ไม่มีความซ้ําซ้อนกันของรายละเอียดวิชา
ใหม้ คี วามชดั เจนในรายละเอียดมากข้นึ
1.5.3 นําข้อเสนอแนะการปรับปรุงจากมคอ. 5 และมคอ. 7 ซึ่งเป็นข้อเสนอแนะจากผู้ปฎิบัติงาน
ซ่งึ ผู้สอนและผเู้ รียนมาใช้ในการปรับปรุงหลกั สูตร

สถาบนั การจัดการปญั ญาภิวฒั น์ 8

มคอ.2

2. แผนพัฒนาปรบั ปรงุ

แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลกั ฐาน/ตัวบ่งช้ี
1. มีวางแผนในการปรับปรุง
- รวบรวมติดตามผลการประเมนิ - ร้อยละของบัณฑิตท่ไี ดง้ านทาํ
ตามกรอบมาตรฐานทกุ
5 ปี QA ของหลกั สตู รรวมทุก 5 ปี ภายใน 1 ปี

2. ปรับปรุงหลักสตู รให้ ในด้านความพงึ พอใจ และ - ระดบั ความพึงพอใจของนายจ้าง
มีคุณภาพและมีมาตรฐาน
เปน็ ไปตามที่ สปอว. ภาวะการได้งานของบัณฑิต ผ้ปู ระกอบการ และผใู้ ชบ้ ณั ฑติ ใน
กําหนด
คณุ ภาพบณั ฑิตจากผลการประเมนิ
3. ปรับปรุงหลักสตู รใหม้ ีความ
สอดคล้องกับความตอ้ งการ ความพึงพอใจของผใู้ ช้บัณฑติ เช่น
ของผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสยี และ
ทันตอ่ สถานการณ์ต่างๆ นายจา้ ง หวั หน้างาน และ

ผูป้ ระกอบการ เปน็ ต้น

- ปรับปรงุ หลกั สตู รและเนื้อหา - เอกสารปรับปรุงหลกั สตู ร
รายวชิ าให้มีคุณภาพ สมาํ่ เสมอ - รายงานผลการประเมนิ หลักสตู ร
ตามท่ี สปอว.กําหนด โดยเชิญ - รายงานผลประเมินความพงึ พอใจ
ผเู้ ชี่ยวชาญทงั้ ภาครฐั และเอกชน และข้อเสนอแนะของนกั ศกึ ษา

มสี ่วนรว่ มในการปรับปรงุ ตอ่ หลักสตู ร

หลักสูตร - รายงานผลการประเมินความพงึ

- ติดตามประเมินผลหลกั สตู รอย่าง พอใจและข้อเสนอแนะของผใู้ ช้

สมํ่าเสมอ บณั ฑิต

- ตดิ ตามความพึงพอใจและความ - รายงานผลประเมนิ ความพึงพอใจ

ต้องการของผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ของนกั ศึกษาตอ่ หลกั สตู ร

เช่น ผใู้ ชบ้ ัณฑติ หรอื นายจา้ ง ศิษย์ - รายงานผลการประเมินความพึง

เก่า นักศึกษาปจั จุบนั ผปู้ กครอง พอใจของผู้ใช้บัณฑติ

อย่างสม่าํ เสมอ - มกี ารนาํ เทคโนโลยแี ละองคค์ วามรู้

- นําเทคโนโลยใี หม่ๆ มาใชใ้ นการ ใหมๆ่ มาใช้ในการเรยี นการสอน

เรียนการสอน เพอื่ เพม่ิ ศักยภาพ - รายงานกระบวนการปรบั ปรงุ ตาม

ของหลกั สูตร ผลประเมนิ ความพงึ พอใจของ

- ติดตามสถานการณป์ จั จบุ นั ดา้ น นักศกึ ษาและอาจารยต์ ่อส่งิ

ธรุ กิจการบินและนาํ มาปรับปรงุ สนบั สนุนการเรียนรู้

การเรยี นการสอนอยา่ งสมาํ่ เสมอ

- รบั ฟังขอ้ เสนอแนะผ้จู าก

เชย่ี วชาญและพจิ ารณาให้

สอดคล้องกับความต้องการ

รวมไปถึงแนวโน้มของการ

เปล่ียนแปลงในอุตสาหกรรม

การบิน และการบรกิ าร

สถาบันการจัดการปญั ญาภิวฒั น์ 9

มคอ.2

หมวดท่ี 3 ระบบการจัดการศกึ ษา การดําเนินการ และโครงสรา้ งของหลักสตู ร

1. ระบบการจดั การศึกษา
1.1 ระบบ
 ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งเป็น 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติ

มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ โดยเป็นไปตามข้อบังคับของสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2560

2.1 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน

มกี ารจดั การเรยี นการสอนในภาคฤดรู ้อนโดยภาคการศกึ ษาฤดูร้อนมรี ะยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า
8 สัปดาห์ โดยกําหนดระยะเวลาและจํานวนหนว่ ยกิตใหม้ สี ัดส่วนเทยี บเคียงกับการศึกษาภาคปกติ

3.1 การเทยี บเคยี งหนว่ ยกติ ในระบบทวภิ าค

ไม่มี

2. การดําเนินการหลักสูตร
2.1 วนั -เวลาในการดําเนนิ การเรยี นการสอน
 วัน – เวลาราชการปกติ
 อน่ื ๆ นอกเวลาราชการ ไดแ้ ก่ วนั เสารแ์ ละ/หรือวนั อาทิตย์ (เวลา 08.00-18.30 น.)
ภาคการศกึ ษาที่ 1 เดอื นสิงหาคม ถึง พฤศจกิ ายน
ภาคการศึกษาท่ี 2 เดอื นมกราคม ถงึ เมษายน
ภาคการศึกษาฤดรู ้อน เดอื นพฤษภาคม ถึง มิถนุ ายน
ท้ังนี้ อาจมีการเปลี่ยนแปลง ให้เป็นไปตามประกาศฯ และ/หรือปฏิทินการศึกษาของสถาบัน
โดยเปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดบั ปรญิ ญาตรี
2.2 คุณสมบัติของผู้เขา้ ศกึ ษา
 เป็นผู้สําเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และ/หรือเป็นไปตามข้อบังคับของ

สถาบันการจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ วา่ ด้วยการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2560
 เปน็ ผูส้ าํ เรจ็ การศกึ ษาประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชน้ั สงู หรือเทียบเท่า หรอื อนปุ ริญญา

2.3 ปัญหาของนกั ศึกษาแรกเขา้
 ความรู้ด้านภาษาต่างประเทศไม่เพยี งพอ

2.4 กลยุทธ์ในการดาํ เนนิ การเพอ่ื แก้ไขปญั หา / ข้อจํากดั ของนักศกึ ษาในข้อ 2.3
 จดั สอนเสรมิ เตรียมความรพู้ ื้นฐานกอ่ นการเรียน
 จัดการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ แนะนําการวางเป้าหมายชีวิต เทคนิคการเรียนใน

ระดับอดุ มศึกษาและการแบง่ เวลา
 จดั ใหม้ ีระบบอาจารย์ท่ปี รึกษาเพ่ือทําหน้าท่ีดแู ล ให้คาํ แนะนาํ แก่นกั ศึกษาและให้เน้นยํ้าในกรณี

ทน่ี ักศึกษามีปัญหาตามข้างต้นเปน็ กรณพี เิ ศษ
 จัดกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการสร้างความสัมพันธ์ของนักศึกษาและการดูแลนักศึกษา ได้แก่วัน

แรกพบระหว่างนักศึกษากับอาจารย์ การติดตามการเรียนของนักศึกษาช้ันปีท่ี 1 จากอาจารย์ผู้สอน และจัด
กิจกรรมสอนเสริมถ้าจาํ เป็น

สถาบันการจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์ 10

มคอ.2

2.5 แผนการรบั นกั ศกึ ษาและผ้สู าํ เรจ็ การศกึ ษาในระยะ 5 ปี

ระดับชน้ั ปี จํานวนนกั ศึกษาแต่ละปีการศึกษา 2569
200
นกั ศึกษาชน้ั ปีท่ี 1 2565 2566 2567 2568 194
นักศึกษาชั้นปีที่ 2 200 200 200 200 191
นกั ศกึ ษาชน้ั ปที ี่ 3 - 194 194 194 191
นกั ศึกษาช้ันปีที่ 4 - - 191 191 776
- - - 191 191
รวม 200 394 585 776
คาดว่าจะจบการศึกษา - - - 191

2.6 งบประมาณรายไดค้ ่าใช้จ่าย (อยรู่ ะหวา่ งดาํ เนินการ)

2.6.1 งบประมาณรายได้ (หน่วย: บาท)

ประเภทรายได้ 2565 ปีการศึกษา 2568 2569
2566 2567 2569

คา่ เลา่ เรียน

รวม รายได้

2.6.2 งบประมาณรายจ่าย (หนว่ ย: บาท)

ประเภทรายจา่ ย 2565 2566 ปีการศกึ ษา 2568
2567
1. คา่ ใชจ้ า่ ย
1.1 คา่ ใชจ้ ่ายการเรียนการสอน
1.2 คา่ ใชจ้ ่ายการบริหาร
รวม รายจ่าย
ค่าใชจ้ า่ ยตอ่ หวั นกั ศกึ ษา

2.6.3 งบประมาณการลงทนุ
1. งบลงทุน

ค่าครุภณั ฑ์การศกึ ษา

หมายเหตุ คา่ ใชจ้ า่ ยต่อหัวนักศึกษา คลกิ ทน่ี ่ีเพอ่ื ใสข่ อ้ ความบาทตอ่ ปี ทงั้ นี้ อตั ราคา่ เลา่ เรยี นใหข้ ้ึนอยู่กับประกาศของ

สถาบันฯ (คา่ ใช้จ่ายตอ่ หัวนักศกึ ษา (บาทตอ่ ปี) = คา่ ใช้จา่ ยตอ่ หัวนักศึกษา 5 ปีบวกกนั (ปีที่ 256...-256....) / 5)
หมายเหตุ ใหห้ ลกั สตู รประสานงานกับฝา่ ยการเงนิ เพื่อจัดทําขอ้ มลู งบประมาณข้างตน้

สถาบนั การจัดการปัญญาภิวัฒน์ 11

มคอ.2

2.7 ระบบการศึกษา
 แบบชั้นเรียน

2.8 การเทยี บโอนหนว่ ยกติ รายวชิ าและการลงทะเบียนเรยี นข้ามมหาวิทยาลัย
การเทียบโอนหน่วยกิตและรายวิชาระหว่างหลักสูตรในสถาบันและระหว่างสถาบันให้เป็นไปตาม

ข้อบังคับสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2560 และระเบียบสถาบัน
การจัดการปัญญาภิวฒั น์ ว่าดว้ ยการเทียบโอนผลการเรยี นระดับปริญญาเข้าส่กู ารศึกษาในระบบ พ.ศ. 2560

3. หลกั สูตรและอาจารยผ์ สู้ อน

3.1 หลกั สูตร
3.1.1 จาํ นวนหนว่ ยกิตรวมตลอดหลกั สตู ร จํานวน 122 หน่วยกิต

3.1.2 โครงสร้างหลกั สตู ร

1) หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป จาํ นวน 30 หนว่ ยกติ ประกอบด้วย 2 หมวด ดงั นี้

1.1) หมวดอตั ลักษณ์ของสภาบัน PIM 18 หนว่ ยกิต

1.2) หมวดศาสตรแ์ หง่ ชวี ิต ไมน่ ้อยกวา่ 12 หนว่ ยกติ

2) หมวดวิชาเฉพาะ จํานวน 86 หนว่ ยกิต ประกอบดว้ ย 3 กลุ่มวชิ า ดังนี้

2.1) กล่มุ วิชาแกนธรุ กิจ 24 หนว่ ยกิต

2.2) กลมุ่ วชิ าบังคบั 50 หน่วยกติ
2.3) กลุ่มวิชาเลอื ก 12 หน่วยกิต

3) หมวดวิชาเลือกเสรี จาํ นวน 6 หนว่ ยกติ

สถาบนั การจดั การปัญญาภิวฒั น์ 12

มคอ.2

3.1.3 รายวชิ า
ความหมายของรหัสวชิ า
รหสั วชิ า ประกอบดว้ ย ตวั เลขรวม 7 หลกั เปน็ ตวั เลขอารบิก ดังน้ี

ความหมาย ลาํ ดบั ที่
1 2 3 4567
ตวั เลขประจําคณะวชิ า/วิทยาลัย/สาํ นัก XX
ตวั เลขระบหุ ลักสูตร/หมวดวชิ า
ตัวเลขระบุกลมุ่ วชิ า X
ตัวเลขระบุระดบั ช้นั ปี/ระดบั รายวิชา X
ตัวเลขระบลุ ําดบั รายวิชา X
XX

1) ลาํ ดบั ท่ี 1 - 2 หมายถึง ตวั เลขประจําคณะวชิ า/ วทิ ยาลัย/ สํานัก ประกอบด้วยคณะวิชา ดังน้ี
10 หมายถงึ สํานกั การศกึ ษาท่ัวไป
11 หมายถงึ คณะบรหิ ารธรุ กิจ
19 หมายถึง คณะวิทยาการจัดการ
………………………………..

2) ลําดบั ที่ 3 หมายถึง ตวั เลขระบหุ ลกั สูตร/ หมวดวิชา ประกอบด้วย
2.1) ตัวเลขหมวดวชิ าศึกษาทั่วไป
1 หมายถงึ หมวดอตั ลกั ษณ์ของสถาบนั PIM
2 หมายถึง หมวดศาสตรแ์ ห่งชวี ติ
………………………………..
2.2) ตวั เลขหลกั สูตร คณะบริหารธุรกจิ
2.2.1) ตัวเลขหลักสตู ร คณะบรหิ ารธรุ กจิ
0 หมายถงึ กลมุ่ รายวชิ าแกนกลางคณะบริหารธุรกจิ
………………………………..
2.3) ตัวเลขหลกั สตู ร คณะวิทยาการจดั การ
0 หมายถงึ กลุ่มรายวิชาแกนกลางคณะวิทยาการจดั การ
1 หมายถงึ หลกั สูตรบริหารธรุ กิจบัณฑติ
สาขาวชิ าการจัดการอสังหาริมทรพั ย์และทรพั ยส์ ินอาคาร (RPM)
3 หมายถงึ หลักสูตรบริหารธุรกจิ บัณฑติ
สาขาวิชาการบรหิ ารคนและองค์การ (POM)
4 หมายถึง หลักสตู รศลิ ปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการการบรกิ ารและการทอ่ งเท่ียว (HTM)
5 หมายถึง หลักสตู รบรหิ ารธรุ กิจบัณฑติ
สาขาวิชาการจดั การธุรกิจการบิน (AVI)
7 หมายถึง หลกั สูตรบริหารธรุ กิจมหาบณั ฑิต
สาขาวิชาการบรหิ ารคนและกลยุทธ์องค์การ (POS)
………………………………..

สถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ฒั น์ 13

มคอ.2

3) ลําดบั ท่ี 4 หมายถึง ตวั เลขระบุกลมุ่ วชิ า
3.1) ตัวเลขกลุ่มวิชาหมวดวชิ าศกึ ษาท่วั ไป
0 หมายถงึ กลุ่มบรู ณาการ
1 หมายถงึ กลุ่มภาษาเพ่ือการสอ่ื สาร
2 หมายถงึ กลุ่มชีวิตและสงั คมแหง่ ความสขุ
3 หมายถึง กลุ่มการจดั การและนวัตกรรม
………………………………..
3.2) ตัวเลขระบุกลุม่ วิชา
0 หมายถงึ กลมุ่ วิชาปรับพืน้ ฐาน
1 หมายถึง กลุม่ วชิ าแกน/ กลมุ่ วิชาพื้นฐาน/กลุ่มวชิ าพ้ืนฐานวิชาชพี /
กลุ่มวิชาชพี ครู/อื่นๆ ตามกลมุ่ วิชาทรี่ ะบใุ น มคอ.1 (ถ้ามี)
2 หมายถึง กลุม่ วิชาบงั คบั / กลุ่มวิชาเอก/ กล่มุ วชิ าเฉพาะดา้ น/
กลมุ่ วิชาเฉพาะ/อื่นๆ ตามกลมุ่ วชิ าทร่ี ะบุใน มคอ.1 (ถ้ามี)
3 หมายถึง กล่มุ วชิ าเลือก/ กลมุ่ วชิ าเลือกเฉพาะสาขา
4 หมายถึง กลุ่มวิชาดุษฎีนิพนธ/์ วทิ ยานพิ นธ/์ การคน้ ควา้ อสิ ระ
5 หมายถึง กลมุ่ วชิ าเลือกเสรี
………………………………..

4) ลาํ ดบั ที่ 5 หมายถงึ ตวั เลขระบรุ ะดบั ชั้นปี/ระดับรายวชิ า เปน็ ตวั เลขบอกความเขม้ ข้นของ
เนอ้ื หาวชิ าหรือวชิ าน้นั เรยี นระดับช้ันปีใดหรอื ระดบั ปริญญาใด มหี ลกั เกณฑ์ ดงั น้ี

1 หมายถึง รายวิชาระดบั ปรญิ ญาตรี สาํ หรบั นกั ศึกษาชนั้ ปี 1
2 หมายถึง รายวชิ าระดบั ปริญญาตรี สาํ หรับนกั ศึกษาชนั้ ปี 2
3 หมายถึง รายวชิ าระดับปริญญาตรี สาํ หรบั นักศกึ ษาช้ันปี 3
4 หมายถงึ รายวชิ าระดับปริญญาตรี สําหรับนักศกึ ษาชัน้ ปี 4
5) ลาํ ดบั ที่ 6 และ 7 หมายถงึ ตัวเลขระบุลาํ ดับรายวชิ า
01 หมายถึง รายวิชาลาํ ดบั ท่ี 1

(ลําดับท่ี 01-50 รายวชิ า “บรรยายหรือทฤษฎี/ปฏิบตั /ิ
โครงงาน/การศึกษาค้นคว้าอิสระ/วิทยานิพนธ์/ดษุ ฎีนิพนธ์”)
………………………………..
51 หมายถึง รายวิชาลาํ ดับท่ี 51
(ลําดบั ท่ี 51 เปน็ ต้นไป รายวชิ า “การเรยี นรูภ้ าคปฏิบัตดิ า้ น...”)
………………………………..

สถาบนั การจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์ 14

มคอ.2

รายวชิ า

1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป นักศึกษาต้องศึกษารายวิชาในหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป จํานวน 30 หน่วยกิต

จากกลุม่ วิชา ดงั นี้

1.1) หมวดอัตลกั ษณ์ของสถาบัน PIM ให้เรียนจํานวน 18 หน่วยกิต จากรายวชิ าต่อไปนี้

รหสั วิชา ชอื่ วชิ า หนว่ ยกิต วชิ าบังคบั กอ่ น

1011101 ภาษาไทยเพอ่ื การส่ือสารร่วมสมัย 3(3-0-6) -

(Thai for Contemporary Communication)

1011102 ภาษาอังกฤษในชวี ติ จรงิ 2(1-2-3) -

(English for Real Life)

1011103 ภาษาอังกฤษเพื่อธรุ กิจและการทํางาน 2(1-2-3) -

(English for Business and Work)

1011204 ภาษาอังกฤษเพอื่ การนําเสนออย่างสรา้ งสรรค์ 2(1-2-3) -

(English for Creative Presentation)

1012101 อตั ลักษณป์ ญั ญาภวิ ฒั น์ 3(3-0-6) -

(Panyapiwat Identity)

1012102 สมดลุ แห่งชวี ติ 3(3-0-6) -

(Balance of Life)

1013101 ความเป็นพลเมอื งดจิ ิทัล 3(3-0-6) -

(Digital Citizenship)

1.2) หมวดศาสตร์แห่งชวี ติ เลือกเรยี นไมน่ อ้ ยกว่า 12 หนว่ ยกิต กําหนดใหน้ กั ศึกษาเรียนจากทุกกลุ่ม ดงั นี้

1.2.1) กล่มุ ภาษาเพอ่ื การสอื่ สาร เลือกเรียนไม่นอ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกติ จากรายวิชาตอ่ ไปน้ี

รหัสวิชา ช่ือวิชา หน่วยกิต วชิ าบังคบั ก่อน

1021105 ภาษากบั วฒั นธรรมไทย 3(3-0-6) -

(Thai Language and Culture)

1021106 ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ 3(3-0-6) -

(Thai as a Foreign Language)

1021207 หลักภาษาและการใชภ้ าษาไทย 3(3-0-6) -

(Language Structure and Thai Language Usage)

1021208 การอา่ นออกเสียงภาษาไทย 3(3-0-6) -

(Thai Language Oral Reading)

1021309 วิถไี ทย ภมู ปิ ญั ญาไทย และวฒั นธรรมไทย 3(3-0-6) -

(Thai Way of Life, Wisdom, and Culture)

1021210 ภาษาอังกฤษเพ่อื การสมคั รงานและสมั ภาษณ์ 2(1-2-3) -

(English for Job Application and Interviews)

1021211 ภาษาองั กฤษในสถานการณป์ ัจจบุ นั 2(1-2-3) -

(English in Current Situation)

1021212 ภาษาอังกฤษเชิงธรุ กจิ 2(1-2-3) -

(Business English)

สถาบันการจัดการปญั ญาภิวฒั น์ 15

มคอ.2

รหสั วิชา ชื่อวชิ า หน่วยกิต วชิ าบงั คบั ก่อน
1021213
ภาษาจีนในชีวิตประจําวนั 3(3-0-6) -
1021214 (Chinese in Daily Life)
3(3-0-6) -
ภาษาจีนเพอื่ ธุรกจิ บริการ
(Chinese for Service Business)

1.2.2) กลุ่มชีวติ และสงั คมแห่งความสขุ เลือกเรียนไม่นอ้ ยกวา่ 3 หนว่ ยกิต จากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี

รหัสวิชา ชอ่ื วชิ า หนว่ ยกิต วชิ าบงั คับกอ่ น
1022203
มนุษยห์ ลากมติ ิ 3(3-0-6) -
1022204
(Man in Multi-Dimension)
1022205
ความรกั และสมั พนั ธภาพ 3(3-0-6) -
1022206
(Love and Relationships)

รู้โลกกวา้ ง 3(3-0-6) -

(World Wide Viewpoints)

ส่ิงแวดล้อม การพฒั นา และความยัง่ ยืน 3(3-0-6) -

(Environment, Development, and Sustainability)

1.2.3) กลมุ่ การจดั การและนวตั กรรม เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 3 หนว่ ยกติ จากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี

รหัสวชิ า ชอื่ วชิ า หน่วยกิต วิชาบังคับกอ่ น
1023202
1023203 หมากล้อมปัญญาภวิ ฒั น์ 3(3-0-6) -
1023204
1023205 (Panyapiwat GO)
1023206
1023207 การจดั การเพ่ือความมั่งคัง่ 3(3-0-6) -

(Wealth Management)

การเปน็ ผ้ปู ระกอบการในยคุ ดจิ ทิ ลั 3(3-0-6) -

(Entrepreneurship in Digital Age)

นวตั กรรมกับการพฒั นาคุณภาพชีวติ 3(3-0-6) -

(Innovations and Quality of Life Development)

วิทยาศาสตร์เพ่อื คณุ ภาพชีวิต 3(3-0-6) -

(Science for Quality of Life)

คณิตศาสตร์และการตดั สนิ ใจ 3(3-0-6) -

(Mathematics and Decision Making)

สถาบนั การจัดการปญั ญาภิวฒั น์ 16

มคอ.2

2) หมวดวิชาเฉพาะ นักศึกษาต้องศึกษารายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ จํานวน 86 หน่วยกิต

จากกลุ่มวิชา ดงั น้ี

2.1) กลุม่ วิชาแกนธรุ กิจ ใหเ้ รียนจํานวน 24 หนว่ ยกติ จากรายวชิ าตอ่ ไปน้ี

รหัสวิชา ช่ือวชิ า หน่วยกิต วิชาบงั คับกอ่ น

1951101 การตลาดดิจิทัลในธุรกิจการบิน 3(3-0-6) -

(Digital Marketing for Airline Business)

1101102 การจดั การองค์การและทรพั ยากรมนุษยใ์ นยคุ ดิจทิ ลั 3(3-0-6) -

(Organization and Human Resource Management in

Digital Era)

1101103 การจดั การโลจสิ ติกส์และซัพพลายเชน 3(3-0-6) -

(Logistics and Supply Chain Management)

1101204 การบญั ชบี รหิ ารเพ่ือการจัดการธรุ กจิ 3(3-0-6) -

(Managerial Accounting for Business Management)

1101205 กฎหมายธรุ กจิ 3(3-0-6) -

(Business Laws)

1101206 การจดั การนวัตกรรมธุรกจิ 3(3-0-6) -

(Business Innovation Management)

1101307 เศรษฐศาสตรแ์ ละการเงนิ เพอ่ื การจดั การธุรกิจ 3(3-0-6) -

(Economics and Finance for Business Management)

1101308 การจัดการการปฏบิ ัตกิ ารทางธุรกจิ 3(3-0-6) -

(Business Operation Management)

2.2) กลุม่ วชิ าบังคับ ใหเ้ รียนจาํ นวน 50 หน่วยกิต จากรายวชิ าตอ่ ไปนี้

รหัสวชิ า ชือ่ วชิ า หนว่ ยกิต วิชาบงั คับก่อน
-
1952101 ภาษาอังกฤษพ้นื ฐานสําหรบั ธรุ กิจการบิน 2(1-2-3) -

(Foundation English for Aviation Business) -
-
1952202 เทคโนโลยกี ารจัดการสาํ รองท่นี ั่งเพ่ือการทอ่ งเทยี่ วและ 3(2-2-5) -
-
การบริการ

(Technology for Airline Reservation for Tourism and

Service)

1952203 การจดั การธรุ กิจสายการบินในมิตใิ หม่ 3(3-0-6)

(Airline Business Management in Perspective)

1952204 ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสารสาํ หรบั ธุรกจิ การบนิ 3(2-2-5)

(Communicative English for Aviation Business)

1952205 การจดั การขนสง่ สนิ คา้ ทางอากาศ 3(3-0-6)

(Air Cargo Management)

1952306 การจดั การทา่ อากาศยานยคุ ใหม่ 3(3-0-6)

(Modern Era Airport Management)

สถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ฒั น์ 17

มคอ.2

รหัสวิชา ชอ่ื วชิ า หน่วยกติ วิชาบงั คบั ก่อน
1952307
1952308 การจดั การระบบความปลอดภยั ทางการบิน 3(3-0-6) -
1952309 (Safety Management System in Aviation)
3(3-0-6) -
1952310 การจดั การครวั การบนิ
1952411 (Air Catering Management) 2(1-2-3) -
1952412
จิตวิทยาบริการและการจัดการขา้ มวัฒนธรรมในธุรกิจการบิน 3(3-0-6) -
1952413 (Service Psychology and Cross-Cultural Management 3(2-2-5) -
1952151 in Aviation Business) 2(1-2-3) -
1952252
1952253 การจัดการงานปฏบิ ัติการภาคพืน้ 2(1-2-3) -
1952354 (Ground Operations Management) 3(0-40-0) -
1952455 3(0-40-0) -
ภาษาอังกฤษเพ่ือการทดสอบความสามารถทางภาษา 3(0-40-0) -
(English for Language Proficiency Test) 3(0-40-0) -
3(0-40-0) -
การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพสําหรับงานบริการในธุรกิจการบิน
(Personality Development for Service in Aviation
Business)

การวจิ ัยสาํ หรับธุรกิจการบนิ
(Research for Aviation Business)

การเรียนรภู้ าคปฏบิ ตั ิดา้ นธรุ กิจการบิน 1
(Work-based Learning in Aviation Business 1)

การเรยี นรู้ภาคปฏบิ ตั ิดา้ นธุรกิจการบนิ 2
(Work-based Learning in Aviation Business 2)

การเรียนรู้ภาคปฏบิ ตั ิดา้ นธุรกิจการบิน 3
(Work-based Learning in Aviation Business 3)

การเรยี นรูภ้ าคปฏบิ ัตดิ ้านธรุ กจิ การบนิ 4
(Work-based Learning in Aviation Business 4)

การเรยี นรภู้ าคปฏบิ ัติด้านธุรกจิ การบนิ 5
(Work-based Learning in Aviation Business 5)

2.3) กลุ่มวิชาเลือก ให้เลือกเรียนจํานวน 12 หน่วยกิต โดยเลือกจากกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง หรือเลือก

คละกลุ่มได้จากรายวชิ าดงั ต่อไปน้ี

2.3.1) กล่มุ วิชาเลอื กด้านการจดั การงานบรกิ ารผ้โู ดยสาร

รหัสวชิ า ชือ่ วิชา หนว่ ยกิต วิชาบังคบั กอ่ น

1953301 การจดั การงานบรกิ ารผู้โดยสารภาคพืน้ 3(3-0-6) -

(Passenger Ground Service Management)

1953302 การจดั การงานบริการบนเครื่องบิน 3(3-0-6) -

(Inflight Service Management)

1953403 ภาษาองั กฤษสําหรบั งานบรกิ ารผ้โู ดยสารภาคพน้ื 3(3-0-6) -

(English for Passenger Ground Service)

สถาบนั การจัดการปัญญาภิวัฒน์ 18

มคอ.2

รหสั วชิ า ชื่อวชิ า หน่วยกิต วิชาบังคบั ก่อน

1953404 ภาษาองั กฤษสําหรบั การบรกิ ารบนเครอ่ื งบิน 3(3-0-6) -

(English for Inflight Service)

1953405 การจดั การคุณภาพการบริการในธรุ กจิ การบิน 3(3-0-6) -

(Service Quality Management in Aviation Business)

1953406 การบรกิ ารอาหารและเคร่ืองด่มื ในธุรกิจการบนิ 3(2-2-5) -

(Meals and Beverages Services in Aviation Business)

2.3.2) กลุม่ วชิ าเลือกดา้ นการปฏบิ ตั ิการเฉพาะทางดา้ นการบนิ

รหสั วชิ า ชื่อวชิ า หน่วยกิต วชิ าบงั คบั กอ่ น

1953303 การจัดการควบคมุ จราจรทางอากาศ 3(2-2-5) -

(Air Traffic Control Management)

1953407 การจดั การการอาํ นวยการบิน 3(3-0-6) -

(Flight Operations Management)

1953408 การจดั การคลงั สนิ คา้ ทางอากาศ 3(3-0-6) -

(Air Cargo Warehouse Management)

1953409 การจัดการงานตัวแทนการขนสง่ สนิ คา้ ทางอากาศ 3(3-0-6) -

(Air Cargo Agency Management)

1953410 การจดั การโลจสิ ติกส์ในธรุ กิจการบิน 3(3-0-6) -

(Logistics Management in Aviation Business)

3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี นกั ศึกษาตอ้ งศึกษารายวชิ าในหมวดวิชาเลอื กเสรี จาํ นวน 6 หน่วยกติ
นั ก ศึ ก ษ า ส า ม า ร ถ เ ลื อ ก เ รี ย น ร า ย วิ ช า ท่ี เ ปิ ด ส อ น ใ น ส ถ า บั น ก า ร จั ด ก า ร ปั ญ ญ า ภิ วั ฒ น์ ห รื อ

สถาบนั อดุ มศกึ ษาอน่ื โดยตอ้ งไดร้ ับความเห็นชอบจากอาจารยท์ ี่ปรกึ ษา
ท้ังน้ี ในรายวิชาทุกวิชาของสถาบันท่ีมีวิชาบังคับก่อน คณบดีสามารถอนุมัติให้นักศึกษาลงทะเบียนใน

รายวิชานั้นได้ โดยสอดคล้องกบั ศกั ยภาพของผูเ้ รยี นและมาตรฐานการจัดการเรยี นการสอน

สถาบนั การจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์ 19

มคอ.2

3.1.4 แผนการศกึ ษา

ชั้นปที ี่ 1

ภาคการศกึ ษาที่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2
รายวิชา
รหัสวิชา รายวชิ า หน่วยกติ รหัสวชิ า หนว่ ยกิต
10xxxxx หมวดอัตลักษณ์ของสถาบนั PIM 2
10xxxxx หมวดอตั ลกั ษณ์ของสถาบนั PIM 3 101xxxx หมวดศาสตร์แห่งชวี ิต 3
10xxxxx หมวดศาสตรแ์ ห่งชวี ิต 3
10xxxxx หมวดศาสตรแ์ ห่งชีวิต 3 10xxxxx หมวดอัตลักษณ์ของสถาบัน PIM 3
10xxxxx การจดั การธรุ กิจสายการบนิ ในมิตใิ หม่ 3
หมวดอตั ลักษณ์ของสถาบนั PIM 3 10xxxxx การเรยี นรูภ้ าคปฏบิ ัตดิ า้ นธรุ กจิ การบนิ 1 3
1952101
หมวดอตั ลักษณ์ของสถาบนั PIM 3 10xxxxx รวม 17

หมวดอัตลักษณ์ของสถาบนั PIM 2 1952203

ภาษาอังกฤษพ้ืนฐานสําหรับธรุ กจิ 2 1952151

การบนิ

รวม 16

ชัน้ ปที ่ี 2

ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหสั วิชา รายวชิ า หน่วยกิต รหัสวชิ า รายวชิ า หน่วยกติ

10xxxxx หมวดอัตลกั ษณ์ของสถาบนั PIM 2 10xxxxx หมวดศาสตรแ์ ห่งชีวติ 3

1101102 การจดั การองค์การและทรัพยากร 3 1101205 กฎหมายธุรกจิ 3

มนษุ ย์ในยคุ ดิจิทัล

1101103 การจดั การโลจสิ ติกส์และซัพพลายเชน 3 1101206 การจัดการนวัตกรรมธุรกจิ 3

1101204 การบัญชีบริหารเพือ่ การจัดการธรุ กิจ 3 1952204 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอื่ สารสําหรับธรุ กิจ 3

การบิน

1952202 เทคโนโลยีการจัดการสํารองทีน่ ัง่ เพ่ือ 3 1952253 การเรียนรภู้ าคปฏบิ ัตดิ ้านธุรกิจการบนิ 3 3

การท่องเทีย่ วและการบริการ

1952252 การเรยี นรู้ภาคปฏิบตั ิด้านธุรกจิ 3

การบิน 2

รวม 17 รวม 15

สถาบนั การจดั การปญั ญาภิวฒั น์ 20

มคอ.2

ช้นั ปที ่ี 3

ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2
รายวชิ า
รหสั วชิ า หนว่ ยกิต รหสั วิชา รายวิชา หน่วยกติ
1101308 การจดั การการปฏิบตั กิ ารทาง 2
ธุรกิจ 3 1952309 จิตวิทยาบรกิ ารและการจัดการขา้ ม
1101307 เศรษฐศาสตรแ์ ละการเงินเพ่อื 3
การจัดการธรุ กิจ วฒั นธรรมในธุรกิจการบนิ
1951101 การตลาดดิจทิ ัลในธุรกจิ การบนิ
1952205 การจดั การขนส่งสินค้าทาง 3 1952306 การจัดการท่าอากาศยานยุคใหม่
อากาศ
1952310 การจดั การงานปฏบิ ตั กิ ารภาคพ้ืน 3 1952308 การจดั การครัวการบิน 3
195xxxx กล่มุ วชิ าเลือก 1 3 195xxxx กลมุ่ วชิ าเลอื ก 2 3

รวม 3 1952354 การเรียนร้ภู าคปฏิบตั ดิ า้ นธรุ กจิ การบิน 4 3
3
18 รวม 14

ชน้ั ปีท่ี 4

ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2
รายวชิ า
รหัสวชิ า รายวิชา หนว่ ยกิต รหัสวิชา หนว่ ยกติ
1952307 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การทดสอบความสามารถ 3
การจัดการระบบความปลอดภัย 3 1952411 ทางภาษา
1952412 การวิจยั สาํ หรับธุรกจิ การบิน 2
ทางการบิน
195xxxx กลุ่มวิชาเลือก 4 3
xxxxxxx การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพสาํ หรับ 2 1952413 การเรียนรู้ภาคปฏิบตั ดิ ้านธุรกจิ การบนิ 5 3
xxxxxxx
งานบริการในธรุ กิจการบนิ รวม 11

กลมุ่ วชิ าเลอื ก 3 3 195xxxx

หมวดวิชาเลอื กเสรี 1 3 1952455

หมวดวชิ าเลอื กเสรี 2 3

รวม 14

3.1.5 คาํ อธิบายรายวิชา

1) หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป
1.1) หมวดอตั ลกั ษณข์ องสถาบนั PIM

1011101 ภาษาไทยเพอ่ื การสื่อสารรว่ มสมยั 3(3-0-6)

(Thai for Contemporary Communication)

วชิ าบังคับกอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

สภาพการใช้ภาษาไทยในปัจจุบัน การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารยุคดิจิทัล ฝึกทักษะการฟัง การพูด

การอ่าน และการเขียน ตามอัตลกั ษณ์สาขาอยา่ งบูรณาการ ประยุกตใ์ ช้ภาษาไทยเพอื่ การสื่อสารได้อย่างสอดคล้อง

เหมาะสมกับสื่อร่วมสมยั ในทุกโอกาส

Current conditions of Thai language usage; the use of language for communication in

the digital age; the integrated practice of listening, speaking, reading, and writing skills based on

สถาบนั การจดั การปัญญาภิวฒั น์ 21

มคอ.2

language identity; and the application of Thai language for communication relevantly and
appropriately in accordance with contemporary media in every occasion.

1011102 ภาษาอังกฤษในชวี ติ จรงิ 2(1-2-3)

(English for Real Life)

วชิ าบังคับกอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

คําศัพท์ และสํานวนท่ีเก่ียวข้องกับการดํารงชีวิต โครงสร้างประโยคภาษาอังกฤษเพื่อการสนทนาใน

ชีวิตประจําวัน การเขียนเร่ืองราวใกล้ตัว การบอกเล่าประสบการณ์ของตนเอง การอ่านออกเสียงระดับคํา วลี และ

ประโยค ตลอดจนการฟังเพ่ือจับใจความจากบทสนทนาผา่ นสื่อท่ที ันสมยั

Vocabulary and idioms related to living; the structure of English sentences for daily

life conversation; writing about things surrounding oneself; talking about one’ s own experience;

reading aloud at word, phrase and sentence levels; and listening for comprehension from

conversations via modern media.

1011103 ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกจิ และการทาํ งาน 2(1-2-3)

(English for Business and Work)

วิชาบังคับกอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

คําศัพท์ สํานวน และโครงสร้างภาษาอังกฤษที่เก่ียวข้องกับงานอาชีพ การบูรณาการการฟัง การพูด

การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษในงานอาชีพ การประยุกต์ใช้ภาษาอังกฤษในบริบทท่ีหลากหลายด้วยตนเอง

ผ่านส่ือที่ทันสมัย การสรุปความ การแลกเปล่ียนความคิดเห็น การให้ข้อมูลอย่างถูกต้อง การใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือ

ปฏสิ ัมพันธ์ในการทาํ งาน ตลอดจนมารยาทในการติดต่อทางธรุ กจิ

Vocabulary, idioms and English language structure concerning careers; the integration

of English language listening, speaking, reading and writing for transaction in careers; the

application of English language in various contexts by oneself via modern media; the

summarization and conclusion; exchanges of opinions; giving correct information; using English

language for interaction at work; and etiquette in the use of English language for business transaction.

1011204 ภาษาองั กฤษเพอื่ การนาํ เสนออยา่ งสรา้ งสรรค์ 2(1-2-3)

(English for Creative Presentation)

วิชาบังคับก่อน : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

คําศัพท์ สํานวน และโครงสร้างประโยคภาษาอังกฤษที่เก่ียวข้องกับการนําเสนอ ตัวเลข กราฟ และ

แผนภูมิ การใช้วัจนภาษาและอวัจนภาษาในการนําเสนอ การวิเคราะห์สื่อภาษาอังกฤษที่เผยแพร่ในโลกออนไลน์

การแสดงความคิดเห็น การวางแผนและกลวิธีในการนําเสนอ การเรียงลําดับเนื้อหา ขั้นตอนการนําเสนอ การ

ประเมนิ การนําเสนอของตนเองและผู้อนื่ ตลอดจนการประยกุ ตใ์ ชข้ ้อมลู และส่อื ใหเ้ หมาะสมกบั รปู แบบการนําเสนอ

อยา่ งสรา้ งสรรค์

Vocabulary, idioms and English sentence structure concerning presentation; numbers;

graphs and charts; the use of verbal and nonverbal languages for presentation; analysis of online

สถาบนั การจัดการปญั ญาภิวฒั น์ 22

มคอ.2

English media; expressing opinions; presentation planning and strategies; sequencing of
presentation contents; steps of giving a presentation; evaluation of one’ s own presentation and
others’ presentations; and the application of information and media appropriate with the patterns
of business presentation via modern media.

1012101 อัตลักษณ์ปญั ญาภวิ ัฒน์ 3(3-0-6)

(Panyapiwat Identity)

วชิ าบังคับก่อน : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

แนวคิดของมหาวิทยาลัยแห่งองค์กรธุรกิจ กลุ่มธุรกิจและกลุ่มการศึกษา การเรียนรู้ควบคู่การฝึก

ประสบการณ์จริง (Work-based Education) เครือข่ายความร่วมมือ การจัดการและการวางแผนท่ีเกี่ยวข้องกับ

ธุรกิจ จริยธรรมในการทํางานและความรับผิดชอบต่อสังคม วัฒนธรรมองค์กร การมีส่วนร่วมและความผูกพันต่อ

องค์กร ตลอดจนภาวะผูน้ ําและภาวะผ้ตู าม

Concept of corporate university; business group and educational group; work- based

education; cooperation network; business management and planning; ethics in work performance

and social responsibility; organizational culture; participation and organizational commitment; and

leadership and followship in organization.

1012102 สมดุลแห่งชวี ติ 3(3-0-6)

(Balance of Life)

วชิ าบังคับก่อน : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

การพัฒนาทักษะความคิดและการใช้เหตุผล แนวทางสร้างความสุขให้กับชีวิตอย่างสร้างสรรค์

สุนทรียศาสตร์ในการดํารงชีวิต การปรับตัวและการควบคุมอารมณ์ การวางแผนชีวิต การดูแลสุขภาพ ตลอดจน

การบูรณาการเทคโนโลยเี พอ่ื ชีวติ

Development of thinking skill and reasoning; guidelines on how to create happiness

in one’ s own life creatively; aesthetics of living; self- adjustment and emotional control; life

planning; health care; and technological integration for life.

1013101 ความเป็นพลเมอื งดิจิทลั 3(3-0-6)

(Digital Citizenship)

วิชาบงั คบั ก่อน : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

วิถีแห่งพลเมืองเน็ต ปัญญาประดิษฐ์ในชีวิตประจําวัน การใช้แอปพลิเคชันในการทํางาน การใช้

เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์ การผลิตส่ือดิจิทัล กฎหมายธุรกรรมออนไลน์ ลิขสิทธ์ิและการคัดลอกผลงาน

การใช้เคร่ืองมือแบ่งปันข้อมูลและทํางานร่วมกับผู้อื่นแบบออนไลน์ การรู้เท่าทันส่ือและการสืบค้นข้อมูลออนไลน์

การรักษาความปลอดภัยของขอ้ มลู บนโลกออนไลน์ ตลอดจนนาํ ความรู้ไปประยุกต์ใชเ้ พอื่ การทํางานในองค์กรยคุ ใหม่

Way of netizens, Artificial intelligence in daily life; using applications for work, creative

use of digital technology; digital media production, online transaction law; copyright and

plagiarism; using tools to exchange information and work as teamwork online; media literacy and

สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒั น์ 23

มคอ.2

online search; online information security; as well as applying knowledge to work in a modern
organization.

1.2) กลุ่มศาสตรแ์ หง่ ชีวติ
1.2.1) กลุ่มภาษาเพ่ือการสือ่ สาร

1021105 ภาษากบั วฒั นธรรมไทย 3(3-0-6)

(Thai Language and Culture)

วิชาบังคับก่อน : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

ภาษาและวัฒนธรรมไทยในบริบทตามสภาพจริงของสังคม การนําความรู้ความเข้าใจไปใช้ประโยชน์

เพ่ือการสื่อสาร และการอาชีพเชิงธุรกิจให้เกิดประสิทธิผล ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ โดยเฉพาะกับ

ประชาคมในกล่มุ อาเซียน

Thai language and culture in the real context of society; and the effective utilization

of knowledge and understanding of Thai language for general communication and transaction in

business careers both within the country and at the international level, especially with the ASEAN

Community member countries.

1021106 ภาษาไทยในฐานะภาษาตา่ งประเทศ 3(3-0-6)

(Thai as a Foreign Language)

วิชาบงั คบั กอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

หลักการและฝึกทักษะการสนทนาภาษาไทยในชีวิตประจําวัน การเพ่ิมพูนวงศัพท์ การออกเสียงให้

ถกู ตอ้ ง การใช้คาํ และเรียบเรียงประโยคเพื่อการส่อื สารท่ีชัดเจนมปี ระสทิ ธิภาพ

Principles and practice of Thai language conversation skill in daily life; vocabulary

enhancement; correct pronunciation; word usage; and creating sentences for clear and effective

communication.

1021207 หลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย 3(3-0-6)

(Language Structure and Thai Language Usage)

วชิ าบงั คบั ก่อน : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

โครงสร้างภาษาไทย โครงสร้างพยางค์ในภาษาไทย การใช้คําโครงสร้างกลุ่มคําและประโยค การใช้

ระดับคาํ การใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องตามสถานะและสถานการณ์ ปัญหาการใช้ภาษาไทยในปจั จุบนั วิเคราะหก์ ารใช้

ภาษา ศึกษาแนวทางแก้ไขปรับปรงุ และการใช้ภาษาไทยให้ถูกตอ้ งตามลักษณะภาษาไทย

Thai language structure; syllable structure in Thai language; use of words; structure of

phrases and sentences; use of word levels; correct use of Thai language in accordance with

statuses and situations; problems of current Thai language usage; analysis of language usage; study

of guidelines for correction and improvement of the use of Thai language.

สถาบนั การจัดการปัญญาภวิ ฒั น์ 24

มคอ.2

1021208 การอา่ นออกเสยี งภาษาไทย 3(3-0-6)

(Thai Language Oral Reading)

วิชาบังคับก่อน : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

องค์ประกอบและหลักการอ่านออกเสียง อวัยวะท่ีใช้ในการออกเสียง ฝึกปฏิบัติการออกเสียงให้

ถูกต้องชัดเจน ฝึกปฏิบัติการใช้น้ําเสียงให้เหมาะสมกับความหมายของคํา ในบริบทต่างๆ ส่งผลต่อการสื่อสารให้

เกิดประสิทธิผล

Components and principles of oral reading; speech organs; practicing correct and clear

pronunciation; and practicing the use of sounds appropriate with word meanings in various

contexts, resulting in effective communication.

1021309 วถิ ีไทย ภูมปิ ัญญาไทย และวฒั นธรรมไทย 3(3-0-6)

(Thai Way of Life, Wisdom, and Culture)

วชิ าบงั คบั กอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

วิถีชีวิตไทย ภูมิปัญญาไทยจากความคิด คติ ความเช่ือ สุภาษิตสํานวนไทย และมรดกทางวัฒนธรรม

แขนงต่างๆ ประยุกต์ความรู้ความเข้าใจปรับใช้ในการดําเนินชีวิต และการประกอบอาชีพอย่างมีความสุข

ความสาํ เร็จ

Thai way of life and Thai wisdom derived from ideas, mottos, beliefs, Thai proverbs

and various cultural heritages; and the application of obtained knowledge and understanding to

be adapted for successful and happy living and careers.

1021210 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสมคั รงานและสมั ภาษณ์ 2(1-2-3)

(English for Job Application and Interviews)

วิชาบังคบั กอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

คําศัพท์ สํานวน และโครงสร้างภาษาอังกฤษ ท่ีเก่ียวข้องกับอาชีพ หน้าท่ีความรับผิดชอบของ

ตําแหน่งงาน และการสมัครงาน ความสามารถในการออกเสียงได้ถูกต้อง การเตรียมตัวและการเสริมบุคลิกภาพ

เพื่อการสัมภาษณ์งาน การสัมภาษณ์งานเสมือนจริง การอ่านประกาศรับสมัครงาน การเขียนจดหมาย

อิเลก็ ทรอนิกสเ์ พ่อื สมัครงาน การเขียนประวัติย่อ รวมถึงการกรอกแบบฟอร์มในรูปแบบตา่ ง ๆ

Vocabulary, idioms, and English language structure concerning careers, duty and

responsibility of each work position, and job application; the ability to pronounce correctly;

the preparation and personality enhancement for job application; the simulated job interviews; the

reading of job announcements; the writing of electronic job application letters; the writing of resume;

and completion of various application forms.

สถาบนั การจัดการปัญญาภิวฒั น์ 25

มคอ.2

1021211 ภาษาอังกฤษในสถานการณป์ จั จบุ นั 2(1-2-3)

(English in Current Situation)

วชิ าบงั คับก่อน : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

คําศัพท์ สํานวน และโครงสร้างภาษาอังกฤษ ท่ีเกี่ยวข้องกับข่าวสาร การบูรณาการฟัง การพูด

การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน การตีความ การสรุปความ การวิเคราะห์แหล่งที่มาของข่าว

และข้อมูลข่าวสาร คําศัพท์ที่เกิดข้ึนใหม่ในสถานการณ์ปัจจุบัน ตลอดจนการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์

สําคญั ในปจั จบุ นั ทีเ่ กดิ ข้ึนทวั่ โลก

Vocabulary, idioms, and English language structure concerning news and information; the

integration of listening, speaking, reading, and writing of English language in daily life; the interpretation;

the conclusion; the analysis of the sources of news and information in the current situation; and the

expression of opinions concerning current important events occurring throughout the world.

1021212 ภาษาองั กฤษเชงิ ธุรกจิ 2(1-2-3)

(Business English)

วชิ าบงั คับกอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษเพ่ือการเรียนรู้พหุวัฒนธรรม วัจนภาษา

และอวัจนภาษา สําหรับการติดต่อธุรกิจอย่างมีประสิทธิผล การแก้ปัญหาการส่ือสารระหว่างวัฒนธรรมการ

วิเคราะห์กรณศี กึ ษาในบริบทของการตดิ ต่อธุรกิจในสถานการณ์ท่ีหลากหลาย

Listening, speaking, reading and writing English for multicultural learning; verbal and

nonverbal languages for making business contact efficiently; how to solve inter-cultural communication

problems; analyzing case studies in the context of making business contact in different situations.

สถาบันการจดั การปัญญาภิวฒั น์ 26

มคอ.2

1021213 ภาษาจนี ในชวี ติ ประจําวนั 3(3-0-6)

(Chinese in Daily Life)

วิชาบงั คบั กอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

สทั อักษรพนิ อิน คําศัพทแ์ ละประโยคทีพ่ บบอ่ ยในชวี ิตประจาํ วนั ฝึกทักษะการฟงั และการพูด การ

แนะนําตัวเบื้องต้น การบอกจํานวนและตัวเลข การบอกวันเวลา การบอกทิศทาง ตลอดจนการเรียนรู้

ขนบธรรมเนียมและวฒั นธรรมจีน

Phonetics of Pinyin alphabet; common vocabulary and sentences in daily life; practice of

listening and speaking skills; preliminary self-introduction; telling numbers and numerals; telling dates

and time; giving directions; and learning about Chinese traditions and culture.

1021214 ภาษาจีนเพื่อธรุ กจิ บรกิ าร 3(3-0-6)

(Chinese for Service Business)

วิชาบังคับก่อน : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

ฝึกสนทนาภาษาจีนท่ีเก่ียวข้องกับการทํางานหน้าร้าน การแนะนําผลิตภัณฑ์ การซื้อขายสินค้า

การนําเสนอโปรโมชั่น การให้บริการด้านโทรศัพท์และการชําระเงิน การสนทนาเพื่อให้ความช่วยเหลือลูกค้า

ประยกุ ต์ใชภ้ าษาจีนด้วยสถานการณจ์ ําลอง ตลอดจนการเรียนรู้วัฒนธรรมในการดาํ เนนิ ธุรกจิ

Practicing Chinese conversation related to counter work in shops; introduction of products;

buying and selling products; presentation for promotion of products; provision of telephone and

payment services; conversation for provision of helps to customers; application of Chinese language

usage through simulations; and learning of culture in business transaction.

1.2.2) กลุม่ ชวี ติ และสังคมแห่งความสขุ

1022203 มนุษยห์ ลากมติ ิ 3(3-0-6)

(Man in Multi-Dimension)

วิชาบงั คับกอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

การแสวงหาความรู้ด้านมนุษยศาสตร์อย่างบูรณาการ แนวคิด ความเชื่อ ปรัชญาและการใช้เหตุผล

ประวัติศาสตร์ วรรณกรรม ศิลปะและวัฒนธรรมที่หล่อหลอมวิธีคิดของมนุษย์ให้มีความแตกต่าง ตลอดจนใช้

กรณีศกึ ษา สถานการณจ์ าํ ลอง

Integrated pursuit of humanities knowledge; thoughts; beliefs; philosophy and

reasoning; history; literature; arts and culture that blend human’ s ideas to be diverse; and the

uses of case studies and simulations.

สถาบนั การจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์ 27

มคอ.2

1022204 ความรักและสมั พนั ธภาพ 3(3-0-6)

(Love and Relationships)

วิชาบังคบั ก่อน : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

ทักษะการเข้าสงั คม การปรับตัว การสร้างความประทับใจ การพัฒนาบคุ ลิกภาพภายในและภายนอก

จิตวิทยาสัมพันธภาพ การสร้างและรักษาความสัมพันธ์ ความรักประเภทต่าง ๆ เช่น ความรักชาติ ศาสนา

พระมหากษตั รยิ ์ และการรักตนเอง การสร้างครอบครวั มติ รภาพ ตลอดจนการรบั มอื กบั ความเปลี่ยนแปลง

Social skills; personal adjustment; how to make first impression; internal and external

personality development; psychology of interpersonal relationships; building and nurturing

relationship; different types of love, for example, love of one’ s country, religion and monarchy;

self-love; building a family, friendship; and coping with changes.

1022205 รู้โลกกว้าง 3(3-0-6)

(World Wide Viewpoints)

วิชาบังคบั ก่อน : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

สังคมโลกยุคปัจจุบัน ประวัติศาสตร์ของความขัดแย้ง การค้ามนุษย์ ความร่วมมือระหว่างกลุ่ม

ประเทศที่ประสบความสําเร็จและล้มเหลว การเมืองและเศรษฐกิจของโลก อาเซียน ไทย แนวคิดลักษณะร่วมและ

ลักษณะเฉพาะด้านในสังคมโลกปัจจุบัน สังคมไทยและวัฒนธรรมภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ตลอดจนการ

เปลีย่ นแปลงของโลกในยคุ ดิจิทัล

Current global society; history of conflicts, human trafficking, collaboration between

successful countries and failure countries; politics and economy in the global, ASEAN, and Thai

contexts; concepts on common and special characteristics in the current global society; and Thai

society and culture in the digital era.

1022206 สิ่งแวดล้อม การพัฒนา และความยงั่ ยนื 3(3-0-6)

(Environment, Development, and Sustainability)

วิชาบังคับกอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

แนวคิดว่าด้วยสิ่งแวดล้อม การพัฒนา และความยั่งยืนในเชิงบูรณาการ วิวัฒนาการของมนุษย์กับ

เทคโนโลยีและนวตั กรรม ผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงในบริบทของการพัฒนาตอ่ สังคมและสิ่งแวดล้อม การ

เตรียมพร้อมรับมือกับภัยพิบัติ องค์การท่ีเกี่ยวข้องระหว่างประเทศด้านส่ิงแวดล้อม ตลอดจนสถานการณ์ปัจจุบัน

ของการพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื

Integrated concepts of environment, development and sustainability; human

evolution, and technology and innovation; the impacts of changes in the developmental context

on society and environment; the preparation to cope with disasters; international environment

organizations; and the current situation of sustainable development.

สถาบนั การจดั การปัญญาภิวฒั น์ 28

มคอ.2

1.2.3) กลุ่มการจดั การและนวัตกรรม

1023202 หมากลอ้ มปญั ญาภวิ ฒั น์ 3(3-0-6)

(Panyapiwat GO)

วชิ าบังคับกอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

ความเป็นมา กฎกติกาการเล่นหมากล้อม ทักษะและเทคนิคการเล่นหมากล้อม การฝึกหมากล้อมเพ่ือ

พัฒนาทักษะการวางแผนและการตัดสินใจเชิงธุรกิจ แนวคิดหมากล้อมกับการจัดการการเงิน การบูรณาการ

ภูมปิ ัญญาตะวนั ออกผ่านหมากล้อมเพอื่ การดําเนนิ ชวี ิตและการทาํ งาน ตลอดจนหมากลอ้ มกบั ปัญญาประดิษฐ์

Background, rules and regulations of GO; GO skills and technics; GO practicing for

development of planning and business decision making skills; GO concepts and financial

management; the integration of oriental wisdom via GO for living and working; and GO and artificial

intelligence.

1023203 การจัดการเพอ่ื ความม่ังคั่ง 3(3-0-6)

(Wealth Management)

วิชาบังคับกอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

การวางแผนการเงินตามช่วงวัย การจัดการการเงินเพ่ือวัตถุประสงค์เฉพาะ การจัดทํางบดุลและ

งบประมาณส่วนบุคคล การออม การลงทุน การประกัน ความเส่ียง และผลตอบแทน การวางแผนเครดิตทาง

การเงินเพ่ือชีวิต สินเช่ือรูปแบบต่างๆ กลยุทธ์ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เทคโนโลยีด้านการเงินและความปลอดภัย

ตลอดจนการจดั การทรพั ยากรด้านเวลาและบคุ คลเพื่อความมัง่ คั่งยง่ั ยนื

Financial planning based on age groups; financial management for specific purposes;

creating personal balance accounts and budgets; savings; investment; insurance, risks and returns;

financial credit planning for life; various types of loans; personal income tax strategies; financial

and security technology; and managing time and personal resources for sustainable prosperity.

1023204 การเปน็ ผปู้ ระกอบการในยคุ ดิจทิ ัล 3(3-0-6)

(Entrepreneurship in Digital Age)

วชิ าบงั คบั กอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

คุณลักษณะและรูปแบบการเป็นผู้ประกอบการดิจิทัล การเตรียมความพร้อมเพ่ือการเป็น

ผู้ประกอบการ การวางแผนกลยทุ ธ์การตลาดทางธุรกจิ การเงนิ และการบัญชี การกาํ หนดทรพั ยากรและอัตรากําลัง

การวิเคราะหส์ ถานการณ์ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เทคนิคการเลอื กใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัล โครงงานธุรกิจของการเป็น

ผ้ปู ระกอบการ กฎหมายที่เก่ยี วข้องกบั การเปน็ ผปู้ ระกอบการ ตลอดจนจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ

Characteristics and models of digital entrepreneurship; preparation for

entrepreneurship; business marketing strategy planning; the determination of resources and

needed personnel; the analysis of situations; the solving of confronting problems; techniques for

choosing digital technology; business projects of entrepreneurs; and ethics and professional code

of ethics for entrepreneurs.

สถาบันการจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์ 29

มคอ.2

1023205 นวัตกรรมกับการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ 3(3-0-6)

(Innovations and Quality of Life Development)

วชิ าบงั คับกอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

ความหมาย ความสําคัญ ประเภทนวัตกรรม และกระบวนการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่มีประโยชน์ต่อ

ชีวิตมนุษย์ ทักษะการคิดเชิงออกแบบ และแนวคิดแบบนวัตกร วัฒนธรรมการคิดนวัตกรรม ความหมายของ

คณุ ภาพชีวติ กรอบการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ดว้ ยนวัตกรรม การจดั การทรพั ย์สินทางปัญญา ตลอดจนการประยุกต์ใช้

นวตั กรรมในชีวติ ประจําวนั

Definition, importance, types of innovations and the process of creating innovations

to benefit human life; design thinking skills and innovators concepts; innovation culture; definition

of quality of life; framework for quality of life development; intellectual property management;

and the application of innovations in daily life.

1023206 วิทยาศาสตรเ์ พอื่ คณุ ภาพชวี ติ 3(3-0-6)

(Science for Quality of Life)

วชิ าบงั คบั กอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

หลักการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การประยุกต์วิทยาศาสตร์สมัยใหม่เพื่อการดําเนินชีวิต

ความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประโยชน์และโทษของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทบาทของ

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม การจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการ

ดูแลตนเองด้านสุขภาพกายและสุขภาพจติ เพ่อื คณุ ภาพชวี ติ ที่ดี

Concepts and processes of science; application of modern science for living; the

relationship between science and technology; benefits and harms of science and technology; the

roles of science and technology in the economy, society and culture; the management of energy

and environment; and self-care on physical and mental health for good quality of life.

1023207 คณิตศาสตรแ์ ละการตดั สนิ ใจ 3(3-0-6)

(Mathematics and Decision Making)

วชิ าบังคบั ก่อน : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

แนวคดิ เชงิ คณติ ศาสตร์และสถติ ิ หลกั การและวธิ กี ารทางคณิตศาสตรท์ ่ีนํามาใช้หาคําตอบ ทักษะและ

เทคนิคท่ีประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวนั ระบบสมการเชิงเส้น ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั ทฤษฎีกราฟ อนุพันธ์ การหา

คา่ เหมาะสม ความนา่ จะเปน็ และการตัดสนิ ใจ ตลอดจนเครอ่ื งมอื ในการตดั สินใจ

Mathematical and statistical concepts; mathematical principles and methods that are

applied for seeking answers; application of skills and techniques in daily life; system of linear

equations; relations and functions; graph theory; derivatives; finding optimal values; probability

and decision making; tools for making decision.

สถาบนั การจัดการปัญญาภวิ ัฒน์ 30

มคอ.2

2) หมวดวิชาเฉพาะ
2.1) กลมุ่ วชิ าแกนธุรกิจ

1951101 การตลาดดิจทิ ลั ในธุรกิจการบิน 3(3-0-6)

(Digital Marketing for Airline Business)

วชิ าบงั คบั กอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

ระบบการตลาดและการขายของธุรกิจสายการบิน บริการเต็มรูปแบบและสายการบินต้นทุนตํ่า

ธุรกิจการเดินทาง โดยเน้นที่กลไกการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างสายการบิน บริษัทท่องเท่ียวและตัวแทนจําหน่าย

ต๋ัวโดยสาร การกําหนดราคา การบริหารรายได้ ตลอดจนหลักการโฆษณาประชาสัมพันธ์การส่งเสริมการขายและ

การตลาดแบบ E-marketing

Marketing and Selling in Full Service Airlines and Low Cost Airlines, Travel business

by emphasizing on the coordination among airlines, Travel agency and selling ticket

representatives, Prize and income managing and the advertisement of selling and promoting

E-marketing.

1101102 การจดั การองค์การและทรพั ยากรมนษุ ยใ์ นยคุ ดจิ ิทลั 3(3-0-6)

(Organization and Human Resource Management in Digital Era)

วชิ าบังคบั กอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

แนวคิด ทฤษฎี และหลักการจัดการองค์การธุรกิจ หลักธรรมาภิบาล ความรับผิดชอบต่อสังคม

วัฒนธรรมองค์กร การเปลี่ยนแปลงทัศนคติและการใช้ชีวิตของคนในยุคดิจิทัล การจัดการการเปล่ียนแปลงในยุค

ดิจิทัล การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ทักษะสําหรับตลาดแรงงานสากล ภาวะผู้นํา ความสมดุลแห่งชีวิตและการ

ทาํ งาน ตลอดจนการธํารงรักษาบคุ ลากรในองค์กร ตลอดจนกรณีศกึ ษา

Concepts, theories and principles of business organization management; good

governance principle; corporate social responsibility; organizational culture; change management

in digital era; human resource management; skills for international labor market; leadership; the

balance between life and work; personnel retention in the organization; case studies.

1101103 การจัดการโลจสิ ตกิ ส์และซัพพลายเชน 3(3-0-6)

(Logistics and Supply Chain Management)

วชิ าบังคบั กอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

ความหมายและองค์ประกอบของโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในบริบทของเศรษฐกิจปัจจุบัน

บทบาทหน้าท่ีและความสําคัญของการบริการ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโลจิสติกส์ ความสําคัญ รูปแบบ

หลักการ และขั้นตอนของการนําสารสนเทศไปใช้ในทางธุรกิจ การจัดการและประเภทสินค้าคงคลัง การพยากรณ์

และความสําคัญของการพยากรณ์การจัดการวัสดุ ความสําคัญ รูปแบบและประเภทของการขนส่ง หลักการและ

ข้ันตอนสําคัญในการสั่งซื้อสินค้า การคลังสินค้าอุปกรณ์ยกขนสินค้า การบรรจุภัณฑ์ โลจิสติกส์โลกและการค้า

ระหวา่ งประเทศ การจดั การศนู ยก์ ระจายสินค้า การจดั การสินค้าคงคลัง เพ่ือให้การดาํ เนินการของกิจการดําเนินไป

อย่างราบรน่ื ในซัพพลายเชน

สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ฒั น์ 31

มคอ.2

Definition and components of logistics and supply chain in the current economic
context; roles, duty and importance of service; information technology system for logistic
management; importance, patterns, principles and steps of information application in business;
management and types of warehouse products; forecasting and the importance of inventory
management forecast; importance, models and types of transportation; the principles and steps
of purchase order for products; product warehouse and its equipment; packaging; global logistics
and international trading; distribution center ( DC) management and inventory management for
the smooth operation of supply chain management.

1101204 การบญั ชีบริหารเพื่อการจดั การธุรกิจ 3(3-0-6)

(Managerial Accounting for Business Management)

วิชาบังคบั ก่อน : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

ความสําคัญ บทบาท และประโยชน์ของการบัญชีสําหรับการจัดการธุรกิจในยุคดิจิทัล หลักการ

ทางการบัญชกี ารเงิน การคาํ นวณต้นทนุ สินค้า การวเิ คราะห์ต้นทุน ปริมาณ และกาํ ไร การกาํ หนดราคาขาย การใช้

ข้อมลู ทางการบญั ชีเพ่ือวางแผน ควบคมุ และตัดสินใจ การบริหารความเส่ียง การควบคมุ ภายใน ตลอดจนการอ่าน

และวเิ คราะห์รายงานทางการเงิน

Importance, roles and benefits of managerial accounting for business management

in the digital era; principles of financial accounting; calculation of product cost; cost-volume-profit

analysis; pricing; using accounting information for planning, controlling and decision making; risk

management; internal control; and reading and analysis of financial reports.

1101205 กฎหมายธรุ กิจ 3(3-0-6)

(Business Laws)

วิชาบังคบั กอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับธุรกิจการค้าสมัยใหม่ กฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ การกระทํา

ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล กฎหมายสิทธิบัตร กฎหมายลิขสิทธ์ิ กฎหมาย

เครื่องหมายการค้า กฎหมายภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีเงินได้ พระราชบัญญัติอาหาร ระเบียบต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับ

การขายอาหารและเครื่องดื่ม รวมทั้งจริยธรรมท่ีสําคัญของผู้บริหาร บุคลากร และส่ิงแวดล้อม โดยยกทั้งหลักการ

และกรณศี ึกษาที่เกี่ยวขอ้ งกบั กฎหมายและจรยิ ธรรมทางธรุ กิจเพ่ือเห็นภาพชัดท้ังในเชงิ ทฤษฎแี ละเชิงปฏบิ ัติ

Laws concerning modern trade business; Laws of electronic transactions; the

Computer Crime Act; Personal Data Protection; the Patent Law; the Copyright Law; the Trademark

Law; the Value Added Tax Law and Income Tax Law; Food Act; important ethical principles for

the executives, personnel and environment, principles and case studies concerning business laws

and ethics from in both the theoretical and practical aspects.

สถาบนั การจัดการปัญญาภวิ ฒั น์ 32

มคอ.2

1101206 การจัดการนวตั กรรมธุรกิจ 3(3-0-6)

(Business Innovation Management)

วิชาบงั คับก่อน : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

ความหมายและประเภทของนวัตกรรม แหล่งที่มาของการเกิดนวัตกรรมทางธุรกิจดิจิทัล วงจร

ชีวิตของนวัตกรรม กระบวนการจัดการและวิธีการสร้างนวัตกรรมทางธุรกิจ การประเมินคุณภาพและคุณค่าของ

นวัตกรรมท่ีสอดคล้องกับพฤติกรรมผู้บริโภคในยุคดิจิทัล การบริหารทรัพย์สินทางปัญญา ได้แก่ สิทธิบัตร

อนุสิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ความลับทางการค้า ส่ิงบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ และเคร่ืองหมายการค้า เป็นต้น กรณีศึกษาการใช้

นวัตกรรมในการสร้างธุรกิจดิจิทัลและธุรกิจสตาร์ทอัพ นวัตกรรมทางธุรกิจดิจิทัล รวมถึงการสร้างสถานการณ์

จําลองในการสร้างนวตั กรรมทางธรุ กิจดิจทิ ลั

Definition and types of innovation; sources of the creation of digital business

innovation; life cycle of innovation; management process and methods of creating business

innovation; evaluation of quality and value of innovations in line with consumer behaviors in the

digital era; management of intellectual properties, i.e. patent, sub-patent, commercial secret copy

right, geographical indicators, and trademark, etc. ; case studies of using innovations for creating

digital business and start- up business; innovations in digital business; and creation of simulations

in creating digital business innovations.

1101307 เศรษฐศาสตรแ์ ละการเงินเพ่อื การจดั การธุรกจิ 3(3-0-6)

(Economics and Finance for Business Management)

วิชาบังคับก่อน : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

หลักเศรษฐศาสตร์ การผลิตและวิเคราะหต์ ้นทนุ การผลิต โครงสร้างของตลาดทางธรุ กิจและตลาด

การเงิน การจัดหาและการจัดสรรเงินทุน อัตราส่วนทางการเงิน การวิเคราะห์ทางการเงินและธุรกิจเพ่ือการ

ประเมินโครงการทางธุรกิจ การตัดสินใจลงทุน ภาพรวมทางเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ

Principles of economics; production and production cost analysis; structures of

business market and financial market; procurement and allocation of capital; financial proportion;

financial and business analysis for business project evaluation; decision making in investment; and

overview of economy and development of the country.

1101308 การจัดการการปฏิบตั ิการทางธุรกจิ 3(3-0-6)

(Business Operation Management)

วิชาบังคับกอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

แนวคิดและกลยุทธ์ด้านการดําเนินการทางธุรกิจและการวางแผนกระบวนการผลิตในยุคดิจิทัล

ความสําคัญของการพยากรณ์การผลิต และการคํานวณในแบบต่างๆ การจัดลําดับงานและตารางการผลิต

การบริหารการผลิตและการปฏิบัติการ การวางแผนวัตถุดิบ การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ การปรับปรุงและ

เพ่ิมผลผลิต การจัดการเทคโนโลยี การควบคุมคุณภาพ การจัดการสินค้าคงคลัง รวมถึงการบริหารโครงการ และ

กรณีศึกษาจากธรุ กจิ การประยุกตโ์ ดยใช้ทฤษฎที ่ีเรยี นมาวเิ คราะห์

สถาบนั การจดั การปัญญาภวิ ฒั น์ 33

มคอ.2

Concepts and strategies of business operation, and production process planning in
the digital era; importance of production forecasting and various patterns of calculation;
prioritization of tasks and production schedules; management of production and operation; raw
material planning; product design and development; improving and increasing productivity;
technology management; quality control; inventory management; project management; and
business case studies; application of learned theories for analysis.

2.2) กลุ่มวิชาบังคบั

1952101 ภาษาองั กฤษพื้นฐานสําหรับธรุ กิจการบนิ 2(1-2-3)

(Foundation English for Aviation Business)

วิชาบังคบั กอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน ด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน โดยให้ประสานสัมพันธ์กัน ทั้ง 4 ทักษะ

เน้นการสร้างความสามารถในการส่ือสารบนพ้ืนฐานของความเข้าใจหน้าที่และความหมายในบริบทธุรกิจการบิน

การใชห้ ลักไวยากรณ์ภาษาองั กฤษทีถ่ กู ต้อง รวมถงึ อภิธานศพั ทส์ าํ หรบั ธุรกจิ การบนิ

Fundamental English in listening, speaking, reading, and writing by integrating all

four skills and focusing on building English communication ability based on the understanding of

functions and meanings in aviation business context; English grammatical usage; and aviation

glossary.

1952202 เทคโนโลยกี ารจัดการสาํ รองทน่ี งั่ เพอ่ื การทอ่ งเท่ียวและการบริการ 3(2-2-5)
(Technology for Airline Reservation for Tourism and Services)
วิชาบงั คับกอ่ น : ไมม่ ี
(Prerequisite Course: None)
ภาพรวมของการดาํ เนินธรุ กิจด้านบตั รโดยสารเครื่องบิน ความสําคัญและความหมายของการสํารอง

ท่ีน่ังบัตรโดยสารเครื่องบนิ ความรู้เกีย่ วกับระบบการสํารองท่ีน่ัง (Global Distribution System: GDS) การคน้ หา
เที่ยวบิน ข้ันตอนการสํารองท่ีนั่ง การบันทึกและการแก้ไขข้อมูลของการสํารองท่ีนั่งเพ่ือการท่องเที่ยวและการ
บรกิ าร

The overview of the airline ticket business; the importance and definition of the
airlines reservation; knowledge about reservation ( Global Distribution System: GDS) ; flights
searching; procedure of airlines reservation; recording and editing reservation information for
tourism and services.

สถาบันการจัดการปัญญาภิวฒั น์ 34

มคอ.2

1952203 การจดั การธุรกิจสายการบินในมิติใหม่ 3(3-0-6)

(Airline Management in Perspective)

วิชาบงั คับก่อน : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

แนวการบริหารจัดการธุรกิจการบิน การวิเคราะห์ต้นทุนในการบริหารจัดการ ประเภทเส้นทาง

การบิน เสรีภาพทางอากาศ องค์ประกอบของการปฎิบัติการท่ีเก่ียวข้องในธุรกิจการบิน หลักการจัดตารางการบิน

การใหบ้ ริการบนเท่ยี วบินและภาคพน้ื ดนิ และกรณศี ึกษาในสถานการณ์ทางการบนิ ทมี่ กี ารปรับเปลีย่ นตามยคุ สมัย

Management guidelines for aviation business; cost analysis for aviation business

administration; types of air routes; freedom of the air; components of operations in aviation

business; principles of flight scheduling; inflight and ground services; and case study in dynamic

situation of aviation business.

1952204 ภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสารสาํ หรบั ธรุ กจิ การบนิ 3(2-2-5)

(Communicative English for Aviation Business)

วิชาบงั คบั ก่อน : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

การฝึกทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร การใช้หลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ ชนิดของคําและ

โครงสร้างประโยค หลักการใช้ Tenses ต่างๆ การเลือกใช้คําศัพท์ การแสดงความคิดเห็นให้เหมาะสมกับ

สถานการณ์ในบริบทธุรกิจการบิน การสอบถามและให้ข้อมูลบุคคล สถานท่ี เวลา และสภาพอากาศ การสนทนา

ทางโทรศพั ท์ และการส่งเสรมิ การเรยี นรดู้ ้วยตนเองดว้ ยทรัพยากรที่หลากหลาย

Communicative English skills practice; grammatical English usage; parts of speech;

sentence structure; tenses usage; word choice; and giving opinion in the aviation business context

appropriately; asking and providing information about people, places, time, and weather; making

phone calls; and promoting autonomous learners by using various resources.

1952205 การจดั การขนสง่ สินค้าทางอากาศ 3(3-0-6)

(Air Cargo Management)

วิชาบงั คับกอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

การดําเนินงานของธุรกิจการขนส่งสินค้าทางอากาศ และกลุ่มธุรกิจที่เก่ียวข้องกับการขนส่งสินค้า

ทางอากาศ ประเภทของสนิ ค้า กระบวนการจัดการสินคา้ บรรจภุ ณั ฑแ์ ละภาชนะบรรจปุ ระเภทต่างๆ การคิดอัตรา

ค่าระวางสินค้า พิธีการทางศุลกากร เทคโนโลยีที่ใช้ในงานขนส่งสินค้าทางอากาศ รวมถึงการควบคุมความสมดุล

ของอากาศยานและงานเอกสารตา่ งๆ เช่น ใบตราสง่ สนิ คา้ ทางอากาศ บัญชรี ายชอ่ื สินค้า

The operation of air cargo and air freight business including the related businesses; air

cargo product types; handling procedure; packaging and containers; air freight rate calculation,

customs clearance; technology used in air cargo; weight and balance; documentation; air waybill;

cargo manifest etc.

สถาบนั การจัดการปัญญาภิวัฒน์ 35

มคอ.2

1952306 การจัดการท่าอากาศยานยคุ ใหม่ 3(3-0-6)

(Modern Era Airport Management)

วชิ าบังคบั กอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

การบริหารจัดการท่าอากาศยานในเขตพ้ืนที่การบินและนอกเขตพ้ืนท่ีการบิน การรักษา

ความปลอดภัยและมาตรฐานการป้องกันภัยในเขตท่าอากาศยาน เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการตรวจค้น และ

คัดกรอง หน่วยงานต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการท่าอากาศยาน การให้บริการควบคุมอากาศยาน วิเคราะห์

กรณศี กึ ษา และ การกา้ วสู่การเป็นท่าอากาศยานยุคใหม่

Management of airports in airside and landside areas; airport safety and security

standards in airport area; technology and innovation in searching and screening; related

departments of airport management; aircraft control services; case study analysis; and moving

forward to modern era airport.

1952307 การจดั การระบบความปลอดภัยทางการบนิ 3(3-0-6)

(Safety Management System in Aviation)

วิชาบังคบั ก่อน : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

หลักการจัดการระบบความปลอดภัยทางการบิน สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ อุบัติการณ์ทางการบิน

ทฤษฎีด้านความปลอดภัยทางการบิน นโยบายด้านความปลอดภัย การจัดการความเสี่ยง การประกันความ

ปลอดภัย และ การส่งเสริมด้านความปลอดภัย การระบุส่ิงที่เป็นอันตราย วัฒนธรรมความปลอดภัย เทคโนโลยีใน

การจดั การระบบความปลอดภัย กรณศี ึกษาดา้ นความปลอดภยั ทางการบนิ

The principle of aviation Safety Management System ( SMS) ; causes of aircraft

accidents and incidents; theories of aviation safety; safety policy; safety risk management; safety

assurance and safety promotion; hazard identification; safety culture; case study in aviation safety.

1952308 การจัดการครวั การบนิ 3(3-0-6)

(Air Catering Management)

วิชาบงั คบั กอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

ความรู้เบ้ืองต้นด้านโภชนาการสําหรับครัวการบิน ระบบ อุปกรณ์ และกระบวนการในการจัดเตรียม

และวางแผนรายการอาหารและเครื่องด่ืมสําหรับเที่ยวบิน ข้อกําหนดและมาตรฐานด้านสุขอนามัย การควบคุม

คุณภาพในครัวการบิน

The fundamental of food nutrition in air catering; system; equipment; and operations

in preparing and planning for inflight meals and beverages menu; hygienic requirements and

standards; and quality control in air catering.

สถาบนั การจัดการปญั ญาภวิ ฒั น์ 36

มคอ.2

1952309 จติ วทิ ยาบริการและการจดั การข้ามวัฒนธรรมในธรุ กจิ การบนิ 2(1-2-3)

(Service Psychology and Cross-Cultural Management in Aviation Business)

วชิ าบงั คบั กอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับจิตวิทยาบริการ แนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยาที่ประยุกต์ใช้ในการบริการ

พฤติกรรมของมนุษย์ ทัศนคติและความพึงพอใจ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ทฤษฎีมิติทางวัฒนธรรมท่ีสําคัญ

ค่านิยมทางวัฒนธรรมซึ่งส่งผลต่อพฤติกรรมและมุมมองของปัจเจกบุคคล พฤติกรรมของลูกค้าที่กําหนดโดย

วัฒนธรรม การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมในงานบริการ และแนวทางการให้บริการผู้โดยสารท่ีมีความหลากหลายทาง

วัฒนธรรมในธรุ กิจการบิน

The fundamental of service psychology; concepts and theories applied in service;

human behaviors; attitude and satisfaction; problem-solving; characteristics and forms of culture;

key cultural dimension theories; cultural value influencing behavior and perspective of an

individual; customer behaviors defined by culture; cross- cultural communication in service;

practices for multicultural passenger service in aviation business.

1952310 การจดั การงานปฏบิ ตั กิ ารภาคพน้ื 3(3-0-6)

(Ground Operations Management)

วชิ าบังคบั ก่อน : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

ภาพรวม องค์ประกอบของการปฏิบัติการภาคพ้ืน ท้ังในส่วนของงานบริการผู้โดยสาร และการ

บริการแก่อากาศยาน ณ ลานจอด ตามกระบวนการในการเตรียมความพร้อมก่อนการออกเดินทาง การ

ประสานงานระหวา่ งหนว่ ยงานต่างๆ และเอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ งในงานปฏบิ ตั ิการภาคพนื้

The overview of ground operations component in terms of passenger ground services

and aircraft ground handling according to preparation process before take- off; co- ordination

among other units and related documents in ground operations.

1952411 ภาษาองั กฤษเพ่ือการทดสอบความสามารถทางภาษา 3(2-2-5)

(English for Language Proficiency Tests)

วิชาบังคับกอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

การฝึกทักษะภาษาอังกฤษด้านฟัง พูด อ่าน และเขียน ที่จําเป็นในการเตรียมตัวสําหรับการสอบ

โทอิค (Test of English for International Communication: TOEIC) เช่น การศึกษารูปภาพ สถานการณ์

บทสนทนาส้ัน ๆ และบทความต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับสายการบินและงานบริการ เพื่อจับใจความและสามารถตอบ

คําถามไดอ้ ย่างถกู ต้อง รวมถึงคําศพั ทเ์ ฉพาะทางการบินและงานบรกิ าร และหลกั การใชไ้ วยากรณ์ภาษาอังกฤษ

English language skills practice in listening, speaking, reading, and writing needed for

TOEIC preparation test. A study of pictures; situations; short conversations; and articles related to

airlines and services in order to comprehend and be able to answer questions correctly including

aviation and service vocabulary and English grammar.

สถาบันการจัดการปัญญาภวิ ฒั น์ 37

มคอ.2

1952412 การพัฒนาบุคลกิ ภาพสาํ หรับงานบรกิ ารในธุรกจิ การบนิ 3(3-0-6)

(Personality Development for Service Aviation Business)

วิชาบงั คับก่อน : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

ความรเู้ บื้องตน้ เกี่ยวกับบุคลิกภาพ ทฤษฎบี คุ ลกิ ภาพ รูปลกั ษณ์และการแตง่ กายตามบรบิ ทของธุรกิจ

การบิน บุคลิกภาพและการวางตัวของผู้ทํางานบริการ การพัฒนาบุคลิกภาพทางด้านอารมณ์ การสร้างความ

ประทบั ใจแรกพบ กริยาทา่ ทาง ภาษากายและมารยาททางสงั คม

Basic knowledge of personality; theories of personality; appearance and grooming;

attire in aviation business context; personality and etiquette for service provider; emotional

personality development; how to create first impression, manners, body language and social

etiquettes.

1952413 การวิจยั สาํ หรบั ธุรกจิ การบิน 2(1-2-3)

(Research for Aviation Business)

วิชาบงั คับกอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

ทฤษฎีการวิจัย ประเภทของการวิจัย จรรยาบรรณของนักวจิ ัย ขัน้ ตอนเทคนคิ การวิจัย การออกแบบ

และวางแผนการวจิ ัย สถติ ิเพื่อการวิจัย การเสนอโครงการเพือ่ ทาํ การวจิ ัย การสร้างเคร่ืองมอื ในการวิจยั การ

นาํ เสนอผลงานวิจยั ทางด้านธุรกจิ การบนิ

Theories of research, types of research, researchers’ morality, research methodology,

research statistics, research project presentation, and research instrument for aviation business.

business trend.

1952151 การเรยี นรภู้ าคปฏบิ ัตดิ ้านธรุ กิจการบนิ 1 3(0-40-0)

(Work-based Learning in Aviation Business1)

วิชาบังคับกอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

การเรียนรู้ภาคปฏิบัติในแผนกลูกค้าสัมพันธ์ ร้านสะดวกซื้อ โดยฝึกทักษะการขาย ส่งเสริมการขาย

การตรวจเช็คสินค้าและบริการ อีกท้ังการทํางานกับผู้อ่ืนในองค์กร ภายใต้การควบคุมและการประเมินผลของ

คณาจารย์ร่วมกับหน่วยงานภายนอกท่ีรับนักศึกษาเข้าฝึกงาน เพ่ือเสริมสร้างให้นักศึกษามีความพร้อมด้านงาน

อาชีพจากการปฏิบัติงานพ้ืนฐานอย่างมีหลักการและเป็นระบบ โดยประเมินจากเวลาการฝึกปฏิบัติงาน รายงาน

การปฏิบัติงานและโครงงานของพนักงานพ่ีเลี้ยงจากสถานประกอบการและมีการประเมินผลการปฏิบัติงานตาม

ความร่วมมอื กนั ระหวา่ งสถานประกอบการและสถาบัน

Task-based learning in department of customer relations, convenience store by

practicing sales skills, inventory management and service as well as working with others in the

organization under the supervision and evaluation of the faculty members and external

organization who accept students for internship. To strengthen students' career readiness from

basic, principled and systematic work by evaluating from the period of practice, work duty report

and assigned project work from mentors. Also evaluating by performance report in accordance

with the cooperation between the company and the institution.

สถาบันการจดั การปญั ญาภิวัฒน์ 38

มคอ.2

1952252 การเรียนรภู้ าคปฏิบัตดิ า้ นธรุ กิจการบิน 2 3(0-40-0)

(Work-based Learning in Aviation Business 2)

วชิ าบงั คบั กอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

การฝึกปฏิบัติงาน ด้านอุตสาหกรรมการบริการและองค์กรธุรกิจ ภายใต้การควบคุมและ

ประเมินผลของคณาจารย์ร่วมกับหน่วยงานภายนอก เน้นการเรียนรู้จากการทํางานจริง (Work Based Learning)

ในสถานประกอบการ เพ่ือเสริมสร้างให้นักศึกษามีความพร้อมด้านงานอาชีพจากการปฏิบัติงานพื้นฐานอย่างมี

หลกั การและเป็นระบบ

Training in service industry and business organization under the supervision and

evaluation of the faculty; together with external agencies. Focusing on learning in the real

workplace (Work-based Learning) to strengthen students' career readiness from basic, principled

and systematic work.

1952253 การเรียนรภู้ าคปฏบิ ตั ิดา้ นธรุ กิจการบิน 3 3(0-40-0)

(Work-based Learning in Aviation Business 3)

วชิ าบงั คบั กอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

ฝึกการปฏิบัติงาน ในอุตสาหกรรมการบริการ (Hospitality service) เพ่ือให้นักศึกษาสามารถนาํ

ความรู้และทักษะต่าง ๆ ที่ได้ศึกษา ไปประยุกต์ใช้ในการฝึกงานในโรงแรม บริษัททัวร์ ร้านค้าปลอดภาษี และ

หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง ภายใต้การควบคุมและประเมินผลของคณาจารย์ร่วมกบั หน่วยงานภายนอกท่ีรับนักศึกษาเข้า

ฝึกงาน ระบบการ ทํางานจริงในสถานประกอบการ เพื่อเสริมสร้างให้นักศึกษามีความพร้อมด้านงานอาชีพจากการ

ปฏิบัติงานพื้นฐานอย่างมีหลักการและเป็นระบบ นักศึกษาเน้นประสบการณ์ทํางาน (Work Based Learning)

ท่ตี รงกับสาขาวชิ าชีพของนักศึกษาทีเ่ ปน็ งานท่เี ปน็ ประโยชนต์ ่อองคก์ ร

To train for Hospitality service so as to the student could adapt the knowledge to

the training in hotel, tour company, duty free store and other related units under the control and

access of instructor and company where student were accepted to work. Real working situation

at the company so as to student could develop the readiness of basic operation with the

sequential and systematic process thinking. Student emphasizes on Work based Learning that

concerns with student’s majority in which could benefit to the organization.

1952354 การเรียนรภู้ าคปฏบิ ัติดา้ นธรุ กิจการบิน 4 3(0-40-0)

(Work-based Learning in Aviation Business 4)

วิชาบังคบั กอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

ฝึกการปฏิบัติงาน ด้านงานบริการภาคพ้ืน (Ground Services, Ground Handling, Reservation,

Airport management) ณ ท่าอากาศยาน สายการบนิ บริษัทจดั จําหนา่ ยบัตรโดยสารสายการบิน เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษา

สามารถนําความรู้และทักษะต่าง ๆ ท่ีได้ศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการฝึกงานในบริษัทสายการบินและหน่วยงานท่ี

เกย่ี วขอ้ ง เชน่ ท่าอากาศยานและบรษิ ัทจดั จาํ หน่ายบัตรโดยสารสายการบิน ภายใต้การควบคุมและประเมินผลของ

คณาจารย์ร่วมกับหน่วยงานภายนอกท่ีรับนักศึกษาเข้าฝึกงาน ระบบการ ทํางานจริงในสถานประกอบการ เพื่อ

เสริมสร้างให้นักศึกษามีความพร้อมด้านงานอาชีพจากการปฏิบัติงานพ้ืนฐานอย่างมีหลักการและเป็นระบบ

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ 39

มคอ.2

นักศึกษาเน้นประสบการณ์ทํางาน (Work Based Learning) ท่ีตรงกับสาขาวิชาชีพของนักศึกษาที่เป็นงานที่เป็น
ประโยชน์ต่อองคก์ ร

To apprentice about ground services (ground handling, reservation, airport management) at
the airport, airlines, ticket and reservation agency. Students will be able to conduct and apply
their knowledge skills to their internship program.

1952455 การเรยี นร้ภู าคปฏบิ ัตดิ ้านธุรกิจการบนิ 5 3(0-40-0)

(Work-based Learning in Aviation Business 5)

วิชาบังคบั กอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

ฝึกการปฏิบัติงาน ด้านงาน Airline Business ที่เน้นการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการอย่างมี

ระบบ โดยจัดให้มีการเรียนในสถานศึกษาร่วมกับการปฏิบัติงานจริง ณ สถานประกอบการสายการบิน ธุรกิจการ

บิน เพ่ือให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ทําให้นักศึกษามีคุณภาพตรงตามที่สถาน

ประกอบการต้องการมากที่สุด จะเป็นกลไกสําคัญท่ีจะทําให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เกิดผลประโยชน์ร่วมกันสูงสุด

นักศึกษาจะปฏิบัติงานท่ีสถานประกอบการ ในลักษณะพนักงานชั่วคราวที่จะต้องลงมือปฏิบัติงานจริงในสาขาท่ีตน

เรียนมา ซึ่งทําให้ได้รับประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง มีการพัฒนาตนเองทางด้าน

ความคิด การสังเกต การตัดสินใจการวิเคราะห์ และประเมินผลอย่างเป็นรูปแบบ รวมท้ังการจัดเตรียม และ

นําเสนอรายงานจากประสบการณ์การทํางานจริงของตนเอง การผสมผสานระหว่างภาคทฤษฎีและปฏิบัติเข้า

ด้วยกันรวมทั้งการมองเห็นแนวทางด้านงานอาชีพของตนเองชัดเจนขึ้น ซ่ึงก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ทุกฝ่ายที่

เกีย่ วข้อง

To apprentice in airline business focusing on working in real workplace where students

can learn directly from the company; and gain their experiences to make them become quality

students. Having better knowledge and skills are the important key to meet the company’s

requirement and achievement. Not only gaining experiences from the company, but they also will

be able to develop their mental skill, observation, making decision, and self-assessment.

Moreover, they will be able to apply theory, learned from the classroom, with their practical skills

in order to see their future career distinctly.

2.3) กลมุ่ วชิ าเลอื ก
2.3.1) กลุ่มวชิ าเลือกด้านการจดั การงานบรกิ ารผู้โดยสาร

1953301 การจัดการงานบริการผูโ้ ดยสารภาคพนื้ 3(3-0-6)

(Passenger Ground Services Management)

วิชาบงั คบั ก่อน : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

กระบวนการของงานบริการผู้โดยสารภาคพ้ืน ณ ทา่ อากาศยาน การตรวจรับบัตรโดยสาร เอกสารใน

การเดินทาง การตรวจรับสัมภาระ และการคัดกรองวัตถุอันตราย (Dangerous Goods) ประเภทของผู้โดยสาร

กระบวนการส่งผู้โดยสารขึ้นเครื่อง งานบริการผู้โดยสารขาเข้า ได้แก่ การรับผู้โดยสารลงจากเคร่ือง การส่ง

ผู้โดยสารเปล่ียนลํา การจัดการสัมภาระขาเข้า แนวทางการจัดการเม่ือเกิดเที่ยวบินไม่ปกติ เอกสารท่ีเก่ียวข้อง

รวมถงึ การประสานงานกับหนว่ ยงานต่างๆ

สถาบันการจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ 40

มคอ.2

Passengers ground handling procedure at airport; check- in procedure; travel
document; baggage acceptance; dangerous goods screening; categories of passengers; boarding
procedure; passenger arrival services including disembarkation, transfer passenger, incoming
baggage handling; flight irregularity handling; related documentation and coordination with other
units.

1953302 การจัดการงานบริการบนเคร่ืองบิน 3(3-0-6)

(Inflight Service Management)

วชิ าบงั คบั ก่อน : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

หน้าท่ีและความรับผิดชอบของพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน การดูแลด้านความปลอดภัย การดูแล

ด้านการให้บริการ การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น ความรู้พ้ืนฐานของอุปกรณ์ความปลอดภัย อุปกรณ์ในการให้บริการ

และขน้ั ตอนในการรบั มือเมื่อเกดิ สถานการณ์ฉกุ เฉนิ

Duties and responsibilities of cabin crews; safety and security care; first aid; basic

knowledge of safety and service equipment including emergency situation procedures.

1953403 ภาษาอังกฤษสําหรบั งานบรกิ ารผูโ้ ดยสารภาคพน้ื 3(3-0-6)

(English for Passenger Ground Service)

วิชาบงั คบั ก่อน : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษที่ใช้ในงานปฏิบัติการภาคพื้น คําศัพท์เฉพาะ ประโยคและบทสนทนา

ที่พบบ่อยระหว่างพนักงานบริการผู้โดยสารภาคพ้ืนและผู้โดยสาร การจําลองสถานการณ์ การฝึกปฏิบัติการส่ือสาร

โดยใช้ภาษาอังกฤษในสถานการณ์ต่างๆ ของงานบริการภาคพื้น การเจรจาต่อรองเมื่อเกิดเท่ียวบินไม่ปกติ

การประกาศเสียงตามสายในห้องโถงผู้โดยสารขาออก รวมถึงการใช้ภาษาอังกฤษในการประสานงานระหว่าง

หนว่ ยงานปฏบิ ตั กิ ารภาคพื้นต่างๆ

English communication skills used in ground operations; jargons, frequently used

sentences and conversations between passenger ground service officer and passengers; role

playing, practices in using English in various situations of ground service; negotiations upon the

flight irregularities; public announcements in the departure hall; English communication

coordinating between ground operations units.

1953404 ภาษาองั กฤษสาํ หรบั การบรกิ ารบนเครอ่ื งบนิ 3(3-0-6)

(English for Inflight Service)

วิชาบังคบั กอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษสําหรับลูกเรือท่ีใช้ในการบริการผู้โดยสารบนเคร่ืองบิน การกล่าวคํา

ทักทาย การให้คําแนะนํา การบริการอาหารและเคร่ืองด่ืม การดูแลผู้โดยสารบนเครื่องบิน การให้ข้อมูลด้านความ

ปลอดภัย และการประกาศบนเครอ่ื งบนิ

สถาบนั การจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์ 41

มคอ.2

English communication skills for cabin crews used for providing service for passengers;
greeting; giving suggestions; food and beverages services; assisting passengers; providing safety
information; and making announcements on the plane.

1953405 การจัดการคุณภาพบรกิ ารในธุรกจิ การบนิ 3(3-0-6)

(Service Quality Management in Aviation Business)

วชิ าบงั คบั กอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

แนวคดิ และทฤษฎเี กีย่ วกบั การจัดการคุณภาพบริการในธุรกจิ การบิน วงจรคุณภาพบรกิ าร ปัจจยั ท่มี ี

ผลคุณภาพการบริการ การวิเคราะห์ช่องว่างของคุณภาพการบริการ การติดตามและประเมินคุณภาพบริการ การ

จัดการความลม้ เหลวในการบริการและการฟ้ืนฟกู ารบรกิ าร แนวทางการส่งมอบบริการทมี่ คี ุณภาพ และกรณีศึกษา

เกีย่ วกบั การจัดการคุณภาพบริการในธุรกิจการบิน

Concepts and theories of service quality management in the aviation business; service

quality cycle; factors affecting service quality; the gap model of service quality; monitoring and

evaluation of service quality; managing service failures and service recovery; guidelines for

delivering quality services and case studies on service quality management in the aviation

business.

1953406 การบรกิ ารอาหารและเคร่อื งดื่มในธรุ กิจการบนิ 3(2-2-5)

(Meals and Beverages Services in Aviation Business)

วิชาบังคบั ก่อน : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

ความรู้เกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มที่ให้บริการในสายการบิน ระบบการจัดอาหารและเคร่ืองดื่ม

สําหรับสายการบิน การกําหนดรายการอาหาร การจัดเตรียม การจัดจานอาหาร การนําเสนออาหาร ข้อกําหนด

และมาตรฐานด้านสขุ อนามัย

Knowledge of food and beverages served in the airlines; food and beverages

organizing systems for airlines; menu setting; preparation; plating; presentation; hygiene

requirements and standards.

2.3.2) กลุ่มวิชาเลอื กดา้ นการปฏบิ ัตกิ ารเฉพาะทางดา้ นการบนิ

1953303 การจัดการควบคุมจราจรทางอากาศ 3(2-2-5)

(Air Traffic Control Management)

วชิ าบงั คบั ก่อน : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

ความรู้เบื้องต้นเก่ียวกับการควบคุมจราจรทางอากาศ หน้าท่ีและความรับผิดชอบของหน่วยงาน

บริการจราจรทางอากาศ การบริการข่าวสารการบิน จําแนกข้อแตกต่างระหว่างสนามบินท่ัวไปและสนามบิน

นานาชาติ ระเบียบวิธีการสื่อสารทางการบิน คําศัพท์ วลีที่ใช้ในการติดต่อส่ือสาร รวมถึงวิธีการอ่านข้อมูลอากาศ

เพื่อการเผยแพรท่ างวิทยุสื่อสารและช่องความถี่ขอ้ มลู อากาศของสนามบิน

สถาบันการจัดการปัญญาภวิ ัฒน์ 42

มคอ.2

The fundamental of Air Traffic Control; duty and responsibility of Air Traffic Control
Department; aviation news and define the different between regular airport and international
airport; communication method; vocabulary and aviation phraseology; METAR and TAF through
radio communication and frequency.

1953407 การจดั การการอาํ นวยการบนิ 3(3-0-6)

(Flight Operations Management)

วิชาบังคบั กอ่ น : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

หน้าท่ีความรับผิดชอบของนักอํานวยการการบิน ระเบียบและข้อบังคับท่ีเก่ียวข้อง ความรู้เก่ียวกับ

เครือ่ งบินท่สี ําคญั สําหรับการจัดเทย่ี วบนิ การคาํ นวณระยะทางบินและนํ้าหนักสัมภาระ การจัดทําแผนการบิน การ

วางแผนอุตุนิยมวิทยา เลือกหาเส้นทางที่เหมาะสมและคัดสรรสนามบินสํารองในกรณีฉุกเฉินผ่านระบบสารสนเทศ

การปฏบิ ัติการสรปุ ข้อมลู สาํ คัญสําหรับนักบิน

Duty and responsibility of flight operator/ dispatcher; law – regulation and restriction

of flight operation; aircraft knowledge related to flight operating; flight route calculation with

weight and balance; flight plan making; meteorology theory; flight path selection and alternate

airport finalization through flight operation website; pilot briefing simulation.

1953408 การจดั การคลงั สนิ คา้ ทางอากาศ 3(3-0-6)

(Air Cargo Warehouse Management)

วิชาบังคับก่อน : ไม่มี

(Prerequisite Course: None)

บทบาท ความสําคัญ ประเภท และการกําหนดท่ีตั้งของคลังสินค้าทางอากาศ ลักษณะเฉพาะของ

คลังสินค้าในเขตปลอดอากร การจัดพ้ืนท่ีและแผนผัง กระบวนการจัดการสินค้าตั้งแต่นําเข้าสินค้าจนกระทั่ง

การจําหน่ายสินค้าออก อุปกรณ์จัดเก็บและจัดการสินค้าภายในคลังสินค้า มาตรฐานด้านสุขอนามัยและความ

ปลอดภยั รวมถงึ ระบบสารสนเทศทใี่ ชใ้ นการจดั การคลงั สนิ คา้ ทางอากาศ

Role, importance, categories, and location of air cargo warehouse; characteristics of

warehouse located in free zone; space arrangement and layout; warehouse processes from

receiving to put-away; storage and handling equipment; health and safety regulations; warehouse

management system in air cargo.

1953409 การจดั การงานตัวแทนการขนสง่ สนิ คา้ ทางอากาศ 3(3-0-6)

(Air Cargo Agency Management)

วชิ าบงั คับกอ่ น : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

ภาพรวมระบบขนสง่ สินค้าทางอากาศโดยตัวแทน การเป็นตัวแทนผู้ส่งออก สมาคมผู้ขนส่งสินค้าทาง

อากาศ กระบวนการดําเนินงานการขนส่ง ระเบียบและพิธีการทางศุลกากร หน้าท่ีในการให้บริการ

ความรบั ผดิ ชอบ และพันธกิจของตวั แทนผู้สง่ ออก

สถาบันการจดั การปัญญาภิวัฒน์ 43

มคอ.2

The overview of cargo transport system handled by agent; definition and type of
agent; cargo agent association; cargo handling process; customs regulations; customer service
including duties, responsibilities and obligation of air cargo agency.

1953410 การจัดการโลจิสตกิ ส์ในธรุ กจิ การบิน 3(3-0-6)

(Logistics Management in Aviation Business)

วิชาบังคับก่อน : ไมม่ ี

(Prerequisite Course: None)

ภาพรวมของระบบโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานในธุรกิจการบิน หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้

ส่วนเสียในห่วงโซ่อุปทานของธุรกิจการบิน การจัดเส้นทางของการขนส่งสินค้าทางอากาศ และเกณฑ์การเลือก

ศนู ยก์ ลางการขนสง่ สนิ คา้ ทางอากาศ รวมถงึ กฎหมายและระเบยี บทีเ่ กีย่ วขอ้ ง

The overview of logistics and supply chain in aviation business; relevant agencies and

stakeholders in the aviation supply chain; routing of air cargo and selection criteria of air cargo

transportation hub; related laws and regulations.

สถาบันการจดั การปัญญาภวิ ฒั น์ 44

มคอ.2

3.2 ชอื่ สกลุ เลขประจําตัวบัตรประชาชน ตาํ แหนง่ และคณุ วฒุ ิของอาจารย์
3.2.1 อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร

ลําดบั ช่อื – สกุล ตาํ แหน่งทาง คณุ วฒุ ิ สาขาวิชาเอก สถาบันท่สี ําเรจ็ การศึกษา ปที ี่ เลขประจาํ ตัว
ท่ี วชิ าการ สาํ เรจ็ ประชาชน/เลขที่
หนงั สอื เดนิ ทาง
วท.ม. การบริหารการบนิ มหาวทิ ยาลัยอีสเทริ ์นเอเชีย 2563 3 4098 0005XXXX
มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง 2557
1 อ. อรทัย เกียรติวิรุฬห์พล อาจารย์ ร.ม. รฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรามคาํ แหง 2545 3 2599 0013XXXX
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั 2555
ศศ.บ. ภาษาองั กฤษ มหาวิทยาลัยบรู พา 2540 3 9305 0049XXXX

บธ.ม. การจัดการการบนิ มหาวิทยาลยั เกษมบณั ฑิต 2562 3 1005 0409XXXX
มหาวิทยาลยั นเรศวร 2547 3 1201 0139XXXX
2 อ. รพีพร ตนั จ้อย อาจารย์ กศ.บ. เทคโนโลยี วทิ ยาลัยครูสงขลา 2533
มหาวทิ ยาลัยอีสเทิร์นเอเชยี 2556
ทางการศึกษา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 2545
จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย 2553
3 ผศ. บวรลักษณ์ เกอื้ สวุ รรณ ผ้ชู ว่ ย ศศ.ม. การจัดการการบนิ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 2545
ศาสตราจารย์ กศ.ม บริหารการศึกษา
ค.บ. สงั คมศึกษา

4 อ. ลลิตลักษณ์ ธารีเกษ อาจารย์ วท.ม. การบรหิ ารการบิน
ศศ.บ. ภาษาอังกฤษ

5 อ. อิชยาพร ชว่ ยชู อาจารย์ บธ.ม. การจดั การการบนิ
อ.บ. สารนิเทศศกึ ษา

3.2.2 อาจารย์ประจาํ หลกั สตู ร

ลาํ ดับที่ ช่อื – ชอื่ สกลุ ตาํ แหนง่ ทาง คณุ วุฒิ สาขาวชิ า สถาบันที่สําเรจ็ การศกึ ษา ปีทส่ี าํ เรจ็ เลขประจาํ ตัวประชาชน/
วิชาการ M.ITH. เลขท่ีหนงั สอื เดินทาง

ผู้ชว่ ย ศศ.ม. International Tourism Southern Cross University, 2547
ศาสตราจารย์
ศศ.บ. and Hotel Management Gold Coast, Australia
อาจารย์
1 ผศ. จิตลดา ปิยะทัต ศศ.ม. การจัดการท่องเท่ียวและ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2547
อาจารย์ โรงแรม 3 5099 0068XXX
2 อ. อรปวีณ์ กลุ พรเพญ็ อาจารย์ ศศ.บ. (หลกั สูตรนานาชาติ) มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพ
3 อ. โชติกา พันผูกบุญ อาจารย์ วศ.ม. การทอ่ งเท่ยี วและการ 2537
4 อ. ปยิ ณัฐ สเุ มธาวีนนั ท์ โรงแรม สถาบันบัณฑิตพัฒนบรหิ าร
5 Nick Alfred T. Umadhay ศศ.บ. ภาษาและการสือ่ สาร ศาสตร์ 2558
M.P.A. มหาวทิ ยาลยั แม่ฟา้ หลวง 1 7299 0012XXXX
ภาษาอังกฤษ
ศศ.บ. 2554
M.S.
ประชากรและการพัฒนา สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ าร 2548 3 1005 02xxx xx x
B.S. ศาสตร์ 1 1014 0171XXXX
การคา้ ระหว่างประเทศ 2538
Public Administration มหาวิทยาลยั หอการค้าไทย 2557 P0149XXXX

รฐั ศาสตร์ (บรหิ ารรัฐกจิ ) National University, 2555
Hospitality San Diego, USA. 2551
Management
Hotel and Restaurant มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2549
Management
Philippine Christian
University

St. Therese-MTC Colleges

สถาบนั การจดั การปญั ญาภิวฒั น์ 45

มคอ.2

4. องคป์ ระกอบเกีย่ วกับประสบการณภ์ าคสนาม
ผู้ใช้บัณฑิตมีความต้องการให้บัณฑิตมีประสบการณ์ก่อนเข้าสู่อาชีพ ดังน้ันในหลักสูตร จึงมีรายวิชาการ

ฝึกปฏิบัติการและวิชาการเรียนรู้ภาคปฏิบัติด้านการจัดการธุรกิจการบินจํานวน 5 รายวิชา ซ่ึงจะจัดอยู่ในกลุ่มวิชา
บงั คบั โดยให้นักศกึ ษาทกุ คนตอ้ งลงทะเบียนรายวิชาน้ี

1. รายวิชา 1952151 การเรยี นรภู้ าคปฏิบัตดิ า้ นธรุ กจิ การบิน 1
2. รายวชิ า 1952252 การเรียนรภู้ าคปฏิบตั ิด้านธุรกิจการบนิ 2
3. รายวชิ า 1952253 การเรียนรู้ภาคปฏิบตั ิด้านธรุ กจิ การบิน 3
4. รายวชิ า 1952354 การเรยี นร้ภู าคปฏิบตั ิด้านธรุ กิจการบิน 4
5. รายวชิ า 1952455 การเรียนรูภ้ าคปฏิบตั ดิ า้ นธรุ กิจการบนิ 5
4.1มาตรฐานผลการเรยี นรู้ของประสบการณ์ภาคสนาม

1) มีทักษะในการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ รวมถึงมีความเข้าใจในทฤษฎีและหลักการมาก
ย่ิงข้ึน

2) สามารถบูรณาการความรู้ที่เรียนมาเพ่ือนําไปแก้ปัญหาทางการจัดการธุรกิจการบินได้อย่าง
เหมาะสม

3) มมี นษุ ยสัมพนั ธ์และสามารถทาํ งานรว่ มกบั ผูอ้ ืน่ ได้
4) มีระเบียบวินัย ตรงเวลา และเข้าใจวัฒนธรรมขององค์กร รวมถึงสามารถปรับตัวให้เข้ากับ
สถานประกอบการได้
5) มที กั ษะการสือ่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัล
4.2 ช่วงเวลา
การฝึกปฏิบัติการในทุกภาคการศึกษาของทุกช้ันปี และการเรียนรู้ภาคปฏิบัติด้านการจัดการธุรกิจ
การบนิ ภาคการศึกษาท่ี 1 และ 2 ของทกุ ชนั้ ปี
4.3 การจัดเวลาและตารางสอน การฝึกปฏบิ ตั มิ กี ารลงทะเบยี นเรยี น ดงั นี้
1. การเรียนรภู้ าคปฏบิ ตั ิด้านธุรกจิ การบนิ 1 ในชั้นปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 2
2. การเรยี นรภู้ าคปฏบิ ัติด้านธรุ กิจการบนิ 2 ในชัน้ ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 1
3. การเรียนรู้ภาคปฏิบัติดา้ นธรุ กิจการบิน 3 ในช้นั ปีท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 2
4. การเรยี นรภู้ าคปฏบิ ัตดิ า้ นธุรกจิ การบนิ 4 ในชั้นปที ี่ 3 ภาคการศกึ ษาที่ 2
5. การเรยี นรภู้ าคปฏิบัติดา้ นธุรกิจการบิน 5 ในชนั้ ปีท่ี 4 ภาคการศกึ ษาที่ 2

5. ขอ้ กาํ หนดเกยี่ วกับการทาํ โครงงานหรืองานวจิ ยั
5.1 คําอธิบายโดยยอ่
การเรียนรู้ภาคปฏิบัติด้านธุรกิจการบิน 1 และ 2 มอบหมายให้จัดทําโครงงานรายบุคคล และ

โครงงานกลมุ่ 3-5 คน ในรายวชิ าการเรียนร้ภู าคปฏิบัติด้านธุรกิจการบิน 3 4 และ 5 เพ่ือให้นักศกึ ษาคิดคน้ ปัญหา
วิธีการแก้ไขปัญหา และฝึกการทํางานอย่างเป็นระบบในงานต่าง ๆ ของสถานประกอบการหรือองค์กรท่ีสถาบัน
กําหนด

5.2 มาตรฐานผลการเรยี นรู้
ผลการเรยี นรู้ตามรายวชิ าการเรยี นร้ภู าคปฏบิ ัติ 1 ถึง 4 ดงั น้ี
- มีวินัย ตรงต่อเวลา มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบท้ังต่อตนเอง สังคมและการประกอบ

อาชีพ
- เข้าใจ และวิเคราะห์หลักการและทฤษฎีพื้นฐานด้านการจัดการด้านการธุรกิจบริการและการ

จดั การด้านธรุ กิจการบนิ และสามารถนําไปประยกุ ตใ์ นกจิ กรรมดา้ นการจัดการธรุ กจิ การการบิน

สถาบันการจดั การปญั ญาภวิ ัฒน์ 46


Click to View FlipBook Version