The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปโครงการกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-04-16 09:52:22

สรุปโครงการกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน

สรุปโครงการกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน

รายงานผลการดาเนนิ งาน

โครงการการศึกษาตามอธั ยาศยั

สง่ เสริมนิสยั รักการอา่ น กศน.ตาบลวังท่าดี

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอหนองไผ่
สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั เพชรบรู ณ์

สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร

บันทกึ ขอ้ ความ

สว่ นราชการ กศน.ตาบลวังท่าดี

ท่ี 162/2565 วนั ที่ 23 มนี าคม 2565

เรือ่ ง รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอา่ น กศน.ตาบลวงั ท่าดี

เรียน ผ้อู านวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอหนองไผ่

ตามที่ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอหนองไผ่ ได้มอบหมายให้
นางสาวอริษา สิงห์เส ครู กศน .ตาบล และนางสาวณฐั นันท์ โสทองเมือง ครู ศรช . ดาเนินการจดั โครงการสง่ เสรมิ
นิสยั รักการอา่ น กศน.ตาบลวังท่าดี ในวนั ท่ี 23 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2565 ณ กศน.ตาบลวังทา่ ดี อาเภอหนองไผ่

จังหวดั เพชรบรู ณ์ โดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี

เป้า ผลการดาเนินงาน ต่อยอด การนาไปใชป้ ระโยชน์ พัฒนาตนเอง
หมาย ชาย หญงิ รวม อาชีพเดมิ และครอบครวั
สรา้ ง ประกอบ เพ่ิมโอกาส
รายได้เสริม อาชพี ใหม่ ในการเรียนรู้

38 8 30 38 - - - 38 -

ระดับความพึงพอใจของผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรม อยใู่ นระดับ ดมี าก คิดเปน็ รอ้ ยละ 100

บัดนี้ การดาเนนิ โครงการดงั กล่าวเสร็จสิ้นเรยี บร้อยแล้ว กศน.ตาบลวังทา่ ดี จึงขอรายงานผล
การดาเนินโครงการดังกลา่ ว รายละเอยี ดตามเอกสารท่แี นบมาพรอ้ มน้ี

จึงเรียนมาเพอื่ โปรดทราบ

คานา

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอหนองไผ่ มอบหมายให้ กศน .ตาบลวงั ทา่ ดี
ดาเนินการจัดโครงการส่งเสริมนิสยั รกั การอ่าน เพอ่ื ให้ กศน .ตาบล มหี อ้ งสมดุ มีชวี ติ เป็นแหล่งเรยี นรู้ในการสร้าง
นสิ ัยรกั การอ่านและการเรียนรู้ จึงได้ดาเนินงานจัดโครงการดังกลา่ ว ขนึ้

กศน.ตาบลวังทา่ ดี หวังเปน็ อยา่ งยิง่ ว่ารายงานผลการดาเนนิ โครงการเลม่ น้ี คงเปน็ ประโยชนแ์ ก่ผศู้ ึกษา
ไม่มากกน็ ้อยหากมขี อ้ เสนอแนะประการใดโปรดแจง้ คณะผู้จัดทาเพ่อื เป็นข้อมูลในการปรบั ปรุงในครัง้ ต่อไป

กศน.ตาบลวงั ทา่ ดี

สารบัญ หนา้

เร่ือง 1
4
บทท่ี 1 บทนา 17
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ ง 18
บทที่ 3 วิธีดาเนินการตามโครงการ 19
บทท่ี 4 ผลการดาเนินการตามโครงการ
บทที่ 5 สรปุ ผลการดาเนินงานตามโครงการ

ภาคผนวก
รปู ภาพ/เอกสารที่เกย่ี วขอ้ ง
โครงการ
รายชอื่ ผู้เข้าร่วมโครงการ

บทที่ 1
บทนา

๑. ชื่อโครงการ โครงการสง่ เสรมิ นสิ ัยรักการอ่าน กศน.ตาบลวงั ทา่ ดี

๒. สอดคล้องกบั นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานกั งาน กศน.ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564
2. สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาและการเรียนรตู้ ลอดชีวิตสาหรับประชาชนท่ีเหมาะสมกับทุกช่วงวยั
2.1 ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาอาชพี เพื่อการมงี านทา ในรปู แบบ Re-Skill& Up-Skill และการสรา้ ง
นวตั กรรมและผลิตภณั ฑท์ ่ีมคี ณุ ภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน
ผู้รบั บรกิ าร และสามารถออกใบรับรองความรู้ความสามารถเพอ่ื นาไปใช้ในการพฒั นาอาชพี ได้
2.2 สง่ เสรมิ และยกระดบั ทกั ษะภาษาอังกฤษใหก้ ับประชาชน (English for All)
2.3 สง่ เสรมิ การเรียนการสอนทีเ่ หมาะสมสาหรบั ผ้ทู ี่เข้าสู่สงั คมสงู วยั อาทิ การฝกึ อบรมอาชีพท่เี หมาะสม

รองรับสังคมสูงวยั หลักสูตรการพฒั นาคุณภาพชีวิตและสง่ เสริมสมรรถนะผู้สูงวัย และหลกั สูตรการดแู ลผสู้ ูงวยั
โดยเนน้ การมสี ว่ นร่วมกบั ภาคีเครือข่ายทุกภาคสว่ นในการเตรยี มความพร้อมเข้าสสู่ ังคมสงู วัย

ภารกจิ ตอ่ เนือ่ ง
๑. ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรียนรู้
๑.๔ การศึกษาตามอธั ยาศยั
1) พฒั นาแหล่งการเรยี นรู้ท่ีมบี รรยากาศและสภาพแวดลอ้ มที่เออ้ื ต่อการอ่านและพัฒนา

ศักยภาพการเรยี นรู้ให้เกดิ ขึน้ ในสังคมไทย ให้เกดิ ขึ้นอยา่ งกว้างขวางและท่วั ถงึ เช่น การพัฒนา กศน. ตาบล
หอ้ งสมุดประชาชนทุกแห่งใหม้ ีการบริการทีท่ ันสมัย สง่ เสรมิ และสนับสนนุ อาสาสมัครสง่ เสริ มการอา่ น การสร้าง
เครือขา่ ยสง่ เสรมิ การอา่ น จัดหนว่ ยบรกิ ารหอ้ งสมุดเคลอ่ื นท่ี ห้องสมุดชาวตลาด พรอ้ มหนงั สอื และอปุ กรณเ์ พ่อื จัด
กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นและการเรียนรทู้ หี่ ลากหลายใหบ้ ริการกบั ประชาชนในพนื้ ท่ีต่าง ๆ อย่างทว่ั ถึง สมา่ เสมอ
รวมทง้ั เสริมสร้างความพรอ้ มในด้า นบคุ ลากร สอ่ื อปุ กรณ์เพ่อื สนบั สนนุ การอา่ น และการจดั กิจกรรมเพือ่ ส่งเสรมิ
การอ่านอยา่ งหลากหลายรปู แบบ

3. หลกั การและเหตผุ ล
การจัดการศึกษาอธั ยาศยั เปน็ การศึกษาทีผ่ เู้ รยี นได้เรยี นรู้ไดด้ ว้ ยตนเองตามความสนใจ ศกั ยภาพความ

พร้อมและโอกาส โดยการศกึ ษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคมสภาพแวดล้อม ส่ือ หรอื แหล่งเรียนรู้อ่ืน ๆ
ห้องสมุดประชาชนอาเภอหนองไผ่ เปน็ การให้บริการการอ่าน การศึกษาคน้ คว้าตามอัธยาศยั เปน็ แหลง่ เรียนรหู้ รอื
ศนู ย์ การเรียนทอ่ี ยู่ใกลช้ ดิ ประชาชนนอกระบบโรงเรียนมากที่สดุ ท่นี ักศกึ ษาและประชาชนสามารถหาความรู้
ดา้ นต่าง ๆ ไดจ้ ากหนงั สือ ส่อื ประเภทอนื่ ๆ และระบบสารนิเทศ มกี ารนาเทคโนโลยีเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรม์ าเปน็
เคร่ืองมอื ในการสนับสนุนการจดั การเรียนการสอนในหอ้ งสมุดประชาชน การศกึ ษาค้นควา้ ข้อมลู ระดับท้องถน่ิ ทา
ใหห้ ้องสมุดประชาชนเปน็ ศูนย์กลางและเป็นเครอื ขา่ ยการเรยี นรูส้ ามารถเชือ่ ม โยงกบั ขอ้ มลู แหลง่ ตา่ ง ๆ สามารถ
สนับสนนุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

ดังนัน้ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอ หนองไผ่ หอ้ งสมุดประชาชนและ
กศน.ตาบลวังท่าดี ใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต มีการพฒั นาให้บรกิ าร และการจดั กจิ กรรมกระบวนการ
เรยี นรู้ท่หี ลากหลาย เป็นการสนองความตอ้ งการของประชาชน โดยจัดใหม้ ีกจิ กรรมเตมิ ปัญญาให้กบั สังคม จึงมี
สว่ นชว่ ยท่ีจะใหก้ ารพัฒนาการของเดก็ ไดเ้ จรญิ เตบิ โตอยา่ งมรี ะบบและมีคณุ ภาพ เพื่อปลูกฝงั นิสยั รกั การอ่าน ให้
ร้จู ัก การอ่าน การคิด มคี วามคดิ ริเริม่ สรา้ งสรรค์และการเรียนรู้ตลอดชีวิตอยา่ งย่งั ยนื จงึ ไดจ้ ัดทาโครงการนี้ข้ึน

4. วัตถปุ ระสงค์
๑. เพื่อพัฒนาทกั ษะภาษา สร้างนสิ ยั รักการอ่านและการเรยี นร้ใู ห้เหมาะสมกับวยั อยา่ งมีคณุ ภาพตาม

บรบิ ทของพื้นท่ี
๒. เพอ่ื ให้มีการอา่ นอยา่ งต่อเนอื่ งจนเป็นนิสัย
๓. เพอื่ ให้ กศน.ตาบล มหี ้องสมดุ มีชวี ติ เปน็ แหล่งเรียนรู้ในการสรา้ งนสิ ัยรักการอา่ นและการเรียนรู้

๕. เป้าหมาย
เชงิ ปริมาณ ประชาชนท่ัวไป/นักเรียน/นกั ศึกษา จานวน 30 คน
เชงิ คณุ ภาพ ประชาชนท่วั ไป/นกั เรยี น/นกั ศกึ ษา/ได้พัฒนาทกั ษะภาษาไทย สร้างนิสัยรกั การอา่ น

และการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกบั วัย อยา่ งมคี ณุ ภาพตามบริบทของพื้นท่ี มกี ารอ่านอยา่ งต่อเนอ่ื งจนเปน็ นิสยั และ
กศน.ตาบล มหี ้องสมุดมีชวี ิตเปน็ แหลง่ เรียนรใู้ นการสร้างนสิ ยั รกั การอา่ นและการเรียนรู้

๖. ข้นั ตอน/วธิ กี ารดาเนนิ งาน

กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย พ้นื ทด่ี าเนนิ การ ระยะเวลา
๑. การประชุมวางแผน - เพ่ือชีแ้ จงวตั ถปุ ระสงค์และ กศน. 9 ธันวาคม
ดาเนินการ แนวทางการจัดโครงการ คณะครูและบคุ ลากร
กศน.อาเภอ อาเภอหนองไผ่ 2564
2.การประสานงานในการ - เพอ่ื ตดิ ตอ่ ประสานงาน และ หนองไผ่
ดาเนินงานตามโครงการ จดั เตรียมสถานที่ พนื้ ที่ 10 - 29 ธันวาคม
ครู กศน.ตาบลวังท่าดี ตาบลวงั ท่าดี 2564
ครู ศรช.ตาบลวงั ท่าดี

3. การเขียนโครงการเพือ่ - เพือ่ วางแผนกาหนดการใน ครู กศน.ตาบลวงั ท่าดี กศน. 30 ธันวาคม
ขออนุมตั ิ การดาเนนิ โครงการ ครู ศรช.ตาบลวังทา่ ดี ตาบลวงั ทา่ ดี 2564

4. จัดทาคาส่งั และจัด - เพื่อกาหนดบุคลากรและ ครู กศน.ตาบลวังทา่ ดี กศน. 30 ธันวาคม
คณะดาเนนิ งานโครงการ วางแผน แบ่งงานตามหน้าท่ี ครู ศรช.ตาบลวังทา่ ดี ตาบลวงั ทา่ ดี 2564

5. การดาเนินกจิ กรรม ๑. เพอ่ื พัฒนาทักษะภาษาไทย ประชาชนทัว่ ไป/ กศน. 1. ต.ค.64 - ม.ี ค.65
นกั เรยี น/นักศึกษา ตาบลวังทา่ ดี 2. เม.ย.65 - ก.ย.65
ตามโครงการ สรา้ งนิสัยรกั การอ่านและการ จานวน 30 คน
บ้านหนงั สอื ชมุ ชน 1. ต.ค.64 - ม.ี ค.65
1.กจิ กรรมอาสา เรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกบั วยั ครู กศน.ตาบลวงั ทา่ ดี ม.4 บา้ นลาพาด 2. เม.ย.65 - ก.ย.65
ครู ศรช.ตาบลวังทา่ ดี ม.6 เนนิ สะแก 1. ต.ค.64 - มี.ค.65
พัฒนาห้องสมุด อย่างมคี ุณภาพตามบรบิ ทของ ครู กศน.ตาบลวงั ทา่ ดี ม.7 บา้ นโคกกลาง 2. เม.ย.65 - ก.ย.65
ครู ศรช.ตาบลวงั ท่าดี
2.กจิ กรรมสมดุ บันทกึ พ้นื ท่ี กศน.
ตาบลวังท่าดี
รกั การอา่ น ๒. เพื่อให้มีการอ่านอย่าง
กศน.
3.กจิ กรรมโมบาย ตอ่ เน่ืองจนเปน็ นิสยั ตาบลวังทา่ ดี

ความรู้ ๓. เพ่อื ให้ กศน.ตาบล มี
หอ้ งสมุดมชี ีวติ เปน็ แหลง่
4.กิจกรรมมมุ
เรียนรู้ในการสรา้ งนิสัยรักการ
รกั การอา่ น
อา่ นและการเรยี นรู้

๖. การติดตามประเมินผล - เพื่อติดตามผลการจดั

การวดั ผลประเมนิ ผล โครงการ

๗. การสรปุ ผลและการ - เพื่อสรุปและรายงานผลการ

รายงานผลการจดั โครงการ ดาเนนิ งาน

๗. วงเงนิ งบประมาณ
-

๘. ผู้รับผิดชอบโครงการ ครูอาสาสมคั รฯ
นายสงิ หน์ คร สริ ิพรมิ านันท์
ครู กศน.ตาบล
นางสาวอริษา สงิ ห์เส ครูประจาศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชน
นางสาวณัฐนันท์ โสทองเมือง

๙. วนั เวลา สถานท่ีดาเนินงาน
คร้งั ท่ี 1 ระหวา่ งเดือน ตลุ าคม 2564 – มีนาคม 2565
คร้ังที่ 2 ระหวา่ งเดอื น เมษายน 2565 – กันยายน 2565
ณ กศน.ตาบลวงั ทา่ ดี
ณ บา้ นหนงั สอื ชุมชนตาบลวังท่าดี อาเภอหนองไผ่ จงั หวดั เพชรบรู ณ์

๑๐. หนว่ ยงานภาคีเครือข่าย
- องคก์ ารบริหารส่วนตาบลวงั ทา่ ดี

- โรงเรียนบ้านกลาง

๑๑. โครงการที่เกยี่ วข้อง
- โครงการกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

๑๒. ผลคาดว่าจะไดร้ ับ
ประชาชน ทั่วไป/นักเรยี น /นกั ศึกษา /ได้พัฒนา ทักษะภาษา สรา้ งนิสัยรกั การอ่านและการเรียนรใู้ ห้

เหมาะสมกบั วัย อย่างมีคุณภาพตามบริบทของพ้ืนที่ มีการอา่ นอย่างตอ่ เนอ่ื งจนเป็นนิสยั และกศน .ตาบล มี
ห้องสมดุ มชี ีวิตเป็นแหลง่ เรยี นรูใ้ นการสรา้ งนสิ ัยรกั การอา่ นและการเรียนรู้

๑๓. ตัวชี้วดั ผลสาเร็จของโครงการ
๑. ตัวชว้ี ัดผลผลิต (Output)
- ประชาชนทัว่ ไป/นักเรียน/นกั ศึกษา จานวน 30 คน
๒. ตวั ชวี้ ัดผลลพั ธ์ (Outcome)
- ร้อยละ 80 ของประชาชนทวั่ ไป นกั เรยี น นกั ศึกษา ได้พัฒนาทักษะภาษา สรา้ งนิสยั รักการอา่ น

และการเรยี นร้ใู ห้เหมาะสมกับวยั อย่างมีคณุ ภาพตามบรบิ ทของพืน้ ท่ี มีการอา่ นอยา่ งตอ่ เน่อื งจนเปน็ นสิ ยั
และกศน.ตาบล มีหอ้ งสมดุ มีชีวติ เปน็ แหล่งเรยี นร้ใู นการสร้างนิสัยรักการอ่านและการเรยี นรู้

๑๔. การตดิ ตามประเมินโครงการ
- การสังเกตพฤติกรรมจากผ้เู ขา้ รว่ ม

- ประเมนิ ความพงึ พอใจ

บทท่ี ๒
เอกสารท่เี กยี่ วข้อง

1. การอ่าน
ในหัวขอ้ นี้จะศึกษาเกย่ี วกับความหมายและประเภทของการอ่านความสาคญั ของการอา่ นและ

จิตวิทยาการอ่าน
1.1 ความหมายและประเภทของการอ่าน
1.1.1 ความหมายของการอา่ น
นกั การศึกษาและผู้เชยี่ วชาญในดา้ นการอ่านได้ใหค้ วามหมายของการอา่ นไว้ดงั น้ี
ราชบณั ฑิตยสถาน ใหค้ วามหมายของการอ่านในพจนานุกรมวา่ “การอา่ นเป็นการออก

เสยี งตามตวั หนงั สอื หรอื การเขา้ ใจความจากตวั หนงั สือ สังเกตหรือพิจารณาดูเพอ่ื ให้เข้าใจ ” การอ่านเปน็
กระบวนการทางความคดิ ท่ีต้องอาศยั กลไกการเรยี นรู้ และสมองตีความและเรยี บเรยี งขอ้ มูลทอี่ ่านใหก้ ลายเปน็
ความรู้ ความจา ความชานาญการ ตลอดจนความคิดสรา้ งสรรค์ใหม่ ๆ ที่ได้จากการอ่าน

ไขสิริ ปราโมช ณ อยธุ ยา และ วรนนั ท์ อักษรพงศ์ กล่าวว่า การอา่ น คือ การแปล
ความหมายของตวั อกั ษรออกมาเป็นความคิด และนาความคดิ ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ ดังนนั้ ความสาคญั ของการ
อ่านอยทู่ ่ผี ูอ้ ่านเขา้ ใจความหมายของคา

บนั ลอื พฤกษะวัน ได้ให้ความหมายของการอ่านไว้วา่ การอา่ นเป็นการแปลสญั ลักษณ์เป็น
เสียงพดู การสังเกต การจารปู คาท่เี คยอ่าน และรูปคาใหมใ่ หเ้ กิดความเข้าใจทีต่ รงกัน เป็นแนวทางชว่ ยใหผ้ อู้ า่ น
ได้รบั ความความรจู้ ากการผสมผสานของตัวอักษร

สนทิ สัตโยภาส กล่าวไว้วา่ การอ่าน หมายถึง การมองดตู วั อักษรแลว้ ถ่ายทอ ด
ความหมายจากตวั อักษรออกมาเป็นความคิด จากนั้นจึงนาความรู้ ความคิดหรือสิ่งทไ่ี ดร้ บั จากการอ่านไปใชใ้ ห้
เกิดประโยชนใ์ นด้านตา่ ง ๆ เมื่อถงึ เวลา

วรรณี โสมประยูร ไดใ้ หค้ วามหมายของการอ่านไว้ว่า การอ่านเปน็ กระบวนการทาง
สมองท่ตี อ้ งการใชส้ ายตาสมั ผัสตวั อักษรหรือสิ่งพิมพ์ต่างๆ รบั รู้และเขา้ ใจความหมายของคาหรือสญั ลักษณ์
โดยแปลความหมายออกมาเป็นความหมายท่ีใชส้ ื่อความคดิ และความ รูร้ ะหว่างผูเ้ ขียนกบั ผอู้ ่านให้เขา้ ใจตรงกนั
และผูอ้ า่ นนาความหมายนัน้ ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ได้

สนุ นั ทา ม่ันเศรษฐวิทย์ กลา่ วถงึ การอา่ นวา่ เป็นรูปแบบการอา่ นทสี่ อดคล้องกบั ทฤษฏี
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งข้อความกับประสบการณเ์ ดมิ ในรูปแบบการอา่ นทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั กระบ วนการเข้าใจสาร โดย
มีแนวคดิ วา่ เม่อื ผูอ้ า่ นรบั รเู้ ขา้ ใจข้อความในสารแล้ว จะทาความเขา้ ใจเร่ืองราวทง้ั หมด โดยจดั เรียงลาดับให้
ถูกต้อง และสามารถถ่ายทอดให้ผอู้ ื่นเข้าใจ เป็นภาษาพดู หรอื เขียนได้ การอา่ นแบบนี้เน้นผู้อ่านและสารทีอ่ า่ นให้
เหมาะสมกัน เพื่อจะได้รเู้ รื่องราวท่ีถูกต้อง

ศรสี ดุ า จรยิ ากลุ กล่าววา่ การอ่าน คือ การรับร้คู วามหมายของสารจากลายลักษณอ์ ักษร
จากความหมายของการอ่านทีก่ ลา่ วมาสรปุ ไดว้ า่ การอา่ นเป็นกระบวนการคน้ หา
ความหมายจากสญั ลกั ษณห์ รอื ตวั อักษร เพอ่ื จบั ใจความสาคัญ เขา้ ใจความหมายของคา ตคี วามแล ะแปลความ
ใหต้ รงกับผ้ทู ีเ่ ขียนต้องการจะส่อื โดยใชค้ วามคดิ และประสบการณ์เดิมของผอู้ า่ น
1.1.2 ประเภทของการอา่ น
นักการศกึ ษาหลายทา่ นได้กลา่ วถึงการอา่ นประเภทต่าง ๆ ไว้ ดงั น้ี
บนั ลอื พฤกษะวนั ได้ให้ความหมายของการอา่ นประเภทอา่ นเขา้ ใจ ไวว้ า่ เปน็ การอ่าน
เพ่อื หาคาตอบ อา่ นแล้วสามารถปฏิบัตติ ามคาแนะนาไดจ้ ดั ลาดับเหตุการณเ์ รอ่ื งราวทเ่ี กดิ ขนึ้ ในเรือ่ งที่อา่ นได้
อา่ นแล้วสามารถย่อความและแตง่ ได้

สวุ ิทย์ มูลคา ให้ความหมายของการอา่ นประเภทอ่านวเิ คราะหไ์ วว้ ่า เป็นการจัดลาดบั
การเปรยี บเทียบ การจดั หมวดหมู่ แปลความ ตีความ และสามารถประเมินคณุ ค่าของเรอื่ งทีอ่ ่านได้ นอกจากนีย้ ังมี
การอ่านประเภทอ่านวิจารณญาณ เปน็ การอา่ นทีต่ ้องใชค้ วามคดิ พจิ ารณาหาเหตุผลและคณุ ค่าจากเรื่องท่ีอ่าน
ดงั นักวิชาการไดใ้ หค้ วามหมายไว้คลา้ ยคลึงกนั ดงั นี้

สมนกึ พวงกล่ิ น ได้ให้ความหมายของการอ่านอยา่ งมวี ิจารณญาณว่า ผอู้ า่ นจะใช้ความรู้
หรือประสบการณเ์ ดมิ ในการพจิ ารณาตัด สินความร้หู รือเรือ่ งราวทอ่ี า่ น เนาวรัตน์ สมร่าง และ อดุ มพร พสั ถาน
ใหค้ วามหมายการอา่ นวจิ ารณญาณไว้ในแนวทางเดียวกันว่า การอา่ นวิจารณญาณเปน็ การอา่ นข้นั สูงสดุ ที่ ผูอ้ า่ น
ตอ้ งใช้สตปิ ัญญา ความรู้ วินจิ ฉยั เน้อื หา โดยอาศยั ประสบการณ์การคน้ ควา้ วิจยั ประกอบ

จากการอา่ นประเภทต่างๆ ที่กล่าวพอสรุปไดว้ ่า การอ่านแตล่ ะประเภทมคี วามมงุ่ หมาย
เพื่อใหเ้ ขา้ ใจความหมายของคา ประโยค อ่านวเิ คราะหเ์ รอื่ งราว แปลความ ตคี วามและนามาตดั สินใจโดยอ าศัย
ประสบการณ์ เพอ่ื นาไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ในการพดู หรือเขยี นเล่าเรอ่ื งไดถ้ ูกต้อง

1.2 ความสาคัญของการอ่าน
การอา่ นมคี วามสาคัญและจาเปน็ มากสาหรบั การดาเนนิ ชวี ิตในสภาพสงั คมปจั จุบัน การอ่าน

ชว่ ยพัฒนาสติปญั ญาของผอู้ ่าน ชว่ ยใหผ้ อู้ า่ นทันต่อเหตุการณ์ เพราะการอ่ านเป็นเครื่องมอื ในการแสวงหาความรู้
เสรมิ ความคดิ ความฉลาดรอบรู้ ย่งิ ผู้อา่ น อา่ นมากกจ็ ะมคี วามรู้ มีจนิ ตนาการมีความคิดสรา้ งสรรค์เพ่มิ พนู มากขึ้น

ไขสิริ ปราโมช ณ อยธุ ยา และ วรนนั ท์ อักษรพงศ์ กลา่ วว่า การอา่ นมคี วามจาเป็นตอ่ ชวี ติ คน
ไทยในปัจจบุ นั มาก เพราะการเปลย่ี นแปลงทางดา้ นวัตถุ วิทยาการซ่ึงเป็นไปอยา่ งรวดเร็ว จงึ มีคาเปรียบเทยี บวา่
“ผูท้ ไี่ ม่อา่ นหนงั สือคือผู้ทีป่ ดิ ขงั ตวั เองอยใู่ นบ้าน คงรแู้ ตโ่ ลกแคบ ๆ ในบา้ นของตัวเองเท่าน้ัน ส่วนผทู้ ่อี า่ นหนังสอื
คอื ผูท้ ่ีเปิดประตหู นา้ ต่างทางออกไปสู่โลกภายนอก ทเี่ ต็มไปดว้ ยความรแู้ ละความคิดท่ีหาท่ีเขตสดุ มไิ ด้ ” ปัจจบุ นั
เทคโนโลยีการสอ่ื สารมบี ทบาทมากในวงการศกึ ษา แตจ่ ะเขา้ มาแทนท่กี ารศกึ ษาหาความรูด้ ้วยการอา่ นไม่ได้เตม็ ที่
เพราะการศึกษาหาความรูด้ ว้ ยการอา่ นตอ้ งใชค้ วามคดิ คว บคไู่ ปกบั การอา่ นเสมอ เปน็ การใชค้ วามสามารถทาง
สติปญั ญาไตรต่ รองส่ิงที่อ่านทาใหไ้ ดร้ ับขอ้ มูลข่าวสารทล่ี ะเอียดและคงทนกว่าเทคโนโลยีการสอื่ สาร

พนิตนันท์ บุญพามี ไดก้ ล่าวถึงความสาคัญของการอา่ นไว้ สรุปไดว้ า่ การอ่านมีความจาเป็นต่อ
การดาเนนิ ชีวิตของคนในยคุ ปัจจบุ ั นทม่ี กี ารเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเรว็ ในทุกๆ ด้าน การอา่ นชว่ ยให้เราสามารถ
ตดิ ตามความเคล่อื นไหว และได้ก้าวทนั เหตกุ ารณ์ การอา่ นจะช่วยเพิ่มพนู ความรู้ ความคิด และประสบการณ์
ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ ความงอกงามทางวฒุ ิภาวะ วฒุ ิปญั ญา การอ่านเปรียบเสมอื นสะพานเช่อื มความรู้ ความเข้ าใจของ
มนุษยท์ กุ ชาตทิ กุ ภาษาใหถ้ งึ กัน หรอื กลา่ วอกี นัยหน่งึ ว่า การอ่านนามนุษย์ผ่านพรมแดนทางภูมปิ ระเทศ และ
วฒั นธรรม ขณะเดียวกนั การอ่านชว่ ยให้ผ้อู ่านไดร้ บั ความเพลดิ เพลนิ ในชวี ติ มากขนึ้

ดวงใจ ไทยอบุ ุญ กล่าววา่ การอา่ นจะเปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งยิง่ ถ้าผู้อ่าน อา่ นอยา่ งวเิ คราะห์
วจิ ารณ์ เพราะจะทาใหผ้ ู้อ่านเกิดปัญญา เกิดความคิดสร้างสรรค์ ผูอ้ ่านไม่เฉพาะแต่จะไดค้ วามรู้ ไดร้ ูจ้ กั ใช้สานวน
โวหาร ยังได้แงค่ ิดจากหนังสอื เหลา่ นนั้ ไดร้ ู้ถึงความคิดที่แตก ต่างกนั สามารถประเมนิ ค่าเรอ่ื งทอ่ี า่ นและนา
ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั จากการอ่านไปประยุกต์ใชใ้ นการดาเนินชีวติ

สนุ ันทา มน่ั เศรษฐวิทย์ กลา่ ววา่ การอา่ นมคี วามสาคญั และมคี ุณค่าตอ่ ผ้อู ่าน การอา่ นจะชว่ ย
สรา้ งความคดิ ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ช่วยใหผ้ ู้อ่านเขา้ ใจสังคมและสภาพแวดลอ้ มรอบตวั รู้จักรูปแบบของสาร
ประเภทต่างๆ ทาใหเ้ กิดทักษะการสรุปขอ้ มลู และจดั ข้อมลู เปน็ หมวดหมแู่ ล้วสรุปออกมาเป็นแนวคิดเพอ่ื สะดวก
ต่อการนาไปใชป้ ระโยชน์

เสาวลักษณ์ ตรองจติ กล่าวว่า การอา่ นมีความสาคญั ตอ่ การดาเนินชีวิตของมนษุ ยเ์ ปน็ อยา่ งมาก
เพราะจาเป็นตอ้ งอ่านใหเ้ ขา้ ใจในการติดตอ่ สือ่ สาร ทาความเข้าใจกับบุคคลอน่ื และนาความร้ปู ระสบการณต์ า่ ง ๆ
จากเรือ่ งท่อี า่ นไปสร้างประโยชน์แกต่ นเองและสังคมได้

จากความสาคญั ของการอ่านท่กี ลา่ วมา พอสรปุ ไดว้ า่ การอา่ นช่วยให้เกิดการพัฒนาดา้ น
ความคดิ คดิ สรา้ งสรรค์ มีเหตผุ ลในการตัดสินใจ เพ่ิมพูนความรู้ ทนั ต่อเหตุการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรว็ และ

การอ่านยงั ชว่ ยใหเ้ กดิ ความเพลิดเพลนิ สามารถนาความรทู้ ี่ไดจ้ ากการอา่ นมาใชป้ ระโยชนใ์ นการดาเนินชวี ิตอยูใ่ น
สงั คมปัจจบุ นั อย่างมีความสุข

1.3 กระบวนการอ่านและจิตวทิ ยาการอ่าน
ในทนี่ ีจ้ ะเสนอแนวคดิ ดา้ นกระบวนการอา่ น จิตวิทยาการอ่าน และจติ วทิ ยาเกี่ยวกบั ความสนใจ

อา่ นหนังสือ ดังนี้
1.3.1.แนวคดิ กระบวนการอ่านและจติ วทิ ยาการอ่านเปน็ แนวคดิ ทางด้านจติ วทิ ยา ที่

เก่ยี วข้องกับการอา่ น มนี ักการศกึ ษาได้กลา่ วไวด้ ังน้ี
สุขมุ เฉลยทรัพย์ กลา่ วว่า “การอ่านคือกระบวนการค้นหาความหมายหรือความเข้าใจจาก

ตวั อกั ษรและสญั ลกั ษณ์อ่ืน ๆ ทใ่ี ชแ้ ทนความคิดเพือ่ เพิม่ ประสบการณเ์ ดมิ ของผู้อา่ น ซงึ่ การอา่ นเข้าใจขึ้นอยกู่ บั
ประสบการณเ์ ดิมของผอู้ า่ น การอ่านไมใ่ ชก่ ารมองผ่านประโยคหรือย่อหน้าแตล่ ะย่อหน้า แตเ่ ปน็ การรวบรวม
การตีความและการประเมนิ ความเห็นเหลา่ น้ัน กระบวนการทกี่ ่อให้เกดิ ความเขา้ ใจ เป็นการผสมผสานระหว่าง
ทกั ษะหลายชนดิ เพอ่ื ให้เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ทตี่ ้องการ

ถนอมวงศ์ ล้ายอดมรรคผล กลา่ วถงึ กระบวนการอา่ นว่ามี 4 ข้นั สรปุ ได้ดงั น้ีขัน้ แรก
คือการรูจ้ ักคา รบั รู้ความหมายของคาตามตวั อกั ษร ขน้ั ทส่ี อง เปน็ การเข้าใจความหมายของสาร ขัน้ ทส่ี าม อา่ นใช้
วิจารณญาณตดั สินสารน้นั โดยใช้ประสบการณ์การอา่ นและประสบการณช์ ีวติ ร่วมกับความรคู้ วามเขา้ ใจทีส่ ะสมมา
แต่เดิม ขั้นที่ส่ี การรวบรวมความคิดวา่ อ่านสารแล้วเข้าใจเพียงใด

บรรเทา กิตติศกั ดิ์ กล่าวถึงกระบวนการอา่ นวา่ มี 4 กระบวนการ 4 คอื 1) สัมผัสโดยใช้
สายตาดูพร้อมท้ังเรยี นรู้เสยี งของตวั หนงั สอื และความหมาย 2) รับรูร้ ูปรา่ งลกั ษณะของคาโดยเชื่อมโยงเสียงกบั
ความหมาย 3) เข้าใจความหมายของคา วลี และประโยคโดยใชป้ ระสบการณเ์ ดิมช่วยตีความ 4) ใช้ประโยชน์จาก
การอา่ น คือเข้าใจเรือ่ งทอ่ี ่าน สามารถนาไปเลา่ เรือ่ งไดถ้ ูกต้อง

สุนันทา ม่นั เศรษฐวิทย์ กล่าววา่ การอ่านเปน็ การทางานท่สี ัมพนั ธก์ ันสองกระบวนการ คอื
กระบวนการกลไก ซึง่ เกย่ี วโยงกบั การนาสงิ่ เร้าเข้าสสู่ มอง และกระบวนการรับรู้ซงึ่ โยงกบั การแปลความของสง่ิ เ ร้า
หลงั จากทีเ่ ขา้ สู่สมองแลว้ โดยสมองของผอู้ ่านจะให้ความหมายของสัญลักษณท์ เี่ ป็นตัวอักษร ท้งั น้ขี น้ึ อยู่กับผอู้ ่าน
จะสามารถสรา้ งประสบการณ์จากสญั ลักษณไ์ ดเ้ พยี งใด ผอู้ ่านจงึ จาเป็น ตอ้ งอาศัยการเชอ่ื มโยงสญั ลักษณเ์ หล่าน้นั
ให้เข้ากับประสบการณ์เดมิ จึงจะสามารถเขา้ ใจความหมายไดด้ ี

การศกึ ษากระบวนการอา่ นและจิตวิทยาทางการอา่ นสรุปไดว้ ่า การอ่านเปน็ กระบวนการที่
เชอื่ มโยงระหว่างสมองกับสิง่ เร้า ประสบการณ์ และสภาพแวดล้อมรอบตวั เด็ก ทเี่ อือ้ ตอ่ การพัฒนาโดยการฝึกฝน
อยา่ งสม่าเสมอ ก็จะเกิดความชานาญ และการพฒั นาทกั ษะการอา่ นประกอบกับจะมเี จตคตทิ ดี่ ตี ่อการอ่านดว้ ย

1.3.2 จติ วิทยาเกย่ี วกับความสนใจอ่านหนงั สือ
นกั การศกึ ษาได้กลา่ วถึงความสนใจอา่ นหนังสอื ของเดก็ ไว้ ดังน้ี
สุมติ รา อังวฒั นกลุ กลา่ ววา่ การอ่านเกี่ยวขอ้ งกับความเจรญิ เติบโตและพัฒนาการทกุ ๆ

ด้านของผูเ้ รียน กระทาเพอ่ื สนองความตอ้ งการของตนเอง สนองความพอใจของสังคมท่ีมตี อ่ ตน เปน็ การเตรยี มตัว
ทจ่ี ะรับพัฒนาการด้านอ่ืนๆ ทจ่ี ะตามมา ดังน้นั ผลสมั ฤทธิใ์ นการอ่านจงึ ข้นึ อยกู่ บั ความเจริญของการพัฒนาการ
ด้านต่างๆ องคป์ ระกอบเกี่ยวกบั ตัวผ้เู รยี นทม่ี คี วามสาคัญต่อสัมฤทธิผลในการอ่าน มีทัง้ ด้านชวี วิทยาและ
สภาพแวดล้อมองคป์ ระกอบทส่ี าคญั ได้แก่ สตปิ ญั ญาของผูอ้ ่าน สภาพร่างกาย สภาพทางสงั คม และสภาพการ
ทางดา้ นอารมณ์ ความสาเร็จในการอา่ นนอกจากจะขน้ึ อยกู่ บั ความสามารถ
ในการไดย้ ินและในการแยกแยะตวั หนงั สือทีม่ องเหน็ แลว้ ภูมหิ ลังและประสบการณ์ วฒุ ภิ าวะ ความสนใจในการ
อ่านและการเรยี นการสอนท่เี หมาะสมมสี ว่ นชว่ ยเพ่ิมพูนความสามารถในการอา่ นอีกด้วย

สนุ ันทา มน่ั เศรษฐวทิ ย์ กล่าววา่ ความสนใจในการอา่ นเกิดจากความแตกต่างในพ้นื ฐาน
ของแต่ละบุคคล ไดแ้ ก่ ด้านจิตวทิ ยา ด้านสติปัญญา ดา้ นอายุ ความแตกตา่ งทางเพศ มโนคติ (ความคดิ และ
ความรสู้ ึกที่มตี อ่ ตนเอง ) ดา้ นการคิด ความแตกต่างทางวฒั นธรรม การจดั การเรียนการสอนและส่อื ให้สอดคลอ้ ง
กับพืน้ ฐานของผูเ้ รียน

วรรณา บวั เกิด ได้สารวจความสนใจในการอ่านหนังสือของวัยรนุ่ พบวา่ เรื่องท่วี ยั รนุ่ ชอบ
คือ การผจญภยั กีฬา เร่อื งลึกลับ เร่อื งธรรมชา ติ เรอื่ งเก่ียวกับสตั ว์ และนอกจากความสนใจของนักเรยี นแล้วยงั
เสนอเน้ือหาท่ีเหมาะสมกับความสนใจของนกั เรียน คอื หนังสอื ทใี่ ห้ความเพลิดเพลิน เชน่ นทิ าน นิยาย ตลกขาขัน
เรื่องที่สง่ เสริมความรูค้ วามคิดสตปิ ญั ญา เพือ่ สรา้ งความเขา้ ใจใหก้ ับนักเรียนรจู้ ักสังคมทตี่ นอยู่ บทบาทและหน้าท่ี
ของตนเอง เช่น เร่อื งเกย่ี วกบั วฒั นธรรม ประเพณี ความเปน็ อยู่

สรปุ ไดว้ ่า ความสนใจในการอ่านหนงั สอื ของนักเรยี นมคี วามเกีย่ วข้องกบั ดา้ นสตปิ ัญญา
ด้านอายุ ความแตกตา่ งทางเพศ ความแตกต่างทางวฒั นธรรมสังคม การจดั การเรียนการสอนและประเภทของ
หนังสอื ให้สอดคล้องกบั พน้ื ฐานของผเู้ รียน

2. การอ่านเชงิ วเิ คราะห์

ในหวั ขอ้ น้จี ะกลา่ วถงึ การคดิ วิเคราะห์ ความหมาย ความสาคญั ทฤษฎีการสอน วิธีสอน และการวัด
และประเมนิ ผลของการอา่ นเชิงวิเคราะห์

2.1 การคดิ วิเคราะห์
นักการศกึ ษาไดใ้ หค้ วามหมายและลักษณะของการคิดวิเคราะห์ ดังนี้
บรเู นอรแ์ ละคณะ ( Bruner and others ) ได้ให้ความหมายว่า การคดิ วิเคราะห์เปน็

กระบวนการท่ีใชใ้ นการสรา้ งความคิดรวบยอด (Concept Formation) เกี่ยวกับเร่อื งราวข้อมลู ความจริงทไ่ี ด้รับ
และเปน็ กระบวนการทใี่ ชใ้ นการแปลขอ้ ความ ข้อมูล รวมถงึ การจาแนกรายละเอยี ด ก ารเชื่อมโยงความสมั พันธ์
ของขอ้ มูลท่ีได้รับ ตลอดจนเป็นกระบวนการเกี่ยวกบั การนาไปประยกุ ต์ใชไ้ ด้อย่างมเี หตุผลและเหมาะสม

กิลฟอรด์ ( Guilford) ใหท้ ัศนะเก่ยี วกบั การคดิ วเิ คราะห์ หมายถงึ การกระทาสงิ่ ตา่ ง ๆ ด้วย
ปัญญา คือ เปน็ กระบวนการปรบั โครงสร้าง โดยการจัดสิ่ง เร้าทไ่ี ด้รบั ใหเ้ ข้ากับประสบการณ์เดมิ และการปรับ
ประสบการณเ์ ดมิ ใหเ้ ข้ากบั ความจรงิ ทีไ่ ด้รับใหม่ ผลของการปรับเปลี่ยนดงั กลา่ วจะช่วยพฒั นาการคดิ วิเคราะห์
ของบคุ คลจากระดบั หนง่ึ ไปสู่อีกระดับหนง่ึ ทส่ี ูงกว่า

ทศิ นา แขมมณี ได้ใหค้ วามหมายของการคดิ วิเคราะห์ไว้วา่ ก ารคดิ วิเคราะห์ (Analyzing)
หมายถึง การแยกขอ้ มูลหรอื ภาพรวมของสิ่งใดส่ิงหนึ่งออกเป็นส่วนย่อย ๆ แลว้ จัดข้อมูลเป็นหมวดหมู่ตามเกณฑท์ ่ี
กาหนดเพอ่ื ใหค้ วามเขา้ ใจและเห็นความสมั พนั ธข์ องข้อมูลตา่ ง ๆ

สวุ ทิ ย์ มลู คา ได้ใหค้ วามหมายของการคิดวิเคราะห์ไว้วา่ การคิดวเิ คร าะห์ หมายถงึ
ความสามารถในการจาแนก แยกแยะองค์ประกอบตา่ ง ๆ ของส่ิงใดสิง่ หน่งึ ซึ่งอาจจะเปน็ วตั ถุ สิง่ ของ เรอื่ งราว
หรือเหตกุ ารณแ์ ละความสัมพันธเ์ ชงิ เหตผุ ลระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้นเพอ่ื ค้นหาสภาพความเป็นจรงิ หรอื ส่ิง
สาคัญของส่ิงทก่ี าหนดให้

เกรียงศักดิ์ เจริ ญวงศศ์ กั ดิ์ ได้ให้ความหมายไวว้ า่ การคิดวิเคราะห์ หมายถงึ ความสามารถใน
การจาแนกแจกแจงองค์ประกอบต่าง ๆ ของสง่ิ ใดส่ิงหน่ึง และหาความสัมพันธเ์ ชิงเหตุผลระหวา่ งองคป์ ระกอบ
เหลา่ น้นั เพื่อคน้ หาสาเหตทุ แี่ ทจ้ ริงของส่ิงทีเ่ กดิ ข้ึน

สนุ ันทา มั่นเศรษฐวทิ ย์ กล่าวว่า การอ่านกบั การคดิ เป็นกระบวนการทเี่ กี่ยวขอ้ งกั การอ่าน
เรม่ิ ตน้ ทีส่ ายตารับรสู้ ัญลกั ษณ์ แต่การคิดจะเร่มิ ตน้ ตง้ั แตก่ ารแปลความของสัญลกั ษณท์ ีส่ ายตารบั ร้แู ลว้ ส่งยงั ไป
สมองเพ่อื แปลความหมาย ดว้ ยเหตุผลนี้จึงกลา่ วไดว้ ่า เมื่อมีการอ่า นเกดิ ขึ้นกจ็ ะมกี ารคิดตามมา ดงั น้นั ทนั ทีที่
บุคคลเรม่ิ ต้นอา่ นก็จะเริ่มตน้ คิดควบคู่กับการอา่ นทันที

จากความหมายของการคดิ วเิ คราะห์พอสรปุ ได้วา่ การคดิ วิเคราะห์ หมายถงึ ความสามารถใน
การคดิ โดยใช้กระบวนการคิดแยกแยะอย่างมเี หตผุ ล คิดไตรต่ รองขอ้ มูลอยา่ งรอบคอบ เชือ่ มโยงหาความสมั พนั ธ์
และการคดิ ท่มี ุ่งแกป้ ัญหา

2.2 ความหมายของการอา่ นเชงิ วิเคราะห์
นักการศึกษาได้ใหค้ วามหมายของการอา่ นเชงิ วิเคราะห์ไวค้ ลา้ ยคลึงกัน ดังน้ี
ฐะปะนีย์ นาครทรรพ ให้ความหมายไว้สรปุ ได้วา่ การอา่ นเชิงวเิ คราะห์ คือ การแจกแจง

ส่วนประกอบต่างๆ ของหนังสือที่เราอา่ นไดค้ รบถว้ น แตเ่ ราไม่มน่ั ใจพอทจี่ ะตอบคาถามได้ครบถว้ น จนกว่าเราจะ
กลับไปอ่านซา้ และสรุปประเด็นที่เราเหน็ วา่ สาคญั ไว้ แลว้ ตคี วาม ข้อความใหเ้ ข้าใจกระจ่างชัด กล่าวคอื เราได้
ความรูค้ วามเข้าใจในเรื่องใดบา้ ง ได้รับทราบความเหน็ และอะไรบ้างทน่ี า่ สนใจ เราจบั “น้าเสยี ง” ของผเู้ ขยี นได้ว่า
เขารูส้ ึกอยา่ งไรต่อส่งิ นนั้ สิ่งนี้บา้ ง

ถนอมวงศ์ ล้ายอดมรรคผล ใหค้ วามหมายของการอ่านเชงิ วิเคราะห์ไว้สรปุ ไดว้ า่ ผูท้ อ่ี า่ นตอ้ งมี
ความสามารถในการอ่านวธิ ีตา่ งๆ ไดแ้ ก่ การอา่ นครา่ ว ๆ การอ่านแบบเก็บแนวคดิ อา่ นแบบตรวจตรา อา่ นอย่ าง
ศกึ ษาคน้ คว้า แลว้ จึงอ่านเชิงวเิ คราะห์

บันลอื พฤกษะวนั กล่าวไวว้ า่ การอา่ นเชิงวเิ คราะหเ์ ปน็ การอ่านเพอ่ื หาคาตอบ แบบไตร่ตรอง
พิจารณาหาส่วนทดี่ ี สว่ นท่เี ปน็ ประโยชน์แล้วนาส่วนทดี่ ไี ปใชป้ ระโยชน์ อ่านเพ่อื จัดลาดบั เหตกุ ารณ์ เช่น การอ่าน
นิทานหรอื เร่ืองราวทเ่ี กดิ ขนึ้ อ่านเพื่อเก็บใจความสาคัญ เช่น อ่านประโยคแลว้ เข้าใจความหมายจับประเด็นสาคัญได้

เกรยี งศกั ด์ิ เจรญิ วงศ์ศักดิ์ ใหค้ วามหมายไวว้ า่ ในการอ่านเชิงวเิ คราะห์ ผู้อา่ นจะตอ้ งจาแนก
แยกแยะได้ว่ารูปแบบของงานประพันธ์ทีอ่ ่านน้ันเปน็ อะไร เช่น เป็นนทิ าน บทละคร นยิ าย เรอื่ งส้ัน บทร้อยกรอง
บทความ ฯลฯ พจิ ารณาว่าเนื้อหาประกอบดว้ ยอะไรบ้าง โดยแยกเนือ้ เรื่องออกเปน็ สว่ น ๆ ให้เห็นวา่ ใคร ทาอะไร
ท่ไี หน เมอื่ ไร อยา่ งไร พจิ ารณาใหล้ ะเอียด วิเคราะหท์ ศั นะของผู้แต่งเพอ่ื ใหท้ ราบจุดมงุ่ หมายทีอ่ ย่เู บอ้ื งหลงั ผา่ น
ทางภาษาและถอ้ ยคาท่ใี ช้

จากการศกึ ษาการอา่ นเชิงวเิ คราะห์ พอสรุปได้ว่า การอ่านเชิงวเิ คราะหเ์ ปน็ การอา่ นทตี่ ้องใช้
กระบวนความคดิ ไตร่ตรอง หาเหตผุ ล แยกแยะขอ้ เทจ็ จรงิ ของข้อมลู ขา่ วสาร และแจกแจงสว่ นประกอบตา่ ง ๆ
ของหนังสอื หรอื เรื่องราวทอ่ี า่ น

2.3 ความสาคญั ของการอ่านเชิงวิเคราะห์
นกั การศกึ ษาได้ใหค้ วามสาคัญของการอา่ นเชงิ วิเคราะห์ไว้ ดงั น้ี
อดุ มพร พัสถาน กลา่ วว่าการอา่ นเชิงวิเคราะหม์ คี วามสาคญั ต่อผู้อา่ น คือ สามารถวิเคราะห์

วินิจฉยั ขอ้ ผิดถูกได้ด้วยเหตุผลเป็นของตนเอง มีอสิ ระในการคดิ การเช่อื มคี วามรู้และมจี ติ ใจกว้างมองโลกในแง่ ดี
เชน่ เดยี วกับ บปุ ผา ญาณจนั ทร์ กล่าวถึง ความสาคัญของการอา่ นเชงิ วเิ คราะห์พอสรปุ ได้วา่ ในยคุ ปจั จุบันการอา่ น
เชิงวิเคราะห์ เป็นการประเมนิ คณุ ค่าพจิ ารณาวา่ สิ่งใดถูก สิ่งใดควรไม่ควร สามารถแก้ปญั หาได้ จึงทาใหผ้ ู้ทอี่ ่านเชงิ
วเิ คราะห์ ดารงชีวิตไดอ้ ย่างมีความสขุ ในยคุ ปัจจบุ นั

เกรยี งศักดิ์ เจริญวงศ์ศกั ด์ิ ไดก้ ล่าวไว้วา่ การอ่านเชิงวเิ คราะหม์ ีความสาคญั ใช้เปน็ เครือ่ งมือใน
การศึกษาหาความรู้ความเขา้ ใจในเรือ่ งนนั้ เชน่ การอ่านเชงิ วิเคราะห์ข้อความ คากล่าวอา้ งตา่ งๆ โดยพิจารณา
ความสัมพนั ธ์เชิงเห ตผุ ลระหว่างข้ออ้างและข้อสรปุ หลกั ฐานท่ีนามากลา่ วอา้ ง จะชว่ ยใหเ้ ราคน้ พบความถกู ตอ้ ง
หรือผดิ พลาดของขอ้ อ้างนน้ั การอ่านเชงิ วเิ คราะหข์ า่ ว เพอ่ื ใหท้ ราบเบ้ืองหนา้ เบอื้ งหลังของเหตกุ ารณ์ประจาวันที่
เกิดขนึ้ การอ่านเชงิ วิเคราะหส์ ถานการณท์ างเศรษฐกิจ สังคม การเมอื งในแง่มุมตา่ งๆ

สวุ ิทย์ มลู คา ไดก้ ลา่ วไวว้ า่ การอา่ นเชงิ วิเคราะหช์ ว่ ยให้เรารู้ขอ้ เทจ็ จรงิ รู้เหตผุ ลเบือ้ งหลงั ของ
สง่ิ ทเี่ กดิ ขึ้น เขา้ ใจความเป็นไปเป็นมาของเหตกุ ารณ์ต่างๆ รวู้ า่ เรอื่ งนั้นมอี งคป์ ระกอบอะไรบ้าง สารวจความ
สมเหตสุ มผลของข้อมลู ท่ีปรากฏ ช่วยใหไ้ ม่ดว่ นสรปุ สง่ิ ใดง่ายๆ ขณะเดียวกันช่วยให้เราไม่หลงเช่ือข้ออา้ งท่ีเกิดจาก
ตัวอย่างเดียว ชว่ ยพฒั นาความเปน็ คนช่างสงั เกตหาความแตกตา่ งของสง่ิ ทีป่ รากฏทาใหไ้ ดข้ ้อเท็จจริงทเ่ี ป็น
ฐานความรู้ในการนาไปใชใ้ นการตดั สินใจแก้ปัญหาการประเมนิ และการตัดสินใจเรอื่ งต่าง ๆ ไดอ้ ย่างถกู ต้อง

สรปุ ไดว้ ่า การอ่านเชิงวเิ คราะห์มคี วามสาคญั ในการใช้ชีวิตในยุคปัจจบุ นั ซ่ึงมีความก้าวหนา้ ใน
ด้านเทคโนโลยี วิทยาการ และการสอื่ สารทีท่ นั สมยั การอ่านเชิงวิเคราะหย์ งั ทาใหผ้ ู้อ่านสามารถเลือกข้อมูล
ข่าวสารท่เี ป็นประโยชน์ มีคุณคา่ ต่อตนเองและต่อสังคม

2.4 ทฤษฎีการสอนอ่านเชงิ วเิ คราะห์

จากเทคโนโลยที ีเ่ จรญิ ก้าวหนา้ การตดิ ต่อสอื่ สารท่ที ว่ั ถงึ กันจาเป็นตอ้ งมกี ารพัฒนาทกั ษะการ

อ่านเชงิ วิเคราะห์ ครูจงึ ตอ้ งศึกษาทฤษฏีการอา่ นและเลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั กระบวนการเรียนการสอน เพ่ือให้

ผ้เู รียน มีคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคต์ ามที่ หลกั สูตรการศกึ ษา ขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 จดั กลุม่ สาระการ

เรียนรูเ้ ปน็ 8 กลมุ่ สาระวชิ าภาษาไทยเปน็ กลมุ่ ที่ 1 และกาหนดสาระและมาตรฐานการเรียนร้กู ลมุ่ สาระการเรียนรู้

วิชาภาษาไทย ชว่ งช้นั ท่ี 2 ( ป. 4 – 6) สาระท่ี 1: การอ่าน ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคิ ดไปใช้

ตัดสินใจแกป้ ัญหาและสร้างวสิ ัยทัศน์ในการดาเนนิ ชีวติ และเม่อื นักเรียนจบชว่ งชัน้ ที่ 2 (ป. 4 – 6) จะต้อง

สามารถอ่านไดค้ ล่อง เข้าใจความหมายของคา การเปรียบเทียบ การใชบ้ รบิ ทเขา้ ใจถอ้ ยคา สานวนและเน้อื เรื่อง

ใชแ้ หลง่ เรยี นรูพ้ ฒั นาความรู้ สามารถอา่ นเชงิ วิเคราะ ห์เพ่ือแยกขอ้ เท็จจริง ข้อคิดเห็น วเิ คราะหค์ วาม ตคี วาม

สรุปความ หาคาสาคญั ในเร่ืองท่อี ่าน นาความรจู้ ากการอ่านไปใชแ้ ก้ปัญหา ตัดสนิ ใจ คาดการณ์ และท่สี าคญั ใช้

การอา่ นเป็นเคร่ืองมอื ในการพฒั นาตน การตรวจสอบความรคู้ ้นคว้าเพิม่ เติม นักวิชาการศกึ ษาหลายท่านได้

กล่าวถงึ ทฤษฎีการสอนอา่ นวเิ คราะห์ ดงั นี้

สนทิ ตงั้ ทวี กล่าวถงึ การสอนอา่ นเชิงวเิ คราะห์วา่ มีลาดบั ข้ันพ้นื ฐานของการอ่านเชิงวเิ คราะห์

4 ประการ คือ 1) ผ้อู ่านตอ้ งทาความเข้าใจในความหมายของคาศพั ท์ทป่ี รากฏในข้อความ 2) ต้องทาความ

เข้าใจในเนือ้ เร่ือง สามารถแปลความ ตคี วาม จากเรือ่ งที่อ่านได้ 3) ต้องใช้ความคิดวเิ คราะห์พจิ ารณาหาเหตุผล

จากข้อความทีอ่ า่ น เข้าใจความคดิ หรือความม่งุ หมายทแ่ี ท้จริงของผู้เขียน 4) สามารถท่จี ะอภปิ ราย ช้ีแจงเหตุ

ผลไดอ้ ยา่ งชดั เจน และมคี วามคดิ เชงิ สร้างสรรค์ สามารถรวบรวมความคิดจากการอ่านแลว้ โยงเขา้ กบั

ประสบการณเ์ ดิมใหเ้ กิดเปน็ ความร้ใู หม่ แล้วนาไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์

สนุ ันทา มน่ั เศ รษฐวทิ ย์ ได้กล่าวถงึ ทฤษฎีการสอนอ่านเชิงวิเคราะห์ไว้ดงั นี้ 1) ทฤษฎี

ความสัมพนั ธร์ ะหว่างข้อความและประสบการณเ์ ดิม ซ่งึ เป็นทฤษฎีที่เน้นใจความสาคญั ของสาร เมื่อผ้อู า่ นรับสาร

แล้วโยงเข้าสปู่ ระสบการณ์เดมิ เพอ่ื เปรยี บเทยี บและตดั สนิ ใจจะยอมรบั ขอ้ มลู หรือไม่ ถ้ายอมรับจะเกบ็ ขอ้ มูลไว้ใน

สมองเปน็ ความร้ใู หม่เพ่อื นาไปใชป้ ระโยชน์ 2) ทฤษฎวี ิเคราะห์ข้อความของสาร

เน้นความสาคญั ขององค์ประกอบยอ่ ยของประโยค ผอู้ ่านจะต้องวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งทางภาษาและช นิดของคา

เพือ่ ให้เข้าใจความหมายได้ถูกตอ้ ง

เสาวลกั ษณ์ รัตนวิชช์ กล่าวถึงการสอนอ่านเชิงวเิ คราะห์ ท่สี าคัญ คอื ใช้ทฤษฎที างภาษาศาสตร์

และทฤษฎีทางจิตวิทยา ซ่งึ มเี ป้าหมายของการสอนอ่านที่ต้องการใหผ้ ูเ้ รียนมคี วามสามารถในการอา่ นหา

รายละเอียด และสรุปใจความสาคัญของเร่ืองทอี่ ่าน โดยการสอนผสมผสานกนั ระหวา่ งทฤษฎที างภาษาศาสตรแ์ ละ

ทฤษฎีทางจิตวิทยา ซึง่ พจิ ารณาทง้ั ลกั ษณะของธรรมชาติทางภาษาศาสตรท์ ีม่ นุษยพ์ ึงรับร้แู ละมีประสบการณแ์ ละ

จากวสั ดุทอ่ี า่ นหรอื ส่งิ ที่อา่ นในชีวติ จริง และคานึงถึงกระบวนทางการอ่านของมนษุ ยโ์ ดยธรรมชาตเิ ป็นสาคัญ

จากทฤษฏกี ารสอนอ่านเชงิ วิเคราะห์ทน่ี กั การศึกษาเสนอไวห้ ลายวธิ สี อดคล้องกบั หลักสูตร

การศึกษาขัน้ พน้ื ฐานได้กาหนดไว้ ครจู ึงต้องศกึ ษาทฤษฎีแบบต่าง ๆ ดงั ทก่ี ลา่ วมาและเลอื กใช้ใหเ้ หมาะสมกับการ

เรียนการสอนเพอ่ื นักเรียนมีความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์

2.5 วิธีการสอนอ่านเชงิ วเิ คราะห์
นกั การศกึ ษาได้เสนอวธิ กี ารสอนอา่ นเชิงวิเคราะหไ์ ว้ดงั นี้
สวุ ิทย์ มลู คา กล่าวว่าการสอนอ่านเชิงวิเคราะห์ประกอบด้วย 5 ขน้ั ตอน ดงั น้ี
1. กาหนดสง่ิ ทีต่ อ้ งการวเิ คราะห์ เป็นการกาหนดสง่ิ ของ เรอ่ื งราว หรือเหตุการณ์ต่างๆ ขน้ึ มา

เพื่อจะใช้วิเคราะห์ เช่น เหตกุ ารณจ์ ากขา่ ว ของจรงิ หรือสอ่ื เทคโนโลยี เปน็ ตน้
2. กาหนดปัญหาหรือวตั ถปุ ระสงค์ เป็นการกาหนดประเด็นข้อสงสัยจากปญั หาของส่งิ ที่

ตอ้ งการวิเคราะห์ เพ่อื ค้นหาความจรงิ สาเหตุ หรือความสาคญั เช่น บทความนตี้ อ้ งการสอ่ื หรอื บอกอะไรท่ีสาคญั
3. กาหนดหลักการหรอื กฎเกณฑ เปน็ การกาหนดขอ้ กาหนดสาหรับใชแ้ ยกส่วนประกอบท่ี

กาหนดให้ เชน่ เกณฑใ์ นการจาแนกส่งิ ทม่ี ีความเหมือนหรือแตกตา่ งกัน หลักเกณฑ์ในการหาลกั ษณะ
ความสมั พนั ธ์เชงิ เหตุผลอาจเปน็ ลกั ษณะความสัมพันธท์ มี่ คี วามคลา้ ยคลึงหรอื ขัดแย้งกนั

4. พิจารณาแยกแยะ เปน็ การพนิ ิจพเิ คราะห์ทาการแยกแยะ กระจายส่งิ ทกี่ าหนดให้ออกเปน็
ส่วนยอ่ ย ๆ โดยอาจใชเ้ ทคนิคคาถาม ที่ประกอบด้วย What (อะไร) Where (ท่ีไหน ) When ( เมอื่ ไร ) Why
( ทาไม ) Who ( ใคร ) How ( อย่างไร )

5. สรปุ คาตอบ เป็นการรวบรวมประเดน็ ท่สี าคญั เพอ่ื ค้นหาข้อสรุปเปน็ คาตอบ หรอื ตอบปญั หา
ของสงิ่ ทก่ี าหนด

สุนนั ทา มน่ั เศรษฐวิทย์ ไดก้ ลา่ วถึงการสอนอ่านเชิงวเิ คราะห์ โดยใชร้ ปู แบบการอ่านท่ี
สอดคล้องกบั ทฤษฎคี วามสัม พนั ธร์ ะหวา่ งขอ้ ความกับประสบการณเ์ ดมิ ซง่ึ เกีย่ วขอ้ งกับกระบวนการบน – ล่าง
(Top – Down Process ) ของ คลิฟฟอรด์ แอล บชุ และมลิ เดรด เอช ฮบุ เนอร์ ( Clifford L. Bush and
Mildred H. Huebner ) โดยเน้นไปท่ีการใชส้ มองเก็บใจความสาคัญของเรือ่ ง ผู้อา่ นจะอา่ นข้ันตอนการสรุป
ความสาคัญของเรือ่ งให้เขา้ ใจกอ่ น ซ่ึงมลี าดบั ขน้ั ดงั นี้

1. อา่ นสรุปความสาคญั เนอ้ื เรอื่ งโดยกวาดสายตา และเคลอ่ื นสายตาอย่างเร็ว สมองจะทา
หนา้ ทรี่ บั ร้แู ละจบั ใจความสาคญั ตลอดจนตีความและประเมินค่าเร่ืองทีอ่ ่าน โดยใช้ประสบการณ์ทางภาษาของตน
เป็นเครอื่ งมอื วินจิ ฉัยความถกู ต้อง

2. ใชว้ ธิ ีเดาคายากที่ไม่เคยพบมาก่อนใชป้ ระโยคหน้า – หลัง ของคาเป็นแนวทางในการทา
ความเขา้ ใจความหมาย

3. เรียงลาดับเหตุการณส์ าคญั ของเรื่องเพอ่ื นาไปสูก่ ารสรปุ เรอ่ื งและหาแนวคดิ
4. บันทกึ คายากที่ไม่เคยพบมาก่อน แล้วศึกษาความหมาย หน้าที่ ชนิด และที่มาของคา
เหล่าน้ันอยา่ งละเอยี ด ภายหลังการสรปุ เนอ้ื เรือ่ งแล้ว
5. อา่ นทบทวนอยา่ งละเอียดอกี คร้ังหน่ึง เพือ่ ใหไ้ ดใ้ จความทีถ่ ูกต้อง
6. พิจารณาขอ้ สรปุ และแนวคดิ ว่าถกู ต้องหรือไม่ ภายหลังทอ่ี า่ นเรอ่ื งไดโ้ ดยละเอียดแลว้
สนุ นั ทา ม่ันเศรษฐวิทย์ ไดเ้ สนอรปู แบบการสอนอ่านเชิงวเิ คราะห์ทส่ี อดคล้องกับทฤษฎีการ
วิเคราะห์ขอ้ ความ ดังนี้
1. วิธีการสอนอา่ นโดยนาเขา้ สู่บทเรยี นด้วยการอ่านเพ่ือสรุปใจความสาคัญ แลว้ ร่วมกนั
อภปิ รายพร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเหตุการณ์ในเร่ือง ตอ่ จากนั้นหาความหมายของคา หนา้ ทีข่ องคา และ
ชนดิ ของคา
2. วธิ กี ารสอนอา่ นโดยนาเข้าสบู่ ทเรียนดว้ ยการแนะนาใหน้ กั เรียนรูจ้ ักคาศพั ท์ทีส่ าคญั เพ่อื ให้
นักเรยี นรู้จักความหมายของคา และนาไปใช้ไดถ้ กู ต้อง แลว้ จงึ อ่านเนอื้ เรื่อง
3. วธิ ีการสอนอา่ นโดยนาเข้าสู่บทเรียนดว้ ยการใหร้ ้จู กั โครงสรา้ งของประโยค ชนิดและหน้าท่ี
ของคาในประโยคก่อนการอา่ นเร่อื ง
จากการศกึ ษาข้ันตอนการสอนอ่านเชิงวิเคราะห์ เป็นกระบวนการ การสอนทีพ่ ฒั นาผู้เรียนให้
อ่านเชงิ วิเคราะห์เกย่ี วกับเนือ้ เร่ือ ง ภาษา การลาดบั เหตกุ ารณ์ และคุณค่าของเร่อื งทีอ่ า่ น ซึ่งผู้วจิ ยั สนใจทีจ่ ะนา

ขนั้ ตอนการสอนอา่ นตาม ทฤษฎีความสัมพนั ธ์ระหวา่ งขอ้ ความกบั ประสบการณเ์ ดมิ และทฤษฎีการวเิ คราะห์
ขอ้ ความ ของ สุนันทา มนั่ เศรษฐวิทย์ มาเปน็ แนวทางในการพฒั นาการอ่านเชิงวิเคราะหใ์ หแ้ กน่ กั เรยี นชั้ น
ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 โดยการใช้เน้ือเร่อื งจากนทิ านแนวท่ีตรงกบั ความสนใจ และเหมาะสมกบั วัยของนักเรยี นมาใช้
ในการพัฒนาการอ่านเชิงวเิ คราะห์คร้ังนี้

2.6 การวัดและประเมินผลการอา่ นเชงิ วิเคราะห์
การวัดและประเมินผลการเรียนรเู้ ป็นกระบวนการทีใ่ หผ้ ูส้ อนใชพ้ ัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพราะจะ

ช่วยให้ไดข้ อ้ มูลสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความกา้ วหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรยี นรวมทั้งขอ้ มูล
ท่จี ะเป็นประโยชน์ต่อการส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นเกิดการพัฒนาและเรียนร้อู ย่างเต็มศักยภาพ ตามหลกั สตู รการศกึ ษาขั้น
พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 เน้นการวดั และประเมินในชัน้ เรยี น ซง่ึ จะชใี้ หเ้ ห็นถงึ สภาพทแี่ ท้จริงของผู้เรยี นและ
สภาพจรงิ ของการเรยี นการสอน พฤตกิ รรมท่ผี ้เู รยี นไดแ้ สดงออกจะสะท้อนให้เห็นความสามารถที่หลากหลาย ช่วย
เสรมิ ใหเ้ กดิ การเช่ือมโยงระหว่างหลักสูตร การจดั การเรียนการสอน และการวัดประเมินผลใหส้ ัมพนั ธก์ ัน และเปน็
กระบวนการทต่ี อ้ งดาเนนิ ควบค่กู นั ไปตลอดระยะเวลาของการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมนิ ผล ผู้สอน
กาหนดจุดประสงค์ เลอื กใชเ้ ครื่องมือท่ีหลากหลาย
และเหมาะสมในการประเมนิ ผล เพ่อื ชใี้ ห้เห็นภาพท่ีชัดเจนเกี่ยวกบั ความสามารถทีแ่ ท้จริงของผู้เรียนตาม
พัฒนาการด้านความรู้ ทกั ษะกระบวนการและคณุ ธรรม

เกณฑก์ ารประเมินผลการอ่านเชิงวิเคราะห์ วาเล็ตและ ดิสิค ( Valette and Disick ) กลา่ วว่า
ผู้เรยี นสามารถบอกความเหมือนและความแตกต่างของตัวอักษร อ่านประโยคได้อย่างเข้าใจความหมาย สามารถ
บอกไดว้ ่าประโยคสอดคล้องกับรปู ภาพท่ีเหน็ หรือคาแปล เข้าใจคาศพั ทห์ รือโครงสรา้ งทเี่ คยเรียนและนาไปใชใ้ น
สถานการณใ์ หม่ อา่ นแลว้ ตอบคาถามที่ ถกู – ผิด เติมคาหรอื เลือกคาตอบ สามารถเขา้ ใจความหมายแฝง
ตลอดจนสามารถประเมินเน้อื หาส่วนท่เี ปน็ สานวนของผเู้ ขียน และ ชาญชยั ยมดิษฐ์ ได้เสนอหลักการประเมนิ ว่า
ต้องดูองค์ประกอบการให้ความหมายของคา การเรียบเรยี งข้อความ แนวคดิ เนอื้ หา จนิ ตนาการ การลาดับเรอื่ ง
และการใชภ้ าษา อัจฉรา วงศ์โสธร กลา่ วว่า ผ้อู ่านตอ้ งเขา้ ใจตามเน้ือหาตรงตัวอักษร การเรยี บ เรียบเรยี งความคิด
หรือสาระ โดยการจดั ประเภท การสรปุ ใจความสาคัญ และสงั เคราะหค์ วาม ความเขา้ ใจในระดับตีความ
เรยี งลาดับเหตกุ ารณ์ การเปรียบเทยี บ และการประเมนิ โดยสามารถตัดสินเก่ียวกบั ขอ้ เท็จจริง ตลอดจนความ
เหมาะสมและความเทีย่ งตรง

สรปุ ไดว้ า่ เกณฑก์ ารประเมนิ การอ่านเชิงวิเคราะห์ ผอู้ ่านสามารถเขา้ ใจความหมายของคาศพั ท์
ประโยค เนือ้ หา การเรยี บเรยี งความคิดการสรุปความสาคญั ของเร่อื ง การตคี วาม ลาดับเหตุการณ์ จงึ ถอื ว่า
สามารถอ่านเชงิ วิเคราะห์ได้

3. นิทาน

นักการศกึ ษาไดใ้ หค้ วามหมายของนิทาน ประเภทของนทิ าน เกณฑ์การเลอื กนิทานให้เหมาะสมกับวยั
เดก็ ความสาคญั ของนทิ าน และวิธสี อนโดยใชน้ ทิ านไว้ ดงั ต่อไปนี้

3.1 ความหมายของนิทาน
นักการศกึ ษาได้ใหค้ วามหมายของนทิ านไวด้ งั น้ี
วลัย วลติ ธารง ได้ให้ความหมายของนทิ านวา่ หมายถงึ เรื่องราวท่ีเลา่ สืบตอ่ กันมาเป็นทอด ๆ

จนถึงปัจจุบัน นทิ านอาจเป็นเร่ืองทีอ่ ิงความจรงิ หรอื มีการเลา่ เสรมิ ต่อใหส้ นกุ สนาน ตนื่ เตน้ ลึกลับ หรือเปน็ เรอื่ งที่
เกดิ ขึ้นมาจากจนิ ตนาการของผเู้ ลา่ เองก็ได้ และอาจสอดแทรกคติเตือนใจ หรอื แนวทางปฏบิ ตั ิทีถ่ ูกทค่ี วรในการ
ดารงชีวิตด้วย

ทรงธรรม สทุ ธิธรรม ไดใ้ หค้ วา มหมายนทิ านว่าเรือ่ งทีเ่ ล่าสืบตอ่ กนั มา หรือแตง่ ขึ้นโดยมี
จุดมุง่ หมายทค่ี วามสนุกสนานหรอื สอดแทรกแนวคิดคณุ ธรรม ลกั ษณะที่พึงประสงค์แก่เด็ก เพื่อใหส้ ามารถปฏบิ ัติ
ตามไดอ้ ยา่ งเหมาะสมในการดารงชวี ิตในสังคม

เกริก ยนุ้ พนั ธ์ ได้ใหค้ วามหมายของนทิ านว่า นิทานคอื เรอ่ื งรา วท่เี ล่าสืบต่อกนั มาตง้ั แตส่ มัย
โบราณเปน็ การผูกเรื่องขึน้ ใหผ้ ฟู้ ังเกิดความสนกุ สนาน แฝงคาสอนจรรยาในการใช้ชวี ิต เปน็ การถา่ ยทอด
วฒั นธรรมตอ่ เนื่องของผูเ้ ลา่ ใหค้ นร่นุ ใหมฟ่ งั

ประคอง นมิ มานเหมินท์ ใหค้ วามหมายของคาว่า “นิทาน” ทใ่ี ช้ในวชิ าคตชิ นวทิ ยา หมายถงึ
เรือ่ งท่ีเล่าสบื ตอ่ กันมาจนกลายเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอยา่ งหน่งึ นิทานเหลา่ นีบ้ างทีเรยี กวา่ นทิ านพน้ื บ้าน
นทิ านพื้นเมอื ง นทิ านชาวบ้าน

จากความหมายดงั ที่กล่าวพอสรปุ ไดว้ ่า นทิ าน คือ เรื่องราวท่ีเล่าสืบตอ่ กนั มา โดยมีจุดมุ่งหมาย
ท่คี วามสนุกเพลิดเพลนิ เพอ่ื ให้เดก็ เกิดจิ นตนาการจากเรอ่ื งท่อี ่าน อาจเปน็ เร่ืองจริงหรอื เร่ืองทส่ี มมตุ ขิ น้ึ แต่ใน
นทิ านจะสอดแทรกคณุ ธรรม คตสิ อนใจ แง่คิด และวฒั นธรรมประเพณเี พ่อื ใหเ้ ด็กนาไปเป็นแบบอยา่ งหรือ
ประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวันได้

3.2 ประเภทของนิทาน
การแบง่ ประเภทของนทิ านมวี ธิ ีกาหนดความแตกตา่ งของนทิ านตามรูปแบบนิทา น ดังที่ จิระ

ประภา บุญนิตย์ ได้กลา่ วไวต้ ่อไปนี้
1. นิทานปรัมปรา เปน็ เรื่องท่ีสมมุตขิ ึน้ เชน่ ปลาบู่ทอง สโนไวท์ และ ซนิ เดอเรลล่า
2. นิทานทอ้ งถ่นิ เปน็ นิทานเร่อื งสน้ั เรื่องราวเกี่ ยวกบั ความเช่อื ประเพณี โชคลาง เปน็ เรอ่ื ง

จรงิ หรือเค้าโครงเร่ืองจริง
3. นทิ านเทพนยิ าย เปน็ นทิ านทตี่ วั เอกมกั จะเป็นนางฟ้า
4. นิทานเรื่องสตั ว์ มีสตั วเ์ ป็นตวั เอก มีการกระทาการพูดอยา่ งคน และนทิ านประเภทน้แี บ่ง

ได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) นทิ านเรอ่ื งสัตว์ปร ะเภทคตธิ รรม เช่น นิทานอสี ป นิทานชาดก เป็นตน้ 2) นิทาน
เรอ่ื งสัตว์ประเภทท่ีเด็ก ๆ ชอบใหเ้ ลา่ ซ้า เปน็ นิทานเก่ยี วกับความโง่ การแก้เผ็ด การผจญภยั ในแง่ขบขนั

นอกจากน้ี วไิ ล เวียงวีระ ไดแ้ บง่ นทิ านทเี่ หมาะสาหรับเด็ก ไว้ดังนี้
1. เร่อื งจรงิ ทีเ่ ก่ียวกบั สงิ่ แวดล้อมใกลต้ ัว
2. เทพนยิ าย
3. ตานานที่เล่าสบื ตอ่ กนั มา
4. นิทานโคลงกลอน
5. นิทานประเภทสง่ เสริมจนิ ตนาการ
6. นิทานท่ใี ห้ความรูพ้ ้นื ฐานทเี่ ดก็ จะเรยี นรู้
นายตารา ณ เมอื งใต้ ได้จาแนกนิทานออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
1. นิทานภาษติ เปน็ นทิ านทเี่ น้ือหาสน้ั ๆ และมตี วั ละครเปน็ สตั ว์เป็นสาคัญ เชน่ นทิ านอีสป
เปน็ ต้น
2. นทิ านเทพนิยาย ตวั ละครมักจะเปน็ มนุษย์ แตม่ ศี กั ดิส์ งู เป็นเจา้ หญงิ เจา้ ชาย
3. นทิ านชาวบ้าน เปน็ นิทานพนื้ บา้ นทีเ่ ล่าขานสืบตอ่ กนั มาแต่โบราณ เนือ้ หาในนิทานมักอา้ งอิง
สถานท่ี ๆ มอี ยูจ่ รงิ ในท้องถ่ิน เชน่ ไกรทอง เปน็ ต้น
4. นิทานชาดก เป็นนทิ านท่ีอย่ใู นคัมภีร์ เป็นคาสอนของผ้แู สดงธรรม พระภกิ ษมุ ักนามา
เทศนาสงั่ สอน เป็นขอ้ คดิ เตือนใจ เชน่ พญานกแขกเต้า เปน็ ตน้
เกริก ยนุ้ พนั ธ์ ไดจ้ าแนกนทิ าน เชน่ เดยี วกันเหมือนที่กล่าวไว้ข้างต้น แต่มีประเภทที่เพ่ิมเตมิ
ดังนี้
1. นทิ านวรี บรุ ุษ เป็นนทิ านทีอ่ า้ งถึงความสามารถ กล้าหาญ ตืน่ เตน้ เกินความจรงิ เพื่อให้
เรอื่ งราวสนุกสนาน เชน่ นายขนมต้ม เป็นต้น
2. นิทานอธบิ ายเหตุผล นิทานท่ีเปน็ เร่ืองราวของเหตุผลท่ีมาของส่ิงหน่ึงสง่ิ ใดและอธบิ ายพร้อม
คาตอบคาถามเรอื่ งราวน้นั ๆ เชน่ กระต่ายในดวงจนั ทร์ เป็นต้น

3. เทพปกรณมั เปน็ นิทานเกย่ี วกับความเชอื่ เกีย่ วข้องกับตวั บคุ คลที่มีอภนิ ิหารเหนอื ความจริง
เช่น พระอนิ ทร์ ทศกณั ฑ์ เปน็ ต้น

4. นทิ านตลกขบขัน เปน็ นิทานทมี่ ีเรอ่ื งราวเปรยี บเทียบชวี ติ ความเป็นอยู่ แต่ มีมุมตลกขบขนั
สนกุ สนาน ทาให้เกดิ ความสุข เปน็ เร่อื งราวท่เี กี่ยวข้องกบั ไหวพรบิ เรื่องเหลอื เชอ่ื เกนิ เลยความจริง เชน่ ตาอนิ
ตานา เป็นตน้

3.3 เกณฑ์การเลือกนทิ านให้เหมาะสมกบั วยั ของเดก็
นักการศกึ ษาได้เสนอเกณฑใ์ นการเลือกนิทานให้เหมาะสมกบั วยั ของเด็กดงั นี้
นารี ศิรทิ รัพย์ ไดก้ ลา่ วถึงหลักการเลือกนิทานวา่ ควรมีลกั ษณะเป็นเรือ่ งง่าย ๆ แต่มีความ

สมบรู ณใ์ นตวั เน้นเหตุการณ์อยา่ งนอ้ ยให้เด็กพอคาดคะเนเรือ่ งได้บา้ ง อาจสอดแทรกเกร็ดทีช่ วนให้เดก็ สงสยั วา่
จะเกิดอะไรข้ึนตอ่ ไป เพอ่ื ทาให้เรอ่ื งมีรสชาติ ตืน่ เต้นเรา้ ความสนใจแก่ เดก็ มบี ทสนทนา มาก ๆ เพราะเด็ก
ส่วนมากยงั ไมส่ ามารถเข้าใจเรื่องท่ีเป็นความเรียงได้ดพี อ มีการกล่าวคาสมั ผัสและถอ้ ยคาวลีทเ่ี ด็กจะจดจาได้งา่ ย
และรวดเร็วย่ิงขึน้ หรอื นิทานท่ีเดก็ สามารถจนิ ตนาการตามได้ ใช้ภาษาทีส่ ละสลวย ซ่งึ ไดเ้ ลือกสรรแลว้ ว่ามคี วาม
เหมาะสมกบั วยั ของเดก็ เป็นอย่างยิ่ง ควรเป็นเร่ืองทีเ่ กิดขน้ึ ในครอบครัว และเรื่องราวที่เก่ยี วกับชวี ติ ประจาวัน เป็น
เรอ่ื งที่เดก็ จินตนาการตามได้ เรอื่ งที่เกดิ ข้นึ ในครอบครัวของเด็กแต่ละคนไม่เหมอื นกันเนือ่ งจากความแตกตา่ ง
ระหว่างฐานะทางเศรษฐกจิ ครจู งึ ควรเลือกเรื่องท่ีเหมาะสมกับเด็กสว่ นใหญ่

พรจันทร์ จนั ทวิมล ได้กล่าวถึงหลกั การเลือกนทิ านว่า เป็นเรอื่ งงา่ ย ๆ ท่มี คี วามสมบรู ณ์ในตัว
ของมันเอง เน้นเหตุการณอ์ ย่างเดยี วพอให้เด็กคาดคะเนไดบ้ ้าง มีการเดินเรือ่ งรวด เร็ว มีตวั ละครนอ้ ยและมี
ลกั ษณะทจี่ าไดง้ า่ ย มบี ทสนทนามาก ๆ ใชภ้ าษางา่ ย ๆ ประโย คสน้ั ๆ การกลา่ วคาซ้า ๆ หรือคาสัมผัสจะช่วยให้
จดจาได้ง่าย สรา้ งความรสู้ ึกความพอใจให้กบั เดก็ เนื้อเรอื่ งเปน็ เร่อื งใกล้ตวั เด็ก เช่น ครอบครวั สัตวเ์ ลีย้ ง หรอื เรอ่ื ง
ท่เี ด็กจนิ ตนาการตามได้ ควรมีความยาวไมเ่ กนิ 15 นาที

จันทร์เพ็ญ สภุ าผล กล่าวถึง หลกั การเลอื กนิทานทเี่ นน้ ถึงโครงสร้างของเร่ืองว่า เน้นเร่อื งทีจ่ ดั
สาหรบั เด็ก โครงเรอ่ื งนา่ ประทับใจชวนติดตาม ฉากของเรอ่ื ง สถานท่ี เวลาที่เกดิ ของเรอ่ื ง จดุ เริม่ ตน้ ของเร่ืองเกิด
ทเี่ วลาใดควรดาเนนิ เร่ืองใหส้ อดคลอ้ งกับจดุ เร่มิ ตน้ ตวั ละครมีลักษณะและพฤตกิ รรมของผมู้ ีค วามคิดสร้างสรรค์
รวมถงึ การใช้ภาษาของเรือ่ งตอ้ งเข้าใจง่าย

สรปุ ได้วา่ ครสู ามารถนานิทานแต่ละประเภทมาใชใ้ นการเรียนการสอน แตค่ วรจะคานงึ ถึงความ
สนใจของเด็กแต่ละวัย การใช้ภาษาทีเ่ หมาะสม ความยากงา่ ยของเนื้อเร่ือง จะทาให้นักเรียนกระตอื รือรน้ ใน
การอา่ น อ่านอยา่ งสนกุ สนานเพลิดเพลนิ คดิ ตามเนอ้ื เร่ืองของนทิ าน เหตุผลของการกระทา มนี ิสัยรกั การอา่ น
และพฒั นาการอา่ นเชงิ วิเคราะห์

3.4 ความสาคญั ของนิทาน
นักการศกึ ษาได้ให้ความสาคญั ของนิทานไว้ ดงั นี้
วรรณี ศิรสิ ุนทร ไดก้ ลา่ วถึงความสาคญั ของนิทานสรปุ ไดว้ า่

นิทานทาให้เด็กได้ผอ่ นคลายอารมณ์ ได้รับความสนกุ สนาน ตืน่ เต้น เพลิดเพลิน พรอ้ มกบั การได้เรียนรู้ภาษา
คาศัพท์ไปด้วย เดก็ ได้ฝกึ การคิดจนิ ตนาการ ได้เรยี นรเู้ หตุการณ์ต่าง ๆ ตามเนอื้ หาของนิทานทอ่ี ่าน และนทิ าน
ยังเป็นทพ่ี ง่ึ ทางใจในเวลาท่ีรูส้ ึกเหงา

วริ ยิ ะ สริ สิ ิงห กล่าวถึงความสาคญั ของนทิ านไว้ว่า นทิ านมีคณุ คา่ ต่อเดก็ หากนิทานทีเ่ ขียนข้นึ
เป็นนิทานทมี่ ีเน้ือเรอ่ื งสอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์ มีความสนกุ สนาน ทาให้เดก็ ไดแ้ กป้ ญั หาเม่อื นาตนเข้าไปเป็น
ตวั ละครในเรอื่ ง เด็กจะได้ทราบถงึ ความจริงในโลกรอบตัวเดก็ ได้ตดั สนิ ว่าอะไร เปน็ สิง่ ที่สงั คมยอมรับ เปดิ โอกาส
ให้เด็กได้หวั เราะรว่ มกัน ได้รับประสบการณ์ท่กี ว้างขึ้น และมพี ฒั นาการท่กี า้ วหน้า รู้จกั ความหมายตา่ ง ๆ ของ
ชวี ติ

จินตนา ใบกาซยู ี ได้กล่าววา่ ครูสามารถใช้นทิ านนาเขา้ สบู่ ทเรยี น เพ่ือให้นกั เรยี นเกดิ ความ
กระตอื รือร้นและความสนใจท่ีจะเรียนรู้มากขน้ึ

วราภรณ์ รกั วินจิ กล่าววา่ นทิ านเป็นส่อื ของการเรยี นรูท้ ่ีเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับพัฒนาการ
ของเด็ก เพราะเด็กในช่วงวัยน้ีจะมจี ินตนาการสงู และคิดออกมาเปน็ ภาพ นทิ านยงั ช่วยให้พ่อแม่สามารถสร้าง
ความเชื่อมน่ั และสอนลูกในประสบการณช์ ีวิตประจาวันโดยใชน้ ทิ านเป็นสื่อ

ศรรี ัตน์ เจงิ กล่ินจันทร์ ไดก้ ล่าวถึงความสาคัญของนทิ านว่า นาความสขุ มาใหผ้ ู้อ่าน ใหค้ วาม
สนกุ สนานเพลดิ เพลิน สนองความตอ้ งการของเดก็ แต่ละคน ช่วยลดปญั หาความขัดแยง้ ทางอารมณข์ องเดก็ ได้ ทั้ง
ยงั ชว่ ยสรา้ งความคดิ รเิ รมิ่ และการเลียนแบบทด่ี ีใหแ้ กเ่ ด็กอีกด้วย

สรปุ ได้ว่า นทิ านมีความสา คัญในการพฒั นาทางภาษา ทกั ษะการอ่าน การฟัง การใช้สายตา
รจู้ กั สมาธิ นทิ านยังช่วยให้เด็กได้เรยี นขนบธรรมเนียมประเพณี ได้คตสิ อนใจ แง่คดิ สามารถนามาประยุกตใ์ ชใ้ น
การดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั ได้อย่างมีความสุข

3.5 วิธสี อนโดยใช้นิทาน
นิทานสามารถนามาใชใ้ นการสอนความรตู้ า่ งๆ ใหแ้ กผ่ เู้ รยี นได้เปน็ อยา่ งดี ท้งั ยังเป็นการอนุรกั ษ์

วัฒนธรรมประเพณี ช่วยสร้างความเข้าใจก่อให้เกิดคณุ ธรรมในจิตสานกึ และสง่ เสริมจินตนาการใหแ้ ก่ผู้เรียน
โดยการเลา่ นิทานให้เดก็ ฟงั หรอื การใหเ้ ด็กเปน็ ผ้อู ่านเอง

สุนันทา มน่ั เศรษฐวิทย์ ได้กล่าวถึง การสอนโดยใช้นิทานว่า นทิ านมคี วามเหมาะสมทีจ่ ะนามา
ประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื เสริมกิจกรรมการอ่าน เน่ืองจากนทิ านมีความเกี่ยวขอ้ งกบั ชีวติ ความเปน็ อยู่ของผเู้ รยี นอันจะเปน็
แรงจูงใจให้เกิดความอยากรอู้ ยากเรียน

ศจี แถวถนิ่ ทอง กลา่ วถงึ หลกั เกณฑใ์ นการอา่ นนิทานและการเลา่ นทิ านว่ามีหลักการปฏบิ ตั ิ
โดยทวั่ ไปคลา้ ยคลึงกนั ควรเลือกนิทานท่มี เี นอื้ หาและภาษายากงา่ ยใหเ้ หมาะสมกบั วยั เพศ และรสนยิ มท่ัวไป
การอา่ นนทิ านโดยทว่ั ไป ผู้อ่านตอ้ งรูจ้ ักอ่านคาสาคญั หรือความสาคัญใหเ้ ข้าใจความหมาย เพอื่ ให้ผู้ฟงั เกดิ ความ
เขา้ ใจเนื้อเรอ่ื งทอ่ี ่าน

อาภรณ์ ใจเทีย่ ง ไดก้ ล่าวถงึ วธิ ีสอนโดยใช้ นทิ านวา่ ควรเรมิ่ ดว้ ยการสร้างความสนใจใหแ้ ก่เด็ก
กอ่ น ใช้เวลาให้เหมาะสม ควรมีความตอ่ เน่ืองสมั พันธก์ ัน ความยาวของเรื่องไมย่ าวเกนิ ไปจนทาให้เกดิ ความสับสน
เนน้ ความสาคญั ของเรื่องให้ชัดเจน ควรเนน้ ตัวสาคัญของเรื่องมากกวา่ ตวั ประกอบ ควรใชภ้ าษาที่เหมาะสมกบั เด็ก
สรปุ การใชน้ ทิ านโดยเรยี กจุดสนใจของนักเรยี น อาจใช้คาพงั เพย คาคม สุภาษติ ต่าง ๆ ท่ีช้ีให้เหน็ ถึงคณุ และโทษ
ของการกระทาตามทอ้ งเรอ่ื ง และเนน้ การนาข้อคิดไปใชเ้ ปน็ ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวนั

ลอเรน เบอร์โรช (Loren Boroch) กลา่ วเสนอแนะ วิธีการสอนโดยการใชน้ ิทานว่า ตอ้ ง
พิจารณาให้รอบคอบวา่ นทิ านมคี วามเหมาะสมกับวยั และความสนใจของเดก็ มีเนือ้ เรื่องงา่ ย ๆ แต่น่าสนใจ
มีการตดิ ตามผล ครูควรตั้งคาถาม และร่วมกนั อภิปรายความหมายทแี่ ฝงในนิทาน และอาจให้เดก็ แสดงบทบาท
สมมุติ วาดภาพจากเรอ่ื งราว ระบายสจี ากเรอื่ งราว วเิ คราะห์นสิ ัยของตวั ละครและลาดับเหตกุ ารณ์ในนิทาน

บนั ลอื พฤกษะวัน ได้กล่าวถงึ วธิ ีสอนอ่านโดยใช้นิทานวา่ ใหน้ กั เรียนอา่ น คร่าวๆ เพอื่ สารวจคา
ง่ายคายากและทาความเขา้ ใจความหมาย ให้นักเรยี นเล่นเกมเธอถามฉันตอบจากเนื้อเร่ืองในนิทาน ใหผ้ เู้ รียนเป็นผู้
ตง้ั คาถามและเปน็ ผูต้ อบคาถาม ใหผ้ เู้ รียนสรปุ ความรู้ท่ไี ด้ ออกมาอภปิ ราย

สรุปไดว้ ่าการสอนโดยใชน้ ทิ านจะทาใหน้ กั เรยี นมีความสนใจในการอา่ น เกดิ ความเพลิดเพลนิ
และได้รบั ความร้ใู นหลายดา้ น เช่น ครผู ูส้ อนสามารถฝกึ ใหน้ ักเรียนอ่านสรุปใจความสาคัญ วเิ ค ราะห์เหตกุ ารณ์
ลักษณะของตัวละคร องค์ประกอบ ขอ้ คิดในนทิ าน ครูตัง้ คาถามและรว่ มกนั สรุปอภปิ รายหลงั การอา่ นนทิ าน
นอกจากนั้นนทิ านสอดแทรกวัฒนธรรมประเพณี ได้รับการปลกู ฝังคณุ ธรรม จริยธรรม การใช้จินตนาการ และการ
พฒั นาทกั ษะทางภาษาของนักเรียนให้ดยี ง่ิ ขึ้น

4. งานวจิ ัยทเี่ กย่ี วขอ้ ง

งานวิจัยทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั การใชน้ ิทานพัฒนาการอ่านเชงิ วิเคราะห์ท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ มดี งั นี้
4.1 งานวจิ ยั ในประเทศ

งานวิจยั ในประเทศท่เี กย่ี วข้องกบั การใชน้ ิทานพัฒนาการอ่าน มี ดังน้ี
เดชา จนั ดาพันธ์ ทาการวิจยั เร่ืองการใชน้ ิทา นพน้ื เมืองเสรมิ การอ่าน สาหรับนักเรยี นทพี่ ูด
ภาษาท้องถิ่นอสี าน ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบา้ นกุดเห่ อาเภอเลิงนกทา จังหวดั ยโสธร โดยใช้หนงั สอื
นทิ านพื้นเมืองเสริมการอ่านกบั นักเรยี น กลุ่มตวั อยา่ ง 2 กลุ่ม คอื กลุ่มทดลอง และกลุม่ ควบคุม ผลการวิจัยพบว่า
นักเรียนมีความก้าวหนา้ ทางการอา่ นสูงขึ้น และมสี มั ฤทธผิ ลการอ่านของนกั เรยี นกลุ่มทดลองสูงกวา่ นักเรียนกลุ่ม
ควบคมุ
วรรณภา พ่มุ เจรญิ ได้ทาการวิจยั เรือ่ ง “การใช้นิทานพืน้ เมอื งอเมริกาใต้พัฒนาการอ่านในใจ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรียนกาแพงแสนวทิ ยา จงั หวัดนครปฐม ” กลมุ่ ตัวอย่างเปน็ นักเรียนช้นั
มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 จานวน 60 คน แบง่ เป็นกล่มุ ทดลอง และกลมุ่ ควบคมุ กลุม่ ละ 30 คน สอนโดยกลมุ่ ทดลอง
ใชแ้ บบฝึกการอ่านในใจเป็นส่ือ กลุ่มควบคมุ สอนโดยวิธีปกติ ผลการวิจยั พบวา่ สัมฤทธผิ ลการอา่ นในใจก่อน
เรยี นของกลมุ่ ทดลอ งและกลมุ่ ควบคมุ แตกต่างกันอย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั .05 สัมฤทธิผลการอา่ นในใจ
หลังเรียนระหว่างกลมุ่ ทดลองและกล่มุ ควบคุมแตกต่างกนั อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .05
พจนยี ์ ประเสรฐิ ศรี ทาการวจิ ัยเรอื่ ง การใชน้ ิทานชาดกเป็นสอ่ื พฒั นาการอ่านอย่างมี
วจิ ารณญาณนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 โรงเรยี นทงุ่ ศขุ ลา “ กรุงไทยอนุเคราะห์ ” จังหวดั ชลบุรี กลุม่ ตัวอยา่ ง
เปน็ นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 60 คน แบ่งเป็นกล่มุ ทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 30 คน
ผลการวจิ ัยพบว่า ค่าเฉลีย่ ของคะแนนการอา่ นอย่างมวี ิจารณญาณกอ่ น เรยี นและหลงั เรยี นของกลุ่มทดลองและ
กลมุ่ ควบคุมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทีร่ ะดับ .05 และค่าเฉล่ียของคะแนนการอ่านอย่างมีวจิ ารณญาณหลัง
เรียนระหวา่ งกลมุ่ ทดลองและกลุ่มควบคุมแตกต่างกนั อย่างมีนยั สาคญั ท่ีระดบั .05
ปจั ฉมิ าพร อปั การัตน์ ทาการวิจยั เรือ่ ง “การศึกษาผลสมั ฤทธิ์การอา่ นอย่างมวี ิจารณญาณ โดย
ใชน้ ทิ านพน้ื บา้ นอีสานเปน็ สอ่ื ในการสอนอา่ น สาหรบั นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรียนอดุ รธานวี ทิ ยาคม
จังหวดั อดุ รธานี ” กลมุ่ ตัวอย่างเปน็ นกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 จานวน 60 คน แบง่ เปน็ กลมุ่ ทดลอง 30 คน
กลุ่มควบคมุ 30 คน กลมุ่ ตัวอยา่ งมีคะแนนกอ่ นเรยี นไม่แตกต่างกนั ทร่ี ะดับ .01 ดาเนนิ การสอนกลุ่มทดลอง 10
ครัง้ โดยใชแ้ บบฝึกทีส่ ร้างจากนทิ านพน้ื บ้าน ส่วนกลุม่ ควบคมุ สอนโดยวธิ ีปกติ 10 คร้งั เช่นเดยี วกัน แลว้ ทาการ
ทดสอบหลงั เรยี น นักเรยี นท้งั สองกล่มุ ผลการวจิ ยั ปรากฏว่า ค่าเฉล่ยี ข องคะแนนผลสัมฤทธ์ิในการอ่านอย่างมี
วจิ ารณญาณหลังเรียน ระหวา่ งกลุม่ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ แตกตา่ งกันอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดบั .01
จากการศึกษางานวิจยั ท่เี กีย่ วข้องกับการใชน้ ทิ านพฒั นาการอ่านในประเทศพบวา่ นิทานเปน็
หนงั สือทีต่ รงกับความสนใจของนักเรยี น เหมาะสมกับวัยและสติปัญญาของนกั เรียน และทาให้การอ่านและเรยี นรู้
ของนกั เรยี นพฒั นาข้นึ
4.2 งานวิจยั ในต่างประเทศ
งานวิจยั ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การใช้นิทานพฒั นาการอา่ นในตา่ งประเทศ มดี ังน้ี
คอนราด ( Konrad ) ทาการวิจยั เรอ่ื ง “ การพัฒนาทักษะการคิด โดยใชน้ ิทานพ้ืนบา้ นท่ี
แตกต่างกันจากหลายวัฒนธรรม ” โดยกลมุ่ ตวั อยา่ งเปน็ นักเรยี นระดบั 3 จานวน 1 ห้องเรยี น ซ่งึ สอนโดยใช้
นทิ านพื้นบา้ นเรอื่ งตา่ ง ๆ ทีม่ คี วามแตกต่างกนั จากหลายวฒั นธรรม ผลการวจิ ยั พบวา่ หลกั สูตรท่ีมีการบรู ณาการ
มกี ารฝึกทกั ษะการคิดด้วยนิทานพน้ื บา้ น มผี ลตอ่ การพฒั น าการคิดของนักเรยี นใหส้ ูงขน้ึ ไปพรอ้ ม ๆ กับการ
พัฒนาทกั ษะการฟัง การอ่าน และการเขยี น
ดิกสันและคนอนื่ ๆ (Dixson and Others) ได้ศึกษาการใชน้ ทิ านกับเดก็ ปฐมวัย ณ โรงเรยี นใน
เมอื งดที รอยด์ จานวน 146 คน โดยแบง่ เด็กออกเป็น 4 กลุ่ม กลุม่ ทดลองมี 3 กลุ่ม กลุ่มท่ี 1 หลังจากได้ฟัง
นิทานแลว้ มกี ารสนทนา กลมุ่ ที่ 2 พาไปศึกษานอกสถานท่ี กลมุ่ ที่ 3 แสดงบทบาทเลียนแบบตัวละคร สว่ นกลุ่มท่ี

4 ซึง่ เป็นกลุ่มควบคุมไดฟ้ งั นทิ านเพียงอย่างเดียว ผลการวิจัย พบวา่ เด็กกลมุ่ ที่ฟังนทิ านแลว้ ไดแ้ สดงบทบาท
เลียนแบบตัวละครในเรื่องไปด้วยจะพฒั นาความคดิ ต่ าง ๆ ได้ดีทีส่ ดุ แสดงว่าเม่ือฟงั นทิ านแลว้ เดก็ ยอ่ มมคี วาม
ตอ้ งการทีจ่ ะเลยี นแบบตวั ละครทต่ี นชอบและตวั ละครทปี่ ระสบความสาเร็จ

จากผลการวจิ ยั ท้ังในประเทศ และตา่ งประเทศ พบว่าการสอนอ่านโดยใชน้ ิทาน
สามารถพฒั นาการอา่ นของนักเรียนให้มปี ระสิทธภิ าพสอดคล้องกับเปา้ หมายของการศึกษาท่มี งุ่ พัฒนาความรู้
ความสามารถของนักเรียน

บทที่ 3
วิธีการดาเนินงานตามโครงการ

1. วธิ ีดาเนนิ การ/ขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน

ขัน้ เตรยี มการ

1. ประชมุ วางแผนการดาเนินโครงการรว่ มกนั กบั บุคลากรของ กศน. อาเภอหนองไผ่

2. ร่วมกันวางแผนและจดั ทาโครงการฯ

3. แตง่ ต้ังคณะทางาน

2. ประชุมคณะทางาน /เจา้ หน้าท่ี ทเี่ กี่ยวขอ้ ง

3. ประสานงานเครือข่ายท่เี กย่ี วข้อง/ วทิ ยากร/ผทู้ รงคุณวฒุ ิ /ผู้นาชมุ ชน

4. จดั เตรียมคู่มือ /อุปกรณ์ /ส่ือตา่ งๆ

5. ขั้นดาเนนิ การ

1. อบรมให้ความรู้ตามโครงการ

2. ฝึกปฏิบตั ิ

6. วิธีการดาเนินงาน

กจิ กรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย พ้นื ท่ดี าเนนิ การ ระยะเวลา

๑. การประชุมวางแผน - เพอ่ื ชี้แจงวัตถปุ ระสงคแ์ ละ คณะครแู ละบุคลากร กศน. 9 ธนั วาคม

ดาเนนิ การ แนวทางการจัดโครงการ กศน.อาเภอหนองไผ่ อาเภอหนองไผ่ 2564

2.การประสานงานในการ - เพ่ือติดตอ่ ประสานงาน และ ครู กศน.ตาบลวังทา่ ดี พืน้ ที่ 10 - 29 ธันวาคม

ดาเนนิ งานตามโครงการ จัดเตรียมสถานท่ี ครู ศรช.ตาบลวงั ทา่ ดี ตาบลวังทา่ ดี 2564

3. การเขียนโครงการเพ่ือ - เพอ่ื วางแผนกาหนดการใน ครู กศน.ตาบลวังท่าดี กศน. 30 ธันวาคม

ขออนมุ ตั ิ การดาเนินโครงการ ครู ศรช.ตาบลวงั ทา่ ดี ตาบลวังท่าดี 2564

4. จัดทาคาสงั่ และจดั - เพอ่ื กาหนดบคุ ลากรและ ครู กศน.ตาบลวังท่าดี กศน. 30 ธันวาคม

คณะดาเนินงานโครงการ วางแผน แบ่งงานตามหน้าที่ ครู ศรช.ตาบลวังทา่ ดี ตาบลวังทา่ ดี 2564

5. การดาเนินกจิ กรรม ๑. เพ่อื พฒั นาทักษะภาษาไทย ประชาชนท่ัวไป/ กศน. 1. ต.ค.64 - มี.ค.65
ตามโครงการ สร้างนสิ ัยรกั การอา่ นและการ นกั เรยี น/นกั ศึกษา ตาบลวงั ท่าดี 2. เม.ย.65 - ก.ย.65

1.กิจกรรมอาสา เรียนรใู้ ห้เหมาะสมกบั วยั จานวน 30 คน บา้ นหนังสอื ชมุ ชน
ม.4 บ้านลาพาด
พฒั นาหอ้ งสมุด อย่างมีคุณภาพตามบรบิ ทของ ม.6 เนนิ สะแก
2.กจิ กรรมสมุดบันทกึ พ้นื ท่ี ม.7 บา้ นโคกกลาง
๒. เพ่ือให้มีการอ่านอย่าง
รักการอ่าน
ต่อเน่ืองจนเปน็ นิสยั
3.กิจกรรมโมบาย
๓. เพ่อื ให้ กศน.ตาบล มี
ความรู้ ห้องสมุดมีชวี ติ เปน็ แหลง่
4.กจิ กรรมมมุ เรียนรใู้ นการสรา้ งนิสยั รักการ
รักการอ่าน อา่ นและการเรียนรู้

๖. การตดิ ตามประเมินผล - เพอ่ื ตดิ ตามผลการจดั ครู กศน.ตาบลวงั ท่าดี กศน. 1. ต.ค.64 - ม.ี ค.65
การวดั ผลประเมนิ ผล โครงการ ครู ศรช.ตาบลวงั ท่าดี ตาบลวังทา่ ดี 2. เม.ย.65 - ก.ย.65

๗. การสรปุ ผลและการ - เพือ่ สรปุ และรายงานผลการ ครู กศน.ตาบลวงั ท่าดี กศน. 1. ต.ค.64 - มี.ค.65
ครู ศรช.ตาบลวงั ทา่ ดี ตาบลวงั ท่าดี 2. เม.ย.65 - ก.ย.65
รายงานผลการจดั โครงการ ดาเนนิ งาน

7. ขน้ั สรปุ

1.ประเมนิ ความพงึ พอใจ 2.สรปุ ผลการดาเนนิ งาน /รายงานผลการจดั กิจกรรม

บทที่ 4
ผลการดาเนนิ งานตามโครงการ

ผลการดาเนินงานตามโครงการ

สรปุ แบบประเมินความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ าร โครงการส่งเสริมนิสัยการอา่ น กศน.ตาบลวงั ท่าดี

จานวน 38 คน

เพศ ๑) ชาย จานวน 8 คน

๒) หญงิ จานวน 30 คน

ระดับการประเมิน

ระดบั 4.50 - 5.00 มากท่ีสดุ

ระดับ 3.50 - 4.49 มาก

ระดบั 2.50 - 3.49 ปานกลาง

ระดบั 1.50 - 2.49 น้อย

ระดบั ต่ากวา่ 1.50 นอ้ ยทีส่ ดุ (ต้องปรบั ปรุง)

ตารางแสดง ความพงึ พอใจของผูเ้ ข้าร่วมโครงการส่งเสรมิ นิสัยการอ่าน กศน.ตาบลวงั ท่าดี

ข้อ รายการกิจกรรมทป่ี ระเมิน น้าหนักในการประเมิน รวม  รอ้ ยละ SD อยรู่ ะดบั
5 4 321 มากท่ีสุด
มากที่สดุ
1 ขน้ั ตอนการใหบ้ ริการไมย่ ่งุ ยากซบั ซอ้ น 30 8 0 0 0 38 4.79 95.79 0.41 มากทสี่ ุด
มากทีส่ ุด
2 ความสะดวกรวดเรว็ ของการใหบ้ ริการ 33 5 0 0 0 38 4.87 97.37 0.34 มากที่สดุ
มากท่สี ดุ
3 ใหบ้ ริการดว้ ยความถูกตอ้ ง ครบถว้ น 38 0 0 0 0 38 5.00 100.00 0.00 มากทส่ี ุด

4 ความชดั เจนในการอธิบาย ชีแ้ จง 33 5 0 0 0 38 4.87 97.37 0.34 มากที่สุด

5 ความเสมอภาคของการให้บรกิ าร 30 8 0 0 0 38 4.79 95.79 0.41 มากทส่ี ุด
มากที่สดุ
๖ ผู้ใหบ้ รกิ ารมีความสภุ าพยมิ้ แยม้ แจ่มใส 32 6 0 0 0 38 4.84 96.84 0.36 มากทส่ี ดุ
มากที่สุด
๗ ผู้ให้บรกิ ารเตม็ ใจและมีความพรอ้ มในการ 33 5 000 38 4.87 97.37 0.34 มากทส่ี ุด
ใหบ้ ริการ มากที่สุด
มากทส่ี ดุ
ผูใ้ หบ้ ริการมีความรู้ความสามารถในการ

๘ ให้บรกิ าร เช่น สามารถตอบคาถามชแ้ี จง 35 3 000 38 4.92 98.42 0.27
ข้อสงสยั ให้คาแนะนาช่วยแก้ปญั หาได้

อยา่ งถูกต้อง

๙ ผู้ใหบ้ ริการใหบ้ รกิ ารอยา่ งเทา่ เทียมกัน 34 4 0 0 0 38 4.89 97.89 0.31

๑๐ มชี ่องทางเลือกใช้บรกิ ารได้หลายรปู แบบ 38 0 0 0 0 38 5.00 100.00 0.00

๑๑ มีความสะดวกในการใชบ้ ริการ 32 6 0 0 0 38 4.84 96.84 0.36

๑๒ ความสะอาดของสถานที่ หรือความพรอ้ ม 31 7 000 38 4.82 96.32 0.39
ของสิ่งอานวยความสะดวก

๑๓ ไดร้ บั บริการทตี่ รงตามความต้องการ 30 8 0 0 0 38 4.79 95.79 0.41

๑๔ ได้รับบริการท่ถี ูกตอ้ งครบถ้วน 33 5 0 0 0 38 4.87 97.37 0.34

รวม 462 70 0 0 0 532 4.87 97.37 0.30

จากตารางสรปุ ไดว้ ่าผู้เข้ารว่ ม โครงการสง่ เสริมนสิ ัยรักการอ่าน กศน .ตาบลวงั ทา่ ดี ในครง้ั น้ใี นภาพรวมอย่ใู น
ระดับมากทส่ี ุด คือ ๔.87

ส่วนท่ี 3 ข้อเสนอแนะเพอ่ื การจดั โครงการ/กิจกรรมครงั้ ตอ่ ไป
-

บทที่ 5
สรุปผลการดาเนินงานตามโครงการ

การบรู ณาการการเรียนรู้
 มีการสง่ เสรมิ การอ่านใหก้ วา้ งขวางขน้ึ และปลูกฝงั นสิ ัยรักการอา่ นให้แพรห่ ลาย เด็ก เยาวชน

นกั เรียน นักศกึ ษาและประชาชนท่วั ไป รจู้ ักเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง

 จากกจิ กรรมการอบรม ผู้เข้ารว่ มไดม้ สี ว่ นร่วมของครอบครวั ในการทากิจกรรมร่วมกนั

ความรว่ มมอื ของกลุ่มเปา้ หมายและเครอื ข่าย
- เครือข่ายให้การสนับสนนุ ในการส่งเสรมิ และการจัดกจิ กรรมของกล่มุ เปา้ หมาย
- ผูน้ าท้องถนิ่ /เครอื ข่าย ให้การสนับสนนุ โครงการ และให้ความรว่ มมอื ในการดาเนนิ
กจิ กรรมต่างๆ ฯลฯ

ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับจากโครงการ
เดก็ เยาวชน นกั เรียน นกั ศึกษา และประชาชนท่ัวไปรกั การอ่าน มอี าชีพ มีรายได้ และพัฒนาตนเองมี

คุณภาพชีวิตทดี่ ีขนึ้

การนาความรู้ไปใช้
ผู้เข้าร่วมกจิ กรรม/ผู้รบั บริการทกุ คน เพอ่ื ส่งเสรมิ การอ่านใหก้ วา้ งขวางขนึ้ และปลกู ฝังนิสัยรกั การอา่ น

ให้แพร่หลาย เด็ก เยาวชน นกั เรยี น นกั ศึกษาและประชาชนทวั่ ไป รจู้ ักเรยี นรู้ดว้ ยตนเองและมีสว่ นร่วมในการทา

กจิ กรรมร่วมกบั ครอบครวั

การดาเนนิ งานท่วั ไป จานวน 38 คน
เชิงปริมาณ
- นักศกึ ษา

1) ชาย จานวน 8 คน

2) หญงิ จานวน 30 คน

เชิงคณุ ภาพ
ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม /ผรู้ ับบริการทุกคน มนี ิสัยรกั การอ่านมากขึน้ รกั การศกึ ษาหาความรใู้ นห้องสมดุ

ประชาชน กศน .ตาบล บา้ นหนังสอื ชุมชน และแหล่งเรี ยนร้อู น่ื ๆ ดว้ ยตวั เองอยตู่ ลอดเวลา มที ักษะทางการอา่ น

และการเรยี นรเู้ พ่อื นาไปใช้ประโยชน์ พฒั นาคุณภาพชวี ติ ของตนเอง สังคมและประเทศชาตติ อ่ ไป

ขอ้ เสนอแนะ
-

ผลการดาเนินงานตามตัวช้วี ัดความสาเรจ็
1. เป้าหมาย จานวน 30 คน มีผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม จานวน 38 คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ ผลการดาเนินงานตามเป้าหมาย
2. จานวนผรู้ ว่ มกิจกรรม จานวน 38 คน ผ่านกจิ กรรม จานวน 38 คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1๐๐ ผลการดาเนนิ งานบรรลเุ ปา้ หมาย
3. ความพงึ พอใจของผผู้ ่านกิจกรรม อยใู่ นระดับ มากที่สุด คิดเปน็ ๔.87

สรปุ ความพึงพอใจของผผู้ า่ นกจิ กรรมอย่ใู น ระดับ มากท่สี ดุ
สรปุ ผลการดาเนินงาน

ผลการดาเนนิ งานบรรลุเป้าหมาย

ภาคผนวก

ภาพกิจกรรม
โครงการกจิ กรรมส่งเสริมนิสยั รกั การอ่าน กศน.ตาบลวงั ท่าดี

วนั ท่ี 23 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2565
ณ กศน.ตาบลวงั ทา่ ดี อาเภอหนองไผ่ จังหวดั เพชรบูรณ์

รายชอื่ ผู้เข้าร่วมโครงการกิจกรรมส่งเสริมนสิ ยั รกั การอา่ น กศน.ตาบลวงั ท่าดี
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอหนองไผ่

ลาดบั ที่ ช่อื - สกลุ หมายเหตุ

1 นายวฒุ ชิ ยั ปาโส

2 นางสาวนยิ ม ยะสวน

3 นายบาหยนั โพธ์เิ สง็

4 นางมติ ร ปางน้อย

5 นายสมชาย ด้วงทอง

6 นางนา้ ฝน พมุ่ เกตุ

7 นางสาวสุวนนั ท์ บญุ สิงห์

8 นางสมบูรณ์ ทนั ตา

9 นางรชั ฎาพร ปานตะละสี

10 นางสาวทอน ใหมจ่ นั ทร์

11 นางบญุ เพ็ง วาระเนตร

12 นางสมพิศ ศรีสงคราม

13 นางสภุ าพ เดือนเพ็ง

14 นางพว้ั แดงทอง

15 นางนันทน์ ภสั ราชเสนา

16 นายทองวลั ย์ คายา

17 นางบวั วนั สชี นไช

18 นางนก โพธเิ์ สง็

19 นางสมภาร ด้วงทอง

20 นายพิศ กองเกิน

21 นางยุพิน นามแดง

22 นางสมบรู ณ์ สาระพันธ์

23 นางชญานี วาระเนตร

24 นางคาพลอย ดวงจนั ทร์

25 นางแสงแข แสงแร้

26 นางสาว ธดิ ารตั น์ เทยี่ งเลา

27 นาย วรี ชิต บญุ คม

28 นางสาวณัฐนันท์ ทองแพง

29 นางสาว ชุติกาญจน์ วงพาณชิ ยไ์ พรศาล

30 นางสาวนติ ยา วัฒนสมบรู ณ์

รายช่ือผู้เข้าร่วมโครงการกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กศน.ตาบลวงั ทา่ ดี
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอหนองไผ่

ลาดับที่ ชื่อ - สกลุ หมายเหตุ

31 นางสาว อารยี า กางหาบตุ ร

32 นาย นา้ พุ อินทกูล

33 นาย ชาตชิ าย ขวญั ยืน

34 นางสาวศิริวงศ์ ทดั ทาน

35 นางสาวสุภาวิณี จนั ทร์อินทร์

36 นางสาววนชั พร คาวิเศษ

37 นางสนุ ี ผุดเผาะ

38 นางอพณิ ยา สุทธปิ ระภา

บนั ทึกขอ้ ความ

สว่ นราชการ กศน.ตาบลวงั ทา่ ดี

ที่ 360/2564 วนั ท่ี 30 ธันวาคม ๒๕๖4

เรื่อง อนุมตั ิโครงการและแต่งตัง้ คณะกรรมการดาเนินงานโครงการการศึกษาตามอธั ยาศยั
โครงการสง่ เสริมนิสัยรักการอา่ น กศน.ตาบลวังท่าดี

เรยี น ผู้อานวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอหนองไผ่

ตามท่ี ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอหนองไผ่ ได้มอบหมายให้ กศน.ตาบล
วงั ท่าดี โดยมี นางสาวอริษา สงิ หเ์ ส ครู กศน .ตาบล ไดก้ าหนดการจัด โครงการการศึกษาตามอธั ยาศัย โครงการ
ส่งเสริมนสิ ัยรกั การอ่าน กศน.ตาบลวงั ท่าดี เพื่อพัฒนาทกั ษะภาษาไทย สรา้ งนสิ ยั รกั การอ่านและการเรยี นรู้ให้
เหมาะสมกับวยั อย่างมคี ุณภาพตามบริบทของพนื้ ท่ี มกี ารอา่ นอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจนเป็นนิสัย และกศน .ตาบล
มหี อ้ งสมุดมีชีวิตเป็นแหลง่ เรียนร้ใู นการสรา้ งนิสัยรักการอ่านและการเรียนรู้ ณ กศน.ตาบลวังท่าดี อาเภอหนองไผ่
จงั หวัดเพชรบูรณ์

จงึ เรยี นมาเพือ่ ๑. โปรดทราบ
๒. ลงนามอนุมตั โิ ครงการ
๓. ลงนามในคาสง่ั

(นางสาวอรษิ า สงิ ห์เส)
ครู กศน.ตาบล

๑. ช่อื โครงการ โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน กศน.ตาบลวังท่าดี

๒. สอดคล้องกับนโยบายและจดุ เนน้ การดาเนินงาน สานักงาน กศน.ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564
2. สง่ เสริมการจดั การศกึ ษาและการเรียนรตู้ ลอดชีวิตสาหรับประชาชนท่ีเหมาะสมกับทุกช่วงวยั
2.1 สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาอาชพี เพ่ือการมีงานทา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสรา้ ง
นวัตกรรมและผลิตภัณฑท์ ่มี ีคุณภาพ มคี วามหลากหลาย ทนั สมัย และตอบสนองความต้องการของประชาชน
ผรู้ บั บริการ และสามารถออกใบรบั รองความรู้ความสามารถเพอ่ื นาไปใช้ในการพฒั นาอาชพี ได้
2.2 สง่ เสริมและยกระดับทกั ษะภาษาอังกฤษให้กับประชาชน (English for All)
2.3 สง่ เสริมการเรียนการสอนท่เี หมาะสมสาหรบั ผูท้ ่เี ข้าสสู่ งั คมสูงวัย อาทิ การฝกึ อบรมอาชีพท่เี หมาะสม

รองรับสังคมสูงวยั หลักสตู รการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และส่งเสริมสมรรถนะผสู้ ูงวยั และหลกั สตู รการดูแลผู้สูงวัย
โดยเน้นการมสี ่วนร่วมกบั ภาคเี ครือข่ายทกุ ภาคส่วนในการเตรยี มความพรอ้ มเข้าสูส่ ังคมสงู วยั

ภารกจิ ต่อเน่ือง
๑. ดา้ นการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้
๑.๔ การศกึ ษาตามอัธยาศยั
1) พฒั นาแหลง่ การเรยี นรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มท่เี อือ้ ต่อการอา่ นและพฒั นา

ศกั ยภาพการเรียนรู้ให้เกดิ ขน้ึ ในสังคมไทย ใหเ้ กดิ ขึน้ อย่างกวา้ งขวางและทั่วถงึ เช่น การพัฒนา กศน. ตาบล
ห้องสมดุ ประชาชนทกุ แห่งให้มีการบรกิ ารทที่ ันสมยั สง่ เสริมและสนับสนนุ อาสาสมคั รสง่ เสริ มการอ่าน การสร้าง
เครือข่ายส่งเสรมิ การอ่าน จัดหน่วยบริการห้องสมุดเคลือ่ นท่ี หอ้ งสมดุ ชาวตลาด พร้อมหนังสือและอุปกรณเ์ พ่ือจดั
กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นและการเรียนรทู้ ห่ี ลากหลายใหบ้ รกิ ารกบั ประชาชนในพ้ืนท่ตี ่าง ๆ อยา่ งทัว่ ถงึ สม่าเสมอ
รวมทง้ั เสรมิ สร้างความพร้อมในดา้ นบคุ ลากร สอ่ื อุปกรณ์เพอ่ื สนับสนุนการอ่าน และการจัดกจิ กรรมเพื่อสง่ เสรมิ
การอ่านอยา่ งหลากหลายรปู แบบ

3. หลกั การและเหตุผล
การจัดการศึกษาอัธยาศยั เปน็ การศกึ ษาทผ่ี เู้ รยี นไดเ้ รียนรไู้ ดด้ ว้ ยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพความ

พรอ้ มและโอกาส โดยการศกึ ษาจากบคุ คล ประสบการณ์ สังคมสภาพแวดลอ้ ม สื่อ หรือแหล่งเรยี นรอู้ นื่ ๆ

ห้องสมุดประชาชนอาเภอหนองไผ่ เป็นการใหบ้ ริการการอ่าน การศึกษาคน้ คว้าตามอัธยาศัย เป็นแหล่งเรยี นรหู้ รอื

ศูนย์ การเรียนทอ่ี ยู่ใกล้ชดิ ประชาชนนอกระบบโรงเรียนมากท่สี ุด ทน่ี ักศึกษาและประชาชนสามารถหาความรู้

ดา้ นตา่ ง ๆ ได้จากหนังสือ สอ่ื ประเภทอ่ืน ๆ และระบบสารนิเทศ มีการนาเทคโนโลยีเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรม์ าเปน็

เครื่องมอื ในการสนบั สนุนการจดั การเรยี นการสอนในหอ้ งสมดุ ประชาชน การศึกษาค้นควา้ ข้อมลู ระดับทอ้ งถน่ิ ทา

ให้ห้องสมุดประชาชนเป็นศูนยก์ ลางและเปน็ เครอื ข่ายการเรียนรสู้ ามารถเชอื่ ม โยงกับข้อมูลแหล่งตา่ ง ๆ สามารถ

สนับสนนุ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

ดังนน้ั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอ หนองไผ่ ห้องสมดุ ประชาชนและ

กศน.ตาบลวงั ท่าดี ใหเ้ ป็นศูนยก์ ลางการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต มีการพัฒนาใหบ้ รกิ ารและ การจัดกจิ กรรมกระบวนการ

เรยี นรูท้ ่หี ลากหลาย เป็นการสนองความต้องการของประชาชน โดยจัดให้มีกิจกรรมเตมิ ปัญญาใหก้ บั สังคม จงึ มี

สว่ นช่วยท่ีจะให้การพัฒนาการของเด็กได้เจรญิ เตบิ โตอยา่ งมรี ะบบและมคี ุณภาพ เพ่อื ปลูกฝงั นิสัยรกั การอ่าน ให้

รู้จกั การอา่ น การคดิ มีความคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรคแ์ ละการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ อยา่ งยัง่ ยืนจึงได้จดั ทาโครงการนข้ี ึ้น

4. วัตถปุ ระสงค์
๑. เพื่อพัฒนาทกั ษะภาษา สร้างนสิ ยั รักการอ่านและการเรยี นร้ใู ห้เหมาะสมกับวยั อยา่ งมีคณุ ภาพตาม

บรบิ ทของพื้นท่ี
๒. เพอ่ื ให้มีการอา่ นอยา่ งต่อเนอื่ งจนเป็นนิสัย
๓. เพอื่ ให้ กศน.ตาบล มหี ้องสมดุ มีชวี ติ เปน็ แหล่งเรียนรู้ในการสรา้ งนสิ ัยรักการอา่ นและการเรียนรู้

๕. เป้าหมาย
เชงิ ปริมาณ ประชาชนท่ัวไป/นักเรียน/นกั ศึกษา จานวน 30 คน
เชงิ คณุ ภาพ ประชาชนท่วั ไป/นกั เรยี น/นกั ศกึ ษา/ได้พัฒนาทกั ษะภาษาไทย สร้างนิสัยรกั การอา่ น

และการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกบั วัย อยา่ งมคี ณุ ภาพตามบริบทของพื้นท่ี มกี ารอ่านอยา่ งต่อเนอ่ื งจนเปน็ นิสยั และ
กศน.ตาบล มหี ้องสมุดมีชวี ิตเปน็ แหลง่ เรียนรใู้ นการสร้างนสิ ยั รกั การอา่ นและการเรียนรู้

๖. ข้นั ตอน/วธิ กี ารดาเนนิ งาน

กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย พ้นื ทด่ี าเนนิ การ ระยะเวลา
กศน. 9 ธันวาคม
๑. การประชุมวางแผน - เพ่ือชีแ้ จงวตั ถปุ ระสงค์และ คณะครูและบคุ ลากร
กศน.อาเภอ อาเภอหนองไผ่ 2564
ดาเนินการ แนวทางการจัดโครงการ หนองไผ่
พนื้ ที่ 10 - 29 ธันวาคม
2.การประสานงานในการ - เพอ่ื ตดิ ตอ่ ประสานงาน และ ครู กศน.ตาบลวังท่าดี ตาบลวงั ท่าดี 2564
ดาเนินงานตามโครงการ จดั เตรียมสถานที่ ครู ศรช.ตาบลวงั ท่าดี

3. การเขียนโครงการเพือ่ - เพือ่ วางแผนกาหนดการใน ครู กศน.ตาบลวงั ท่าดี กศน. 30 ธันวาคม
ขออนุมตั ิ การดาเนนิ โครงการ ครู ศรช.ตาบลวังทา่ ดี ตาบลวงั ทา่ ดี 2564

4. จัดทาคาส่งั และจัด - เพื่อกาหนดบุคลากรและ ครู กศน.ตาบลวังทา่ ดี กศน. 30 ธันวาคม
คณะดาเนนิ งานโครงการ วางแผน แบ่งงานตามหน้าท่ี ครู ศรช.ตาบลวังทา่ ดี ตาบลวงั ทา่ ดี 2564

5. การดาเนินกจิ กรรม ๑. เพอ่ื พัฒนาทักษะภาษาไทย ประชาชนทัว่ ไป/ กศน. 1. ต.ค.64 - ม.ี ค.65
นกั เรยี น/นักศึกษา ตาบลวังทา่ ดี 2. เม.ย.65 - ก.ย.65
ตามโครงการ สรา้ งนิสัยรกั การอ่านและการ จานวน 30 คน
บ้านหนงั สอื ชมุ ชน 1. ต.ค.64 - ม.ี ค.65
1.กจิ กรรมอาสา เรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกบั วยั ครู กศน.ตาบลวงั ทา่ ดี ม.4 บา้ นลาพาด 2. เม.ย.65 - ก.ย.65
ครู ศรช.ตาบลวังทา่ ดี ม.6 เนนิ สะแก 1. ต.ค.64 - มี.ค.65
พัฒนาห้องสมุด อย่างมคี ุณภาพตามบรบิ ทของ ครู กศน.ตาบลวงั ทา่ ดี ม.7 บา้ นโคกกลาง 2. เม.ย.65 - ก.ย.65
ครู ศรช.ตาบลวงั ท่าดี
2.กจิ กรรมสมดุ บันทกึ พ้นื ท่ี กศน.
ตาบลวังท่าดี
รกั การอา่ น ๒. เพื่อให้มีการอ่านอย่าง
กศน.
3.กจิ กรรมโมบาย ตอ่ เน่ืองจนเปน็ นิสยั ตาบลวังทา่ ดี

ความรู้ ๓. เพ่อื ให้ กศน.ตาบล มี
หอ้ งสมุดมชี ีวติ เปน็ แหลง่
4.กิจกรรมมมุ
เรียนรู้ในการสรา้ งนิสัยรักการ
รกั การอา่ น
อา่ นและการเรยี นรู้

๖. การติดตามประเมินผล - เพื่อติดตามผลการจดั

การวดั ผลประเมนิ ผล โครงการ

๗. การสรปุ ผลและการ - เพื่อสรุปและรายงานผลการ

รายงานผลการจดั โครงการ ดาเนนิ งาน

๗. วงเงนิ งบประมาณ
-

๘. ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ ครอู าสาสมัครฯ
นายสิงห์นคร สิรพิ ริมานนั ท์
ครู กศน.ตาบล
นางสาวอรษิ า สิงหเ์ ส ครปู ระจาศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน
นางสาวณัฐนันท์ โสทองเมอื ง

๙. วัน เวลา สถานท่ดี าเนินงาน
ครัง้ ท่ี 1 ระหวา่ งเดือน ตลุ าคม 2564 – มนี าคม 2565
คร้ังที่ 2 ระหว่างเดือน เมษายน 2565 – กนั ยายน 2565
ณ กศน.ตาบลวงั ท่าดี
ณ บา้ นหนังสือชมุ ชนตาบลวงั ทา่ ดี อาเภอหนองไผ่ จงั หวัดเพชรบูรณ์

๑๐. หนว่ ยงานภาคเี ครือข่าย
- องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลวงั ท่าดี

- โรงเรียนบา้ นกลาง

๑๑. โครงการทีเ่ ก่ยี วข้อง
- โครงการกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั

๑๒. ผลคาดวา่ จะได้รบั
ประชาชน ทัว่ ไป/นกั เรียน /นกั ศึกษา /ได้พฒั นา ทกั ษะภาษา สรา้ งนิสัยรกั การอ่านและการเรียนรูใ้ ห้

เหมาะสมกับวัย อย่างมคี ณุ ภาพตามบริบทของพื้นท่ี มกี ารอ่านอย่างตอ่ เน่อื งจนเป็นนสิ ยั และกศน .ตาบล มี
ห้องสมดุ มชี ีวติ เป็นแหลง่ เรยี นรใู้ นการสรา้ งนสิ ยั รักการอ่านและการเรยี นรู้

๑๓. ตัวชี้วัดผลสาเรจ็ ของโครงการ
๑. ตัวช้ีวดั ผลผลิต (Output)
- ประชาชนทั่วไป/นกั เรียน/นกั ศกึ ษา จานวน 30 คน
๒. ตัวชว้ี ัดผลลัพธ์ (Outcome)
- รอ้ ยละ 80 ของประชาชนท่วั ไป นักเรยี น นกั ศกึ ษา ได้พฒั นาทกั ษะภาษา สร้างนิสัยรักการอา่ น

และการเรยี นรใู้ หเ้ หมาะสมกบั วัย อยา่ งมคี ณุ ภาพตามบริบทของพ้ืนที่ มกี ารอา่ นอยา่ งต่อเน่อื งจนเป็นนิสยั
และกศน.ตาบล มหี อ้ งสมดุ มชี ีวิตเป็นแหล่งเรียนรใู้ นการสร้างนสิ ยั รักการอา่ นและการเรียนรู้

๑๔. การตดิ ตามประเมินโครงการ
- การสังเกตพฤติกรรมจากผ้เู ขา้ รว่ ม

- ประเมนิ ความพึงพอใจ

คาส่งั ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอหนองไผ่
ท่ี 246/๒๕๖4

เรือ่ ง แต่งตั้งคณะกรรมการ โครงการสง่ เสริมนิสยั รักการอา่ นสรา้ งสายสัมพนั ธใ์ นชุมชน

..................................................................................

ด้วย นโยบายสานกั งาน กศน.ยทุ ธศาสตร์ที่ ๑ ลดความเหลือ่ มลา้ สร้างโอกาส และยกระดับคณุ ภาพ
การศกึ ษา อาศยั อานาจสานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ท่ี ๔๘๙/๒๕๕๑ ลงวันท่ี ๒๑ เมษายน ๒๕๕๑ เร่อื ง
มอบอานาจให้ผูอ้ านวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอและผอู้ า นวยการ
สถานศกึ ษาศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตปฏบิ ัติราชการแทน จงึ แต่งตั้งบคุ ลากรศูนย์
การศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอหนองไผ่ ดาเนนิ งานดังต่อไปน้ี

1. คณะกรรมการอานวยการทัว่ ไป มีหนา้ ทใ่ี ห้คาปรกึ ษา และอานวยความสะดวกในการดาเนินงานฝ่าย

ตา่ งๆ ให้เปน็ ไปด้วยความเรียบรอ้ ย ประกอบด้วย

1.1 นางมาลี เพ็งดี ผอ. กศน.อาเภอหนองไผ่ หัวหนา้

๑.๒ นางสาวกญั จนา จูเกลย้ี ง ครผู ู้ชว่ ย ผชู้ ว่ ย

๑.๓ นางสาวฐติ กิ าญต์ นกสง่า ครูผชู้ ่วย ผชู้ ว่ ย

1.๔ นางสุมาลา นาคนายม เจ้าพนกั งานห้องสมดุ ชานาญงาน ผชู้ ว่ ย

1.๕ นายสิงห์นคร ศริ พิ ริมานันท์ ครูอาสาสมัครฯ ผู้ช่วย

2. คณะกรรมการจัดเตรียมสถานที่ มหี นา้ ทจ่ี ัดเตรียมสถานท่ใี นการจดั โครงการ ประกอบดว้ ย

2.1 นางสาวอริษา สงิ หเ์ ส ครู กศน.ตาบล หวั หน้า

2.2 นางสาวณัฐนันท์ โสทองเมอื ง ครปู ระจาศูนย์การเรียนชุมชน ผชู้ ว่ ย

3. คณะกรรมการจัดเตรียมเอกสาร มหี นา้ ทจ่ี ดั เตรยี มเอกสารใหผ้ ูเ้ ขา้ รว่ มโครงการ ประกอบดว้ ย

3.1 นางสาวอรษิ า สงิ หเ์ ส ครู กศน.ตาบล หัวหน้า

3.2 นางสาวณัฐนันท์ โสทองเมือง ครปู ระจาศูนย์การเรียนชุมชน ผูช้ ่วย

4. คณะกรรมการรับรายงานตวั มีหน้าทร่ี ับรายงานตวั ผู้เข้าร่วมโครงการ จดั ทาแบบประเมินผล และ

แจกเอกสารการอบรม ประกอบด้วย

4.1 นางสาวอริษา สิงหเ์ ส ครู กศน.ตาบล หัวหน้า

4.2 นางสาวณัฐนันท์ โสทองเมือง ครปู ระจาศูนยก์ ารเรยี นชุมชน ผชู้ ่วย

5. คณะกรรมการวัดผลประเมนิ ผล มหี น้าที่ ประเมินผลการจัดกิจกรรมในแตล่ ะชว่ งกจิ กรรม ประเมิน

ความพึงพอใจ และจัดทารายงานผลการดาเนนิ งานหลงั เสร็จสน้ิ การอบรม ประกอบดว้ ย

4.1 นางสาวอรษิ า สิงห์เส ครู กศน.ตาบล หัวหนา้

4.2 นางสาวณัฐนนั ท์ โสทองเมือง ครูประจาศนู ยก์ ารเรียนชุมชน ผู้ช่วย

ให้คณะกรรมการดงั กล่าวปฏิบตั หิ น้าท่ีทีไ่ ด้รบั มอบหมายอย่างเครง่ ครัด และบังเกิดผลดที างราชการพร้อม
ทั้งบรรลุประสงค์ตามทต่ี งั้ ไว้

ท้งั นี้ ต้งั แตว่ นั ที่ 30 เดอื นธันวาคม พ.ศ.๒๕64 เปน็ ต้นไป

สั่ง ณ วนั ท่ี 30 เดอื นธันวาคม พ.ศ.๒๕64

(นางมาลี เพง็ ดี)
ผอู้ านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอหนองไผ่

ที่ปรกึ ษา คณะผูจ้ ัดทา
นางมาลี เพ็งดี
นางสาวกญั จนา จูเกลี้ยง ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอหนองไผ่
นางสาวฐิตกิ านต์ นกสง่า ครผู ้ชู ่วย
นางสมุ าลา นาคนายม ครูผชู้ ่วย
เจ้าพนักงานหอ้ งสมุดชานาญงาน
คณะทท่ี างาน/รวบรวมขอ้ มลู
นางสาวอริษา สิงหเ์ ส ครู กศน.ตาบล
นางสาวณัฐนนั ท์ โสทองเมอื ง ครปู ระจาศนู ยก์ ารเรียนชุมชน

ผู้ประสานงานและผจู้ ดั ทา ครู กศน.ตาบล
นางสาวอริษา สิงห์เส ครปู ระจาศนู ย์การเรยี นชมุ ชน
นางสาวณัฐนนั ท์ โสทองเมอื ง


Click to View FlipBook Version