The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by vava_hermiony, 2023-12-24 02:15:56

แผน 1

แผนCS1l2

แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 รายวิชา วิทยาการค านวณ รหัสวิชา ว21103 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม เรื่อง ความหมายแนวคิดเชิงนามธรรม เวลา 2 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ มาตรฐาน มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงค านวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การท างาน และการแก้ปัญหาได้อย่าง มีประสิทธิภาพ รู้เท่าทันและมีจริยธรรม ตัวชี้วัด ว 4.2 ม. 1/1 ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพื่อแก้ปัญหาหรืออธิบายการท างานที่ พบในชีวิตจริง 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ (K) - อธิบายลักษณะของแนวคิดเชิงนามธรรม 2. ด้านทักษะ (P) - ทักษะการถ่ายทอดรายละเอียด 3. ด้านคุณลักษณะ (A) - จิตวิทยาศาสตร์ ข้อที่ 6 มีความละเอียดรอบคอบ 3. สาระส าคัญ แนวคิดเชิงนามธรรมเป็นการประเมินรายละเอียดของปัญหา แยกย่อยข้อมูลส่วนที่ส าคัญ หรือสนใจ ออกมาเพื่อพิจารณาหาแนวคิดรวบยอดของปัญหา 4. สาระการเรียนรู้ 1. แนวคิดเชิงนามธรรม เป็นกระบวนการคัดแยกคุณลักษณะที่ส าคัญออกจากรายละเอียดปลีกย่อย ในปัญหาที่ก าลังพิจารณา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จ าเป็นและเพียงพอในการแก้ปัญหา 2. เลือกรายละเอียดที่จ าเป็นของปัญหาออกจากรายละเอียดที่ไม่จ าเป็นและอธิบายรายละเอียดที่ ไม่ครบถ้วน 3. ใช้แนวคิดเชิงนามธรรมในการออกแบบการแก้ปัญหา


5. สมรรถนะส าคัญผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ซื่อสัตย์สุจริต 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. แบบฝึกหัดเรื่อง “My Zoo” 8. การวัดและประเมินผล ด้าน รายการประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์ 1. ความรู้ (K) - อธิบายลักษณะของแนวคิดเชิงนามธรรม แบบทดสอบหลังเรียน ผ่านเกณฑ์ ระดับ “พอใช้” 2. ทักษะ (P) - การถ่ายทอดรายละเอียด แบบฝึกหัดเรื่อง “My Zoo” - ทักษะการท างานกลุ่ม แบบประเมิน 3. คุณลักษณะ (A) - จิตวิทยาศาสตร์ ข้อที่ 6 มีความละเอียด รอบคอบ แบบประเมิน 4. สมรรถนะ - ความสามารถในการสื่อสาร - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต แบบประเมิน 5. คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - ซื่อสัตย์สุจริต แบบประเมิน


9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 (ใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบ Brain-based Learning) ขั้นที่ 1 ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน (Brain Gym) 1. นักเรียนท ากิจกรรม Brain Gym เตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่บทเรียน 2. ครูสุ่มถามนักเรียนว่า ถ้าครูจะเดินทางจากหน้าชั้นเรียนไปยังหลังห้องเรียนครูจะ สามารถเดินไปด้วยเส้นทางใดได้บ้าง 3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า ในการแก้ปัญหา 1 ปัญหามีวิธีที่หลากหลาย 1 ในวิธีที่ครู จะสอนคือการแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงนามธรรม 4. แบบท าสอบหลังเรียน ขั้นที่ 2 ขั้นสอน (Present) 1. ครูน าเสนอแผ่นป้ายที่เขียนค าว่า “Love” ที่แตกต่างกัน 3 รูปแบบเพื่อให้นักเรียน ร่วมกันตอบค าถามตามรายละเอียดต่อไปนี้ ข้อมูลชุดที่ 1 ข้อมูลประกอบด้วยอักขระใดบ้าง, แต่ละอักขระเป็นพิมพ์เล็กหรือ พิมพ์ใหญ่, แต่ละอักขระมีสีอะไรบ้าง (สนใจรายละเอียดทั้งหมด) ข้อมูลชุดที่ 2 ข้อมูลประกอบด้วยอักขระใดบ้าง, อักขระมีสีอะไรบ้าง (ลดทอน เรื่องพิมพ์เล็กหรือพิมพ์ใหญ่) ข้อมูลชุดที่ 3 ข้อมูลประกอบด้วยอักขระใดบ้าง (l o v e) ข้อมูลชุดที่ 4 ข้อมูลประกอบด้วยอักขระกี่ตัว (4 อักขระ) ข้อมูลชุดที่ 5 ข้อมูลประกอบด้วยค ากี่ค า (1 ค า ซึ่งคือรายละเอียดที่น้อยที่สุด) 2. นักเรียนร่วมกันตอบค าถาม ถ้านักเรียนต้องการสื่อสารว่า “รัก” เป็นภาษาอังกฤษในได้ ใจความคิดว่า ข้อมูลใดมีเพียงพอต่อการสื่อความหมาย (ข้อมูลชุดที่ 3) ซึ่งการที่เราแยกรายละเอียดต่างๆ และเลือกใช้แค่ข้อมูลที่จ าเป็นนี้ก็คือ การแก้ปัญหาแบบนามธรรม 3. ครูอธิบายความรู้เกี่ยวกับแนวคิดเชิงนามธรรม ขั้นที่ 3 ขั้นลงมือเรียนรู้ (Learn-Practice) 1. นักเรียนเข้ากลุ่ม กลุ่มละ 5 คน เพื่อศึกษาท าความเข้าใจเรื่องแนวคิดเชิงนามธรรมโดย การแยกลักษณะเฉพาะและลักษณะทั่วไปจากหนังสื่อและสื่อที่ครูเตรียมไว้ให้ 2. นักเรียนร่วมกับสรุปองค์ความรู้ภายในกลุ่ม ขั้นที่ 4 ขั้นสรุปความรู้ (Summary) 1. ครูจะแจกชุดกิจกรรมให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม โดยในชุดกิจกรรมจะประกอบไปด้วย แบบ ฝึกทักษะและบัตรที่เป็นโจทย์ โดยครูจะให้เวลาท าข้อละ 3 นาที จากนั้นนักเรียนจะสลับบัตรที่เป็นโจทย์ไป ให้เพื่อนกลุ่มอื่น เวียนไปเรื่อยๆ จนได้บัตรของตนเองกลับมา 2. นักเรียนแลกเปลี่ยนความรู้กันภายในกลุ่ม 3. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลย กิจกรรมการแยกลักษณะเฉพาะและลักษณะทั่วไป


ขั้นที่ 5 ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้(Apply) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ว่าการ การแยกลักษณะเฉพาะและลักษณะทั่วไปนั้น มีความส าคัญและสามารถน าไปใช้ในการด าเนินชีวิตได้อย่างไร ชั่วโมงที่ 2 (ใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบ Brain-based Learning) ขั้นที่ 1 ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน (Brain Gym) 1. นักเรียนท ากิจกรรม Brain Gym เตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่บทเรียน 2. ครูทบทวนความรู้โดยถามโจทย์ค าถามว่า “ห้องเรียนห้องหนึ่งในโรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่ง มีนักเรียนอยู่ทั้งหมด 20 คน เพื่อเป็นการตอนรับการเปิดเทอมก๊วนเพื่อนรักซึ่งประกอบไปด้วยลิซ่า เจนนี่ โรเซ่และจีซู ได้นัดกันไปรับประทานอาหารที่ร้านYPใกล้โรงเรียน และตกลงกันว่าไม่ว่าใครจะสั่งอะไรก็จ่าย ค่าอาหารคนละเท่าๆ กัน โดยมีรายการอาหารดังนี้ ลิซ่าสั่งสลัดผักกับน้ ามะนาวปั่น เจนี่สั่งข้าวผัดกับชาเย็น โรเซ่และจีซูสั่งก๋วยเตี๋ยวกับทับทิมกรอบ ให้พิจารณาว่าข้อมูลใดบ้างที่จ าเป็นต่อการแก้ปัญหา โดยขั้นตอนแรกเราต้องแยกรายการทั้งหมดจากโจทย์ออกมาเป็นข้อก่อนๆ จากนั้นก็มาคัดเลือกสิ่งที่จ าเป็นออกจากสิ่งที่ไม่จ าเป็น ซึ่งค าตอบก็คือ ราคาอาหารแต่ละ รายการที่สั่ง และจ านวนเพื่อนที่ไปทานอาหารด้วยกัน


ขั้นที่ 2 ขั้นสอน (Present) 1. ครูอธิบายเรื่องแนวคิดเชิงนามธรรมในการแก้ปัญหาโดยใช้โจทย์ปัญหา แสดงแผ่นภาพแสดงที่ตั้งของสถานที่ต่างๆรวมถึงเส้นทางและระยะทางของถนนแต่ละเส้น โดยให้มี รายละเอียดเพียงพอที่จะหาค าตอบเหล่านี้ได้ - เส้นทางเดินจากโรงเรียนกลับบ้านที่ใช้ระยะทางสั้นที่สุด - เส้นทางเดินจากโรงเรียนกลับบ้านที่สั้นที่สุดโดยแวะร้านขายขนม - เส้นทางเดินจากโรงเรียนกลับบ้านที่สั้นที่สุดโดยแวะร้านขายขนม และเลือกเดินเฉพาะถนนที่มีร่ม เงาเท่านั้น 2. นักเรียนช่วยกันแปลงภาพจากรูปธรรมเป็นนามธรรมซึ่งจะได้ดังนี้ 3. นักเรียนร่วมกันเฉลยค าถามก่อนที่ครูจะเฉลยและสรุปอีกครั้ง


ขั้นที่ 3 ขั้นลงมือเรียนรู้ (Learn-Practice) 1. นักเรียนเข้ากลุ่ม กลุ่มละ 5 คน เพื่อศึกษาท าความเข้าใจเรื่องแนวคิดเชิงนามธรรมจาก โจทย์ปัญหาของสะพานทั้ง 7 แห่งเมืองโคนิกสเบิร์ก เมืองโคนิกสเบิร์ก ประเทศรัสเซีย มีแม่น้ าพรีเกิลผ่ากลางท าให้แบ่งเมืองออกเป็นสองฝั่ง แม่น้ า นี้ยังแตกแขนงออกเป็นสองสาย ท าให้เกิดเกาะขึ้นสองเกาะระหว่างพื้นที่เมืองทั้งสองฟาก ชาวเมืองได้สร้าง สะพานขึ้นเจ็ดแห่งเพื่อเชื่อมพื้นเมืองทั้งหมดเข้าด้วยกัน ต่อมาสะพานทั้งเจ็ดแห่งนี้ได้กลายเป็นปริศนาที่น่าท้าทาย เมื่อหลายคนพยายามที่เดินข้าม สะพานให้ครบทั้งหมดโดยจะไม่ข้ามสะพานใดๆ ซ้ าเป็นครั้งที่สอง แต่ก็ไม่มีใครท าได้ส าเร็จ นักเรียนลอง พยายามหาเส้นทางการข้ามสะพานด้วยตนเองว่าได้หรือไม่ 2. ครูให้ตัวช่วยโดยการให้นักเรียนเล่นเกมลากเส้นโดยไม่ปล่อยมือ ซึ่งก็คือหลักการ แก้ปัญหาของสะพานโคนิกสเบิร์ก โดยนักเรียนต้องแปลงปัญหาให้เป็นนามธรรมก่อน 3. ครูเฉลยปัญหาสะพานโคนิกสเบิร์ก ซึ่งในความเป็นจริงแล้วปัญหานี้ไม่สามารถแก้ไขได้ โดย นักคณิตศาสตร์ชื่อเลออนฮาร์ท ออยเลอร์(Leonhard Euler) เป็นหนึ่งในผู้น าแนวคิดเชิงนามธรรม ลักษณะนี้มาแก้ปัญหาการเดินข้ามสะพานทั้งเจ็ดแห่ง ในปีค.ศ.1736 โดยอาศัยรูปแบบที่เรียบง่ายนี้มา พิสูจน์ได้ว่าไม่มีเส้นทางใดที่จะเดินข้ามสะพานได้ตามเงือนไขที่ก าหนด ซึ่งท าให้เกิดเป็นทฤษีกราฟและมีการ ต่อยอดจนเกิดเป็น Google Maps


ขั้นที่ 4 ขั้นสรุปความรู้ (Summary) 1. ครูจะแจกแบบฝึกหัดเรื่อง “My Zoo” ให้นักเรียนแต่ละคน 2. นักเรียนออกมาแลกเปลี่ยนความรู้ 3. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลย แบบฝึกหัดเรื่อง “My Zoo” 4. นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน ขั้นที่ 5 ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้(Apply) 1. นักเรียนยกตัวอย่างของแนวคิดเชิงนามธรรมที่พบเจอในชีวิตประจ าวัน 2. ครูและนักเรียนร่วมกับสรุปความรู้ การน าแนวคิดเชิงนามธรรมไปใช้ในการแก้ปัญหา สิ่ง ที่ส าคัญที่สุดคือ การคัดแยกคุณลักษณะที่ส าคัญออกจากรายละเอียดที่ไม่จ าเป็น เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จ าเป็น เพียงพอ และกระชับในการถ่ายทอดองค์ประกอบของปัญหา ท าให้การแก้ปัญหามีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วย ให้การออกแบบขั้นตอนวิธีในการหาค าตอบท าได้ง่ายขึ้น อีกทั้งยังเพิ่มโอกาสที่จะพบว่าปัญหาที่ก าลังแก้ไข เป็นสิ่งเดียวกันกับปัญหาเดิมที่เคยแก้ไขแล้ว ส่งผลให้สามารถน าวิธีการที่มีอยู่แล้วมาประยุกต์ใช้งานได้โดย ไม่ต้องออกแบบวิธีการแก้ปัญหาใหม่ตั้งแต่ต้น 9. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ สื่อ 1. หนังสือเรียน วิทยาการค านวณ มัธยมศึกษาปีที่ 1 2. ชุดกิจกรรม “การแยกลักษณะเฉพาะและลักษณะทั่วไป” 3. แบบฝึกหัดเรื่อง “My Zoo” 4. PowerPoint เรื่องแนวคิดเชิงนามธรรรม 5. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนทาง Google from แหล่งเรียนรู้ 1. แนวคิดนามธรรม โดย ผศ.ดร.ชัยพร ใจแก้ว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ https://www.youtube.com/watch?v=XMWGO53WL8A 2. Google Site โดย ครูฐิตาภา สายัณห์ เรื่องแนวคิดเชิงนามธรรม https://sites.google.com/a/srp.ac.th/technologym1/naewkhid-cheingnamthrrm


10. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. สรุปผลการจัดการเรียนรู้ นักเรียนจ านวน..................................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้................คน คิดเป็นร้อยละ............................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้.............คน คิดเป็นร้อยละ............................. 2. ผลการเรียนรู้ 2.1 ด้านความรู้(K) ............................................................................................................................. ............................................. .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. .............................................................................................................................. ............................................ 2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ(P) .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ............................................. .......................................................................................................................................................................... 2.3 ด้านเจตคติ(A)/คุณลักษณะฯ/สมรรถนะตามหลักสูตรฯ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ................................................................................................................................. ......................................... .......................................................................................................................................................................... 3. ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะอื่น ๆ …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. ............................................................................................................................. ............................................. .......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ……………….…………….…………….ผู้สอน (นางสาวฐิตาภา สายัณห์) ต าแหน่งครูผู้ช่วย


ความคิดเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. ..................…………………………………………………………………………………….………………………………………………… …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. ลงชื่อ……………….…………….……………หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ (นางสาวภาวิณี แก้วก าเนิด) ต าแหน่ง........................... ความคิดเห็นหัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. ลงชื่อ……………….…………….………………………………….. (นางสุมาลี ซุ้นสุวรรณ) ต าแหน่ง ครูช านาญการพิเศษ ความคิดเห็นรองผู้บริหารกลุ่มบริหารงานวิชาการ …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. ………………………………………………………………………………….…………………………………………………..................... …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. ลงชื่อ……………….…………….…………… (นางปฐมา ชูศักดิ์) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ สุราษฎร์ธานี


ภาคผนวก 1. ชุดกิจกรรม “การแยกลักษณะเฉพาะและลักษณะทั่วไป” ฉลาก กิจกรรม จ าแนกลักษณะเฉพาะ/ลักษณะทั่วไป


กิจกรรมเรื่องการจ าแนกลักษะทั่วไปและลักษณะเฉพาะ สมาชิกในกลุ่ม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/..... 1.ชื่อ…………………………………………………เลขที่........ 2.ชื่อ…………………..…………….…………………เลขที่........ 3.ชื่อ…………………………………………………เลขที่........ 4.ชื่อ…………………..…………….…………………เลขที่........ 5.ชื่อ…………………………………………………เลขที่........ ฉลากรูป ลักษณะทั่วไป ลักษณะเฉพาะ


2. แบบฝึกหัดเรื่อง “My Zoo”


3. แบบท าสอบก่อนเรียน-หลังเรียน เรื่อง แนวคิดเชิงนามธรรม แบบทดสอบ เรื่อง แนวคิดเชิงนามธรรม(การจ าแนก) ชื่อ – นามสกุล ..................................................................................... ชั้น ................. เลขที่ . ........... ค าชี้แจง จงเลือกตอบค าถามต่อไปนี้ 1. แนวคิดเชิงนามธรรม (Abstraction) หมายถึงอะไร ก. การแจกแจงปัญหากระบวนการออกเป็นส่วนย่อย ข. ดูความเหมือนความแตกต่างของรูปแบบการเปลี่ยนแปลง ค. มุ่งเน้นความส าคัญของปัญหาโดยไม่สนใจรายละเอียดที่ไม่จ าเป็น ง. แก้ปัญหาโดยการออกแบบกระบวนการท างานอย่างเป็นล าดับขั้นตอน 2. ข้อใดอธิบายความหมายของแนวคิดเชิงนามธรรม (abstract thinking) ได้อย่างชัดเจน ก. เป็นแนวคิดหนึ่งในการแก้ไขปัญหา และเป็นองค์ประกอบของแนวคิดเชิงค านวณ ข. หลักในการท างานของระบบคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ ค. ขั้นตอนการท างานของเทคโนโลยีอย่างละเอียดพร้อมวิธีการใช้งาน ง. รูปแบบการท างานที่ท างานร่วมกันและสร้างวิธีการท างานร่วมกัน 3. การคิดเชิงค านวณมีประโยชน์อย่างไร ก. ช่วยให้ทักษะการคิดเปรียบเสมือนคอมพิวเตอร์ ข. แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตได้อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอน ค. ท างานต่าง ๆได้อย่างรวดเร็ว ง. จดจ าและบันทึกข้อมูลได้เป็นจ านวนมาก 4. หลักการคิดเชิงค านวณสามารถน าไปประยุกต์ในสถานการณ์ได้บ้าง ก. การจัดเรียงสินค้า ณ ห้างสรรพสินค้า ข. การวางแผนจัดร้านค้า ค. การค านวณการเล่นกีฬาโดยใช่สถิติเข้ามาเกี่ยวข้อง ง. ถูกทุกข้อ 5. ข้อใดกล่าวถึงแนวคิดเชิงค านวณไม่ถูกต้อง ก. เป็นการคิดเหมือนหุ่นยนต์ ข. เป็นการแก้ปัญหาแบบมีล าดับขั้นตอน ค. เป็นทักษะที่นักพัฒนาซอฟต์แวร์ต้องมี ง. มีแนวคิดเชิงนามธรรมเป็นหนึ่งในทักษะย่อย 6. จากรูป ข้อใดต่อไปนี้คือลักษณะทั่วไป ก. มีดอกสีแดง ข. มีก้านยาว ค. มีหนาม ง. มีดอก


7. จากรูปและการวิเคราะห์จากข้อมูลที่พบเห็นในชีวิตประจ าวัน ข้อใดคือลักษณะทั่วไป ก. หางยาว ข. มีขายาว ค. หูตั้ง ง. เห่าได้ 8. จากรูป ข้อใดคือลักษณะทั่วไป ก. มีล าตัวสีชมพู ข. มีหางม้วน ค. มีฟันสีขาว ง. มีจมูก 9. มีส้ม 5 กิโลกรัม น้ ามันงา 2 กิโลกรัม องุ่น 7 กิโลกรัม ชมพู่ 4 กิโลกรัม รวมมีผลไม้ทั้งหมดกี่กิโลกรัม ข้อใดไม่ใช้ข้อมูลที่จ าเป็นในการแก้ปัญหา ก. ส้ม ข. น้ ามันงา ค. องุ่น ง. ชมพู่ 10. ใครคือผู้น าทฤษฎีกราฟมาแก้ปัญหา ปริศนาสะพานทั้งเจ็ดแห่งเมืองโคนิกสเบิร์ก ก. ชาร์ล ดาวิน ข. ชาร์ลส์แบบเบจ ค. ทอมัส เอดิสัน ง. เลออนฮาร์ท ออยเลอร์


แบบประเมินความรู้ อธิบายลักษณะของแนวคิดเชิงนามธรรม จากแบบทดสอบหลังเรียน เลขที่ ชื่อ-สกุล คะแนนที่ท า ได้ สรุป ผ่าน ไม่ ผ่าน สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 8 – 10 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 5 - 7 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรุง *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


แบบประเมินทักษะการถ่ายทอดรายละเอียด ค าชี้แจง ให้ท าเครื่องหมาย ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เลขที่ ชื่อ-สกุล รายการ เลือกข้อมูลที่จ าเป็นและไม่ จ าเป็นในการแก้ปัญหาได้ เลือกใช้การค านวณได้ ถูกต้อง หาค าตอบจากปัญหาได้ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 10 - 12 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 7 - 9 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรุง *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


เกณฑ์การประเมินทักษะ การถ่ายทอดรายละเอียด รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. เลือกข้อมูลที่จ าเป็นและ ไม่จ าเป็นในการแก้ปัญหา ได้ สามารถแยกข้อมูล ที่จ าเป็นออกจาก ปัญหาได้ถูกต้อง 100% สามารถแยกข้อมูล ที่จ าเป็นออกจาก ปัญหาได้ถูกต้อง 70% ขึ้นไป สามารถแยกข้อมูล ที่จ าเป็นออกจาก ปัญหาได้ถูกต้อง ต่ ากว่า 69% ไม่สามารถแยก ข้อมูลที่จ าเป็นออก จากปัญหาได้ 2. เลือกใช้การค านวณได้ ถูกต้อง สามารถเลือก วิธีการค านวณได้ ถูกต้องเหมาะสม และกระชับ สามารถเลือก วิธีการค านวณได้ ถูกต้องเหมาะสม แต่ไม่มีความ กระชับ เลือกวิธีการ ค านวณได้ใน บางส่วน บางส่วน ต้องได้รับ ค าแนะน าหรือ อธิบายอย่าง ละเอียด ไม่สามารถเลือก วิธีการค านวณได้ 3. หาค าตอบจากปัญหาได้ แก้ปัญหาได้ด้วย ตนเองมีความ ถูกต้องรวดเร็ว แก้ปัญหาได้ด้วย ตนเองมีความ ถูกต้อง แก้ปัญหาได้ถูกต้อง แต่ต้องมีบุคคลอื่น ช่วยเหลือใน บางครั้ง ไม่สามารถ แก้ปัญหาได้ด้วย ตนเอง สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 8 - 12 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 7 - 9 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรุง *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


แบบประเมินทักษะการท างานกลุ่ม ค าชี้แจง ให้ท าเครื่องหมาย ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เลขที่ ชื่อ-สกุล รายการ 1. การวางแผนการ ท างาน 2. การปฏิบัติงาน 3. ความรับผิดชอบใน การท างาน 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 8 - 11 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 7 - 9 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรุง *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


เกณฑ์การประเมินการท างานกลุ่ม รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. การวางแผนการท างาน ก าหนดขั้นตอนการ ท างานและมอบ หมายงานไว้ล่วง หน้าอย่างเป็น ระบบ เหมาะสม กับเวลาและบุคคล ก าหนดขั้นตอนการ ท างานไว้ล่วงหน้า แต่ขาดการมอบ หมายงานให้กับ สมาชิกภายในกลุ่ม ไม่ได้ก าหนด ขั้นตอนการท างาน ไว้ล่วงหน้าแต่มีการ แบ่งหน้าที่ภายใน กลุ่ม ขาดการวางแผน และแบ่งงาน 2. การปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานกลุ่มตาม ขั้นตอนและภาระ งานที่ได้รับมอบ หมาย อย่างเป็น ระบบ ผลงานเสร็จ สมบูรณ์ตาม ก าหนดเวลา ปฏิบัติงานกลุ่มตาม ขั้นตอนและภาระ งานที่ทุกคนได้รับ มอบหมาย ผลงาน เสร็จสมบูรณ์ โดย ใช้เวลามากกว่าที่ ก าหนด ปฏิบัติงานร่วมกัน ภายในกลุ่ม ผลงาน เสร็จโดยใช้เวลา มากกว่าที่ก าหนด ปฏิบัติงานร่วมกัน ภายในกลุ่ม มี ผลงานส่งแต่ส่ง ล่าช้า 3. ความรับผิดชอบในการ ท างาน ร่วมกันคิดวางแผน และปฏิบัติงานกลุ่ม อย่างเป็นระบบ ทุก ขั้นตอน ร่วมกันปฏิบัติงาน กลุ่มทุกขั้นตอน ร่วมกันปฏิบัติงาน กลุ่มโดยครูต้อง ตักเตือนบ้าง ไม่ร่วมกัน ปฏิบัติงานกลุ่มโดย ครูต้องตักเตือน สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 8 - 12 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 7 - 9 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรุง *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


แบบประเมินคุณลักษณะ จิตวิทยาศาสตร์ ข้อที่ 6 มีความละเอียดรอบคอบ ค าชี้แจง ให้ท าเครื่องหมาย ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เลขที่ ชื่อ-สกุล รายการ สนใจเรื่องที่สังเกต ใช้ประสาทสัมผัสหลาย ทางในการสักเกต ไม่ลงความคิดเห็น ส่วนตัวในการสังเกต 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 10 - 12 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 7 - 9 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรุง *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะ จิตวิทยาศาสตร์ ข้อที่ 6 มีความละเอียดรอบคอบ รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. สนใจเรื่องที่สังเกต สามารถแยกข้อมูล ที่จ าเป็นออกจาก ปัญหาได้ถูกต้อง 100% สามารถแยกข้อมูล ที่จ าเป็นออกจาก ปัญหาได้ถูกต้อง 70% ขึ้นไป สามารถแยกข้อมูล ที่จ าเป็นออกจาก ปัญหาได้ถูกต้อง ต่ ากว่า 69% ไม่สามารถแยก ข้อมูลที่จ าเป็นออก จากปัญหาได้ 2. ใช้ประสาทสัมผัสหลาย ทางในการสักเกต สามารถเลือก วิธีการค านวณได้ ถูกต้องเหมาะสม และกระชับ สามารถเลือก วิธีการค านวณได้ ถูกต้องเหมาะสม แต่ไม่มีความ กระชับ เลือกวิธีการ ค านวณได้ใน บางส่วน บางส่วน ต้องได้รับ ค าแนะน าหรือ อธิบายอย่าง ละเอียด ไม่สามารถเลือก วิธีการค านวณได้ 3. ไม่ลงความคิดเห็น ส่วนตัวในการสังเกต แก้ปัญหาได้ด้วย ตนเองมีความ ถูกต้องรวดเร็ว แก้ปัญหาได้ด้วย ตนเองมีความ ถูกต้อง แก้ปัญหาได้ถูกต้อง แต่ต้องมีบุคคลอื่น ช่วยเหลือใน บางครั้ง ไม่สามารถ แก้ปัญหาได้ด้วย ตนเอง สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 8 - 12 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 7 - 9 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรุง *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


แบบประเมินสมรรถนะส าคัญผู้เรียน ชื่อ-สกุล เด็กชาย/เด็กหญิง ................................................................................................. เลขที่................... ค าชี้แจง : ให้ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วท าเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับระดับคุณภาพ สมรรถนะด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1.ความสามารถใน การสื่อสาร 1.1 มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร 1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของ ตนเอง โดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม 1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ 1.4 เจรจาต่อรอง เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ ได้ 1.5 เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและถูกต้อง 2.ความสามารถใน การคิด 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ 2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 2.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่างเหมาะสม 3.ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต 3.1 เรียนรู้ด้วยตนเองได้เหมาะสมตามวัย 3.2 สามารถท างานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้ 3.3 น าความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน 3.4 จัดการปัญหาและความขัดแย้งได้เหมาะสม 3.5 หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง สรุปคะแนน.................................คะแนน ถือว่า..........................................เกณฑ์ เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ าเสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 31 - 45 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 16 - 30 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 1 - 15 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชื่อ-สกุล เด็กชาย/เด็กหญิง ................................................................................................. เลขที่................... ค าชี้แจง : ให้ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วท าเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับระดับคุณภาพ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง 2. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจ าวัน 3. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และน าไปปฏิบัติได้ 4.2 รู้จักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เชื่อฟังค าสั่งสอนของบิดา - มารดา โดยไม่โต้แย้ง 4.4 ตั้งใจเรียน สรุปคะแนน.................................คะแนน ถือว่า..........................................เกณฑ์ เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ าเสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 15 - 21 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 8 - 14 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 1 – 7 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


แผนการจัดการเรียนรู้ที่2 รายวิชา วิทยาการค านวณ รหัสวิชา ว21103 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยที่ 2 การแก้ปัญหา เรื่อง ขั้นตอนการแก้ปัญหา เวลา 2 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงค านวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การท างาน และการแก้ปัญหาได้อย่าง มีประสิทธิภาพ รู้เท่าทันและมีจริยธรรม ตัวชี้วัด ว 4.2 ม. 1/1 ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพื่อแก้ปัญหาหรืออธิบายการท างานที่ พบในชีวิตจริง 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ (K) - อธิบายขั้นตอนการแก้ปัญหา 2. ด้านทักษะ (P) - ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน 3. ด้านคุณลักษณะ (A) - จิตวิทยาศาสตร์ ข้อที่ 1 มีเหตุผล 3. สาระส าคัญ การคิดและแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนจะช่วยให้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. สาระการเรียนรู้ 1. การแก้ปัญหามีขั้นตอนการแก้ปัญหา 4 ขั้นตอนได้แก่ - วิเคราะห์และก าหนดรายละเอียดของปัญหา - ออกแบบการแก้ปัญหา - ด าเนินการแก้ปัญหา - ตรวจสอบปละประเมินผล 2. การแก้ปัญหาตามขั้นตอนจะท าให้ตัดสินใจได้ดีขึ้น มีการมองปัญหาอย่างเป็นระบบขึ้น และมี หลักการในการแก้ไขปัญหาได้ดีกว่าเดิม 3. การแก้ปัญหาตามขั้นตอนจะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการคิดแบบมีเหตุผลและทักษะการคิดอย่างมี ระบบ System Thinking


5. สมรรถนะส าคัญผู้เรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย 3. ใฝ่เรียนรู้ 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. แบบฝึกหัดเรื่อง “ช่วยเจ้าปลาน้อย” 8. การวัดและประเมินผล ด้าน รายการประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์ 1. ความรู้ (K) - อธิบายขั้นตอนการแก้ปัญหา แบบฝึกหัดเรื่อง “ช่วยเจ้าปลาน้อย” ผ่านเกณฑ์ ระดับ “พอใช้” 2. ทักษะ (P) - ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน แบบฝึกหัดเรื่อง “ช่วยเจ้าปลาน้อย” - ทักษะการท างานกลุ่ม แบบประเมิน 3. คุณลักษณะ (A) - จิตวิทยาศาสตร์ ข้อที่ 1 มีเหตุผล แบบประเมิน 4. สมรรถนะ - ความสามารถในการคิด - ความสามารถในการแก้ปัญหา - ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต แบบประเมิน 5. คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - ซื่อสัตย์สุจริต - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ แบบประเมิน


9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้(ใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบ 4 Mat) ชั่วโมงที่ 1 (ใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบ 4 Mat) ขั้นที่ 1 การสร้างประสบการณ์ครูให้นักเรียนดู VDO เรื่อง Mr. Bean ตอน CARWASH เพื่อดูปัญหาและการแก้ปัญหาของ Mr. Bean ขั้นที่ 2 การวิเคราะห์ประสบการณ์นักเรียนช่วยกันบอกว่าใน VDO ที่ได้ดูว่ามีปัญหา อะไรบ้าง เขาแก้ปัญหาอย่างไร และผลจากการแก้ปัญหาคืออะไร ขั้นที่ 3 การบูรณาการสิ่งที่ได้จากการสังเกตไปสู่ความคิดรวบยอด นักเรียนจับคู่กับ เพื่อนที่นั่งด้านข้าง เพื่อแลกเปลี่ยนปัญหาและการแก้ปัญหาที่เจอ โดยมีหัวข้อดังนี้ - ปัญหาที่เจอพร้อมกับความรู้สึกของเราเมื่อเจอปัญหานั้น - วิธีการจัดการกับปัญหาและความรู้สึกของตนเอง - เราด าเนินการแก้ปัญหาอย่างไร - ปัญหานั้นเกิดขึ้นกับตัวเราอีกหรือไม่ ถ้าเกิดอีกเราจัดการกับมันอย่างไรและ ความรู้สึกเราต่อปัญหานั้นเป็นอย่างไร ชั้นที่ 4 การพัฒนาความคิดรวบยอด ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแก้ปัญหา ซึ่งมี ขั้นตอนการแก้ปัญหาอยู่ 4 ขั้นตอน - วิเคราะห์และก าหนดรายละเอียดของปัญหา โดยเราจะเอาแนวคิดเชิง นามธรรมมาประยุกต์ใช้ในขั้นตอนนี้ จากนั้นให้มองปัญหาเป็นระบบ Input Process Output - ออกแบบการแก้ปัญหา วางแผนการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน Algorithm - ด าเนินการแก้ปัญหา ลงมือแก้ปัญหาตามขั้นตอนที่ออกแบบไว้ - ตรวจสอบและประเมินผล ตรวจผลลัพธ์ที่ด าเนินการแก้ปัญหา ถ้าเจอ ข้อผิดพลาดก็ไปวางแผนและด าเนินการแก้ปัญหาอีกรอบจนไม่พบข้อผิดพลาด รวมถึงการประเมินผลในการ แก้ปัญหา ขั้นที่ 5 ลงมือปฏิบัติตามความคิดรวบยอด ครูให้นักเรียนแก้ปัญหาโดยใช้ขั้นตอนการ แก้ปัญหาทั้ง 4 ขั้นตอนจากปัญหาการล้างรถของ Mr. Bean โดยไม่เปิดสื่อใดๆ ขั้นที่ 6 ปรับแต่งแนวคิด นักเรียนค้นหาข้อมูลทางสื่อต่างๆและน ามาปรับปรุงการ แก้ปัญหา ขั้นที่ 7 น าเสนอชิ้นงาน นักเรียนน าเสนอชิ้นงานของตนเองให้กับเพื่อนๆรอบข้างและ เลือกงานที่ดีที่สุดมาน าเสนอหน้าชั้นเรียนจ านวน 3 คน นักเรียนและคุณครูร่วมกันสะท้อนแนวคิดของนักเรียนที่น าเสนอพร้อมกับโหวต งานที่ชอบที่สุด ขั้นที่ 8 แลกเปลี่ยนแนวคิด ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้และการน าความรู้ไปใช้ใน การด าเนินชีวิต


ชั่วโมงที่ 2 (ใช้รูปแบบกลุ่มร่วมมือในลักษณะ Jigsaw) ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1. นักเรียนท ากิจกรรม Brain Gym เตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่บทเรียน 2. นักเรียนร่วมกันหาทางแก้ปัญหา กิจกรรมสัตว์ในสวนสัตว์ ในกิจกรรมจากบทที่แล้วมา เขียนเป็นการออกแบบการแก้ปัญหาทั้ง 4 ขั้น (ทบทวนบทเรียน) 3. ครูน าการแก้ปัญหามาเขียนเป็นผังงานให้นักเรียนดู ขั้นสอน 1. นักเรียนเข้ากลุ่ม กลุ่มละ 5 คน จากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้เกี่ยวกับ สัญลักษณ์ผังงานที่ครูเตรียมไว้ภายในเวลาที่ก าหนด 2. ครูจัดกลุ่มใหม่ให้นักเรียน โดยสมาชิกภายในกลุ่มใหม่จะประกอบด้วย คนที่มีความรู้ เกี่ยวกับผังงานที่แตกต่างกัน 3. นักเรียนน าความรู้ในกลุ่มเก่ามาแลกเปลี่ยนกันและสรุปความรู้กันในกลุ่มใหม่ แล้วสรุป ลงในกระดาษ 4A 4. นักเรียนในแต่ละกลุ่มร่วมกันแก้ปัญหา “การหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า” โดยแก้ปัญหาตาม ขั้นตอนการแก้ปัญหา โดยในขั้นออกแบบการแก้ปัญหาให้นักเรียนเขียนเป็นผังงาน 5. นักเรียนแต่ละกลุ่ม ร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกลุ่ม โดยครูผู้สอนร่วมแสดงความ คิดเห็น 6. ครูและนักเรียนร่วมเฉลย “การหาพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า” พร้อมกับสรุปความรู้เกี่ยวกับ สัญลักษณ์ผังงาน 7. นักเรียนท าแบบฝึกหัดเรื่อง “ช่วยเจ้าปลาน้อย” ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้และสิ่งที่ได้จากการท ากิจกรรมในชั้นเรียน 9. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ สื่อ 1. หนังสือเรียน วิทยาการค านวณ มัธยมศึกษาปีที่ 1 2. แบบฝึกหัดเรื่อง “ช่วยเจ้าปลาน้อย” 3. PowerPoint เรื่อง การแก้ปัญหา 4. ชุดกิจกรรม เรื่อง สัญลักษณ์ผังงาน


แหล่งเรียนรู้ 1. ขั้นตอนการแก้ปัญหา 4 ขั้นตอน http://robotm1.weebly.com/358636333657360936053629360935853634361936 493585365736113633359736273634-4-3586363336573609360536293609.html 2. Google Site โดย ครูฐิตาภา สายัณห์ เรื่อง ขั้นตอนการแก้ปัญหา https://sites.google.com/a/srp.ac.th/technologym1/khan-txn-kar-kae-payha namthrrm 3. Quizlet การเรียนรู้ค าศัพท์สัญลักษณ์และผังงาน https://quizlet.com/_b3vmyl?x=1jqt&i=1vs5yp


10. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1. สรุปผลการจัดการเรียนรู้ นักเรียนจ านวน..................................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้................คน คิดเป็นร้อยละ............................. ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้.............คน คิดเป็นร้อยละ............................. 2. ผลการเรียนรู้ 2.1 ด้านความรู้(K) ....................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................................................... ........... ........................................................................................................................ .................................................. 2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ(P) ............................................................................................................................. ............................................. .................................................................................................................................. ........................................ .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. 2.3 ด้านเจตคติ(A)/คุณลักษณะฯ/สมรรถนะตามหลักสูตรฯ ............................................................................................................................. ............................................. ........................................................................................................................................... ............................... ........................................................................................................................... ............................................... ............................................................................................................................. ............................................. 3. ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะอื่น ๆ …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. .................................................................................................................. ........................................................ ............................................................................................................................. ............................................. ลงชื่อ……………….…………….…………….ผู้สอน (นางสาวฐิตาภา สายัณห์) ต าแหน่งครูผู้ช่วย


ความคิดเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. ..................…………………………………………………………………………………….………………………………………………… …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. ลงชื่อ……………….…………….……………หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ (นางสาวภาวิณี แก้วก าเนิด) ต าแหน่ง........................... ความคิดเห็นหัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. ลงชื่อ……………….…………….………………………………….. (นางสุมาลี ซุ้นสุวรรณ) ต าแหน่ง ครูช านาญการพิเศษ ความคิดเห็นรองผู้บริหารกลุ่มบริหารงานวิชาการ …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. ………………………………………………………………………………….…………………………………………………..................... …………………………………………………………………………………….………………………………………………….................. ลงชื่อ……………….…………….…………… (นางปฐมา ชูศักดิ์) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ สุราษฎร์ธานี


ภาคผนวก 1. แบบฝึกหัดเรื่อง “ช่วยเจ้าปลาน้อย” แบบฝึกหัดเรื่อง “ช่วยเจ้าปลาน้อย” ชื่อ…………………………………………………………..……………………………… ชั้น............ เลขที่........... ขั้นที่ 1 วิเคราะห์ปัญหา - สิ่งที่ปลาน้อยต้องการให้เราหา : …………………………….…………………………………………………………… - สิ่งที่โจทย์ให้มา : ….……………………..………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… - วิธีหาค าตอบ : ….…………………………………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… - ข้อมูลที่จ าเป็นในการหาค าตอบ : ….………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… ปลาน้องตัวหนึ่งอาศัยอยู่ในตู้ปลารูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีความกว้าง 60 เซนติเมตร, ความยาว 30 เซนติเมตร และมีความสูงอยู่ที่ 30 เซนติเมตร ถ้าต้องการใส่น้ าครึ่งหนึ่งของตู้ เจ้าปลาน้อยอยากรู้ว่าจะมีปริมาณน้ าอยู่ในตู้กี่ลูกบาศก์เซนติเมตร เจ้าปลาน้อยมีค าใบ้: พื้นที่ทั้งหมดของตู้ปลาหาได้จากการน า ความกว้าง x ความยาว x ความสูง 2.ออกแบบการแก้ปัญหาโดยการ วาดผังงาน 3.ด าเนินการแก้ปัญหา (แสดงวิธีท า) .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... 4. ค าตอบที่ได้ .................................................................................... .................................................................................... ....................................................................................


2. ชุดกิจกรรม เรื่อง สัญลักษณ์ผังงาน ใบความรู้


ใบความรู้ กลุ่มที่ 1 ใบความรู้ กลุ่มที่ 2


ใบความรู้ กลุ่มที่ 3 ใบความรู้ กลุ่มที่ 4


ใบความรู้ กลุ่มที่ 5 ใบความรู้ กลุ่มที่ 6


ชุดกิจกรรม เรื่อง สัญลักษณ์ผังงาน สมาชิกในกลุ่ม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/..... 1.ชื่อ…………………………………………………เลขที่........ 2.ชื่อ…………………..…………….…………………เลขที่........ 3.ชื่อ…………………………………………………เลขที่........ 4.ชื่อ…………………..…………….…………………เลขที่........ 5.ชื่อ…………………………………………………เลขที่........ 6.ชื่อ…………………..…………….…………………เลขที่........ ขั้นที่ 1 วิเคราะห์ปัญหา - สิ่งที่ปลาน้อยต้องการให้เราหา : …………………………….…………………………………………………………… - สิ่งที่โจทย์ให้มา : ….……………………..………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… - วิธีหาค าตอบ : ….…………………………………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… - ข้อมูลที่จ าเป็นในการหาค าตอบ : ….………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… สามเหลี่ยมอันหนึ่ง มีฐานยาว 10 เซนติเมตร และความสูง 6 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ของสามเหลี่ยมอันนี้ โดยใช้ขั้นตอนการแก้ปัญหา ค าใบ้: สูตรพื้นที่สามเหลี่ยม 1/2*ฐาน*สูง 2.ออกแบบการแก้ปัญหาโดยการ วาดผังงาน 3.ด าเนินการแก้ปัญหา (แสดงวิธีท า) .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... .................................................................................... 4. ค าตอบที่ได้ .................................................................................... .................................................................................... ....................................................................................


แบบประเมินความรู้ อธิบายขั้นตอนการแก้ปัญหา จากแบบฝึกหัดเรื่อง “ช่วยเจ้าปลาน้อย” เลขที่ ชื่อ-สกุล คะแนนที่ท า ได้ สรุป ผ่าน ไม่ ผ่าน สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 8 – 10 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 5 - 7 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรุง *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


แบบประเมินทักษะออกแบบวิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน ค าชี้แจง ให้ท าเครื่องหมาย ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เลขที่ ชื่อ-สกุล รายการ การใช้แนวคิดเชิงนามธรรม ในการมองปัญหา การเขียนอธิบายการออกแบบ การแก้ปัญหาตามขั้นตอนการ แก้ปัญหา คุณภาพของผลงานและการ น าเสนอข้อมูลในกระดาษ 1 2 3 1 2 3 1 2 3 สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 7 - 9 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรุง *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


เกณฑ์การประเมินทักษะ การออกแบบวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงนามธรรม รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 ดี 2 พอใช้ 1 ปรับปรุง 1. การใช้แนวคิดเชิง นามธรรมในการมองปัญหา ใช้แนวคิดเชิงนามธรรมใน การเลือกข้อมูลที่จ าเป็น ออกจากข้อมูลที่ไม่จ าเป็น ได้ทั้งหมด 100% ใช้แนวคิดเชิงนามธรรมใน การเลือกข้อมูลที่จ าเป็น ออกจากข้อมูลที่ไม่จ าเป็น ได้บางส่วน 70%-99% ใช้แนวคิดเชิงนามธรรมใน การเลือกข้อมูลที่จ าเป็น ออกจากข้อมูลที่ไม่จ าเป็น ได้น้อยกว่า 69% 2. การเขียนอธิบายการ ออกแบบการแก้ปัญหาตาม ขั้นตอนการแก้ปัญหา เขียนอธิบายการแก้ปัญหา ตามขั้นตอนการแก้ปัญหา ทั้ง 4 ขั้นตอนได้ถูกต้อง 80% - 100% เขียนอธิบายการแก้ปัญหา ตามขั้นตอนการแก้ปัญหา ทั้ง 4 ขั้นตอนได้ถูกต้อง บางส่วน 50% - 79% เขียนอธิบายการแก้ปัญหา ตามขั้นตอนการแก้ปัญหา ทั้ง 4 ขั้นตอนได้ น้อยกว่า 49% 3. คุณภาพของผลงานและ การน าเสนอข้อมูลใน กระดาษ แสดงออกถึงการวางแผน รูปแบบการน าเสนอข้อมูล ได้อย่างเป็นล าดับขั้นตอน เข้าใจง่าย แสดงออกถึงการวางแผน รูปแบบการน าเสนอข้อมูล ได้อย่างเป็นล าดับขั้นตอน เข้าใจง่ายบางส่วน การวางแผน รูปแบบการ น าเสนอข้อมูลยังไม่เป็น ล าดับขั้นตอน เข้าใจยาก สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 7 - 9 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรุง *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


แบบประเมินทักษะการท างานกลุ่ม ค าชี้แจง ให้ท าเครื่องหมาย ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เลขที่ ชื่อ-สกุล รายการ 1. การวางแผน การท างาน 2. การปฏิบัติงาน 3. ความรับผิดชอบ ในการท างาน 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 10 - 12 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 7 - 9 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 4 - 6 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1 - 3 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรุง *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


เกณฑ์การประเมินการท างานกลุ่ม รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. การวางแผนการท างาน ก าหนดขั้นตอนการ ท างานและมอบ หมายงานไว้ล่วง หน้าอย่างเป็น ระบบ เหมาะสม กับเวลาและบุคคล ก าหนดขั้นตอนการ ท างานไว้ล่วงหน้า แต่ขาดการมอบ หมายงานให้กับ สมาชิกภายในกลุ่ม ไม่ได้ก าหนด ขั้นตอนการท างาน ไว้ล่วงหน้าแต่มีการ แบ่งหน้าที่ภายใน กลุ่ม ขาดการวางแผน และแบ่งงาน 2. การปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานกลุ่มตาม ขั้นตอนและภาระ งานที่ได้รับมอบ หมาย อย่างเป็น ระบบ ผลงานเสร็จ สมบูรณ์ตาม ก าหนดเวลา ปฏิบัติงานกลุ่มตาม ขั้นตอนและภาระ งานที่ทุกคนได้รับ มอบหมาย ผลงาน เสร็จสมบูรณ์ โดย ใช้เวลามากกว่าที่ ก าหนด ปฏิบัติงานร่วมกัน ภายในกลุ่ม ผลงาน เสร็จโดยใช้เวลา มากกว่าที่ก าหนด ปฏิบัติงานร่วมกัน ภายในกลุ่ม มี ผลงานส่งแต่ส่ง ล่าช้า 3. ความรับผิดชอบในการ ท างาน ร่วมกันคิดวางแผน และปฏิบัติงานกลุ่ม อย่างเป็นระบบ ทุก ขั้นตอน ร่วมกันปฏิบัติงาน กลุ่มทุกขั้นตอน ร่วมกันปฏิบัติงาน กลุ่มโดยครูต้อง ตักเตือนบ้าง ไม่ร่วมกัน ปฏิบัติงานกลุ่มโดย ครูต้องตักเตือน สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 10 - 12 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 7 - 9 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1 - 4 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรุง *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


แบบประเมินทักษะคุณลักษณะ จิตวิทยาศาสตร์ ข้อที่ 1 มีเหตุผล ค าชี้แจง ให้ท าเครื่องหมาย ลงในช่องรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เลขที่ ชื่อ-สกุล รายการ การเห็นคุณค่าใน การใช้เหตุผล การอธิบาย ความคิด การรวบรวม ข้อมูลก่อนสรุป 1 2 3 1 2 3 1 2 3 สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 7 – 9 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 4 - 6 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1 - 3 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรุง *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะ จิตวิทยาศาสตร์ ข้อที่ 1 เป็นคนมีเหตุผล รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 การเห็นคุณค่าใน การใช้เหตุผล ไม่เชื่อโชคลางหรือ ค าท านายที่ไม่ สามารถอธิบาย ตามวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ได้ เชื่อโชคลางหรือค า ท านายที่ไม่สามารถ อธิบายตามวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ได้ บางครั้ง เชื่อโชคลางหรือค า ท านายที่ไม่สามารถ อธิบายตามวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ได้ การอธิบาย ความคิด พยายามอธิบาย หรือแสดงความคิด ต่อสิ่งต่างๆ ในแง่ เหตุและผล พร้อม ทั้งหาความสัมพันธ์ ของเหตุและผลที่ เกิดขึ้นทุกครั้ง พยายามอธิบาย หรือแสดงความคิด ต่อสิ่งต่าง ๆ ในแง่ เหตุและผล พร้อม ทั้งหาความสัมพันธ์ ของเหตุและผลที่ เกิดขึ้นบางครั้ง ไม่พยายามอธิบาย หรือแสดงความคิด ต่อสิ่งต่าง ๆ ในแง่ เหตุและผล และไม่ สนใจหาความ สัมพันธ์ของเหตุ และผลที่เกิดขึ้น การรวบรวม ข้อมูลก่อนสรุป รวบรวมข้อมูล อย่างเพียงพอทุก ครั้ง ก่อนจะลง ข้อสรุปเรื่องราว ต่าง ๆ รวบรวมข้อมูล อย่างเพียงพอเป็น บางครั้ง ก่อนจะลง สรุปเรื่องราวต่าง ๆ ไม่เคยรวบรวม ข้อมูลอย่าง เพียงพอ ก่อนจะลง สรุปเรื่องราวต่าง ๆ สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 7 – 9 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 4 - 6 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ คะแนน 1 - 3 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรุง *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


แบบประเมินสมรรถนะส าคัญผู้เรียน ชื่อ-สกุล เด็กชาย/เด็กหญิง ................................................................................................. เลขที่................... ค าชี้แจง : ให้ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วท าเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับระดับคุณภาพ สมรรถนะด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1.ความสามารถใน การคิด 1.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 1.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ 1.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ 1.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 1.5 ตัดสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่างเหมาะสม 2.ความสามารถใน การแก้ปัญหา 2.1 สามารถแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้ 2.2 ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา 2.3 เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงในสังคม 2.4 แสวงหาความรู้ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหา 2.5 สามารถตัดสินใจได้เหมาะสมตามวัย 3.ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต 3.1 เรียนรู้ด้วยตนเองได้เหมาะสมตามวัย 3.2 สามารถท างานกลุ่มร่วมกับผู้อื่นได้ 3.3 น าความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวัน 3.4 จัดการปัญหาและความขัดแย้งได้เหมาะสม 3.5 หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง สรุปคะแนน.................................คะแนน ถือว่า..........................................เกณฑ์ เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ าเสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 31 - 45 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 16 - 30 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 1 - 15 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ชื่อ-สกุล เด็กชาย/เด็กหญิง ................................................................................................. เลขที่................... ค าชี้แจง : ให้ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วท าเครื่องหมาย ลงในช่องที่ตรงกับระดับคุณภาพ คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง 2. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจ าวัน 3. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และน าไปปฏิบัติได้ 4.2 รู้จักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เชื่อฟังค าสั่งสอนของบิดา - มารดา โดยไม่โต้แย้ง 4.4 ตั้งใจเรียน สรุปคะแนน.................................คะแนน ถือว่า..........................................เกณฑ์ เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ าเสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน สรุปผลการผ่านเกณฑ์ คะแนน 15 - 21 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนน 8 - 14 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี คะแนน 1 – 7 คะแนน หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้ *ผู้เรียนต้องได้ระดับคุณภาพ พอใช้ จึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน


Click to View FlipBook Version