The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา สาขาภาษาญี่ปุ่น
ประจำปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by virinsire.ch, 2022-07-28 06:01:00

คู่มือนักศึกษา สาขาภาษาญี่ปุ่น

คู่มือนักศึกษา สาขาภาษาญี่ปุ่น
ประจำปีการศึกษา 2565

คู่มอื นกั ศึกษาประจาํ ปีการศึกษา 2565

คมู่ ือนักศึกษา

ประจาํ ปีการศกึ ษา 2565

ศิลปศาสตรบัณฑิต

ส า ข า ภ า ษ า ญี่ ปุ่ น

JAPANESE PROGRAM

School Of Liberal Arts, KMITL

คมู่ ือนกั ศึกษาประจำปกี ารศกึ ษา 2565


เช่ียวชาญภาษา เขา้ ถึงวัฒนธรรม มีคุณธรรมและ
จรยิ ธรรม สามารถส่ือสาร และทำงานรว่ มกบั ผู้อนื่ ใน
องคก์ รทง้ั ภาครฐั และเอกชนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ


คู่มือนกั ศึกษาประจำปกี ารศกึ ษา 2565

ติดรปู ถ่าย

ข้อมลู ส่วนตัวนกั ศกึ ษา

ชือ่ -สกลุ
รหัสประจำตัวนกั ศึกษา
สาขาวชิ า
อเี มล
โทรศัพท์

ข้อมูลอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา
อาจารยท์ ี่ปรกึ ษา ชน้ั ปที ี่ 1
อาจารยท์ ่ปี รึกษา ชั้นปที ่ี 2
อาจารย์ทีป่ รึกษา ชนั้ ปที ่ี 3
อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา ชั้นปีท่ี 4

คู่มอื นกั ศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ประวตั ิคณะศลิ ปศาสตร์

สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั

เช่ยี วชาญภาษา สรา้ งคุณคา่ แก่มนษุ ย์และสังคม

คณะศิลปศาสตร์ ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการให้เป็นหน่วยงานใหม่ของ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 11
สิงหาคม พ.ศ. 2559 ตามประกาศสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง เรื่อง การจัดตั้งส่วนงานสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2559 ซึ่งเผยแพร่ไว้ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 133 ตอน
พิเศษ 177 ง หน้า 41 และได้กำหนดให้คณะศิลปศาสตร์มีหน้าที่ในการจัดการเรียนการ
สอน การวิจัย การบริการวิชาการด้านภาษาศาสตร์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
รวมทั้งการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้คณะกรรมการบริหารคณะศิลป
ศาสตร์จึงมีมติกำหนดให้วันที่ 11 สิงหาคมของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนาคณะศิลป
ศาสตร์

รากฐานของคณะศิลปศาสตร์เกิดขึ้นจากภาควิชาภาษาและสังคมซึ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อ
วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 พร้อมกับการจัดตั้งคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
และคณะวิทยาศาสตร์ หน้าที่หลักของภาควิชาภาษาและสังคมในสมัยแรกของการ
ก่อตั้ง คือ การสอนบริการหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ด้านภาษา สังคมศาสตร์ และ
มนษุ ยศาสตร์ให้แก่นักศึกษาทกุ คณะและทุกหลกั สูตรในสถาบันฯ

ภาควิชาภาษาและสังคมมีความเติบโตขึ้นเป็นลำดับ จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2540 มี
การเปิดหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (4 ปี) สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นขึ้นเป็นหลักสูตรแรก
ของภาควิชาฯ ถัดมาในปี พ.ศ. 2543 มีการเปิดหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (4 ปี)
สาขาวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะกิจ(ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อหลักสูตรเป็นสาขาวิชา
ภาษาอังกฤษในปี พ.ศ. 2550) และ ปี พ.ศ. 2544 มีการเปิดหลักสูตรศิลปศาสตรมหา
บัณฑติ สาขาวชิ าภาษาศาสตรป์ ระยุกต-์ ภาษาอังกฤษเพอ่ื วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คู่มือนักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ในชว่ งปี พ.ศ. 2552 ไดม้ กี ารเปลยี่ นชื่อจากภาควิชาภาษาและสังคมเป็นภาควิชา
ศลิ ปศาสตรป์ ระยุกต์ จากจดุ เรมิ่ ตน้ ของภาควิชาภาษาและสงั คมจนกลายเปน็ ภาควิชา
ศลิ ปศาสตร์ประยกุ ต์ ภาควิชาฯ ไดม้ คี วามพยายามเสนอเร่อื งการจดั ตง้ั คณะศลิ ป
ศาสตร์ไปยังสภาสถาบันฯ มาแล้วหลายครัง้ จนในที่สุดมตสิ ภาสถาบนั เทคโนโลยพี ระ
จอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั ในการประชมุ ครง้ั ท่ี 6/2559 เม่ือวันท่ี 29
มถิ นุ ายน พ.ศ. 2559 จึงมมี ติเหน็ ชอบใหจ้ ัดต้ัง “คณะศิลปศาสตร”์ เปน็ หน่วยงานใหม่
และเปน็ คณะวิชาลำดับท่ี 8 ของสถาบันฯ ตลอดระยะเวลาเกอื บ 20 ปี นบั ต้งั แต่ปี พ.ศ.
2540 ที่ได้เรม่ิ มกี ารเปิดหลักสูตรแรกเป็นตน้ มา กลา่ วไดว้ ่าคณะศิลปศาสตร์ไดผ้ ลิต
บณั ฑิตและมหาบัณฑติ ทมี่ คี วาม “ซอ่ื สัตย์ ใฝ่รู้ สู้งาน” ตรงตามอัตลกั ษณ์ของสถาบัน
ฯและมคี วามรู้ ความเชย่ี วชาญดา้ นภาษาญปี่ ุ่นและภาษาองั กฤษออกไปรบั ใช้สงั คมไทย
ในภาคสว่ นต่างๆ รวมกันแล้วไม่ตำ่ กวา่ 1,400 คน

“บัณฑิตของแผน่ ดินศลิ ปศาสตร์ คอื นักปราชญช์ ำนาญงานภาษา
ทงั้ มนุษยส์ งั คมวทิ ยา ทุกศาสตราเช่ยี วชาญชำนาญดี
บัณฑติ ของแผน่ ดินศิลปศาสตร์ รบั ใชช้ าติรบั ใช้ชนคนทุกที่
เพชรพระจอมดวงงามน้ำเลศิ ดี คือเพชรศรศี ลิ ปศาสตร์ลาดกระบงั ”

คู่มอื นกั ศึกษาประจำปีการศกึ ษา 2565

ตราสญั ลกั ษณ์คณะศลิ ปะศาสตร์
เป็นการออกแบบ ที่อ้างอิง ลักษณะของเทคโนโลยี การเชื่อมโยงและเครือข่าย

ของผู้คน ชุมชน ระบบ นำไปสู่ผลลัพธ์ ดังชื่อ concept : Connect Arts to
innovation เพราะภาษาเปน็ สอ่ื กลางในการเขา้ ถงึ ผคู้ นทว่ั โลก เพอ่ื การทำความรู้จัก
เข้าใจถึงวัฒนธรรมต่างๆ การเชื่อมโยงกันของนวัตกรรม และผู้คนเข้าด้วยกัน นำไปสู่
เส้นทางที่หลากหลายของนักศึกษาศิลปศาสตร์ในอนาคต สะท้อนความตั้งใจของคณะ
ศิลปศาสตร์ที่มุ่งพัฒนาทักษะ ความสามารถของนักศึกษาในหลากหลายด้านซึ่ง
เชื่อมโยงเข้าหากนั และกัน

สีประจำคณะศิลปศาสตร์
คอื “สเี ขียวยูงทอง”

ตามคติความเชื่อของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ยกย่องให้พระสุรัสวดีเป็นเทพแห่งภาษา การสื่อสาร
และศิลปวิทยาทั้งปวง กอปรกับสัตว์ที่เป็นเทพ
พาหนะของพระสุรัสวดี คือ นกยูง ด้วยเหตุนี้คณะ
ศิลปศาสตร์จึงเลือกใช้สีเขียวขนนกยูงเป็นสีประจำ
คณะ และกำหนดให้เรียกสีเขียวขนนกยูงนี้ว่า “สี
เขียวยูงทอง” โดยกำหนดให้ใช้สี pantone สีเขียวท่ี
มีค่าสี 17-5641 TCX (Emerald)

คู่มอื นักศึกษาประจำปีการศกึ ษา 2565

สญั ลกั ษณ์มาสคอตประจำคณะ
“มยุรา”

นกยูงเป็นพาหนะของพระสุรัสวดี ผู้เป็นเทวี
แห่งสติปัญญา ความรู้ ศิลปะ และอักษรศาสตร์
เพื่อต้องการสะท้อนอัตลักษณ์ของคณะศิลป
ศาสตร์ ที่มีรากฐานการจัดการการเรียนการสอน
ด้านภาษาและการศึกษาทั่วไปซึ่งจะเป็นพื้น
ฐานความรู้ที่ผู้เรียนจะนำไปใช้ต่อยอดในการ
ศึกษาศาสตร์อนื่ ๆตอ่ ไป

ดอกไม้ประจำคณะศิลปศาสตร์
คือ “ดอกกุหลาบพระนามสริ ินธร”
ช่อื วทิ ยาศาสตร์ Rosa Hybrid วงศ์ Rosaceae
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกุมารี ทรงมีพระอัจฉริยภาพและทรงมีพระ
ปรีชาด้านภาษา ประวัติศาสตร์ โบราณคดีเป็นที่
ประจักษ์ ศาสตร์ที่พระองค์ทรงเชี่ยวชาญและมี
ความสนพระราชหฤทัยนี้เป็นศาสตร์ที่จัดอยู่ใน
แขนงวิชาศิลปศาสตร์ ด้วยเหตุนี้คณะศิลปศาสตร์
จึงเลือกใช้ดอก “กุหลาบพระนามสิรินธร” ซึ่งมีสี
ชมพูอมเหลืองเป็นดอกไม้ประจำคณะ เพื่อเป็น
การเผยแพร่พระเกียรติคุณและเทิดพระเกียรติ
พระปรีชาสามารถด้านดังกล่าว ตลอดจนเพื่อ
ความเป็นสิริมงคลแก่คณาจารย์ บุคลากร และ
นกั ศกึ ษาคณะศลิ ปะศาสตร์

คมู่ ือนักศกึ ษาประจำปกี ารศกึ ษา 2565

หลกั สตู ร ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต

สาขาวิชาภาษาญปี่ ุ่นธรุ กจิ
(หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2564)

ชือ่ สถาบนั อุดมศกึ ษา สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบงั
คณะ ศลิ ปศาสตร์
ภาควชิ า ภาษา

หมวดที่ 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไป

1. ชอ่ื หลกั สูตร
ชื่อภาษาไทย : ศิลปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาญ่ีปุ่นธุรกจิ
ชื่อภาษาองั กฤษ : Bachelor of Arts Program in Business Japanese

2. ชอื่ ปริญญาและสาขาวิชา
ช่ือเต็ม (ภาษาไทย) : ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาญป่ี ุน่ ธรุ กิจ
(ภาษาองั กฤษ) : Bachelor of Arts (Business Japanese)
ชอื่ ย่อ (ภาษาไทย) : ศศ.บ. (ภาษาญ่ปี ุ่นธุรกจิ )
(ภาษาอังกฤษ) : B.A. (Business Japanese)

3. วชิ าเอกหรอื ความเชยี่ วชาญเฉพาะของหลกั สตู ร
สาขาวชิ าเอก คือ ภาษาญ่ปี ุ่นธรุ กจิ โดยบัณฑิตที่จบการศกึ ษาเป็นผทู้ ี่มี
ความรู้และทักษะทางภาษาญีป่ ุ่นทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ สามารถ
ปฏบิ ตั ิงานในหนว่ ยงานท่ีใชภ้ าษาญปี่ ุ่น ทั้งภาครฐั และเอกชน และ
สามารถใชภ้ าษาญ่ีปุน่ เป็นเครอ่ื งมือในการศึกษาค้นควา้ และวจิ ยั ต่อไป

คมู่ ือนกั ศึกษาประจำปกี ารศึกษา 2565

4. จำนวนหนว่ ยกติ ทเี่ รียนตลอดหลักสูตร
132 หน่วยกิต

5. อาชีพทีส่ ามารถประกอบได้หลังสำเรจ็ การศึกษา
5.1 อาชพี ในสถานประกอบการทต่ี ดิ ตอ่ กบั ชาวญ่ปี ุน่
5.2 อาชพี ดา้ นการตคี วาม/การแปลภาษาญปี่ ่นุ ได้แก่ ล่าม นักแปล
5.3 อาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการ ได้แก่ มัคคุเทศก์ พนักงาน
ต้อนรับบนเครื่องบิน พนักงานโรงแรม
5.4 เจ้าหนา้ ที่ในหน่วยงานของรฐั ท่จี ำเป็นต้องใชภ้ าษาญ่ีปนุ่
5.5 อาจารย์สอนภาษาญี่ปุ่นตามสถาบันการศึกษาในระดับประถมศึกษา
มธั ยมศึกษา หรือโรงเรยี นสอนภาษา

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปีการศึกษา 2565

หมวดท่ี 2 ขอ้ มลู เฉพาะของหลกั สตู ร
1. ปรชั ญา ความสำคัญ และวตั ถุประสงคข์ องหลักสตู ร

1.1 ปรัชญา
เชี่ยวชาญภาษา เข้าถึงวัฒนธรรม มีคุณธรรมและจริยธรรม สามารถสื่อสาร และทำงาน
ร่วมกบั ผู้อน่ื ในองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ

1.2 ความสำคญั
จากกระบวนการเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ให้ผเู้ รยี นเกิดการเรยี นรูด้ ้วยตนเองเป็นหลกั

โดยเพิม่ ทกั ษะทจ่ี ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 ในการจัดการเรยี นการสอน เนือ่ งจากคน
รนุ่ ใหม่สามารถเขา้ ถึงข้อมูลท่ีมอี ย่ไู ดห้ ลากหลาย และสามารถเรยี นรู้ได้ด้วยตนเอง
คณาจารย์ คณะและสถาบันฯ จงึ ตอ้ งรว่ มมือกันปรับรปู แบบการเรยี นการสอนให้
สอดคลอ้ งกบั พฤติกรรมของคนรุ่นใหมท่ ่เี ปลยี่ นไป โดยใหน้ ักศกึ ษาเลอื กในสิ่งที่
ตอ้ งการเรียนรู้ได้มากย่ิงขน้ึ สามารถบรู ณาการองคค์ วามรู้ คดิ วิเคราะห์แก้ไข
ปญั หาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เพอ่ื ให้นกั ศกึ ษาคน้ หาตวั ตนและเพิ่มทักษะทต่ี นเองขาดแต่
จำเปน็ ต่อยุคสมัยทเี่ ปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็

ดังนัน้ สาขาวิชาภาษาญ่ีปุ่น จงึ จดั การเรียนการสอน ที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ หลกั
ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ การคิดวิเคราะห์และการแก้ปญั หา การเรยี นรสู้ ่ิง
ใหม่ๆ นอกเหนอื จากรายวิชาทกี่ ำหนด โดยสามารถบรู ณาการรายวิชาที่ผ้เู รียน
สนใจและเป็นประโยชนต์ อ่ ผู้เรียน เช่น โครงการอบรมทกั ษะที่จำเปน็ โครงการ
แลกเปลยี่ นกับมหาวทิ ยาลัยในประเทศญ่ีปุน่ โครงการเตรยี มความพร้อมสหกิจ
ศกึ ษารว่ มกบั สถานประกอบการในประเทศญป่ี นุ่ ในรปู แบบออนไลน์ เปน็ ตน้ เพอ่ื
เตรยี มความพรอ้ มก่อนก้าวสู่กระแสสงั คมโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลงตลอดเวลา รวมถึง
ปลูกจิตสำนึกในการอย่รู ว่ มกันในสงั คม การมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมต่างๆ เพื่อ
พฒั นาตนเองใหเ้ ปน็ บัณฑิตท่ีพึงประสงค์

วตั ถปุ ระสงค์ของหลักสตู ร

1) ผลิตบัณฑิตที่มีทั้งความรู้ และทักษะทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติให้สามารถ
ปฏิบตั งิ านในหน่วยงานทงั้ ภาครัฐและเอกชน
2) ผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และมี

จิตสำนกึ ทีด่ ีงามตอ่ สงั คมและการดำเนนิ ชวี ิต
3) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการศึกษาค้นคว้า วิจัยด้านภาษาและวัฒนธรรม

ญีป่ นุ่ เพิม่ มากขึ้น

คมู่ อื นกั ศกึ ษาประจำปกี ารศกึ ษา 2565

ผลลพั ธก์ ารเรียนรรู้ ะดับหลกั สตู ร (Program Learning Outcome)

1. สามารถใช้ทักษะในด้านภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ฟัง
พดู อา่ น เขยี น

2. สามารถใช้ทักษะในการประยุกต์ใช้ภาษาญี่ปุ่นรวมถึงบูรณาการองค์ความรู้
เพ่ือใช้ในการประกอบอาชพี ทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ

3. สามารถเป็นผู้นำในการปฏิบัติงาน และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความ
รับผดิ ชอบ และอดทนต่ออปุ สรรค

4. สามารถใช้ทักษะดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศในการสืบค้นไปจนถึงนำเสนอขอ้ มูล
5. สามารถอธิบายองค์ความรู้เกี่ยวกับมารยาท ขนบธรรมเนียม ประเพณี

ค่านิยมในสังคม วิถีการดำเนินชีวิต ไปจนถึงวัฒนธรรมองค์กรของชาว
ญป่ี นุ่ เพื่อปฏบิ ตั งิ านในหนว่ ยงานพหวุ ัฒนธรรมได้
6. สามารถใช้เหตุผลในการวิเคราะห์แจกแจง เชื่อมั่นและรู้คุณค่าในตนเอง
รวมถงึ ผอู้ น่ื

ผลลพั ธ์การเรียนรทู้ ี่คาดหวงั ระดบั ชนั้ ปี (YLOs)

1. YLO1 สามารถใช้ทักษะด้านภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่
ฟัง พูด อ่าน เขียน ในระดับชั้นต้น ด้านภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารครบทั้ง 4
ดา้ น ไดแ้ ก่ ฟงั พดู อา่ น เขยี น ในระดบั ชน้ั ต้น

2. YLO2 สามารถใช้ทักษะด้านภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่
ฟัง พูด อ่าน เขียนในระดับชั้นต้น-กลาง และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการสบื คน้ ไปจนถงึ นำเสนอขอ้ มูล

3. YLO3 สามารถใช้ทักษะ ด้านภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่
ฟัง พูด อ่าน เขียนในระดับชั้นกลาง และสามารถบูรณาการองค์ความรู้
เกี่ยวกับมารยาท ขนบธรรมเนียม ประเพณี ค่านิยมในสังคม วิถีการดำเนิน
ชีวิต ไปจนถึงวัฒนธรรมองค์กรของชาวญี่ปุ่นเพื่อปฏิบัติงานในหน่วยงาน
พหุวฒั นธรรมได้

4. YLO4 สามารถใช้ทักษะ ด้านภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่
ฟัง พูด อ่าน เขียน ในระดับชั้นสูง และสามารถประยุกต์ใช้ภาษาญี่ปุ่นได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ รวมถึงบูรณาการองค์ความรู้เพื่อใช้ในการประกอบอาชีพทั้ง
ในประเทศและตา่ งประเทศ โดยยึดมน่ั หลักคณุ ธรรมและจริยธรรม

คมู่ อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ระดับชน้ั ปี ผลลัพธ์การเรยี นรูท้ ่ี รายวิชา (Course)

การศกึ ษา คาดหวงั (YLOs)
ชัน้ ปีท1ี่
YLO1 สามารถใช้ทกั ษะ วชิ าเฉพาะ (บังคับ)
16026501 ภาษาญีป่ ุ่น 1
ดา้ นภาษาญป่ี นุ่ เพอ่ื 16026502 ภาษาญป่ี ุ่น 2
การสื่อสารครบท้ัง 4 16026505 สนทนาภาษาญี่ป่นุ 1
ดา้ น ไดแ้ ก่ ฟงั พดู 16026506 สนทนาภาษาญีป่ ่นุ 2

อ่าน เขยี น ในระดบั ช้ัน วชิ าศึกษาทั่วไป (พน้ื ฐาน)

ต้น 90641001 โรงเรียนสรา้ งเสนห่ ์

90641002 ความฉลาดทางดจิ ิตลั

90641003 กฬี าและนนั ทนาการ

วชิ าศกึ ษาทัว่ ไป (กำหนดโดยคณะ)

90642107 การผลติ สือ่ ดิจทิ ลั

90643016 สนุกกบั ธรุ กจิ ออนไลน์

วิชาศกึ ษาท่วั ไป (ดา้ นภาษาและการสอ่ื สาร)

90644007 ภาษาองั กฤษพื้นฐาน 1

90644008 ภาษาอังกฤษพน้ื ฐาน 2

คูม่ อื นกั ศึกษาประจำปีการศกึ ษา 2565

ระดบั ช้นั ปี ผลลัพธ์การเรยี นรู้ท่ี รายวิชา (Course)

การศกึ ษา คาดหวงั (YLOs)

ชัน้ ปที ี่ 2 YLO2 สามารถใชท้ ักษะ วิชาเฉพาะ (บังคับ)
ด้านภาษาญี่ปุ่นเพอื่ การ 16026503 ภาษาญ่ปี นุ่ 3
สือ่ สารครบทั้ง 4 ด้าน 16026504 ภาษาญี่ปนุ่ 4
ได้แก่ ฟงั พูด อา่ น เขยี น 16026507 สนทนาภาษาญี่ปุ่นเชงิ ธุรกจิ เบ้ืองต้น
ในระดับชน้ั ต้น-กลาง และ
16026508 สนทนาภาษาญปี่ ุ่นเชงิ ธรุ กจิ
สามารถใช้เทคโนโลยี 16026509 การอ่านและการเขียนภาษาญีป่ นุ่
สารสนเทศในการสบื ค้น เบ้อื งต้น
ไปจนถงึ นำเสนอข้อมลู 16026510 การอา่ นภาษาญ่ีปนุ่ 1
16026512 การเขยี นภาษาญี่ป่นุ 1

16026514 ภาษาญีป่ ุ่นเพือ่ การสอื่ สาร
16026519 วฒั นธรรมญป่ี ุ่น
วชิ าศึกษาทั่วไป (กำหนดโดยคณะ)
90644039 ทักษะการสื่อสารผา่ นการอภปิ ราย
วชิ าศึกษาทวั่ ไป (ด้านภาษาและการสอ่ื สาร)

90644012 ภาษาอังกฤษเพ่ือการ สอื่ สาร

คูม่ ือนกั ศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ระดับชนั้ ปี ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ท่ี รายวิชา (Course)
การศกึ ษา คาดหวงั (YLOs)

ช้ันปีที่ 3 YLO3 สามารถใชท้ ักษะ วิชาเฉพาะ (บังคับ)

ดา้ นภาษาญีป่ นุ่ เพ่อื 16026511 การอ่านภาษาญป่ี ุ่น 2

การสอ่ื สารครบทัง้ 4 16026513 การเขยี นภาษาญปี่ ุ่น 2

ด้าน ไดแ้ ก่ ฟัง พูด 16026515 เทคนิคการอภิปรายเป็นภาษาญป่ี นุ่

อา่ น เขยี นในระดับชน้ั 16026516 เทคนิคการฟังภาษาญีป่ ุน่ เบอ้ื งตน้

กลาง และสามารถ 16026517 การฟังภาษาญ่ปี นุ่ เพ่ือสรุปความ

บูรณาการองค์ความรู้ 16026518 การอ่านภาษาญ่ีปนุ่ เชิงวจิ ารณ์

เก่ียวกับมารยาท 16026520 ภาษาญปี่ ่นุ ธรุ กจิ

ขนบธรรมเนยี ม 16026521 ภาษาญปี่ นุ่ ธุรกิจเพื่อการประกอบ

ประเพณี คา่ นิยมใน อาชพี

สงั คม วิถกี ารดำเนิน 16026522 การวิจยั เบอ้ื งตน้

ชวี ติ ไปจนถงึ วิชาเฉพาะ (เลือก)

วัฒนธรรมองค์กร 16026555 ประวตั ศิ าสตร์ญปี่ นุ่

ของชาวญี่ปนุ่ เพื่อ 16026557 ภาษาญี่ป่นุ สำหรบั มคั คเุ ทศก์

ปฏบิ ตั งิ านในหนว่ ยงาน 16026560 วฒั นธรรมองค์กรญป่ี นุ่

พหุวัฒนธรรมได้ 16026561 ภาษาศาสตรภ์ าษาญ่ปี ่นุ เบอ้ื งตน้

คมู่ อื นกั ศึกษาประจำปีการศกึ ษา 2565

ระดับช้นั ปี ผลลัพธ์การเรียนรูท้ ่ี รายวชิ า (Course)

การศกึ ษา คาดหวงั (YLOs)

ชั้นปีท่ี 4 YLO4 สามารถใชท้ กั ษะ วิชาเฉพาะ (บงั คับ)
16026523 การเตรยี มความพรอ้ มเพ่อื สหกจิ
ด้านภาษาญีป่ ่นุ เพอ่ื ศกึ ษา/การศึกษาอบรมในตา่ งประเทศ/โครงการ
การสื่อสารครบทัง้ 4 คน้ คว้าอิสระ
ดา้ น ได้แก่ ฟัง พูด 16026571 สหกจิ ศึกษา

อา่ น เขียน ในระดับ 16026572 การศึกษาอบรมในตา่ งประเทศ

ชนั้ สูง และสามารถ 16026573 โครงการคน้ คว้าอิสระ

ประยุกต์ใชภ้ าษาญ่ีปนุ่ วิชาเฉพาะ (เลอื ก)

ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 16026551 การอ่านภาษาญ่ปี ุ่นเพ่อื รายงาน
รวมถงึ บูรณาการองค์ 16026552 การเขยี นภาษาญีป่ นุ่ เชงิ ธุรกิจ
16026553 ภาษาญี่ปนุ่ เพื่องานล่าม
ความรเู้ พอื่ ใช้ในการ 16026554 การเขยี นรายงานภาษาญปี่ ุ่น

ประกอบอาชีพท้ังใน 16026555 ประวัติศาสตรญ์ ่ีปุ่น
ประเทศและตา่ งประเทศ 16026556 วรรณกรรมญปี่ ุ่น

โดยยึดมนั่ หลกั 16026557 ภาษาญ่ปี นุ่ สำหรับมคั คุเทศก์

คณุ ธรรมและ 16026558 ภาษาญป่ี ุ่นเพือ่ งานแปล

จริยธรรม 16026559 ภาษาญป่ี ุ่นอตุ สาหกรรม
16026560 วัฒนธรรมองคก์ รญป่ี ุ่น

16026561 ภาษาศาสตรภ์ าษาญป่ี ่นุ เบอ้ื งต้น

16026562 การสอนภาษาญี่ปนุ่ ในฐานะ

ภาษาต่างประเทศ

ค่มู อื นักศึกษาประจำปกี ารศึกษา 2565

หมวดท่ี 3 ระบบการจดั การศึกษา การดำเนนิ การ และโครงสร้างของหลกั สตู ร

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

คู่มือนกั ศกึ ษาประจำปกี ารศกึ ษา 2565

สหกจิ ศกึ ษา

ความสำคญั ของสหกิจศกึ ษา
สหกิจศึกษาทวีความสำคัญมากขึ้น มีสถาบันอุดมศึกษา ในประเทศต่าง ๆ ทั่ว

โลก ใช้สหกจิ ศกึ ษาเปน็ แนวการจัดการศึกษาระดับปริญญากว้างขวางขึ้นในเกือบจะทุก
สาขาวิชา โดยมีเป้าประสงค์ตรงกัน คือ การเสริมคุณภาพบัณฑิต ผ่านประสบการณ์
ทำงานในสถานประกอบการ เพื่อการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต ตามมาตรฐานวิชาการ
และวิชาชีพ รวมทั้งตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน ถือเป็นส่วนสำคัญของ
การเตรียมบัณฑิตให้พร้อมที่จะเลือกอาชีพ และเข้าสู่ระบบการทำงานทันทีที่จบ
การศึกษา ทำให้บัณฑติ สหกิจศกึ ษา “รู้จกั ตน รู้จักคน และรูจ้ ักงาน”

วัตถปุ ระสงค์ของสหกิจศึกษา

1. เตรียมความพร้อมของนักศึกษา ด้านการพัฒนาอาชีพ (Career
Development) และเสริมทักษะ และประสบการณ์ให้พร้อมที่จะเข้าสู่ระบบการ
ทำงาน (Employability)

2. เพิ่มเติมประสบการณ์ทางด้านวิชาการ วิชาชีพ และการพัฒนาตนเองแก่
นกั ศกึ ษาในรปู แบบทม่ี ี คุณค่าเหนือกวา่ การฝึกงาน

3. เปิดโอกาสให้สถานประกอบการทั้งภาคเอกชน และภาครัฐได้มีส่วนร่วมในการ
พฒั นาคุณภาพบัณฑิต

4. ให้เกิดการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนที่ทันสมัยได้มาตรฐานและ
ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานมากยิง่ ข้นึ

5. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานประกอบการ และสถาบันอุดมศึกษาผ่าน
นักศึกษาสหกิจศึกษา และคณาจารย์นิเทศ อันจะนำไปสู่ความร่วมมือที่
กวา้ งขวางยงิ่ ขน้ึ

คู่มอื นกั ศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ลักษณะการปฏบิ ตั ิงานสหกจิ ศึกษา
• นกั ศึกษาปฏบิ ตั ิงานเสมือนเปน็ พนักงานชว่ั คราวของสถานประกอบการ โดยมี

พนักงานทีป่ รกึ ษาทำหนา้ ท่ีใหค้ ำแนะนำและดแู ลตลอดระยะเวลาการปฏิบตั งิ าน
• นักศึกษามหี น้าท่ีรับผดิ ชอบท่แี น่นอนด้วยงานท่ไี ดร้ ับมอบหมายจากสถาน

ประกอบการ ซ่ึงตรงตามสาขาวิชาที่ได้ศกึ ษามา
• นกั ศกึ ษาปฏิบตั งิ านเต็มเวลา (Full-Time) ระยะเวลา 1 ภาคการศกึ ษา (16 สัปดาห)์

โดยมอี าจารย์ทีป่ รกึ ษาสหกิจศกึ ษาทำหนา้ ท่ีให้คำปรกึ ษาและดูแลเอาใจใสอ่ ยา่ ง
ใกล้ชดิ

คุณสมบตั ขิ องนักศกึ ษาสหกจิ ศกึ ษา
• ควรมีคะแนนเฉลีย่ สะสม 2.75 ขน้ึ ไป
• สอบผ่านรายวชิ าบังคับครบตามที่กำหนด
• มคี วามประพฤติเรยี บรอ้ ย มคี วามรับผดิ ชอบและมวี ฒุ ิภาวะ
• สามารถพฒั นาตนเองได้
• มีบคุ ลิกภาพสอดคลอ้ งกับงานทตี่ ้องทำในสถานประกอบการ

ผลสัมฤทธิ์ของสหกจิ ศึกษา
• บัณฑิตสหกิจศึกษาได้งานเร็ว

กว่าและมากกว่าบัณฑิตที่ไม่ได้
รว่ มสหกิจศึกษา
• ผู้ประกอบการพอใจคุณภาพ
บัณฑิตสหกิจศึกษาสูงกว่า
บัณฑิตทไี่ ม่ไดร้ ่วมสหกิจศกึ ษา
• สถาบันอุดมศึกษาเห็นว่า ผู้ที่
ผ่านสหกิจศึกษามีวุฒิภาวะ
ความรับผิดชอบและมีวินัย
สูงขน้ึ

คมู่ ือนักศกึ ษาประจำปกี ารศึกษา 2565

ประโยชน์ของสหกจิ ศึกษา

1. นกั ศกึ ษา

• ได้ประสบการณว์ ชิ าชีพตรงตามสาขาวิชาเอก
• เกดิ การพัฒนาตนเอง ม่ันใจในตนเองมากขนึ้
• เกดิ ทกั ษะการส่อื สารรายงานขอ้ มลู
• มีโอกาสไดร้ บั การเสนองานจากสถาน

ประกอบการก่อนสำเร็จการศึกษา
• เลือกสายงานอาชีพได้เหมาะสมกบั ตนเอง
• เป็นบณั ฑิตทม่ี ีศักยภาพและความพรอ้ มใน

การทำงานสงู

2. สถาบันอุดมศกึ ษา

• เกดิ ความร่วมมอื ทางวิชาการและความสมั พนั ธท์ ด่ี ี
กบั สถานประกอบการ

• ได้ข้อมลู ย้อนกลับมาปรับปรุงหลักสตู รและการ
เรยี นการสอน

• สหกจิ ศึกษาชว่ ยให้สถาบนั อุดมศกึ ษาไดร้ บั การ
ยอมรับจากตลาดแรงงาน

3. สถานประกอบการ

• มนี ักศกึ ษาชว่ ยปฏิบตั ิงาน
• ใช้เป็นวธิ ีคดั เลือกพนักงานไดเ้ หมาะสมตาม

ความต้องการ
• มีโอกาสสร้างความรว่ มมอื ทางวิชาการกับ

สถาบนั อดุ มศกึ ษา
• เกดิ ภาพพจนท์ ี่ดีด้านการส่งเสริมการศึกษา

และในการให้โอกาสการเรยี นรู้

คู่มอื นักศึกษาประจำปีการศกึ ษา 2565

ขน้ั ตอนการอทุ ธรณผ์ ลการเรียนต้งั แต่ต้นจนจบ

หลกั สตู ร ศศ.บ. สาขาภาษาองั กฤษ

• นักศกึ ษาพบอาจารยท์ ีป่ รกึ ษาเพื่อพจิ ารณาคำร้องขออุทธรณผ์ ล
1 การเรียน

• อาจารย์ทป่ี รกึ ษาลงนามเหน็ ชอบในคำรอ้ ง
2

• นกั ศึกษาย่นื คำรอ้ งต่อกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสตู รเพ่ือ
พจิ ารณา

3
• กรรมการผรู้ ับผิดชอบหลกั สตู รเห็นชอบ และส่งเรื่องต่อไปยัง
แผนกภาษาองั กฤษ ภาควิชาภาษา

4
• หวั หนา้ แผนกภาษาองั กฤษพจิ ารณา และสง่ เรื่องตอ่ ไปยัง.
ภาควิชาภาษา

5
• หวั หน้าภาควิชาภาษาพ่จี ารณา และสง่ เรือ่ งต่อไปยงั คณะกรรมการ

6 ประจำสว่ นงานวชิ าการ คณะศลิ ปศาสตร์
• คณะกรรมการประจำสว่ นงานวชิ าการ พจิ ารณา มมี ติ และมอบ
กรรมการผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู รประสานกับอาจารยท์ ่ปี รกึ ษาแจง้

7 ผลการพิจารณาแก่นักศกึ ษา
• สำนกั ทะเบยี นประกาศผลการเรียนให้ระบบสารสนเทศของนกั ศกึ ษา

8

คมู่ ือนกั ศกึ ษาประจำปีการศึกษา 2565

ช่องทางการติดตอ่

ช่องทางการประชาสมั พันธข์ อ้ มลู ขา่ วสาร
Facebook
• คณะศิลปศาสตร์: https://www.facebook.com/liberalartskmitl/
• สาขาวชิ า : https://www.facebook.com/japanese.kmitl
• งานกิจการนักศกึ ษา: https://www.facebook.com/LA.StudentAffairs/
• สโมสรนักศึกษา: https://www.facebook.com/SMOLiberalArtsKMITL/
Website
• https://la.kmitl.ac.th

คณุ สมบัติของนักศึกษาสหกิจศกึ ษา
• ควรมคี ะแนนเฉล่ยี สะสม 2.75 ขนึ้ ไป
• สอบผา่ นรายวชิ าบงั คับครบตามท่ีกำหนด
• มคี วามประพฤตเิ รยี บรอ้ ย มคี วามรับผิดชอบและมีวุฒิภาวะ
• สามารถพฒั นาตนเองได้
• มบี คุ ลิกภาพสอดคล้องกับงานทต่ี อ้ งทำในสถานประกอบการ

ผลสมั ฤทธ์ขิ องสหกจิ ศึกษา
• บัณฑติ สหกจิ ศกึ ษาไดง้ านเร็วกวา่ และมากกวา่ บัณฑิตท่ไี มไ่ ดร้ ่วมสหกิจศกึ ษา
• ผู้ประกอบการพอใจคุณภาพบัณฑติ สหกจิ ศกึ ษาสูงกวา่ บัณฑิต

ที่ไม่ไดร้ ่วมสหกิจศึกษา
• สถาบนั อุดมศกึ ษาเหน็ ว่า ผูท้ ่ผี ่านสหกจิ ศึกษามวี ฒุ ิภาวะ ความรบั ผิดชอบ

และมวี นิ ยั สงู ขนึ้

คมู่ อื นกั ศกึ ษาประจำปกี ารศกึ ษา 2565

แบบบนั ทึกการเข้าพบอาจารย์ทป่ี รกึ ษา

ลำดบั ท่ี วัน/เดือน/ปี ภาคารศกึ ษา/ รายละเอียดการใหค้ ำปรกึ ษา ลายมือชื่อ
ทเ่ี ข้าพบ ปีการศึกษา อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา

ค่มู อื นกั ศึกษาประจำปกี ารศึกษา 2565

แบบบันทกึ การเข้าร่วมโครงการ/กจิ กรรม

ลำดบั ท่ี โครงการ/กิจกรรม ว/ด/ป จัดโดย ลายมอื ชื่อ
ท่ีเขา้ รว่ ม ผู้จดั

คมู่ อื นกั ศกึ ษาประจำปกี ารศกึ ษา 2565

แบบบนั ทึกการเข้าพบอาจารย์ทป่ี รกึ ษา

ลำดบั ท่ี วัน/เดือน/ปี ภาคารศกึ ษา/ รายละเอียดการใหค้ ำปรกึ ษา ลายมือชื่อ
ทเ่ี ข้าพบ ปีการศึกษา อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา

ค่มู อื นักศกึ ษาประจำปกี ารศกึ ษา 2565

อาจารยป์ ระจาํ หลักสตู ร


Click to View FlipBook Version