วารสารวัฒนธรรม
"สืบศิลป์ ถ่นิ ใต"้
หนังตะลงุ คณะจงเจริญ ศ.ศรพี ัฒน์
ต.บา้ นยาง อ.ครี ีรฐั นิคม จ.สรุ าษฎรธ์ านี
บทบรรณาธิการ 19 4
14 6
"สืบศิลป์ ถิ่นใต้" วารสารที่จัดทำโดย 8
สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และ มารู้จักตวั หนังตะลงุ 10
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี 11
โดยฉบับปฐมฤกษ์จะเกาะติดวิถีวัฒนธรรมแห่ง สารบัญ 14
บ้านยาง ชุมชนที่ยังคงอนุรักษ์ศิลปะการแสดง 19
หนังตะลุงโดยลูกหลานเป็นผู้สืบต่อลมหายใจ ท่นี .ี่ ..ชมุ ชนบา้ นยาง 20
ใหก้ ับวฒั นธรรมแขนงนี้ พูดแคน่ ีค้ งมใี ครหลายคน แหลงกบั นายหนงั
กำลังนึกถึง “หนังตะลุงคณะจงเจริญ ศ.ศรีพัฒน์ ความเช่อื เก่ียวกับหนงั ตะลงุ
ทไี่ ดร้ บั คัดเลือกเป็นสอ่ื ประชาสัมพันธ์ของชุมชนใน ทำความรู้จักหน้าเวที
อีกรูปแบบหนึ่งแล้ว ยังทำหน้าที่ทูตแลกเปลี่ยน เบอ้ื งหลงั จอผา้
วัฒนธรรมทัง้ ภายในและภายนอกจงั หวัดสุราษฎร์ มารู้จกั ตัวหนังตะลงุ
ธานี ไดแ้ ก่ นครศรีธรรมราช ชุมพร ระนอง ฯ เสยี งดนตรี
เปดิ ฉากขน้ั ตอนในการแสดงหนงั ตะลงุ
และไม่เพียงเท่านั้นหนังตะลุงจงเจริญยัง
เป็นลูกศิษย์บรมครูหนังเมืองสุราษฎร์ธานีที่ต่อ
ยอดแตกแขนงสร้างเครือข่ายนายหนังรุ่นใหม่ใน
นามของ “ศ.ศรีพัฒน์” ด้วยความเป็นลูกหลาน
เมืองคนดี เราจึงได้มีโอกาสนำข้อมูลเชิงลึกแบบ
คนวงในมาบอกต่อ ซึ่งอ่านได้ในคอลัมน์แหลงกับ
นายหนัง และจะฉายภาพด้านหลังผ้าขาวผ่าน
คอลัมน์เบื้องหลังจอผ้าและคอลัมน์ที่เกีย่ วข้องกบั
หนงั ตะลุงอยา่ งถงึ ลกู ถงึ คน
บรรณาธิการ
สวุ มิ ล เวชวิโรจน์
[email protected]
10
ทำความรู้จกั หนา้ เวที
6
แหลงกับนายหนงั
ที่นี่ “ชุมชนบา้ นยาง”
บ้านยาง มีตำนานเล่าสบื ตอ่ กันมาวา่ มีต้นยางชันต้นใหญ่ขนาดเทา่ เรืออยู่ต้นหนึง่ และ
ตน้ เล็ก ๆ จำนวนมากขนึ้ อยูต่ ามพ้นื ท่ีทุกหมบู่ ้านท่ัวทุกตำบล ในอดตี ไม่มีนำ้ มันปิโตรเลียมและ
ไฟฟ้าใช้ ดังนั้นแสงสว่างที่ได้จึงต้องอาศัยน้ำมันยางชันโดยใช้กระบอกไม้ไผ่และกาบน้ำ
มะพร้าวหรือเปลือกเสม็ด คลุกน้ำมันชันและห่อด้วยใบเตยหรือกาบหมากใช้เพื่อจุดเป็นแสง
สว่าง (หรือเรียกว่าไต้) และประโยชน์อีกอย่างหนึ่ง คือ ใช้อุดรอยร่ัวหรือภาชนะตักน้ำ
ปจั จบุ นั ต้นยางชันยังคงเหลอื อย่แู ทบทุกหมบู่ า้ น
4 วารสารวัฒนธรรม "สืบศิลป์ ถิ่นใต้"
สภาพทัว่ ไปของชมุ ชน
ตำบลบ้านยางแยกจากตำบลท่าขนอนและตำบลท่ากระดาน อยู่ห่างจากตัวอำเภอคีรีรัฐนิคม
ประมาณ 7 กิโลเมตร มีถนนลาดยาง 2 สาย มีแม่น้ำคลองยันและแม่น้ำาพุมดวงไหลผ่าน
ประกอบดว้ ย 8 หมบู่ ้าน
หมทู่ ่ี 1 บ้านยาง หมทู่ ่ี 2 บา้ นปากหาร
หมทู่ ่ี 3 บ้านย่านยาว หมทู่ ่ี 4 บา้ นต้นเหรยี ง
หมทู่ ่ี 5 บา้ นนางแก้ว หม่ทู ่ี 6 บา้ นปากคู
หมทู่ ่ี 7 บา้ นท่ากระดาน หมู่ที่ 8 บา้ นเชยี่ วหมวง
จำนวนประชากร
ประชากรทัง้ สิ้น 3,765 คน
ชาย 1,866 คน
หญิง 1,899 คน
ประกอบอาชีพ ทำสวน ทำไร่ และอาชีพ
เสรมิ เลย้ี งสัตว์ คา้ ขาย ทำนา
อาณาเขตตำบล
ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลน้ำหัก อำเภอครี ีรัฐนิคม จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
ทศิ ใต้ ติดกบั ตำบลทา่ ขนอน อำเภอครี ีรัฐนิคม จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี
ทศิ ตะวนั ออก ติดกบั ตำบลท่ากระดาน อำเภอคีรรี ัฐนิคม จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี
ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลทา่ ขนอน อำเภอครี ีรัฐนคิ ม จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี
วารสารวัฒนธรรม "สืบศลิ ป์ ถ่ินใต้" 5
แหลงกับนายหนงั
เกิดเป็นหญิงแทจ้ รงิ แสนลำบาก คนสว่ นมากจบั ตาแลแตผ่ หู้ ญงิ
ลกู เป็นสาว ขาวสด สวยซิง ๆ เจา้ เป็นหญงิ ตอ้ งรกั นวล สงวนตัว
ใครมาจบี รบี รัก มักเสียที แลให้ดี เลอื กผู้ชายไวเ้ ปน็ ผวั
ไดผ้ ัวผิดชวี ติ จะหมองมัว พาครอบครวั ให้คลอนคลน แสนยากจน
เจ้ามคี ู่ เจ้าอยา่ ดแู ตใ่ บหนา้ นิสยั ดี ได้พึง่ พา สถาผล
จะมีชายไวเ้ ปน็ คู่ ดูสักคน อย่าทำตนใหต้ กตำ่ ทำไวไฟ
ใสเ่ สื้อผ้า อยา่ ผ่าหนา้ และผ่าหลงั จงระวงั เสอื้ สายเดีย่ ว อยา่ เที่ยวใส่
อยา่ ให้ผชู้ ายตราหนา้ ว่าไวไฟมนั ไดใ้ จรวนราม แมท่ รามชม
โบราณว่าแมงกดุ จี่คู่ข้คี วาย หญิงใจรา้ ยคชู่ ายเลว เหมอื นเราพลดั เหวตดิ หลุม
ถา้ ลูกใจงา่ ย ลูกจะได้แต่ความระทม อยา่ หลงลมหนตี ามชาย เพราะว่าไมด่ ีเลย
...อ่อ...ชายขา้ วเปลือกหญงิ ขา้ วสาร โบราณว่า เมยี จะดีเพราะภสั ดา จำไว้
เถิดขวญั ตา
“แหลงกับนายหนัง” ได้มีโอกาสพูดคุยกับนายหนัง
จงเจรญิ ศศรพี ฒั น์หรอื “นอ้ งโดม” ที่หลายคนเรยี กกันจนติด
หู ในวันที่เขาทำหน้าที่ในงานประจำที่สำนักงานวัฒนธรรม
จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี เพราะในวันน้นั ทำให้ทมี งานอึง้ ทง่ึ (แต่
ไม่เสียว) กับฝีไม้ลายมือและฝีปากในการเชิดหนังตะลุง
รวมถึงอีกหลายแง่มุมโดยเฉพาะบทบาทของการเป็น “ผู้สืบ
สานวฒั นธรรม” ใหค้ งอยคู่ ชู่ มุ ชน
เปดิ ฉากนายหนงั ลูกบ้านยาง
“นอ้ งโดม” หรอื นายบรรจง เพชรชู เล่าถึงชวี ิตในชุมชนบ้าน
ยาง อำเภอคีรีรัฐนิคม วา่ เป็นลกู หลานคนในชุมชนที่มีใจรักทางด้าน
วัฒนธรรมและนำหลักธรรมมะเข้ามาสอดแทรกในบทพากย์หนัง
ตะลงุ ทำใหใ้ นปี พ.ศ. 2555 นายบรรจง เพชรชไู ด้ฝากตวั เปน็ ศิษย์
กับนายหนังตะลุงศรพี ัฒน์ หรือนายพัฒน์ เกื้อสกุล ศิลปินแห่งชาติ
สาขาศิลปะการแสดงหนังตะลุงประจำปี 2536 หรือบรมครูหนัง
ตะลุงของจังหวัดสรุ าษฎร์ธานี
6 วารสารวัฒนธรรม "สืบศิลป์ ถิ่นใต้"
โดยอาศัยหลักคำสอนของหนังตะลุงศรีพัฒน์ ใน
การฝึกฝน “ปาก มือ สมอง และความรู้รอบตัว”มาใช้เป็น
พื้นฐานในการฝึกทักษะการแสดงหนังตะลุง ประกอบกับที่
นายบรรจง เพชรชูอาศัยเรียนจบธรรมศึกษาชั้นเอก จาก
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยเข้ามาใช้เป็น
ส่วนหนึ่งในการภาคหนังตะลุง และฝึกฝนการแสดงหนัง
ตะลุงเรื่อยมาเกือบสองปี จนสามารถตั้งคณะหนังตะลุงจง
เจริญ ศ.ศรีพัฒน์ และยังมีครูหนังตะลุงเมืองสุราษฎร์ธานี
อีกหลายท่านที่ช่วยบ่มเพาะวิชาความรู้ด้านหนังตะลุง เช่น
หนังเทพศิลป์ ตะลุง 3 ภาษามหาบัณฑิต หนังสุวิทย์ ศ.
ศรีพัฒน์ และได้เริ่มแสดงหนังตะลุงเรื่อยมาตั้งแต่ปี พ.ศ.
2557 จนถึงปัจจุบัน โดยรับแสดงหนังตะลุงทั้งภายในและ
ภายนอกจังหวัด เช่น จังหวัดสุราษฎร์ธานีในเขตอำเภอคีรี
รฐั นคิ ม อำเภอพนุ พนิ อำเภอไชยา จงั หวดั นครศรธี รรมราช
จงั หวดั ระนอง ฯลฯ
สู่ลูกหลานผสู้ บื สานวัฒนธรรม
ชุมชนได้เล็งเห็นความสำคัญของทุนทางวัฒนธรรม
ที่ชมุ ชนมี ทำใหห้ นงั ตะลุงจงเจริญ ศ.ศรีพัฒน์ถูกหยิบยกขึ้น
มาทำหน้าที่เป็นสื่อของชุมชน เช่น สถานีอนามัยบ้านยาง
นำหนังตะลุงทอล์คโชว์มาใช้สำหรับบอกเล่าเรื่องราวของ
อนามัยบ้านยางให้ผู้ที่มาเยี่ยมชมองค์กรได้ทราบ และทาง
วัฒนธรรมจังหวัดขับเคลื่อนหนังตะลุงมาใช้เป็นแนวทางใน
การส่งเสริมพัฒนาไปสู่การจัดการท่องเที่ยว โดย
วางเป้าหมายในระดับจังหวัดว่าจะส่งเสริมการแสดงทาง
ศิลปวัฒนธรรมหนังตะลุงให้เป็นส่วนหนึ่งของประเพณีชัก
พระของทางจังหวดั สรุ าษฎร์ธานี
ทง้ั หมดนีค้ ือความงดงามที่ส่องประกายความ
ดีออกมาให้ชุมชนและสังคมได้รับรู้ตัวตนของ “น้อง
โดม” จากแรกเริ่มแสงริบหรี่สู่การค้นพบแสงสว่างที่
ปลายอุโมงค์ จากกลจักรที่สำคัญเริ่มจากเด็กและ
เยาวชนเป็นรากฐานที่สำคัญในฐานะผู้สืบต่อลม ขอบคณุ : หนังจงเจริญ ศ.ศรพี ัฒน์
หายใจใหก้ บั มรดกทางวัฒนธรรมแขนงน้ี
โทร: 062-864-8989
วารสารวัฒนธรรม "สบื ศลิ ป์ ถิ่นใต้" 7
ความเชือ่ เกยี่ วกบั หนังตะลุง
หนังตะลุงนอกจากจะถือว่าเป็นเรือ่ งบนั เทิงใจเฉกเช่นอย่างมหรสพทว่ั ๆ ไปแลว้ ศลิ ปะแห่งเงาหลงั ผนื
ผ้าน้ี ยงั ผกู โยงเอาเรือ่ งความเชอื่ ทางไสยศาสตรเ์ ข้าไปผสมผสานอยู่ด้วยมากมาย
การสรา้ งโรงหนัง
จากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับนายหนังตะลุง ทำให้ทราบ
ว่าในการสร้างโรงหนังตะลุงจะไม่นิยมหันหน้าไปทางทิศตะวันตกและทิศ
ตะวันออก เพราะเชื่อว่าถ้าหันไปทางทิศตะวันออกตกจะทำให้ชื่อเสียง
ตกต่ำ และถา้ หันไปทางทศิ ตะวันออกเชอ่ื ว่าจะเป็นการแขง่ กับแสงอาทิตย์
และพระจนั ทร์ซึ่งถอื เปน็ อัปมงคล หนงั จะไม่ยอมเลน่ และหนงั ตะลงุ แต่ละ
โรงมักมีหมอไสยศาสตร์ ที่จะคอยทำพิธีเพื่อป้องกันการถูกกระทำต่างๆ
โดยเฉพาะหากเป็นการประชันด้วยแล้วนั้นมักถือเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้เลย
นายหนังตะลุงกล่าวอีกว่า ในปัจจุบันนี้ความเชื่อเช่นนี้เริ่มเสื่อมคลายไป
มาก แต่มีเรื่องหนึ่งที่เป็นข้อห้ามและความเชื่อที่ยังปฏิบัติ คือ การห้าม
สร้างโรงหนังตะลุงคร่อมทางเดิน และทางน้ำไหล โดยมีความเชื่อว่า
เวลากลางคนื จะมีพวกผเี ดนิ ซึง่ ถอื วา่ จะเป็นการขัดขวางพวกผีนัน่ เอง
การจัดเรียงตวั หนงั ตะลงุ
นายหนังตะลุงเล่าให้ฟังอีกว่า ผู้เล่นหนังตะลุงทุกคนจะต้อง การบูชาครูอาจารย์
นับถือรูปหนังที่ถือว่าศักดิ์สิทธิ์ เช่น รูปฤาษี รูปพระอิศวรทรงโค รูป
เทวดา อย่างมาก รูปเหล่านี้มักจะทำจากหนังสัตว์ที่ตายอย่าง สิ่งที่สำคัญที่เห็น
พิสดาร เช่น ฟ้าผ่าตาย หนังเท้าของครูอาจารย์ บิดามารดา ส่วน ทีว่าหนังตะลุงแทบทุกคน
รูปตัวตลกต่างๆ ก็มีเคล็ดว่าให้ตัดหนังหุ้มอวัยวะเพศชายของคนตาย จะต้องขาดไม่ได้เลย คือ
แล้ว มาปะติดตรงส่วนปากล่างของรูป เพื่อจะได้ช่วยให้ตลกและชวน การตั้งหิ้ง เพื่อให้เป็นท่ี
ขำขนั มากยงิ่ ข้ึน สถิตของครู บูรพาจารย์
และบรรพบุรุษที่นายหนัง
รูปที่นำออกมาจากแผงถ้าเป็นรูปศักดิ์สิทธิ์ เช่น รูปเทวดา แต่ละคนสืบเชื้อสายมา
รปู ฤาษี ตอ้ งแขวนไว้เหนอื ระดับศีรษะ และเมอื่ เก็บเข้าแผงจะต้องจัด โดยเชื่อว่าครูเหล่านั้น ยัง
อย่างมรี ะเบียบ คือ รปู ไมส่ ำคญั วางไวข้ ้างล่าง รปู เทวดาและรูปฤาษี มีความห่วง ผูกพันกับ
จะต้องจัดไว้ข้างบนสุด จัดรูปพระกับรูปยักษ์ไว้คนละส่วนไม่ให้อยู่ นายหนัง หากนายหนัง
รวมกนั ส่วนรูปผหู้ ญิงจะสมั ผัสกับรูปฤาษีไม่ไดอ้ ย่างเด็ดขาด และรูป บูชาตามโอกาสที่ควร ครู
ตวั ตลกวางไว้ในท่ีที่ต่ำสุด นอกจากนนั้ แผงท่ใี ช้เกบ็ รูปหนังตะลุงต่างๆ หมอก็จะให้คุณ แต่หาก
จะให้ใครเดินข้ามไม่ได้เช่นเดียวกัน และก่อนที่ลงมือทำการแสดง ละเลยกอ็ าจใหโ้ ทษได้
จะต้องมีพิธีเบิกโรงก่อน ในการแสดงแต่ละครั้งการจัดเครื่องเซ่นจะ
ไมเ่ หมอื นกนั ขึ้นอยู่กบั งานที่ไปทำการแสดง
7
8 วารสารวัฒนธรรม "สืบศิลป์ ถน่ิ ใต้"
นอกจากความเชื่อที่กล่าวมาทั้งหมดแล้ว นายหนังตะลุงยังได้กล่าวทิ้งท้ายว่า “การ
แสดงหนังตะลุง ถ้าเรามองใหล้ ึก ศึกษาให้ดี จะเกี่ยวกับศีลธรรม สังคม ชีวิตประจำวนั ของ
มนุษย์เราแทบท้ังสน้ิ ความเชอื่ ของหนงั ตะลงุ มมี ากมาย ในอดตี ถือว่าไสยศาสตร์เป็นสิ่งท่ีนาย
หนังต้องเรียนรู้ จะแสดงหนังได้ดเี พียงอย่างเดียวคงไม่พอ ต้องรอบรูไ้ สยศาสตร์อยา่ งดีด้วย
จึงจะเอาตัวรอดได้”
วารสารวฒั นธรรม "สบื ศิลป์ ถนิ่ ใต้" 9
ทำความรู้จัก “หน้าเวท”ี
หนังตะลุงคณะจงเจริญ ศ.ศรีพัฒน์เป็นคณะหนัง
ตะลุงที่มีเวทีการแสดงเป็นของตนเองโดยจัดเวทีแสดง
หรือนิยมเรียกกันว่า“โรงหนังตะลุง” เป็นโรงเรือนพื้นสูง
ประมาณ 2 เมตร ดา้ นหน้ายาว 4 เมตร ดา้ นข้างยาว 3
เมตร มีหลังคา ด้านหน้าติดด้วยผ้าขาวซึ่งเรียกว่า “จอ
หนังตะลุง” ด้านข้างและด้านหลังปิดด้วยผ้าสีใดก็ได้
สำหรับแสงที่ใช้ทำให้เกิดเงาขณะแสดงนั้นสมัยโบราณใช้
ตะเกยี ง ปจั จุบันใชห้ ลอดไฟหวั กลมหรือใช้ตะเกยี งเจ้าพายุ
มีแผ่นโลหะบังด้านหลังเพื่อให้แสงส่องไปเฉพาะด้านหน้า
เวที ดา้ นหน้าและดา้ นข้างเวทีทัง้ สองด้านมตี ้นกล้วยขนาด
ใหญ่เพื่อใช้ปักตัวหนังตะลุง สำหรับโรงหนังตะลุง นิยม
สร้างโรงหนังตะลุงยกเสา 4 เสา ขนาดโรงประมาณ 2.3
X 3 เมตร พื้นยกสูงเลยศรี ษะผู้ใหญ่เล็กน้อย และให้ลาด
ตำ่ ไปดา้ นหน้า หลังคาเปน็ แบบเพิงหมาแหงน ก้ันด้านข้าง
และดา้ นหลังเวทีการแสดงของหนังตะลงุ
9
10 วารสารวัฒนธรรม "สบื ศิลป์ ถิ่นใต้"
เบ้อื งหลังจอผา้
เสียงขับร้องสำเนียงท้องถิ่นที่ขับออกมาสอดรับ
กับการขยับของตัวหนังอย่างมีชีวิตชีวา กำลังเรียกเสียง
หัวเราะและรอยยิ้มจากผู้ชม หากแต่จะมากหรือน้อยนั้นก็
ต้องขึ้นอยู่กับ “นายหนังตะลุง” คนทำงานเบื้องหลัง
จอภาพท่ีเราจะพาคณุ ไปทำความร้จู ักกับ “งานศลิ ปะ” ของ
เขาให้มากย่ิงขึ้น
สำหรับคอลัมน์นี้เราจะพาท่าน
ผู้อ่านไปทำเราความรู้จักกับหนังจงเจริญ
ศ.ศรพี ัฒน์หรือหนงั ตะลุง “พอเพียง” ของ
“น้องโดม” ซึ่งให้เกียรติมาบอกเล่า
ประสบการณ์เบื้องหลังจอผ้าผ่านบท
สัมภาษณ์ว่ากว่าจะมาเป็นหนังตะลุงให้เรา
ได้ชมกันน้นั มีความยากลำบากอย่างไร
วารสารวฒั นธรรม "สบื ศลิ ป์ ถน่ิ ใต้" 11
Q: การเตรียมตัวก่อนเริ่มแสดง ต้องเตรียม Q: การเตรียมตัวหนัง จะมีการเตรียมตัวหนัง
อย่างไรบ้าง? อย่างไรบา้ ง?
A: โดยท่ัวไปการแสดงหนังตะลุงจะใช้เพียงนาย A: ไม่ว่าจะแสดงเรื่องอะไร เราต้องเตรียมตัว
หนงั คนเดยี ว แต่ถา้ มผี ูช้ ่วยเตรียมตัวหนังก็จะทำ หนังไปกันหมดทุกตัว ยกไปทั้งแผง
ให้สะดวกยง่ิ ขึ้นในการหยิบจบั ตัวละครต่อไปท่ีจะ เปรียบเสมือนโลกใบหนึ่งที่ประกอบไปด้วยตัว
ใช้แสดง ละครหลายตัวไม่ว่าจะตัวพระ ตัวนาง ฤาษี
ยักษ์ ไอเท่ง หนูนุ้ย และอื่นๆ เผื่อเกิดเหตุการณ์
Q: องคป์ ระกอบสำคญั ของการแสดงหนงั ตะลุง ฉกุ เฉนิ ขน้ึ มาจะได้แก้ไขทันถว่ งที
คืออะไร?
Q: เอกลักษณข์ องหนังตะลุงของจังหวดั สุราษฎร์
A: สิ่งสำคัญของการแสดงหนังตะลุง คือ ลูกคู่ ธานีคอื อะไร?
หรือ นักดนตรี ที่จะคอยประโคมเครื่องให้มี
ความไพเราะยิ่งขึ้นทิศทางในการตั้งเวที ตาม A: แต่ละพื้นที่ในการแสดงหนังตะลุงจะมี
ความเชื่อแล้วเขาจะไม่ตั้งหันไปทางทิศตะวันตก เอกลักษณ์ที่แตกต่างกันออกไป แต่โดยรวมจะ
และจะไม่วางโรงไว้ใต้ต้นไม้ใหญ่ แต่หากมองใน คล้ายคลึงกัน ส่วนของจังหวัดสุราษฎร์ฯ จะมี
เชิงวิทยาศาสตร์แล้วอาจจะมองไปถึงทิศทาง สัญลักษณ์เป็นลูกลำใย หรือวรนุช ซึ่งจะเป็นรูป
ของลม เพราะทิศทางของลมก็มีส่วนสำคัญต่อ เฉพาะของแต่ละที่ สำเนียงก็จะเป็นสำเนียงของ
การแสดง ในสมัยก่อนจะไม่มีเครื่องขยายเสียง คนสรุ าษฎร์ฯ
จะใช้แต่เสียงของนายหนงั เพราะฉะน้นั เราจะไม่
ตั้งใต้กระแสลม ซึ่งจะทำให้เสียงนายหนังไม่ Q: อาจารยเ์ คยเจออปุ สรรคในการทำการแสดง
มาถงึ ผูฟ้ งั ครับ หนงั ตะลุงบ้างไหมครบั ?
Q: สำหรับการเตรียมบท จะมีการคิดบทยังไง A: แน่นอนว่า อุปสรรคจะต้องคู่กับการทำงาน
ตอ้ งดูจากอะไรบา้ ง? เสมอ ถา้ ไปแสดงแลว้ เจอเจ้าภาพที่ไมเ่ ห็นดว้ ย ก็
จะยากแก่การแสดง ทำให้ไม่สามารถทำงานได้
A: สำหรับบทจะมีสองรูปแบบ ข้อแรกต้อง อย่างเต็มที่ สถานที่ใกล้ไกลก็มีส่วนในการ
วางแผนก่อนว่าจะแสดงเรื่องอะไร จะมีการคิด เดินทางและการเตรียมงาน คือ ถ้าต้องไปเล่นท่ี
เรื่อง คิดบท เขียนไว้ล่วงหน้า เตรียมการไว้ เกาะสมุยเราตอ้ งกะเวลาในการหนงั เรือ อุปกรณ์
ล่วงหน้ารวมไปถึงการเตรียมบทกลอนที่ไพเราะ ที่จะต้องขนไป สถานท่ีเป็นยังไงบ้าง ต้องเตียม
ฉะนั้นเราจะได้ความไพเราะของบทกลอน แลพ กันหลายอย่าง สภาพภูมิอากาศ ก็เป็นส่วน
ความแม่นยำ สองคือ จำหัวข้อเรื่องไว้ จำการ สำคัญต่อการแสดงบางครง้ั ก็มบี ้างท่ีต้องพ่ึงไสย
แสดงว่าจะเป็นแบบไหน ส่วนบทนั้นเราจะใช้ ศาสตร์ บนบาลศาลกล่าวต่อสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ
ปฏิภาณไว้พริบ เช่น การร้องกลอนสด การคิด เพื่อที่จะทำการแสดงได้ บางครั้งก็ต้องมีความ
บทกลอนจะสอดคล้องกับงานที่เราไปแสดงด้วย รับผิดชอบในงานต้องทำการแสดงกลางสายฝน
ครับ ทำให้ตัวหนังได้รับความเสียหายครับ แต่เราก็
ท้งั สองอยา่ งจะแตกต่างกัน แต่อย่างที่สองจะได้ ต้องทำหน้าที่ของเราครับ ไม่ว่ายังไงก็ต้องทำ
ความสดใหม่ ต่นื เต้น สนุกสนานแก่ผชู้ มมากกว่า การแสดง เพราะชาวบ้านเค้าตั้งใจแล้วว่าจะมา
แต่ทั้งสองรูปแบบนั้นสามารถนำมาผสมผสาน ดเู ราครบั
กนั ได้เชน่ กันครับ
11
12 วารสารวฒั นธรรม "สบื ศลิ ป์ ถนิ่ ใต้"
Q: คา่ จ้างของการจา้ งหนงั ตะลุง แตล่ ะงานมคี ่าแรงเท่ากันหรอื เปล่า?
A: ส่วนใหญ่จะอยู่ที่สัญญาใจกัน เช่น ถ้าเราตกลงจะไปเล่นก็จะบอกฝ่ายผู้จ้างว่า ช่วยตัดต้นกล้วยไว้ให้
สองต้นน่ะ เรื่องของค่าจ้างก็จะอยู่ที่ 18,000 – 22,000 บาท มันขึ้นอยู่กับความใหญ่ของงาน ความ
ต้องการของเจา้ ภาพว่าอยากได้ประมาณแบบไหน มันตอ้ งตกลงกนั กอ่ นครับ
Nice to know รู้จกั หนังตะลงุ ศิลปะสูงคา่ ของบา้ นเรา
หนังตะลุง ศิลปะการแสดงประจำท้องถิ่นของภาคใต้ เป็นการเล่าเรื่องราวที่ผูกร้อยเป็นนิยาย
ดำเนินเรื่องด้วยบทร้อยกรองที่ขับร้องเป็นสำเนียงท้องถิ่น หรือที่เรียกกันว่าการ "ว่าบท" มีบทสนทนา
แทรกเป็นระยะ และใช้การแสดงเงาผ่านจอผ้า เป็นสิ่งดึงดูดสายตาของผู้ชม ซึ่งการว่าบท การสนทนา
และการแสดงเงาน้ี นายหนงั ตะลงุ จะเปน็ คนแสดงเองทัง้ หมด
ในอดตี น้ันหนังตะลุงเป็นมหรสพท่ีนยิ มแพร่หลายทั้งในงานบุญและงานศพ ดังนนั้ งานวัด งานศพ
หรืองานเฉลิมฉลองที่สำคัญ แต่เมื่อเวลาผ่านไป หนังตะลุงกลับกลายเป็นความบันเทิงที่ต้องจัดหามาใน
ราคาที่ "แพงและยุ่งยากกว่า" เมื่อเทียบกับภาพยนตร์ เพราะการจ้างหนังตะลุงมาแสดง เจ้าภาพต้อง
จัดทำโรงหนงั เตรียมไวใ้ ห้ และเพราะหนังตะลงุ ตอ้ งใชแ้ รงงานคน (และฝีมอื ) มากกวา่ การฉายภาพยนตร์
ค่าจ้างต่อคืนจึงแพงกว่า ยคุ ทีก่ ารฉายภาพยนตรเ์ ฟื่องฟู หนงั ตะลุงและการแสดงท้องถนิ่ อื่น ๆ เช่น มโน
รา รองแง็ง ฯลฯ ก็ซบเซาลง ยิ่งเมื่อเข้าสู่ยุคที่ทุกบ้านมีโทรทัศน์ดู ละครโทรทัศน์จึงเป็นความบันเทิง
ราคาถกู และสะดวกสบาย ท่มี าแยง่ ความสนใจไปจากศิลปะพ้นื บ้านเสียเกอื บหมด
เหน็ ไหมคะ่ กว่าจะมาเปน็ หนงั ตะลงุ ให้
พวกเราได้ชมกันมนั ไม่ใชเ่ รอ่ื งงา่ ย ๆ ดัง
คำกล่าวที่ว่า‘‘ความลำบาก มกั จะมา
พร้อมกบั ความสำเร็จเสมอ”แตเ่ หนอื สิ่ง
อน่ื ใดต้องมใี จรัก และลงมือทำใหส้ ำเร็จ
ดิฉนั หวงั วา่ ทา่ นผอู้ า่ นจะได้ขอ้ คดิ ดี ๆ
และเกิดแรงบนั ดาลใจจากการอ่าน
‘‘เบื้องหลงั จอผ้า”นะค่ะ
วารสารวฒั นธรรม "สืบศลิ ป์ ถนิ่ ใต้" 13
มารจู้ กั 1.รูปครู หรือพระฤาษี ถือเป็นตัว
หนังที่มีความศักดิ์สิทธิ์ การที่จะนำรูปพระ
ตัวหนงั ตะลงุ ฤาษอี อกมาทำการ
ในคอลัมน์นี้ทีมงานจะชวนเพื่อนๆ ไปทำ แสดงได้นัน้ นายหนงั จะต้องพนมมือ
ความรู้จักกับ “ตัวหนังตะลุง” ซึ่งถือว่าเป็นหัวใจ ไหว้เพื่อเป็นการทำความเคารพและระลึกถึง
หลักของการแสดง และได้รับการสืบทอดกันมา ครูบาอาจารย์ที่ประสิทธิ์ประศาสตร์วิชาให้
ยาวนาน ทั้งในด้านการผลิต ความประณีตใน ซึ่งในการแสดงนายหนังจะมีลีลาการเชิดท่ี
การแกะ การลงสี รวมไปถึงความเชอื่ ตา่ งๆ โดย สุขุม เยือกเย็น และอ่อนช้อยสวยงาม
แต่ละคณะจะมีหนังตะลุงอยู่ประมาณ 100 – เปรยี บเสมือนทา่ ทางของพระฤาษี
150 ตัว ซึ่งมีที่สำหรับเก็บรูปเรียกว่า “แผง” ท่ี
สานด้วยไม้ไผ่มีน้ำหนักเบาและระบายอากาศได้ ลักษณะเด่น เป็นรูปครู ป้องปัด
ดี เก็บรูปได้มากและช่วยรักษารูปทรงของรูป เสนียดจัญไรและภยันตรายทั้งปวง ทั้งช่วย
หนังตะลุงได้ดี ซึ่งขนาดและรูปทรงของหนัง ดลบันดาลให้หนังแสดงได้ดี เป็นที่ชื่นชอบ
ตะลุงจะขึ้นอยู่กับช่างผู้ผลิต สำหรับในรูปหนัง ของคนดู รูปฤๅษีรูปแรกออกครั้งเดียว
ตะลุงจะแบ่งออกเป็น 2 ขนาดชัดๆ คือ ขนาด นอกจากประกอบพิธีตัดเหมรย (แก้บน)
ใหญ่และเล็ก เพื่อเป็นการประหยัดวัสดุในการ เท่านน้ั มคี วามขลังและศักดิ์ สามารถป้องปัด
ผลติ น่นั เอง เสนียดจัญไร ไว้สำหรับเคารพบูชา และใช้
สำหรับการเชิดเบิกโรง และในวาระที่มี
สำหรับรูปหนังตะลุงแต่ละรูปมีความ บทบาทของพระฤาษี
ศักดิ์สิทธิ์ที่ต่างกัน การเก็บลงแผง การจัดปัก
หรือแขวนไว้ในโรงก็ดี ต้องจำแนกประเภทและ การแต่งกาย มือขวาถือไม้เท้า มือ
ความสำคัญให้ถูกต้องตามขนบด้วย เช่น รูป ซ้ายถอื พัดและย่าม สวมชฎา จะนุ่งผ้ามีลาย
ฤาษีซึ่งมีความศักดิ์สิทธิ์สูงสุดและถือเป็น และสวมผา้ สะพาย
ตัวแทนครูหนัง ต้องเก็บไว้บนสุด ถัดจากนั้นก็
เปน็ รูปพระอิศวร รปู ปรายหน้าบท รูปตลก รูป
เจ้าเมืองนางเมือง รูปพระ รูปนาง รูปยักษ์
และรปู เบด็ เตลด็ อ่นื ๆ จะเก็บไว้อยใู่ ตส้ ดุ
14 วารสารวัฒนธรรม "สบื ศลิ ป์ ถน่ิ ใต้"
2.พระอิศวรทรงโค ถือเป็นอีกรูปหนึ่งที่นายหนังให้
ความเคารพ เน่ืองจากเป็นเทพแห่งศลิ ปะ ดังน้นั
การออกรูปพระอิศวรเป็นการรำลึกถึงเทพผู้ทรงคิดค้น
ท่าร่ายรำต่างๆ ในการเชิดรูปพระอิศวรจะแฝงไปด้วยนัยการ
สอนคนดู ซึ่งการเชิดรูปของนายหนังแต่ละคณะจะเป็นการอวด
ลีลาการเชิดของนายหนัง
ลักษณะเด่น พระอิศวรจะทรงโคอุสุภราชหรือนนทิ
หรือเรียก รูปพระอิศวรว่ารูปพระโค หรือรูปโค หากคณะหนัง
ใดสามารถเลือกใช้หนังวัวที่ทำตัวหนังซึ่งมีลักษณะเท้าทั้ง 4
เป็นสีขาว โหนกสีขาว หน้าผากรูปใบโพธิ์สีขาว ขนหางสีขาว
วัวประเภทนี้หายากมากถือเป็นมงคล ตำราภาคใต้เรียกว่า ตีน
ด่าง หางดอก หนอกพาดผ้า หน้าใบโพธิ์แล้วจะเป็นมิ่งมงคล
ให้กบั คณะนายหนัง
การแต่งกาย พระอิศวรถูกแกะตามลัทธิพราหมณ์
พระอิศวรมี 4 กร ถือตรีศูล ธนู คทา และบาศพระอิศวรรูป
หนังตะลุงมีเพียง 2 กร ถือจักรและพระขรรค์เพื่อให้รูป
กะทดั รดั สวยงาม
3.ปรายหน้าบท เปรียบเสมือนตัวแทนของนายหนัง
ตะลุง เป็นสัญลักษณ์แทนเครื่องสักการบูชา การออกรูปปราย
หน้าบทแต่ละครั้งนายหนังจะขับกลอนโดยใช้เสียงต่ำ เพื่อเป็น
การนอบน้อมบูชาอยา่ งสำรวมโดยจะเริ่มจาก ไหว้พระรัตนตรยั
บิดามารดา ครูบาอาจารย์ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ครูหนัง ครูกลอน
พระมหากษัตรยิ ์ ผมู้ พี ระคณุ เจา้ ภาพ และผชู้ มตามลำดับ นิยม
ใชใ้ นงานเกยี่ วกบั ขวัญและกำลงั ใจ
ลักษณะเด่น การออกรูปปรายหน้าบทจะเริ่มด้วยนาย
หนัง หยิบรูปขึ้นมาเสกคาถา เบิกปาก เพื่อให้ได้ขวัญและ
กำลงั ใจ
การแต่งกาย นุ่งผ้ากางแกงและสวมเสื้อมีลวดลายมี
เครื่องประดับ มือซ้ายจะถือดอกบัวเพื่อเป็นสัญลักษณ์แทน
เครอื่ งสักการะบูชา
วารสารวฒั นธรรม "สบื ศิลป์ ถ่ินใต้" 15
4.รูปตัวตลก เป็นตัวตลกที่สร้างเสียงหัวเราะ คละคลุ้งไปกับความสนุกสนานเพื่อให้ผู้ชมเกิด
ความเพลิดเพลิน นอกจากน้ตี ัวตลกยังเปน็ ตวั แทนชาวบ้านซึ่งจะจำลองตามลักษณะกิริยาท่าทางและนิสัย
ออกมาจากคนจริง ใช้ภาษาถิน่ ในการสนทนา ลีลาการพูดน้ำเสียงจะต่างกันตามบุคลิกเฉพาะของตัวตลก
แต่ละตวั
ไอเ้ ท่ง
ลักษณะเด่น เท่งเป็นชาวคูขุด อ.สทิงพระ จ.สงขลา
มีอาชีพทำหวาก (น้ำตาลเมา) และหากุ้งฝอยในทะเลสาบ
สงขลา ผู้รู้บางคนเล่าว่าสาเหตุที่เท่งนิ้วหงิกงอก็เพราะน้ำกัด
จากการไปยืนแช่น้ำและงมกุ้งหอยอยู่ในทะเลสาบ มีนิสัย
พดู จาขวานผา่ ซาก เสียงดัง ไมเ่ กรงใจใคร กล้าวพิ ากษว์ ิจารณ์
อย่างตรงไปตรงมา พูดจริงทำจริง มีความเด่นตรงที่คนจมูก
โต หวั ฉอก หนา้ ตามู่ทู่ ผอมลงพงุ ตูดลบี นวิ้ หงิกงอ
การแตง่ กาย ไมส่ วมเสอ้ื นุ่งผา้ โสรง่ ลายตาหมากรุก
ขาว-ดำ เคยี นพุงด้วยผ้าขาวม้าเหนบ็ มดี เท้าเปลือย ปลายนิ้ว
จะมสี แี ดง
นายหนูนุ้ย
ลักษณะเด่น หนูนุ้ยเป็นคนวิกลจริต เที่ยวเดิน
เตร็ดเตร่อยู่แถวตลาดคลองขวาง จ.สงขลา หน้ายาวเหมือน
วัว ผมปรกหน้า มีเคราใตค้ าง รูปรา่ งผอม พงุ ป่องถือมีดปาด
ตาล รูปร่างหน้าตาและกริยาท่าทางดูประหลาด จนกระทั่ง
"หนังนุ้ยหมาตาย" บรมครูหนังตะลุงไปพบเข้าจึงเอามาเป็น
แบบตัดเป็นตัวตลก
การแต่งกาย นุ่งผ้าโสร่ง แต่ไม่มีลวดลาย ไม่สวม
เสอ้ื ถอื มดี ตะไกรหนบี หมากเปน็ อาวธุ
อา้ ยยอดทอง
ลักษณะเด่น มีอาชีพขายพลูอยู่ที่ อ.เขาชุมทอง จ.
นครศรีธรรมราช มีนิสัยขี้โม้ คุยโวโอหัง บ้ายอและเจ้าชู้ ใจ
เสาะ ข้ขี ลาด รูปร่างอว้ น ผิวดำ พุงยอ้ ย กน้ งอน ผมหยกิ เป็น
ลอน จมกู ยนื่ ปากบุ๋ม
การแต่งกาย นุ่งผ้าลายโจงกระเบน ไม่สวมเส้ือ
เหน็บกริชเป็นอาวุธประจำกาย
16 วารสารวัฒนธรรม "สืบศิลป์ ถน่ิ ใต้"
นอกจากตัวตลกที่รู้จักกันโดยทั่วไปแล้ว ในจังหวัดสุราษฎร์ธานีตัวตลกที่มีเฉพาะ ซ่ึง
เปน็ อตั ลกั ษณห์ น่ึงท่ีแสดงถึงความนยิ มที่คนสุราษฎร์ฯ มตี อ่ หนงั ตะลงุ ได้ ดังน้ี
ไอล้ ำไย
ลักษณะเด่น เป็นตัวตลกเอกของจังหวัดสุราษฎร์ธานี
มลี ักษณะคล้ายตัวหนัง “วรนุช” รปู รา่ งผอม เป็นคนมีอารมณ์ขัน
ชอบสอดรู้สอดเห็น เจ้าบทเจ้ากลอน เป็นคนพูดสุภาพ พูดแทน
ตัวเองวา่ “นยุ้ ” ใหผ้ ูช้ มเกดิ ความเอ็นดู สงสาร ไวผ้ มจุกสูง ปาก
แหลม
การแต่งกาย นุง่ ผา้ ถงุ ยาวถึงตาตุม่ ไมส่ วมเสื้อ
5.ตวั ละครหลกั เป็นตวั ละครที่ใช้ในการดำเนินเร่ืองราวตามท้องเรอื่ งทใ่ี ช้ในการแสดงของหนัง
ตะลุง มีด้วยกันหลากหลายตัวละคร ซึ่งนายหนังจะเป็นผูเ้ ลือกใชต้ ามเรือ่ งราวที่จะทำการแสดง สำหรับ
รปู หนังตะลุงท่ีนิยมใช้ในการแสดงหลัก ๆ คือ
เจ้าเมือง เจ้าเมืองหรือพระราชา เรื่องที่นิยมแสดง
คือ วรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ หรืออาจจะเป็นนิทานพื้นบ้าน
ซึ่งพระเอกกม็ ักจะเป็นกษัตรยิ ์หรอื เจา้ ชาย รปู หนังตัวพระจึงมี
ลักษณะเป็นชายรูปงาม ทรงเครื่องอย่างกษัตริย์ แต่ถ้าใน
เรือ่ งตัวเอกเปน็ คนธรรมดาก็จะแต่งตวั อีกแบบหนง่ึ
การแต่งกาย เจ้าเมืองจะสวมชฎา สวมเสื้อผ้าท่ี
ประดับประดาด้วยเครื่องเงินเครื่องทองสวยงามมีสีสัน ถือ
ดาบดา้ นขวา เปน็ อาวุธประจำกาย
นางเมือง เป็นมเหสขี องเจา้ เมอื งมีบทบาทเปน็ เพียงผู้
ตาม แม้บางครั้งจะเห็นว่าการที่เจา้ เมอื ง สั่งลงโทษพระโอรส
หรอื พระธดิ า ไม่เปน็ การถกู ตอ้ งแต่มักมไิ ด้คัดค้าน
การแต่งกาย นางเมืองจะสวมชฎา ส่วนเสื้อผ้าท่ี
ประดบั ประดาดว้ ยเครือ่ งเงนิ เครื่องทอง มีสีสนั สวยงาม
6.รูปเบ็ดเตล็ด เป็นตัวหนังที่สามารถสร้างขึ้นใหม่ได้ตามยุคสมัย เพื่อสร้างอรรถรสในการชม
หนงั ตะลงุ เช่น โจร ทหาร ตำรวจ หนว่ ยกู้ภัย เป็นต้น หรือแม้แต่ ต้นไม้ ก็นิยมนำมาแกะสลัก ใช้ในการ
แสดงด้วยเชน่ เดยี วกนั
วารสารวัฒนธรรม "สบื ศลิ ป์ ถ่นิ ใต้" 17
แม้จะออกตัวแรงประหนึ่งว่าจะเอาใจบรรดาคอหนังตะลุง หากแต่แท้ที่จริงแล้ว หนังตะลุงเป็น
วัฒนธรรมที่วิวฒั นม์ าคู่กับคนสุราษฎร์ธานมี าช้านาน ซ่งึ เปน็ เรอ่ื งใกล้ตัว แถมยังสะท้อนตัวตนของคนเมือง
คนดีอย่างเราด้วยแล้วนั้น ก็ไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป และหวังว่าเรื่องราวผ่านรูปหนังแต่ละตัวจะสร้าง
การรับร้ใู ห้กบั ทุกคนได้มากขนึ้
18 วารสารวฒั นธรรม "สบื ศิลป์ ถ่นิ ใต้"
เสยี งดนตรี
ในอดีตการแสดงหนังตะลุงจะมีเครื่อง
ดนตรีในการแสดงด้วยกันอยู่ห้าชิ้นหรือที่เรียกกนั
ว่า ดนตรีเครื่องห้า ประกอบด้วย โหม่ง ฉิ่ง ทับ
กลอง และปี่ (ปิ่นอก) เครื่องดนตรีเหล่านี้ถูก
นำมาใช้ในการแสดงเพื่อสร้างเสียงจังหวะในการ
แสดงและเพื่อให้เกิดความเพลิดเพลิน สำหรับใน
ปัจจุบันมีการนำเอาเครื่องดนตรีสากลเข้ามา เช่น
กลองชดุ กีตาร์ เบส คีบอรด์ แซ็กโซโพน เป็นต้น
มาร่วมบรรเลง ควบคู่กันกับ ดนตรีเครื่องห้าซ่ึง
เปน็ เครอ่ื งดนตรหี ลักของหนงั ตะลงุ
วารสารวัฒนธรรม "สบื ศลิ ป์ ถ่นิ ใต้" 19
เปิดฉากข้ันตอนในการแสดง
หนงั ตะลงุจากตาราง ลำดับขั้นตอนในการ
แสดงหนังตะลุงเริ่มตั้งแต่การตั้งเครื่องและ
เบิกโรงถือเป็นการเข้าสู่การเร่มิ ต้นการแสดง
เมื่อคณะหนังขึ้นโรงแล้ว จะทำพิธีตั้งเครื่อง .
เบิกโรงเป็นการทำพิธีเอาฤกษ์ ลูกคู่บรรเลง
เพลงเชิด เรียกว่าการตั้งเครือ่ ง จากนั้นนาย
หนังจะแก้รูปออกจัดปักวางรูปให้เป็น
ระเบียบ ฝ่ายนายหนังจะทำพิธีเบกิ โรง โดย
ทำสิ่งของที่เจ้าภาพจัดให้ตามลักษณะของ
งานท่แี สดง คือ ถ้าเป็นงานทวั่ ไปใช้หมากพลุ
9 คำ เทียน 1 เล่ม ถ้าเป็นงานอัปมงคล
เพิ่มเสื่อ 1 ผืน หมอน 1 ใบหม้อน้ำมนต์ 1
ใบถา้ เป็นงานแก้บน ใช้หมาก 9 คำ เทียน 9
เล่ม และเพิ่มดอกไม้ ข้าวสาร และด้ายดิบ
ในการเบิกโรงทุกงานต้องใช้เงินเบิกโรง เช่น
3 บาท 12 บาทมาวางไว้บนหยวก เชิญครู
เสร็จแล้วเอารูปฤาษี ปรายหน้าบท และเจ้า
เมืองปักหยวก ร้องเชิญครูหมอ ขอที่ตั้งโรง
จากพระภูมิและนางธรณี แล้วเสกหมาก 3 บอกเรื่อง ส่วนใหญ่ใช้รูปตลกหรือใช้รูปขวัญเมือง
คำ ซัดเข้าไปในทับ 1 คำ เหน็บไว้ที่ตะเกียง เป็นตัวแทนของนายหนัง ไม่มีการร้องกลอน มีแต่พูด เพ่ือ
หรือดอกไฟ 1 คำ เหน็บไว้ที่หลังคาโรงหรือ บอกกล่าวกับผู้ชมถึงเรื่องนิยายที่นายหนังจะนำมาแสดง
ใส่ในหยวกอีก 1 คำ เพื่อป้องกันเสนียด เกี้ยวจอ เปน็ การร้องกลอนสั้น ๆ กอ่ นบอกเรือ่ งเพื่อเป็นคติ
จัญไร จบแล้วลูกคู่จะบรรเลงเพลงโหมโรง สอนใจแก่ผู้ชมหรือเป็นกลอนพรรณนาธรรมชาติ นายหนัง
การโหมโรง เป็นการบรรเลงเพลงดนตรี จะแต่งไว้ก่อนและถือว่าเป็นการใช้ภาษาคมคาย การบอก
เพ่ือเรียกคนดู ออกรปู เรื่องมักเป็นการร้องเพลงนำ เพลงลูกทุ่ง เพลงลิเก และ
กลอนหนังตะลุง ดำเนินเรื่อง เป็นการแสดงตามท้องเรื่อง
ออกฤาษี เป็นรูปครู ออกเชิดเพ่ือ หรือจินตนิยายที่นายหนังจะนำมาแสดงเพื่อสอดแทรกท้ัง
คารวะครู และปัดเป่าเสนียดจัญไรต่าง ๆ สาระและบันเทิงตลอดเวลาของการแสดง ในอดีตนายหนัง
นายหนังจะเชิดรูปฤาษี โดยใช้ไม้เท้าออก จะเน้นการนำเสนอจินตนิยายที่ให้คติสอนใจแก่ผู้ชม ใน
ล่องจอตรงมุมขวา มุมซ้าย และกลางจอจุด ลักษณะ “ธรรมะ ชนะ อธรรม” หรือ “กรรมสนองกรรม”
ละครั้ง แล้วเหาะผ่านจอจากขวาไปซ้าย เพื่อให้ผู้ชมรู้บาปบุญคุณโทษ แต่ปัจจุบันนายหนังส่วนใหญ่
ปรายหน้าบท เป็นรูปผู้ชายถือดอกบัวบ้าง จะเน้นไปที่ตลกเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากสามารถตอบสนอง
ถือธงชาติบ้าง ถือเป็นตัวแทนของนายหนัง ความต้องการของตลาดผละผู้ชมในปัจจุบันไม่ค่อยมีเวลา
เป็นชายหนุ่มแต่งกายโอรสเจ้าเมือง ใช้เล่น มากพอในการดูหนังจนจบหรือจนสว่าง และการบอกลา
เพื่อไหว้ครู ไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์และครูหนังท่ี เป็นการกล่าวแสดงความรู้สึกขอบคุณ แม่ครัว หรือเจ้า
เคารพนับถือ ตลอดทั้งร้องกลอนฝากเนื้อ อาวาสท่ไี ด้ใหใ้ ชส้ ถานทแี่ สดง
ฝากตวั กับผชู้ ม
20 วารสารวัฒนธรรม "สบื ศิลป์ ถิน่ ใต้"