The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ถอดบทเรียนรู้ฯ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pornanan.ying, 2022-06-11 13:01:22

ถอดบทเรียนรู้ฯ

ถอดบทเรียนรู้ฯ

ถอดบทเรียนรู้ “โรงพยาบาลสนามเพื่อคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ

ถอดบทเรียนรู้

“โรงพยาบาลสนามบา้ นวทิ ยาศาสตร์สิรนิ ธรเพ่ือคนพิการ จงั หวดั ปทมุ ธาน”ี

1. บทนาและผลการดาเนินงานภาพรวม

กระทรวงการพั ฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยกรมส่งเสริมและพั ฒนาคุณภาพชีวิต
คนพิ การ (พก.) ตระหนักและมีความห่วงใยประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 ) โดยเฉพาะ “คนพิการ” ซ่ึงเป็นหน่ึงในกลุ่มเปราะบางในสังคม
ท่ีต้องประสบกับความยากลาบากในการดาเนินชีวิตเป็นฐานเดิมอยู่แล้ว ยิ่งได้รับผลกระทบซ้าจากสถานการณ์
COVID-19 ไม่ว่าจะเป็นคนพิการที่ติดเชื้อ COVID-19 หรือคนพิการท่ีขาดผู้ดูแลอันมีสาเหตุมาจากผู้ดูแลหรือ
บุคคลในครอบครัวติดเช้ือ COVID-19 ฯลฯ ซึ่งคนพิ การหรือองค์กรด้านคนพิการบางส่วน ได้แจ้งขอความ
ช่วยเหลือในยามวิกฤติมายังกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ จึงได้มีการประชุมหารือร่วมกับ
องค์กรด้านคนพิการ (ระดับชาติ) และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือบูรณาการเช่ือมโยงการให้ความช่วยคนพิการ
และครอบครัวท่ีเจ็บป่วยและได้รับผลกระทบในสถานการณ์ COVID-19 โดยเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2564
กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ได้ประชุมหารือมาตรการป้องกันและช่วยเหลือคนพิการในช่วง
สถานการณ์ COVID - 19 ระลอกที่ 3 ร่วมกับนายมณเฑียร บุญตัน สมาชิกวุฒิสภา ผู้นาองค์กรด้านคนพิการ
ผู้ทรงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานเครือข่าย จากสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เครือข่ายคนพิการรักสุขภาพ ภาคีเครือข่ายขนส่งมวลชนทุกคนต้องขึ้นได้
เพื่อหารือประเด็นการเตรียมความพร้อมรองรบั การให้ความชว่ ยเหลือคนพิการในช่วงการแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรัส
COVID – 19 โดยได้มีการนาเสนอประเด็นการเข้าถึงบรกิ ารทางการแพทย์ของคนพิการ โดยพบว่าคนพิการติดเชื้อ
ท่ีไม่มอี าการรุนแรง และสามารถดูแลตวั เองได้ ไม่สามารถกักตัวที่โรงพยาบาลสนามได้ เน่ืองจากโรงพยาบาลสนาม
ท่ีมีอยู่ในปัจจุบันไม่มีความพร้อมในการดูแลคนพิการ โดยเฉพาะส่ิงอานวยความสะดวกสาหรับคนพิการ ซึ่งผลจาก
การหารอื ร่วมกันในครง้ั น้ี เปน็ จุดเร่มิ ต้นในการเกิด “โรงพยาบาลสนามสาหรับคนพิการ”

กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (พก.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข และสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จึงได้จัดต้ัง
โรงพยาบาลสนามบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธรเพื่อคนพิการ จังหวัดปทุมธานี สาหรับรองรับคนพิการท่ีติดเช้ือ
COVID – 19 ซึ่งการดูแลคนพิการมีความซับซ้อนและต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง

โดยโรงพยาบาลสนามดังกล่าว เป็นโครงการต้นแบบ (Prototype project) ท่ีบูรณาการงาน
ร่วมกันของ 3 กระทรวง เพ่ือให้คนพิการและครอบครัว (รวมถึงกลุ่มเปราะบาง) สามารถเข้าถึง
การบริการทางการแพทยไ์ ด้อย่างท่ัวถึงและเท่าเทียม โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ คนพิการและครอบครวั ที่

ติดเชื้อ COVID-19 ท่ีมีอายุ 15 - 65 ปี มีอาการป่วยคงท่ี รวมถึงสามารถดูแลช่วยเหลือตนเองได้ในระหว่าง
พักรักษาตวั ในโรงพยาบาลสนาม หรอื มญี าติดแู ล

1

ถอดบทเรยี นรู้ “โรงพยาบาลสนามเพื่อคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการ

ในท่ีประชุมคณะกรรมการส่งเสริมและพั ฒนาคุณภาพชีวิตคนพิ การแห่งชาติ (กพช.) ครั้งที่
2/2564 เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2564 โดยนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน มีมติ
รับทราบรายงานการจัดต้ังโรงพยาบาลสนามสาหรับคนพิการท่ีติดเช้ือ COVID-19 ในกลุ่มที่ไม่มีอาการ
รุนแรงและสามารถดูแลตนเองได้ โดยกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษย์ ร่วมกับกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข สานักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม อยู่ระหว่างการ
เตรียมความพร้อมในการจัดต้ังโรงพยาบาลสนามสาหรับการรองรับคนพิการที่ติดเช้ือ COVID-19 ซ่ึงเป็น
โครงการตันแบบ (Prototype project) เพื่อใหก้ ลมุ่ คนพิการสามารถเข้าถึงการบรกิ ารทางการแพทย์

1) ด้านอาคารสถานที่ และการจัดสภาพแวดลอ้ มสิ่งอานวยความสะดวก ณ อาคารบา้ นวิทยาศาสตร์
สิรินธร อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.) เป็นหน่วยงานรบั ผิดชอบหลกั

2) ด้านเทคโนโลยีส่ิงอานวยความสะดวกสาหรับคนพิ การ สานักงานพั ฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นหน่วยงานรับผดิ ชอบหลัก

3) ด้านการแพทย์ อุปกรณ์การตรวจรักษาเวชภัณฑ์ และบุคลากร กรมการแพทย์กระทรวง
สาธารณสุข เป็นหน่วยงานรบั ผดิ ชอบหลัก

4) ด้านส่ิงของอุปโภคบริโภคและชีวิตความเป็นอยู่ กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์ เปน็ หน่วยงานรับผดิ ชอบหลัก

โดยเม่ือวันที่ 26 พ ฤษภ าค ม 2564 นายจุรินทร์ ลักษณ วิศิ ษฏ์ รองนายกรัฐมนต รีและ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ พร้อมด้วย ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวง อว. และคณะผู้บริหารระดับสูงของ สธ./อว. และ พม. ลงพ้ืนที่ตรวจเย่ียมการเตรียมความพร้อม
จัดตั้งโรงพยาบาลสนามบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธรเพื่อคนพิการ ณ อาคารบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อุทยาน
วทิ ยาศาสตร์ประเทศไทย อาเภอคลองหลวง จงั หวัดปทมุ ธานี

2

ถอดบทเรียนรู้ “โรงพยาบาลสนามเพื่อคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ คนพิการ

โรงพยาบาลสนามบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธรเพื่อคนพิการ เปิดทาการอย่างเป็นทางการ
ในระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน – 30 กันยายน 2564 ด้วยความร่วมมือขององค์กรคนพิการในการ
เฝ้าระวัง ประสานแจ้งมายังกรม พก. ในกรณีมีคนพิ การ/ครอบครัว คนพิ การติดเช้ือ/ได้รับ
ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเช้ือ COVID-19 เพื่ อเข้ารับบริการในโรงพยาบาลฯ ท่ีมี
3 กระทรวงหลกั ในการขับเคล่อื นภารกจิ ตามหน้าท่สี าคัญ ดงั น้ี

1) สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สนับสนุนด้านอาคารสถานที่
และการจัดสภาพแวดล้อม ส่ิงอานวยความสะดวก และเทคโนโลยีนวัตกรรมเครื่องช่วยความพิการ
อาทิ ระบบสื่อสารสาหรับคนพิการทางการได้ยิน หรือส่ือความหมาย / ระบบงาน IT ที่เชื่อม
รองรับงานบริการดา้ นการแพทย์

2) กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ สนับสนุนด้านสวัสดิการสังคม ชีวิตความเป็นอยู่
และส่ิงของอุปโภคบริโภค โดยมีคาส่ังกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการท่ี ท่ี 745/2564
แต่งตั้งคณ ะทางานโรงพยาบาลสนามบ้านวิทยาศาสตร์สิ รินธรเพื่ อคนพิ การ ประกอบด้วย
ฝ่ายอานวยการ ฝ่ายบริจาค ฝ่ายบริหารสถานการณ์ด้านสวัสดิการคนพิการ ท่ีจะทาหน้าที่ในการ
ประสานงานด้านการบริการและอานวยความสะดวกในการใช้บริการโรงพยาบาลสนามฯ และการดูแล
จัดสรรส่ิงของ เคร่ืองอุปโภค บริโภค และของใช้ท่ีจาเป็นสาหรับคนพิ การและครอบครัวที่ได้รับ
ผลกระทบจากสถานการณ์วกิ ฤติตา่ งๆ โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้
➢ ประสานคนพิการ เพื่อสอบข้อเท็จจริง ประเมินสภาพปัญหาและรวบรวมข้อมูลด้วยกลไกการ
ดาเนินงานของทีม “เรามีเรา” เพ่ื อส่งต่อทีมบุคลากรทางการแพทย์ รพ.สนามฯ ให้ความ
ช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์/ การจัดบริการด้านสังคมและสวัสดิการ /การติดตามหาญาติ/
การติดตามผล รวมถึงการจัดเวรเจ้าหน้าที่ประจาการ 1-2 คน/วัน ปฏิบัติงานระหว่างเวลา

3

ถอดบทเรยี นรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพิการ

08.30 – 16.30 น. ณ โรงพยาบาลสนามฯ (ในบริเวณพ้ืนที่แยกส่วนสาหรับเจ้าหน้าท่ี) เพื่อทา
หน้าท่ีในการประสาน ส่งต่อ และให้ความช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการ
ในระหว่างที่คนพิการและครอบครัวพักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ รวมถึง
วางแผนการให้ความช่วยและติดตามภายหลังคนพิ การและครอบครัวหายจากอาการป่วยและ
ปลอดเชื้อ COVID-19 อาทิ รถรับ-ส่ง กลับบ้าน/ บริการสถานท่ีพักพิงสาหรับกลุ่มเปราะบาง
ในกรณีท่ีคนพิการและครอบครัวมีความกังวล หรือ ยังไม่สามารถกลับบ้านได้/ บริการตามสิทธิ
ประโยชน์ของคนพิการและครอบครัว เปน็ ต้น
➢ จัดหาพนักงานขับรถยนต์ พร้อมรถยนต์รับ-ส่ง เพ่ือสนับสนุนภารกิจร่วมกับสายด่วน 1668
ในการรับ - ส่งผู้ป่วย ทั้งนี้ สถาบันสิรินธรฯ ได้ทาการตรวจเช็คระบบรถยนต์ก่อนการเปิด
ให้บรกิ ารโรงพยาบาลสนามอยา่ งเปน็ ทางการ
➢ จัดหาอาหาร 3 มื้อ สาหรับคนพิการและครอบครัว พร้อมทั้งเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงาน รวมถึง
การกระจายส่ิงของอุปโภคบริโภคท่ีจาเป็นในการดารงชีวิต เหมาะสมกับความเป็นอยู่ของ
คนพิการและครอบครัว ซึ่งได้รับจากการสนับสนุนจากผู้ที่มีความประสงค์ให้การบริจาคเพื่อ
คนพิการและกลุ่มเปราะบาง โดยได้รับการสนับสนุน (บริจาค) จากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

เปน็ อาหาร อาหารวา่ ง น้าดมื่ ของใช้จาเปน็ แก่ผู้ปว่ ยและเจ้าหน้าที่ มลู คา่ กว่า 6.6 ลา้ นบาท

➢ ประสานภารกิจภาพรวมอื่นๆ ในการบริหารจัดการโรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ ร่วมกับ
กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข และสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(สวทช.) กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม ต่อไป

3) สถาบันสิรินธรเพ่ื อการฟ้ ืนฟู สมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ ดาเนินภารกิจในด้านการ
รกั ษาพยาบาล/ คดั กรอง /การประสานส่งต่อผ้ปู ่วยพิการท่มี ีอาการค่อนข้างรุนแรงไปยงั โรงพยาบาล
ที่เหมาะสม จัดอุปกรณ์การตรวจรักษา/ เวชภัณฑ์/ บุคลากรทางการแพทย์ รวมถึงการจัดหา
รถฉกุ เฉนิ /แทก็ ซรี่ ับคนพิการทตี่ ิดเชอื้ COVID-19 เข้ารบั การรกั ษา ฯลฯ
นอกจากความร่วมมือของ 3 กระทรวง ข้างต้นแล้ว ยังได้รับการสนับสนุนของภาคีทุกภาคส่วน

ท่เี กี่ยวข้องทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม โดยจังหวดั ปทมุ ธานีได้มี
คาส่ังท่ี 5227/2564 ลงวันท่ี 30 พฤษภาคม 2564 มอบหมายเทศบาลเมืองท่าโขลงสนับสนุนการดาเนินงาน
ของโรงพยาบาลสนามฯ โดยให้บรู ณาการ ประสานงานและดาเนนิ การตามอานาจหน้าท่หี ลกั เกณฑ์และแนวทาง
ปฏิบัติท่ีกระทรวงมหาดไทยและกระทรวงสาธารณสุขกาหนด อีกท้ังกลไกการสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริม
และพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการดว้ ย ซงึ่ นบั เป็นพลังสาคัญทีร่ องรับการให้บรกิ ารแก่คนพิการและครอบครัว
ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

ตลอดระยะเวลากวา่ 4 เดือน ด้วยการบริหารจัดการและแนวทางการดาเนินงานที่มีประสิทธภิ าพ
ของ โรงพยาบาลสนามบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธรเพื่อคนพิการ จังหวัดปทุมธานี ของกลไก 3 กระทรวง
ประสานหลัก และพลังการสนับสนุนของทุกภาคส่วนท่ีทาให้โรงพยาบาลสนามฯ สามารถปฏิบัติภารกิจได้
อย่างสมบูรณ์แบบและปรากฎผลสะท้อนถึงความสาเร็จด้วยการรักษาผู้ป่วยและส่งกลับบ้านได้กว่า 650 ราย
(ส่งผู้ป่วยรายสุดท้ายกลับบ้าน ณ วันที่ 27 กันยายน 2564) โดยไม่ปรากฏว่ามีผู้ป่วยเสียชีวิต และไม่มี
บุคลากรผู้ให้บริการติดเชื้อแม้แต่เพียงรายเดียว และด้วยสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของ COVID-19
เร่ิมคล่ีคลาย ผู้ติดเชื้อรายใหม่เริ่มลดลง อัตราการครองเตียงลดลงและผู้ป่วยกลับไปแยกกักตัวในที่พัก
จนครบกาหนด ประกอบกับระบบการให้บริการทางสาธารณสุขรองรับการดูแลผู้ป่วยที่บ้านได้เป็นอย่างดี
จึงนามาสู่การยุติภารกิจของโรงพยาบาลสนามฯ ที่จะขยายผลไปสู่โรงพยาบาลสนามตามประเภทความพิการ

4

ถอดบทเรียนรู้ “โรงพยาบาลสนามเพื่อคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพิการ

การจัดต้ังศูนย์พั กคอย (Community Isolation หรือ C.I.) ผู้ป่วย COVID-19 กลุ่มสีเขียว สาหรับคนพิ การ
ทุกประเภทความพิการ รวมถึงการส่งต่อในระบบ Home Isolation/ Community Isolation ตามหลักเกณฑ์
แนวทางทกี่ ระทรวงสาธารณสุขกาหนดต่อไป

ถึงแม้ว่าจะมีการยุติภารกิจโรงพยาบาลสนามบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร จังหวัดปทุมธานี แล้ว
กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ยังคงมุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจในการส่งเสริมให้คนพิการ
เข้าถึงสิทธิ และสวัสดิการอย่างท่ัวถึง โดยมีช่องทางติดต่อขอความช่วยเหลือคนพิการท่ีได้รับผลกระทบ
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส COVID- 19 ผ่านโครงการ “เรามีเรา” เพื่อช่วยเหลือ
คนพิการที่มีภาวะความเส่ียงในสถานการณ์ COVID -19 ท่ัวประเทศ ซ่ึงคนพิการสามารถขอความช่วยเหลือได้ท่ี
ศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 และสายด่วนคนพิ การ 1479 กรณี คนพิ การทางการได้ยินหรือ
สื่อความหมายสามารถติดต่อผ่านแอฟพลิเคชัน ศูนย์บริการถ่ายทอดการสื่อสารแห่งประเทศไทย (TTRS VDO)
เพ่ือต่อสาย 1300 หรือ 1479 ประกอบกับยังคงภารกิจของการประสานติดตามและให้กาลังใจคนพิการ
ในสถานการณ์ COVID-19 พ้ื นท่ีกรุงเทพมหานคร เพ่ือรับฟังการสะท้อนปัญหาและความต้องการของ
คนพิการ และจะประสานหาสถานท่ีรักษาพยาบาลตามอาการ เช่น การประสานเพ่ือเข้าสู่ Home Isolation
สาหรับผู้ป่วยโควิด-19 ที่มีอาการน้อย /ศูนย์พักคอยในชุมชน (Community Isolation) รวมทั้งการติดตาม
อาการและให้คาแนะนาปรึกษาในระหว่างรอเข้ารับการรักษาพยาบาล ให้คาแนะนา เสริมกาลังใจ จัดส่งเคร่ือง
อุปโภคบริโภคทางไปรษณีย์ วางแผนการติดตามและให้ความช่วยเหลือหลังจากได้รับการรักษาอาการป่วย
เรยี บร้อยแลว้ อีกด้วย

2. การขบั เคลือ่ นการดาเนนิ งานในชว่ งสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ COVID-19
โดยกรมส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ

1) โครงการ “เรามเี รา” เพ่ือช่วยเหลือคนพิการทีม่ ีภาวะความเส่ียงในสถานการณ์ COVID -19
ทั่วประเทศ ดังน้ี

(1) กลุ่มคนพิ การที่ติดเช้ือ จะมีการช่วยเหลือประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่ อจัดหา
โรงพยาบาลให้กบั คนพิการ เนอื่ งจากคนพิการเป็นกลุ่มทีม่ คี วามเสี่ยงทีจ่ ะมอี าการรนุ แรงตอ่ โรคสูง

(2) กลุ่มคนพิการที่อาศัยกับในครอบครัวท่ีมีผู้ติดเช้ือ จะดาเนินการประสานหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
เพ่ือตรวจโรคให้กับคนพิการท่ีมีความเสี่ยงสูง และให้ความช่วยเหลือขั้นพ้ืนฐาน ตามจาเป็นเหมาะสมแก่คนพิการ
พร้อมให้คาปรกึ ษาในการดแู ลตนเองอย่างถูกต้อง

(3) กลุ่มคนพิการที่อยู่ในพื้นท่ีเส่ียงหรือมีความวิตกกังวล จะดาเนินการให้คาปรึกษาเพื่อให้คนพิการ
คลายกังวล และให้ความชว่ ยเหลือข้ันพื้นฐานตามจาเปน็ เหมาะสมแก่คนพิการ พร้อมให้คาปรกึ ษาในการดูแลตนเอง
อย่างถกู ต้อง

โดยคนพิการสามารถขอความช่วยเหลือได้ท่ีศูนย์ช่วยเหลือสังคม สายด่วน 1300 และสาย
ด่วนคนพิการ 1479 กรณีคนพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมายสามารถติดต่อผ่าน
แอพพลิเคชัน ศูนย์บริการถ่ายทอดการสื่อสารแห่งประเทศไทย (TTRS VDO) เพ่ือตอ่ สาย
ด่วน 1300 หรือ 1479 ปัจจุบันมีคนพิการที่ขอรับความช่วยเหลือจากทีม “เรามีเรา” แล้ว
จานวน 310 ราย และชว่ ยเหลอื ถุงยงั ชีพ 30,925 ราย

5

ถอดบทเรียนรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพิการ

นอกจากน้ี มีการประสานติดตามและให้กาลังใจคนพิการในสถานการณ์ COVID-19

พื้ นที่กรุงเทพมหานคร จานวน 2,161 ราย เพ่ือสะท้อนปัญหาและความต้องการของคนพิการ

ซ่ึงพบว่าคนพิ การส่วนมากมีรายได้ไม่เพี ยงพอ ประสบปัญหาการว่างงาน ไม่สามารถประกอบอาชีพได้

ขาดรายได้ เน่ืองจาก COVID-19 รวมท้ังมีความวิตกกังวลจาก COVID-19 รวมไปถึงผู้ดูแลคนพิการประสบ

ปญั หาเร่อื งภาระคา่ ใช้จ่ายในการดแู ลคนพิการ โดยกาหนดกลุม่ เป้าหมายคนพิการให้กบั เจ้าหน้าท่ี WFH โทรหา

คนพิการ เพ่ือรับฟังปัญหาและหาแนวทางการช่วยเหลือเบ้ืองต้นแก่คนพิการที่ได้รับผลกระทบ โดยแบ่ง

กลมุ่ เปา้ หมายในเขต กทม. จานวน 1,560 คน ดังนี้

1. คนพิการทยี่ ื่นเรือ่ งขอความช่วยเหลอื จานวน 527 คน

2. คนพิการจากบัตรสวัสดิการแห่งรฐั จานวน 200 คน

3. คนพิการทยี่ ่นื ขอกูย้ มื เงนิ จานวน 293 คน

4. คนพิการที่รอเข้าสถานสงเคราะห์ (กทม./ปรมิ ณฑล 11 แหง่ ) จานวน 540 คน

6

ถอดบทเรียนรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ

2) การจดั ตั้งโรงพยาบาลสนามและศูนย์พักคอยสาหรับคนพิการท่ตี ิดเชื้อ COVID - 19
7

ถอดบทเรียนรู้ “โรงพยาบาลสนามเพื่อคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ คนพิการ

(1) โรงพยาบาลสนามบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธรเพื่อคนพิการ จังหวัดปทุมธานี โดยกระทรวงการ
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ร่วมกับกระทรวง
สาธารณสุข กรมการแพทย์ และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สานักงานพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ จัดตั้งโรงพยาบาลสนามดังกล่าวเพ่ือรองรับคนพิการและครอบครัว
รวมท้ังกลุ่มเปราะบางท่ีติดเช้ือ COVID – 19 ซ่ึงมีอายุระหว่าง 15-65 ปี มีอาการป่วยคงที่ สามารถดูแล
ช่วยเหลือตนเองได้ ในระหว่างพักรักษาตัวในโรงพยาบาลสนาม หรือมีญาติดูแล โดยสามารถรองรับผู้ป่วยได้
จานวน 120 เตียง โดยสามารถรักษาผู้ป่วยและส่งกลับบ้านได้กว่า 650 ราย (ส่งผู้ป่วยรายสุดท้ายกลับบ้าน
ณ วันท่ี 27 กนั ยายน 2564)

(2) โรงพยาบาลสนามราชานุกูลเพื่อเด็กพิเศษและครอบครัว โดยกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์ กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ร่วมกับกรุงเทพมหานคร กรมการแพทย์
กรมสุขภาพจิต สถาบันราชานุกูล จัดตั้งโรงพยาบาลสนามเพ่ื อรองรับเด็กพิ การสติปัญ ญ าบกพร่อง
ออทิสติก สมาธิสั้น และบกพร่องการเรียนรู้ อายุระหว่าง 2-13 ปี และสมาชิกในครอบครัวที่อายุไม่เกิน 60 ปีท่ีติด
เชื้อโควิด-19 ท่ีติดเช้ือแต่ไม่มีอาการ หรือมีอาการเพียงเล็กน้อย (ผู้ป่วยสีเขียว) โดยสามารถรองรับผู้ป่วยได้
จ าน ว น
100 เตียง ปจั จบุ ันมผี ูป้ ว่ ยสะสม จานวน 75 ราย

(3) ศูนย์พักคอยเพ่ือส่งต่อ (Community Isolation for the Blind : CIB) สาหรับผู้ปว่ ยโควิด-
19 พิการทางสายตา บริเวณโรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ มูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในพระ
บรมราชินูปถัมภ์ กรุงเทพมหานคร และ พม. จัดต้ังศูนย์พักคอยเพ่ือรองรับผู้ป่วยพิการทางสายตาที่มีผล
ตรวจรับรองว่าติดเช้ือโควิด-19 ท่ีมีอาการระยะเริ่มต้นในระดับสีเขียว โดยสามารถรองรับผู้ป่วยได้จานวน 71
เตยี ง ปัจจุบันมีผปู้ ่วยสะสม จานวน 53 ราย (ขอ้ มูล ณ 29 กนั ยายน 2564)

(4) โรงพยาบาลสนาม โดยโรงพยาบาลในเครือเกษมราษฎร์และโรงพยาบาลเวิลด์เมดิคอล
ร่วมกับ สมาคมคนพิการแห่งประเทศไทย และภาคีที่เก่ียวข้อง โดยกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
ม่ันคงของมนุษย์ กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ประสานความร่วมมือกับภาคีที่เก่ียวข้องใน
การสนับสนุนภารกิจการคัดกรองและประสานส่งต่อผู้ปว่ ยพิการทตี่ ดิ เช้อื COVID-19 ให้ได้รบั บริการวินิจฉยั ที่
รวดเร็ว ลดอาการรุนแรงจากโรคและการเสียชีวิต โดยโรงพยาบาลสนามดังกล่าว สามารถรองรับผู้ป่วยที่มี
อาการไม่รุนแรงเข้ารับการักษาในรูปแบบ Hospitel ได้จานวน .........เตียง และหากมีอาการรุนแรงข้ึนสามารถ
นาส่งโรงพยาบาลต่อไป ปจั จุบันมผี ู้ป่วยพิการสะสม จานวน...........ราย

3) การดาเนินการเชงิ นโยบายในการขอจดั สรรโควตาวัคซีนใหแ้ ก่คนพิการ

8

ถอดบทเรยี นรู้ “โรงพยาบาลสนามเพื่อคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการ

(1) กระทรวงการพั ฒนาสังคมและความ่ันคงของมนุษย์ (พม.) โดยกรมส่งเสริมและพั ฒนา
คุณภาพชีวิตคนพิการ (พก.) เสนอประเด็นเร่ืองการจัดสรรโควตาวัคซีนให้แก่คนพิการต่อคณะกรรมการ
ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ในการประชุมครั้งท่ี 2/2564 เมื่อวันท่ี 12 พฤษภาคม
2564 โดยที่ประชุมเห็นชอบและมอบหมายให้ พม. มีหนังสือถึงศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรค
ตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) ทงั้ นี้ พม. มหี นังสือถึง ศบค. เม่ือวันที่ 24 พฤษภาคม 2564 ซึ่งมีสาระสาคัญ
ดงั น้ี

• การกาหนดโควตาวคั ซนี ป้องกนั โรคติดเชื้อ COVID – 19 ให้กับคนพิการทม่ี ีอายุระหวา่ ง 18-59
ปี จานวนกว่า 800,000 คน และช่องทางพิเศษ (fast track) สาหรบั คนพิการในการรับวัคซีน

• กาหนดรปู แบบและแนวทางการให้บริการคนพิการใหเ้ หมาะสมตามประเภทความพิการ และการ
ให้บรกิ ารแกค่ นพิการติดเตียง หรอื ไม่สามารถออกมารับวคั ซนี ได้

(2) การส่งเสรมิ การเขา้ ถึงวัคซีนปอ้ งกันโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)
1) กรุงเทพและปริมณฑล
เปิดรับลงทะเบียนฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อ COVID – 19 โดยเปิดระบบลงทะเบียนจองฉีด

วัคซีนป้องกันโรคดังกล่าวสาหรับคนพิการทุกประเภทความพิการ ที่มีอายุระหว่าง 18-59 ปี และอยู่อาศัยใน
เขตพื้นท่ีควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลได้แก่ นนทบุรี สมุทรปราการ
ปทุมธานี นครปฐม และสมุทรสาคร และประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ได้แก่ สถาบันสิรินธร
เพ่ือการฟ้ นื ฟู สมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ กรมการแพทย์ สถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิต และราช
วิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ เพ่ือจัดสรรวัคซีนและให้บริการแก่คนพิการ เพื่อลดความเส่ียงต่อคนพิการ และเพิ่ม
ช่องทางให้คนพิการสามารถเข้าถึงวัคซีนได้เพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ ได้มีการประสานวัคซีนให้คนพิการในพ้ืนที่สีแดง
แล้วกว่า 23,025 คน และคนพิการท่ีอยู่ในความดูแลของหน่วยงานในสังกัดกัด พก. ทั่วประเทศอีก 2,691 คน
(83.18%)

2) ส่วนภูมภิ าค
เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2564 กระทรวงการพั ฒ นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์

มีหนังสือถึงผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัดในฐานะประธานคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด ขอความร่วมมือ
พิจารณาฉีดวัคซีนให้กับผู้ป่วยติดเตียง ผู้สูงอายุ เด็ก คนพิการ คนไร้ที่พึ่ง คนไร้บ้าน และผู้รับบริการท่ีอยู่
ภายใต้การดูแลของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ท้ังน้ี กรมส่งเสริมและพัฒนา
คุณ ภาพชีวิตคนพิ การได้เน้นย้าศู นย์บริการคนพิ การจังหวัดจัดทาแบบสารวจความต้องการของคนพิ การที่
ตอ้ งการรับวัคซีนภายในจงั หวัด เพ่ือดาเนนิ การจัดสรรวัคซนี ปอ้ งกันโรคดงั กล่าวสาหรับคนพิการ

ปัจจุบัน มีคนพิ การที่ได้รับการฉีดวัคซีนแล้วจานวน 511,943 รายท่ัวประเทศ คิดเป็น
25.92 % ของคนพิการท่ีอายุ 18 ปขี ้ึนไป (1,974,691 คน) (ข้อมูล ณ 30 สิงหาคม 2564)

4) ระดมรับส่ิงของบริจาคเพื่อชว่ ยเหลอื คนพิการ
รวบรวมการรับบริจาคเงิน-ส่ิงของจาเป็น เพื่อนาไปส่งต่อและช่วยเหลือคนพิการที่ประสบปัญหาในช่วง

สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ COVID -19

5) การขยายกาหนดเวลา และการตอ่ อายบุ ตั รประจาตัวคนพิการ
คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ เห็นชอบการแก้ไขระเบียบฯ เพื่อขยาย

กาหนดเวลา และการต่ออายุบัตรประจาตัวคนพิการกรณีหมดอายุซึ่งเดิมจะต้องทาภายใน 30 วัน นับต้ังแต่
หมดอายุ ให้คนพิการท่ีบัตรหมดอายุสามารถใช้บัตรเดิมออกไปอีก 6 เดือนนับต้ังแต่บัตรหมดอายุ ซ่ึงช่วยลด

9

ถอดบทเรียนรู้ “โรงพยาบาลสนามเพื่อคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ

ค ว า ม เ ส่ี ย ง มิ ใ ห้
คนพิการต้องเดนิ ทางออกจากบา้ นไดถ้ ึง 72,811 ราย

6) การขยายเวลาการกู้ยืมเงินกองทุนส่งเสริมและพั ฒนาคุณภาพชีวิตคนพิ การ (กรณีฉุกเฉิน) เพ่ื อการ
ประกอบอาชีพในสภาวะวกิ ฤติ COVID – 19

โดยขยายระยะเวลาส้ินสุดมาตรการ จาก 31 พฤษภาคม 2564 เป็นวันท่ี 30 กันยายน 2564 มีผู้ย่ืนคา
รอ้ งขอกูย้ ืมเงนิ จานวน 17,601 ราย อนุมตั ิเงินและทาสัญญาแล้ว 10,845 ราย เปน็ เงิน 108.45 ล้านบาท

7) การขยายเวลามาตรการการพักชาระหน้ีเงินกู้ยืมประกอบอาชีพของกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตคนพิ การสาหรับคนพิ การและผู้ดูแล โดยขยายจาก 31 มีนาคม 2564 เป็น 31 มีนาคม 2565 โดยใน
ระยะแรก มีผู้ประสงค์พักชาระหนี้ จานวน 10,572 ราย คิดเป็นเงินจานวน 62,000,000 บาท (ข้อมูล ณ วันที่ 31
มีนาคม 2564)

8) การแก้ไขประกาศอัตราวงเงินและรายการค่าใช้จ่ายที่กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
ให้การสนับสนุนแผนงานหรือโครงการเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (ฉบับท่ี 2) โดยเป็น
รายการค่าใช้จ่ายด้านสงเคราะห์ช่วยเหลือคนพิ การและครอบครัวคนพิ การท่ีประสบภัยพิ บัติ หรือได้รับ
ผลกระทบจากการระบาดของโรคตดิ ต่อหรอื สถานการณ์วกิ ฤตท่ีส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตคนพิการ ไดแ้ ก่

• รายการค่าอาหารเพื่อชว่ ยเหลือคนพิการและครอบครวั ทีป่ ระสบภัย จาก 30 บาทต่อมื้อเปน็ 50 บาท
ตอ่ ม้ือ วนั ละไม่เกิน 3 มอ้ื

• ค่าถุงยังชีพ ชุดละไม่เกิน 550 บาท/ครอบครัว ปัจจุบัน กองทุนได้จัดสรรกรอบเงินให้ 76 จังหวัด
จานวน 64.79 ลา้ นบาท เป็นจานวน 117,800 ถุง

• การจัดการศพ กรณีคนพิการเสียชวี ิต รายละไม่เกนิ 20,000 บาท

9) เงินสงเคราะห์ฟ้ นื ฟูสมรรถภาพคนพิการ
• พก. ไดร้ ับการจัดสรรงบประมาณเงินสงเคราะหง์ บประมาณ 19.5 ลา้ นบาท (เปา้ หมาย 6,500 คน)
สาหรับคนพิการที่ประสบปัญหาความเดอื ดร้อน อันเนื่องมาจากอยู่ตามลาพัง ไมม่ ีผู้อุปการะ ฐานะ
ยากจน หรอื ครอบครัวประสบปญั หาความเดือดรอ้ น เช่น หวั หน้าครอบครัวเจบ็ ป่วย พิการ ตกงาน
ทาใหม้ ผี ลกระทบต่อการเลี้ยงดูคนพิการ ปจั จุบนั มีคนพิการที่ได้รบั เงนิ สงเคราะห์ท่ัวประเทศแล้ว
13,503 คน (27.49 ล้านบาท)
• รับมอบรถโยก 1,071 คน และรถเข็น 84 คัน

10) สิ่งอานวยความสะดวก

• ปรบั สภาพแวดล้อมที่อยอู่ าศัย 3,818 หลงั และ มอบป้าย Universal Design 1,001 ป้าย

11) ส่งเสรมิ การมงี านทา

• จบั คู่งานคนพิการ 200 อัตรา และส่งเสริมการจ้างงานตามมาตรา 33/35 คนพิการมีงานทา 54,698

ราย

10

ถอดบทเรยี นรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ

11

ถอดบทเรยี นรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ

3. การขบั เคล่ือนการดาเนินงานของกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพิการในการสนบั สนุนภารกจิ
โรงพยาบาลสนามบา้ นวิทยาศาสตรส์ ิรินธรเพื่อคนพิการ จังหวัดปทมุ ธานี

1) การบริหารจดั การ รพ. (พ่ีป้อม/พี่ปอ)

2) การรับบริจาค/ลงทะเบียน/กระจายส่ิงของ
12

ถอดบทเรยี นรู้ “โรงพยาบาลสนามเพื่อคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพิการ

หมายเหตุ

13

ถอดบทเรยี นรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ

1) เคร่ืองอปุ โภค บรโิ ภค ท่ีจาเปน็ สาหรบั โรงพยาบาลสนาม อาทิ กระดาษทชิ ชูแบบมว้ น, สบ,ู่ ยาสีฟนั ,
แปรงสีฟนั , ยาสระผม, ขนั น้า, ผา้ ขนหนู, เสื้อยดื , กางเกง, กางเกงในกระดาษ, นา้ ดื่ม, แพมเพิส, ผ้า
ห่มโบตัน๋ , ถุงขยะสีแดง, ถุงขยะสีชา, ถุงพลาสติกใสใส่อาหาร

2) ความตอ้ งการอาหาร จานวน 180 กลอ่ ง/ม้ือ ม้ือเช้า รับอาหาร 07.00 น. ม้ือกลางวันรบั อาหาร
11.00 น. มื้อเยน็ รบั อาหาร 16.00 น.

3) การสนับสนนุ เครอื่ งอปุ โภค บริโภค จะต้องมีการถา่ ยภาพการรบั สิ่งของทกุ คร้ัง รายละเอียดดงั นี้
ภาพแนวกวา้ ง, ภาพเฉพาะเจาะจงส่ิงของ(อาหาร), ภาพตอนจาหนา่ ยส่ิงของ (อาหาร)

4) ภายหลงั การบริจาค ทางกรมส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพิการ จะดาเนนิ การจดั ส่งหนังสือ
ขอบคุณพรอ้ มแนบหลักฐานประกอบ อาทิ ใบเสร็จรบั เงนิ ภาพถา่ ยการรบั สิ่งของ ฯลฯ ไปยงั ผใู้ ห้การ
สนับสนุนทัง้ รายบุคคล/องค์กร/หนว่ ยงาน

ตลอด 4 เดอื นทผี่ า่ นมา การดาเนนิ งานดา้ นสวสั ดิการสังคม ชวี ิตความเป็นอยู่ และส่ิงของอปุ โภคบรโิ ภค

เพ่ือประสาน ส่งต่อ และให้ความช่วยเหลือด้านสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการให้กับคนพิการและครอบครัว

รวมถึงเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ สามารถบรรลุความสาเร็จลงได้ด้วยความร่วมมือและการสนับสนุน

(บ ริ จ าค )

จากทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้อง มูลค่ากว่า 6.6 ล้านบาท โดยมีผู้ให้การสนับสนุนเคร่ืองบริโภค-บริโภค กว่า 409

ราย (บคุ คล/องคก์ ร) และสนับสนุนเปน็ เงนิ บรจิ าคกวา่ 42 ราย (บคุ คล/กลุม่ /องค์กร)

14

ถอดบทเรยี นรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ

15

ถอดบทเรียนรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ คนพิการ

3) การประสาน-ส่งตอ่ (กรองcaseรบั เข้า) ส่งออก-ตดิ ตาม (พ่ีออม/นอ้ งสมหญิง)
กลไกการดาเนนิ การรบั เคส คัดกรอง และการประสานส่งตอ่ ทีมชว่ ยเหลือ

กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ บรู ณาการความชว่ ยเหลือคนพิการทีป่ ระสบปัญหาการ
แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 โดยสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ 1) คนพิการเป็นผู้ติดเชื้อโควิด -19 2) คน
พิการท่ีอยู่ในครอบครัวที่มีคนติดเช้ือโควิด-19 และ 3) คนพิการที่ได้รับผลกระทบอันเน่ืองมาจากการแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เช่น คนพิ การท่ีอยู่ในพื้ นท่ีเสี่ยง หรือมีความกังวล หรือ กรณีอ่ืนๆ ให้
พิจารณาตามบริบทของการให้ความช่วยเหลือ ซึ่งสามารถแจ้งขอรับความช่วยเหลือผ่านช่องทางต่าง ๆ ท้ัง
ทางโซเชียลมีเดีย สายด่วนภาครัฐ เครือข่ายในระดับพ้ืนที่ และองค์กรด้านคนพิการ เพ่ือทาการค้นหาและรับ
แจ้งเหตุ ผ่านช่องทางต่าง ๆ โดยแบ่งเป็น 4 ช่องทางหลัก ได้แก่ 1) ช่องทางสายด่วน 2) ช่องทาง Social
Media 3) ช่องทางเครือขา่ ยด้านคนพิการ และ 4) ช่องทางอื่นๆ โดยมรี ายละเอียด ดังนี้

ในส่วนของกระบวนการขับเคลื่อนการให้ความช่วยเหลือคนพิ การท่ีได้รับผลกระทบจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการได้จัดตั้งทีมงาน
ซึ่งเป็นกลไกในการขับเคลื่อนงานภายใต้ชื่อทีม “เรามีเรา” ประกอบด้วย นักสังคมสงเคราะห์ นักพัฒนาสั งคม
ตลอดจนผู้ปฏิบัติงานด้านคนพิการ เพื่อดาเนินการช่วยเหลือและประสานส่งต่อ ทีม “เรามีเรา” ซ่ึงแบ่งเป็น 2
ส่วน คือ

1) ทีมบริหารจัดการ จานวน 1 ทีม ทาหน้าท่ีประสานรับเร่ืองราวขอความช่วยเหลือ การคัด
กรองข้อมูลเบ้ืองต้น การประสานส่งต่อให้ความช่วยเหลือแก่คนพิการ ประสานติดตามความคืบหน้าในการ
ดาเนินการให้ความช่วยเหลือกับทีมช่วยเหลือ และสรุปข้อมูลการให้ความช่วยเหลือรายสัปดาห์ และรายงานต่อ
ผู้บริหาร

2) ทีมช่วยเหลือ “เรามีเรา” จานวน 12 ทีมทาหน้าท่ี วาวแผนการดาเนินการให้ความช่วยเหลือ
แก่คนพิการท้ังในช่วงก่อนการรักษา ระหว่างการรักษา และหลังการรักษา ประสานหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อ

16

ถอดบทเรียนรู้ “โรงพยาบาลสนามเพื่อคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพิการ

ดาเนินการให้ความช่วยเหลือคนพิการ อาทิ การตรวจหาเชื้อโรคโควิด-19 การจัดหาสถานพยาบาบเพ่ือทาการ
รกั ษา การสนบั สนนุ จัดหาเคร่อื งอปุ โภค-บรโิ ภค เปน็ ตน้

การคดั กรองและบนั ทึกขอ้ มูลคนพิการ

หลังจากทีมบริหารจัดการรับแจ้งเรื่องขอความช่วยเหลือแล้ว จะดาเนินการตรวจสอบข้อมูล

รายละเอียดเบ้ืองต้นและทาการบันทึกข้อมูลลงระบบ Google Form เพ่ือให้ช่องทางในการรปะสานงานได้

อย่างสะดวกและรวดเร็ว เพื่อจัดทาเป็นฐานข้อมูลผู้รับบริการ รวมทั้งติดตามการดาเนินการให้ความช่วยเหลือ

คนพิการได้อย่างเหมาะสม จากนั้นจะดาเนินการส่งต่อเคสให้แก่ ทีมช่วยเหลือ “เรามีเรา” ตามแบบฟอร์มส่งต่อ

ข้อมูล ผู้ประสบปัญหาภาวะโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)

ท้ังนี้ เพ่ือให้การประสานของทมี งานท้งั ระดับผบู้ ริหาร (CEO)

ทมี บริหารจัดการ และทมี ชว่ ยเหลือ เป็นไปดว้ ยความรวดเร็ว

จงึ ได้จดั ตงั้ Line กลุ่ม “เรามเี รา” ขึ้นเพ่ือเปน็ ชอ่ งทางในการ

ประสานงาน

17

ถอดบทเรียนรู้ “โรงพยาบาลสนามเพื่อคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ คนพิการ

4) กระบวนการรกั ษา (nurse) /ขน้ั ตอนรกั ษา ส่งตอ่ case สีเหลือง หรอื Case HI (พี่ดอ๋ )
18

ถอดบทเรียนรู้ “โรงพยาบาลสนามเพื่อคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตคนพิการ

5) ขอ้ มลู ประชาสัมพันธ์
ในการส่ือสารประชาสัมพันธ์ท่ีเก่ียวข้องกับการดาเนินงานตามภารกิจของโรงพยาบาลฯ อาทิ การ

สื่อสารช่องทางการรบั บริการ ผลการดาเนินงานสาคญั การสนับสนนุ หรือการให้บรจิ าค โดย บุคคล/องค์กร/
หน่วยงาน ฯลฯ จะเน้นหลกั การประชาสัมพันธ์ทส่ี าคญั คอื

1) การกาหนดเน้ือหาขอ้ มลู ทเี่ หมาะสม เพ่ือตอบโจทย์ “ผู้ใด...ทาอะไร....ที่ใด....ถึงผู้ใด....เกดิ ผลอย่างไร..”
2) การจดั ลาดบั หรือรอ้ ยเรียงเนอ้ื เรื่องให้มคี วามชดั เจน
3) รปู แบบการส่ือสารทเี่ ข้าถึงกล่มุ เป้าหมาย โดยเนน้ “ภาษากระชบั เขา้ ใจชดั เจน ประหยัดเวลา และ

คนพิการสามารถเข้าถงึ และใช้ประโยชน์จากข้อมลู ได”้ โดยมีเทคนคิ เพิ่มเติม ดังนี้
(1) จัดทาเทคนิคกราฟฟคิ แบง่ สัดส่วนเนื้อหา และออกแบบการนาเสนอใหม้ คี วามนา่ สนใจ เชน่ ภาพ

สีสันสดใส ดึงดดู และสร้างความจดจอ่
(2) จดั ทาจอลา่ มภาษามอื โดยให้ความสาคญั กับความถกู ต้องและชัดเจนของคาศัพท์ภาษามือเฉพาะ

ทาง
(3) จัดทาคาบรรยายแทนเสียงแบบปิด (Closed Captions)
(4) การใหเ้ สียงบรรยายภาพ โดยเนน้ การอา่ นท่ีชดั เจนและน่าสนใจ
4) ชอ่ งทางการส่ือสารทีห่ ลากหลายเหมาะกับยคุ สมัย อาทิ Facebook/Line/Website เปน็ ต้น

19

ถอดบทเรยี นรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ

โดยในช่วง 4 เดอื นที่ผา่ นมา ปรากฏผลงานด้านการประชาสัมพันธ์ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในชอ่ งทางของ
Facebook กรมส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ ที่มผี ตู้ ิดตามกวา่ 36,960 คน

20

ถอดบทเรียนรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ

21

ถอดบทเรยี นรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ

22

ถอดบทเรียนรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ คนพิการ

4. บทเรียนรู้ท่ไี ดร้ บั

23

ถอดบทเรียนรู้ “โรงพยาบาลสนามเพื่อคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพิการ

5. ข้อจากัด/ปัญหา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะต่อแนวทางการแก้ไข

1) “การส่ือสารระหว่างหน่วยงาน” เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้การบริหารจัดการและการประสานงานเพื่อ

การขับเคล่ือนภารกิจของโรงพยาบาลสนามฯ มีประสิทธิภาพ ในขณะที่วิกฤติ COVID-19 แตกต่าง

จากภาวการณ์ทางานตามภารกิจปกติ บุคลากรท่ีมาจากทุกหน่วย จึงต้องเรียนรู้ควบคู่ไปกับการ

แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และป้องกันวิกฤติของการทางานให้สามารถดาเนินภารกิจจนบรรลุ

เป้าหมาย โดยยึดคนพิการเปน็ ศูนยก์ ลาง

2) “การแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างหน่วยงาน” เป็นเคร่ืองมือสาคัญในการดาเนินงานขับเคล่ือนภารกิจ

โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงข้อมูลของผ้ปู ว่ ยท่ีเป็นคนพิการ ซงึ่ จะทาให้การจดั บริการสาธารณสุขและบริการ

ทางสังคมไดต้ รงตามความตอ้ งการของผู้ป่วยแตล่ ะประเภทความพิการอย่างเหมาะสม

3) ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด แม้ว่าตลอดเวลาของการจัดต้ังโรงพยาบาลสนามฯ จะดารงอยู่บน

พื้นฐานของกระบวนการรับบริจาค และมีผู้ให้การสนับสนุนที่มีความต่อเน่ือง ทุกหน่วยงานจะมีความ

พยายามในการแสวงหาความร่วมมือและปรับแผนตามสถานการณ์ เพ่ือเติมเต็มทรัพยากรให้อยู่ใน

ระดับท่สี ามารถขับเคล่อื นงานได้จนจบภารกจิ

4) สถานทต่ี ง้ั โรงพยาบาลสนามฯ จะตัง้ อยใู่ นบรเิ วณใกล้เคยี งกบั โรงพยาบาลสนามแหง่ อ่นื ๆ ดังนั้น การ

สื่อสารเร่ืองสถานท่ีต้ังเพื่อการจัดส่งอาหารหรือเครื่องอุปโภค/บริโภค ท้ังเจ้าหน้าที่ผู้สื่อสารรวมถึง

ผู้ให้การสนับสนุนต้องมีความชัดเจนในรายละเอียดท่ีต้ังของโรงพยาบาลฯ และมีการยืนยันข้อมูล

กอ่ นออกเดนิ ทางด้วย

5) ข้อจากัดท่ีเกี่ยวเน่ืองกับประเด็นด้านอาหาร และเครื่องอุปโภค บริโภค มีหลายปัจจัย อาทิ (1) วาระ

โอกาสของการให้การสนับสนุน (บริจาค) ตามความประสงค์ของผู้สนับสนุนในบางวันมีปริมาณมากน้อย

แตกต่างกัน จาเป็นต้องมีแนวทางในการบริหารจัดการด้านคุณภาพและปริมาณอย่างเหมาะสม (2)

ต้องคานึงถึงประเภทอาหารที่เหมาะสมสาหรับผู้ป่วยเป็นพ้ื นฐาน และในผู้ป่วยบางรายอาจจะมีความ

ต้ องก าร อ าห าร

เป็นการเฉพาะ อาจจะต้องปรึกษาฝ่ายการพยาบาล และหากไม่สามารถสนองตอบในด้านเครื่องอุปโภค

บริโภคตามความตอ้ งการได้ จะต้องมหี ลกั การในการปฏิบัติที่เหมาะสม หรอื สื่อสารอยา่ งประนีประนอม

6) การประชาสัมพันธ์ข้อมูลที่มีความชัดเจน ส่งผลต่อภาพลักษณ์การทางานขององค์กร และเป็น

ปัจจัยสาคัญท่ีจะนามาสู่ความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ มากข้ึน เช่น ข้อมูลโรงพยาบาล/ผู้ป่วยท่ีมี

ความเป็นปัจจุบัน รวมถึงการถ่ายภาพขอบคุณผู้ให้การสนับสนุนเพื่อเผยแพร่ให้เป็นที่รับทราบของ

สังคมในวงกว้าง

24

ถอดบทเรยี นรู้ “โรงพยาบาลสนามเพื่อคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ

ภาคผนวก

25

ถอดบทเรยี นรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ

26

ถอดบทเรยี นรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ

27

ถอดบทเรยี นรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ

28

ถอดบทเรยี นรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ

29

ถอดบทเรยี นรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ

30

ถอดบทเรียนรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ

31

ถอดบทเรยี นรู้ “โรงพยาบาลสนามเพ่ือคนพิการ” โดย กรมส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ คนพิการ

32


Click to View FlipBook Version