The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา สาขาท่องเที่ยว
ประจำปีการศึกษา 2556

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by virinsire.ch, 2022-07-29 03:22:18

คู่มือนักศึกษา สาขาท่องเที่ยว

คู่มือนักศึกษา สาขาท่องเที่ยว
ประจำปีการศึกษา 2556

คูม่ ือนักศกึ ษาประจาํ ปีการศกึ ษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษา

ประจาํ ปีการศกึ ษา 2565

ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต

ส า ข า น วั ต ก ร ร ม ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว

แ ล ะ ก า ร บ ริ ก า ร

Innovation in Tourismand

And Hospitality PROGRAM

School Of Liberal Arts, KMITL

คมู่ อื นกั ศึกษาประจำปกี ารศกึ ษา 2565

“สรา้ งความรู้ คู่นวตั กรรม พัฒนาทกั ษะการทอ่ งเท่ยี ว
และบริการ”


คู่มือนกั ศึกษาประจำปกี ารศกึ ษา 2565

ติดรปู ถ่าย

ข้อมลู ส่วนตัวนกั ศกึ ษา

ชือ่ -สกลุ
รหัสประจำตัวนกั ศึกษา
สาขาวชิ า
อเี มล
โทรศัพท์

ข้อมูลอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา
อาจารยท์ ี่ปรกึ ษา ชน้ั ปที ี่ 1
อาจารยท์ ่ปี รึกษา ชั้นปที ่ี 2
อาจารย์ทีป่ รึกษา ชนั้ ปที ่ี 3
อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา ชั้นปีท่ี 4

คู่มอื นกั ศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ประวตั ิคณะศลิ ปศาสตร์

สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั

เช่ยี วชาญภาษา สรา้ งคุณคา่ แก่มนษุ ย์และสังคม

คณะศิลปศาสตร์ ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการให้เป็นหน่วยงานใหม่ของ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 11
สิงหาคม พ.ศ. 2559 ตามประกาศสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง เรื่อง การจัดตั้งส่วนงานสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2559 ซึ่งเผยแพร่ไว้ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 133 ตอน
พิเศษ 177 ง หน้า 41 และได้กำหนดให้คณะศิลปศาสตร์มีหน้าที่ในการจัดการเรียนการ
สอน การวิจัย การบริการวิชาการด้านภาษาศาสตร์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
รวมทั้งการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้คณะกรรมการบริหารคณะศิลป
ศาสตร์จึงมีมติกำหนดให้วันที่ 11 สิงหาคมของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนาคณะศิลป
ศาสตร์

รากฐานของคณะศิลปศาสตร์เกิดขึ้นจากภาควิชาภาษาและสังคมซึ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อ
วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 พร้อมกับการจัดตั้งคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
และคณะวิทยาศาสตร์ หน้าที่หลักของภาควิชาภาษาและสังคมในสมัยแรกของการ
ก่อตั้ง คือ การสอนบริการหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ด้านภาษา สังคมศาสตร์ และ
มนษุ ยศาสตร์ให้แก่นักศึกษาทกุ คณะและทุกหลกั สูตรในสถาบันฯ

ภาควิชาภาษาและสังคมมีความเติบโตขึ้นเป็นลำดับ จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2540 มี
การเปิดหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (4 ปี) สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นขึ้นเป็นหลักสูตรแรก
ของภาควิชาฯ ถัดมาในปี พ.ศ. 2543 มีการเปิดหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (4 ปี)
สาขาวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะกิจ(ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อหลักสูตรเป็นสาขาวิชา
ภาษาอังกฤษในปี พ.ศ. 2550) และ ปี พ.ศ. 2544 มีการเปิดหลักสูตรศิลปศาสตรมหา
บัณฑติ สาขาวชิ าภาษาศาสตรป์ ระยุกต-์ ภาษาอังกฤษเพอ่ื วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือนักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ในชว่ งปี พ.ศ. 2552 ไดม้ กี ารเปลยี่ นชื่อจากภาควิชาภาษาและสังคมเป็นภาควิชา
ศลิ ปศาสตรป์ ระยุกต์ จากจดุ เรมิ่ ตน้ ของภาควิชาภาษาและสงั คมจนกลายเปน็ ภาควิชา
ศลิ ปศาสตร์ประยกุ ต์ ภาควิชาฯ ไดม้ คี วามพยายามเสนอเร่อื งการจดั ตง้ั คณะศลิ ป
ศาสตร์ไปยังสภาสถาบันฯ มาแล้วหลายครัง้ จนในที่สุดมตสิ ภาสถาบนั เทคโนโลยพี ระ
จอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั ในการประชมุ ครง้ั ท่ี 6/2559 เม่ือวันท่ี 29
มถิ นุ ายน พ.ศ. 2559 จึงมมี ติเหน็ ชอบใหจ้ ัดต้ัง “คณะศิลปศาสตร”์ เปน็ หน่วยงานใหม่
และเปน็ คณะวิชาลำดับท่ี 8 ของสถาบันฯ ตลอดระยะเวลาเกอื บ 20 ปี นบั ต้งั แต่ปี พ.ศ.
2540 ที่ได้เรม่ิ มกี ารเปิดหลักสูตรแรกเป็นตน้ มา กลา่ วไดว้ ่าคณะศิลปศาสตร์ไดผ้ ลิต
บณั ฑิตและมหาบัณฑติ ทมี่ คี วาม “ซอ่ื สัตย์ ใฝ่รู้ สู้งาน” ตรงตามอัตลกั ษณ์ของสถาบัน
ฯและมคี วามรู้ ความเชย่ี วชาญดา้ นภาษาญปี่ ุ่นและภาษาองั กฤษออกไปรบั ใช้สงั คมไทย
ในภาคสว่ นต่างๆ รวมกันแล้วไม่ตำ่ กวา่ 1,400 คน

“บัณฑิตของแผน่ ดินศลิ ปศาสตร์ คอื นักปราชญช์ ำนาญงานภาษา
ทงั้ มนุษยส์ งั คมวทิ ยา ทุกศาสตราเช่ยี วชาญชำนาญดี
บัณฑติ ของแผน่ ดินศิลปศาสตร์ รบั ใชช้ าติรบั ใช้ชนคนทุกที่
เพชรพระจอมดวงงามน้ำเลศิ ดี คือเพชรศรศี ลิ ปศาสตร์ลาดกระบงั ”

คู่มอื นกั ศึกษาประจำปีการศกึ ษา 2565

ตราสญั ลกั ษณ์คณะศลิ ปะศาสตร์
เป็นการออกแบบ ที่อ้างอิง ลักษณะของเทคโนโลยี การเชื่อมโยงและเครือข่าย

ของผู้คน ชุมชน ระบบ นำไปสู่ผลลัพธ์ ดังชื่อ concept : Connect Arts to
innovation เพราะภาษาเปน็ สอ่ื กลางในการเขา้ ถงึ ผคู้ นทว่ั โลก เพอ่ื การทำความรู้จัก
เข้าใจถึงวัฒนธรรมต่างๆ การเชื่อมโยงกันของนวัตกรรม และผู้คนเข้าด้วยกัน นำไปสู่
เส้นทางที่หลากหลายของนักศึกษาศิลปศาสตร์ในอนาคต สะท้อนความตั้งใจของคณะ
ศิลปศาสตร์ที่มุ่งพัฒนาทักษะ ความสามารถของนักศึกษาในหลากหลายด้านซึ่ง
เชื่อมโยงเข้าหากนั และกัน

สีประจำคณะศิลปศาสตร์
คอื “สเี ขียวยูงทอง”

ตามคติความเชื่อของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ยกย่องให้พระสุรัสวดีเป็นเทพแห่งภาษา การสื่อสาร
และศิลปวิทยาทั้งปวง กอปรกับสัตว์ที่เป็นเทพ
พาหนะของพระสุรัสวดี คือ นกยูง ด้วยเหตุนี้คณะ
ศิลปศาสตร์จึงเลือกใช้สีเขียวขนนกยูงเป็นสีประจำ
คณะ และกำหนดให้เรียกสีเขียวขนนกยูงนี้ว่า “สี
เขียวยูงทอง” โดยกำหนดให้ใช้สี pantone สีเขียวท่ี
มีค่าสี 17-5641 TCX (Emerald)

คูม่ อื นกั ศึกษาประจำปกี ารศึกษา 2565

สญั ลกั ษณ์มาสคอตประจำคณะ
“มยุรา”

นกยูงเป็นพาหนะของพระสุรัสวดี ผู้เป็นเทวี
แห่งสติปัญญา ความรู้ ศิลปะ และอักษรศาสตร์
เพื่อต้องการสะท้อนอัตลักษณ์ของคณะศิลป
ศาสตร์ ที่มีรากฐานการจัดการการเรียนการสอน
ด้านภาษาและการศึกษาทั่วไปซึ่งจะเป็นพื้น
ฐานความรู้ที่ผู้เรียนจะนำไปใช้ต่อยอดในการ
ศึกษาศาสตร์อนื่ ๆตอ่ ไป

ดอกไม้ประจำคณะศลิ ปศาสตร์
คอื “ดอกกุหลาบพระนามสริ ินธร”
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Rosa Hybrid วงศ์ Rosaceae
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกุมารี ทรงมีพระอัจฉริยภาพและทรงมีพระ
ปรีชาด้านภาษา ประวัติศาสตร์ โบราณคดีเป็นท่ี
ประจักษ์ ศาสตร์ที่พระองค์ทรงเชี่ยวชาญและมี
ความสนพระราชหฤทัยนี้เป็นศาสตร์ที่จัดอยู่ใน
แขนงวิชาศิลปศาสตร์ ด้วยเหตุนี้คณะศิลปศาสตร์
จึงเลือกใช้ดอก “กุหลาบพระนามสิรินธร” ซึ่งมีสี
ชมพูอมเหลืองเป็นดอกไม้ประจำคณะ เพื่อเป็น
การเผยแพร่พระเกียรติคุณและเทิดพระเกียรติ
พระปรีชาสามารถด้านดังกล่าว ตลอดจนเพื่อ
ความเป็นสิริมงคลแก่คณาจารย์ บุคลากร และ
นกั ศกึ ษาคณะศลิ ปะศาสตร์

คู่มือนักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

หลกั สตู ร ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต

สาขานวัตกรรมการทอ่ งเท่ยี ว
และการบริการ

(หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2564)

ช่อื สถาบนั อุดมศกึ ษา สถาบนั เทคโนโลยี
พระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง
คณะ ศิลปศาสตร์
ภาควิชา มนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์

หมวดท่ี 1 ขอ้ มูลทว่ั ไป

1. ชื่อหลักสตู ร
ช่ือภาษาไทย : หลักสูตรศลิ ปศาสตรบัณฑิต
สาขาวชิ านวตั กรรมการท่องเทีย่ วและการบรกิ าร
ช่อื ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Arts
Program in Innovation in Tourism and Hospitality

2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชอ่ื เต็ม (ภาษาไทย) : ศิลปศาสตรบัณฑติ

(นวัตกรรมการทอ่ งเที่ยวและการบรกิ าร)
(ภาษาองั กฤษ) : Bachelor of Arts

(Innovation in Tourism and Hospitality)
ชือ่ ยอ่ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (นวัตกรรมการท่องเท่ยี วและการบรกิ าร)
(ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Innovation in Tourism and Hospitality)

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

คู่มือนักศกึ ษาประจำปีการศกึ ษา 2565

สหกจิ ศกึ ษา

ความสำคญั ของสหกจิ ศกึ ษา
สหกิจศึกษาทวีความสำคัญมากขึ้น มีสถาบันอุดมศึกษา ในประเทศต่าง ๆ ทั่ว

โลก ใช้สหกิจศึกษาเปน็ แนวการจัดการศึกษาระดับปริญญากว้างขวางขึ้นในเกือบจะทุก
สาขาวิชา โดยมีเป้าประสงค์ตรงกัน คือ การเสริมคุณภาพบัณฑิต ผ่านประสบการณ์
ทำงานในสถานประกอบการ เพื่อการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต ตามมาตรฐานวิชาการ
และวิชาชีพ รวมทั้งตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน ถือเป็นส่วนสำคัญของ
การเตรียมบัณฑิตให้พร้อมที่จะเลือกอาชีพ และเข้าสู่ระบบการทำงานทันทีที่จบ
การศกึ ษา ทำใหบ้ ณั ฑติ สหกิจศึกษา “ร้จู กั ตน รูจ้ ักคน และรจู้ กั งาน”

วตั ถปุ ระสงค์ของสหกิจศกึ ษา

1. เตรียมความพร้อมของนักศึกษา ด้านการพัฒนาอาชีพ (Career
Development) และเสริมทักษะ และประสบการณ์ให้พร้อมที่จะเข้าสู่ระบบการ
ทำงาน (Employability)

2. เพิ่มเติมประสบการณ์ทางด้านวิชาการ วิชาชีพ และการพัฒนาตนเองแก่
นกั ศกึ ษาในรปู แบบที่มี คณุ ค่าเหนอื กวา่ การฝกึ งาน

3. เปิดโอกาสให้สถานประกอบการทั้งภาคเอกชน และภาครัฐได้มีส่วนร่วมในการ
พฒั นาคณุ ภาพบัณฑติ

4. ให้เกิดการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนที่ทันสมัยได้มาตรฐานและ
ตรงกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงานมากยง่ิ ข้ึน

5. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานประกอบการ และสถาบันอุดมศึกษาผ่าน
นักศึกษาสหกิจศึกษา และคณาจารย์นิเทศ อันจะนำไปสู่ความร่วมมือที่
กว้างขวางย่ิงขึ้น

คู่มอื นกั ศกึ ษาประจำปีการศกึ ษา 2565

ลกั ษณะการปฏิบตั งิ านสหกจิ ศกึ ษา
• นักศึกษาปฏิบตั งิ านเสมือนเปน็ พนกั งานช่วั คราวของสถานประกอบการ โดยมี

พนกั งานทป่ี รึกษาทำหนา้ ท่ีให้คำแนะนำและดแู ลตลอดระยะเวลาการปฏิบัตงิ าน
• นกั ศกึ ษามีหน้าท่ีรบั ผดิ ชอบทีแ่ น่นอนดว้ ยงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายจากสถาน

ประกอบการ ซง่ึ ตรงตามสาขาวชิ าท่ีได้ศกึ ษามา
• นักศกึ ษาปฏิบตั งิ านเต็มเวลา (Full-Time) ระยะเวลา 1 ภาคการศกึ ษา (16 สัปดาห)์

โดยมีอาจารยท์ ป่ี รกึ ษาสหกจิ ศึกษาทำหน้าที่ใหค้ ำปรกึ ษาและดแู ลเอาใจใสอ่ ย่าง
ใกลช้ ดิ

คณุ สมบตั ขิ องนักศกึ ษาสหกิจศึกษา
• ควรมีคะแนนเฉลี่ยสะสม 2.75 ขน้ึ ไป
• สอบผา่ นรายวชิ าบงั คับครบตามทกี่ ำหนด
• มีความประพฤตเิ รยี บร้อย มคี วามรับผิดชอบและมวี ุฒภิ าวะ
• สามารถพัฒนาตนเองได้
• มบี ุคลกิ ภาพสอดคล้องกบั งานท่ตี อ้ งทำในสถานประกอบการ

ผลสมั ฤทธิข์ องสหกจิ ศึกษา
• บัณฑิตสหกิจศึกษาได้งานเร็ว

กว่าและมากกว่าบัณฑิตที่ไม่ได้
รว่ มสหกจิ ศกึ ษา
• ผู้ประกอบการพอใจคุณภาพ
บัณฑิตสหกิจศึกษาสูงกว่า
บัณฑติ ทไี่ ม่ได้ร่วมสหกิจศกึ ษา
• สถาบันอุดมศึกษาเห็นว่า ผู้ท่ี
ผ่านสหกิจศึกษามีวุฒิภาวะ
ความรับผิดชอบและมีวินัย
สูงขึน้

คู่มือนกั ศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ประโยชน์ของสหกจิ ศกึ ษา

1. นักศึกษา

• ได้ประสบการณ์วิชาชพี ตรงตามสาขาวิชาเอก
• เกดิ การพฒั นาตนเอง มน่ั ใจในตนเองมากขน้ึ
• เกดิ ทกั ษะการสือ่ สารรายงานข้อมูล
• มีโอกาสไดร้ ับการเสนองานจากสถาน

ประกอบการกอ่ นสำเรจ็ การศึกษา
• เลอื กสายงานอาชีพไดเ้ หมาะสมกบั ตนเอง
• เปน็ บัณฑิตที่มีศกั ยภาพและความพรอ้ มใน

การทำงานสูง

2. สถาบันอดุ มศกึ ษา

• เกดิ ความรว่ มมือทางวิชาการและความสัมพันธท์ ี่ดี
กับสถานประกอบการ

• ได้ขอ้ มลู ย้อนกลับมาปรบั ปรงุ หลกั สตู รและการ
เรยี นการสอน

• สหกจิ ศกึ ษาชว่ ยให้สถาบันอดุ มศึกษาได้รับการ
ยอมรบั จากตลาดแรงงาน

3. สถานประกอบการ

• มีนักศกึ ษาช่วยปฏบิ ตั งิ าน
• ใชเ้ ปน็ วิธคี ัดเลอื กพนกั งานไดเ้ หมาะสมตาม

ความตอ้ งการ
• มีโอกาสสร้างความรว่ มมอื ทางวิชาการกับ

สถาบนั อดุ มศึกษา
• เกิดภาพพจนท์ ี่ดดี า้ นการส่งเสริมการศกึ ษา

และในการให้โอกาสการเรยี นรู้

ค่มู อื นกั ศกึ ษาประจำปกี ารศกึ ษา 2565

ขัน้ ตอนการอทุ ธรณ์ผลการเรียนตง้ั แตต่ ้นจนจบ

หลกั สตู ร ศศ.บ. สาขาภาษาอังกฤษ

• นักศึกษาพบอาจารย์ทีป่ รกึ ษาเพือ่ พิจารณาคำรอ้ งขออทุ ธรณผ์ ล
1 การเรียน

• อาจารยท์ ีป่ รกึ ษาลงนามเหน็ ชอบในคำรอ้ ง
2

• นกั ศึกษายน่ื คำรอ้ งต่อกรรมการผูร้ ับผดิ ชอบหลักสูตรเพ่อื
พจิ ารณา

3
• กรรมการผรู้ บั ผิดชอบหลกั สูตรเห็นชอบ และสง่ เรอ่ื งตอ่ ไปยัง
แผนกภาษาองั กฤษ ภาควชิ าภาษา

4
• หวั หนา้ แผนกภาษาองั กฤษพิจารณา และส่งเรอื่ งตอ่ ไปยัง.
ภาควิชาภาษา

5
• หัวหน้าภาควชิ าภาษาพี่จารณา และสง่ เร่ืองต่อไปยังคณะกรรมการ

6 ประจำส่วนงานวชิ าการ คณะศลิ ปศาสตร์
• คณะกรรมการประจำส่วนงานวชิ าการ พจิ ารณา มมี ติ และมอบ
กรรมการผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตรประสานกับอาจารย์ท่ปี รึกษาแจ้ง

7 ผลการพจิ ารณาแกน่ กั ศึกษา
• สำนักทะเบียนประกาศผลการเรยี นใหร้ ะบบสารสนเทศของนกั ศึกษา

8

คมู่ ือนักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ช่องทางการตดิ ต่อ

ช่องทางการประชาสัมพนั ธ์ข้อมูลข่าวสาร
• คณะศลิ ปศาสตร์: https://www.facebook.com/liberalartskmitl/
• สาขาวิชา : https://www.facebook.com/ithkmitl
• งานกิจการนกั ศกึ ษา:

https://www.facebook.com/LA.StudentAffairs/
• สโมสรนกั ศกึ ษา:

https://www.facebook.com/SMOLiberalArtsKMITL/

คณุ สมบตั ขิ องนกั ศกึ ษาสหกจิ ศึกษา
• ควรมคี ะแนนเฉล่ียสะสม 2.75 ข้ึนไป
• สอบผ่านรายวชิ าบงั คบั ครบตามท่ีกำหนด
• มีความประพฤติเรียบร้อย มคี วามรับผิดชอบและมวี ฒุ ภิ าวะ
• สามารถพฒั นาตนเองได้
• มบี คุ ลกิ ภาพสอดคลอ้ งกบั งานทตี่ อ้ งทำในสถานประกอบการ

ผลสมั ฤทธข์ิ องสหกิจศึกษา
• บัณฑติ สหกิจศึกษาได้งานเรว็ กวา่ และมากกวา่ บณั ฑติ ท่ไี ม่ไดร้ ่วมสหกิจศกึ ษา
• ผ้ปู ระกอบการพอใจคุณภาพบัณฑิตสหกจิ ศึกษาสูงกว่าบณั ฑติ

ทไ่ี ม่ได้รว่ มสหกิจศกึ ษา
• สถาบันอุดมศกึ ษาเหน็ ว่า ผทู้ ่ผี ่านสหกิจศกึ ษามีวฒุ ภิ าวะ ความรับผิดชอบ

และมีวนิ ยั สงู ข้นึ

คมู่ อื นกั ศกึ ษาประจำปีการศึกษา 2565

แบบบันทึกการเขา้ พบอาจารย์ทป่ี รึกษา

ลำดบั ท่ี วัน/เดอื น/ปี ภาคารศึกษา/ รายละเอยี ดการให้คำปรกึ ษา ลายมอื ชื่อ
ทเ่ี ข้าพบ ปกี ารศึกษา อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา

คู่มือนักศึกษาประจำปีการศกึ ษา 2565

แบบบันทึกการเข้ารว่ มโครงการ/กิจกรรม

ลำดบั ท่ี โครงการ/กจิ กรรม ว/ด/ป จัดโดย ลายมือชื่อ
ท่ีเข้าร่วม ผ้จู ัด

คู่มือนักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

อาจารยป์ ระจาํ หลกั สูตร


Click to View FlipBook Version