The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงาน
จุดเน้นที่ 6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานผลการดำเนินงาน จุดเน้นที่ 6

รายงานผลการดำเนินงาน
จุดเน้นที่ 6

รายงานผลการดำเนนิ งาน

จุดเน้นท่ี ๖

ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการ
เรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม และมี
ปฏิสัมพันธ์ กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการ
ปฏบิ ตั ิ ทหี่ ลากหลายรปู แบบ (Active Learning)
มกี ารวัดและประเมินผล เพ่อื พฒั นาการเรียนรูข้ อง
ผู้เรยี น (Assessment for learning)

นายสรุ ิภาศ สหี ะวงษ์
ผอ.สพป.ศรสี ะเกษ เขต ๒

กลมุ่ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ๐๘๘-๔๗๓๘๔๕๔

สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ

Active Learning จึงเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา
(Constructivism) ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่าเนื้อหาวิชา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้
หรอื สร้างความรู้ให้เกดิ ขน้ึ ในตนเอง ด้วยการลงมอื ปฏิบตั จิ ริงผา่ นส่อื หรือกจิ กรรมการเรียนรู้ ทีม่ ีครูผู้สอนเป็น
ผู้แนะนำ กระตุ้น หรืออำนวยความสะดวก ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขึ้น โดยกระบวนการคิดขั้นสูง กล่าวคือ
ผูเ้ รียนมีการวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และการประเมินค่าจากส่ิงที่ได้รบั จากกจิ กรรมการเรียนรู้ ทำให้การเรียนรู้
เป็นไปอย่างมีความหมายและนำไปใช้ในสถานการณ์อื่นๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒ ได้ตระหนักในเรื่องนี้ และได้ดำเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม
สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง ( Active Learning)
มาตลอด

ขอขอบคณุ ผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา รองผูอ้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา
ผู้อำนวยการกล่มุ ทกุ กลมุ่ ที่ใหค้ วามกรณุ าเป็นทปี่ รึกษา และขอขอบคณุ ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา คณะครผู ู้สอน
ท่มี สี ว่ นรว่ มในการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นผ่านกจิ กรรมการปฏิบัตจิ รงิ (Active Learning)

กลมุ่ งานนิเทศ ติดตามฯ

สารบัญ

เร่อื ง หนา้

คำนำ ………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2
สารบญั ……………………………………………………………………………………………………………………………….. 3
จดุ เนน้ ที่ 6 ส่งเสริมการจัดการเรยี นรู้ ผา่ นกระบวนการเรยี นการสอนทเี่ น้นใหผ้ ้เู รยี นมสี ่วนร่วม
และมปี ฏิสัมพันธ์ กับกิจกรรมการเรยี นร้ผู า่ นการปฏบิ ัติ ที่หลากหลายรปู แบบ (Active Learning)
มกี ารวดั และประเมนิ ผล เพ่ือพัฒนาการเรยี นรู้ของผเู้ รียน (Assessment for learning)
เพื่อใหเ้ กิดสมรรถนะกบั ผู้เรียนทุกระดับ................................................................................................. 4
เอกสารแนบประกอบ …………………………………………………………………………………………………………... 6



จดุ เนน้ ที่ 6

สง่ เสริมการจัดการเรยี นรู้ ผา่ นกระบวนการเรียนการสอนทีเ่ น้นใหผ้ ูเ้ รยี นมีสว่ นร่วม และมีปฏสิ ัมพนั ธ์
กับกจิ กรรมการเรยี นรผู้ า่ นการปฏบิ ัติ ที่หลากหลายรปู แบบ (Active Learning) มีการวัดและประเมนิ ผล เพื่อ
พฒั นาการเรยี นรู้ของผูเ้ รียน (Assessment for learning) เพ่ือให้เกดิ สมรรถนะกบั ผเู้ รียนทุกระดับ

1. จำนวนสถานศกึ ษาในสังกัด 178 แห่ง

2. สถานศึกษามีการจัดการเรียนรูท้ ใี่ ห้ผเู้ รยี นได้เรียนรผู้ า่ นกิจกรรมการปฏิบัตจิ รงิ (Active Learning)

จำนวน 178 แห่ง

3. สถานศึกษาท่ีมหี น่วยและแผนการจดั การเรยี นรู้ (Active Learning) จำนวน 178 แหง่

สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 ดำเนินโครงการ/กิจกรรม ทส่ี ง่ เสริม สนับสนุน
ให้สถานศกึ ษาจดั การเรียนรทู้ ี่ใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รยี นรู้ผ่านกจิ กรรมการปฏิบตั จิ รงิ (Active Learning) ดังน้ี

1. วางแผน กำหนดแนวทางขบั เคลอ่ื นนโยบาย ในระดับเขตพ้ืนที่ จดั ทำมาตรการในการสง่ เสริม สนับสนนุ
การขบั เคล่ือนนโยบายสู่การปฏบิ ตั ิ ซ่ึงมีผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาเป็นผู้นำในการ
ขบั เคลื่อนนโยบาย

2. แตง่ ตงั้ ผรู้ ับผดิ ชอบโดยเนน้ การมสี ่วนร่วมของทุกฝา่ ย ได้แก่ คณะทำงาน ตดิ ตาม ตรวจสอบและนเิ ทศ
การศกึ ษาของเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา (ก.ต.ป.น.) มผี อู้ ำนวยการกลุ่ม ประธานเครือข่าย ผ้บู ริหารสถานศึกษา
เปน็ คณะทำงานขับเคลื่อนนโยบายในระดับเขตพน้ื ที่ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา มหี นา้ ที่
นเิ ทศ ติดตามให้ความช่วยเหลือโรงเรียนในการจดั กิจกรรมการเรียนร้แู บบ active Learning ประสาน
ความรว่ มมอื จากภาคเี ครอื ขา่ ยในการสนับสนนุ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน Active Learning
สนับสนุนในการจัดกจิ กรรมการเรยี นสอน ประสานความร่วมมอื สนับสนุนแหลง่ เรยี นรู้ และพัฒนา
ศักยภาพบุคลากรในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ Active Learning

3. สร้างภาคเี ครอื ขา่ ยความร่วมมือจากหนว่ ยงานภายนอกในการเขา้ มาใหค้ วามรว่ มมือและสนับสนนุ
การดำเนินการ

4. ประชุมช้ีแจง สร้างความตระหนัก ความเข้าใจในแนวปฏิบัติให้ผบู้ ริหาร ครู และผทู้ เ่ี กี่ยวข้อง
5. นเิ ทศ ตดิ ตามให้ความช่วยเหลอื โรงเรียนในการดำเนนิ งานโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย

ท่เี กี่ยวข้อง
6. สง่ เสริมให้ผู้ท่มี ีส่วนเก่ยี วข้องพฒั นานวัตกรรมเพือ่ นำนโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั ิ
7. รายงานผลการปฏบิ ตั ิการขับเคล่อื นนโยบายใหผ้ ทู้ ่เี ก่ียวข้องไดร้ ับทราบความกา้ วหนา้ อุปสรรคและ

ความสำเร็จ
8. เผยแพร่ผลการดำเนินงาน การจดั เวทีแลกเปลี่ยนเรยี นร้ใู นระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา การประชาสัมพันธ์

ผา่ นชอ่ งทางที่หลากหลาย



ผลการดำเนินงาน

๑. โรงเรียนไดพ้ ฒั นาการจดั กิจกรรม Active Learning สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน/ตัวช้ีวดั ของกล่มุ สาระการ
เรยี นรหู้ ลกั และเชื่อมโยงกบั หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑

๒. โรงเรยี นบรหิ ารการจัดกิจกรรม Active Learning ได้อย่างเหมาะสม ทั้งดา้ นวชิ าการ ดา้ นปฏิบัติ
นกั เรียนไดร้ ับการพฒั นาเต็มตามศกั ยภาพ ตามความสนใจและถนัดของนักเรยี นแตล่ ะบคุ คล

๓. ผบู้ ริหารมีระบบนิเทศภายในที่ส่งผลตอ่ การปรบั คุณภาพการสอนมากขนึ้
๔. ครจู ดั กจิ กรรมการเรียนการสอน Active Learning ไดส้ อดคล้องกับบริบทและความต้องการของ

โรงเรียน สามารถออกแบบแผนการจัดกจิ กรรมทเี่ ชือ่ มโยงกับตัวชว้ี ดั ของหลกั สูตรได้
๕. ครไู ด้เพ่ิมคุณภาพในการจดั กิจกรรมการเรียนรใู้ หส้ ามารถจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละกจิ กรรม Active

Learning ได้อย่างเหมาะสมท้ังดา้ นวชิ าการและด้านการปฏิบัติ
๖. ครูพฒั นา/ปรบั /ออกแบบการจดั กจิ กรรมให้ผู้เรยี นสามารถพฒั นาตนเองตามความสนใจและความถนัด

อย่างเตม็ ตามศักยภาพ มีคณุ ภาพตามหลกั สตู ร และมีความสขุ กับการเรียนรู้
๗. นกั เรียนมคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ พฒั นาตนเองตามความ

สนใจและความถนดั อย่างเตม็ ตามศักยภาพ และมคี วามสุขกบั การเรยี นรู้
๘. นกั เรยี นได้รับการพัฒนาทกั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑ ตามความถนดั และความสนใจผ่านกจิ กรรมการเรยี นรู้

แบบ Active Learning ท่ีเน้นให้ผู้เรยี นไดป้ ฏบิ ตั ิจริง
๙. ครแู ละผ้เู ก่ยี วข้องมคี วามตระหนักถงึ ความสำคญั ในการจดั การเรียนรู้ Active Learning มาประยุกต์ใช้

และบูรณาการในกลุม่ สาระการเรียนรู้ ตา่ งๆ

๑๐. ครูและผู้เก่ยี วข้องมีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการจัดการเรยี นรู้ Active Learning และสามารถ
นำไปปฏบิ ตั ิได้จรงิ อย่างมปี ระสทิ ธผิ ล

๑๑. โรงเรียนมีรูปแบบ/นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ Active Learning ที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความ
ตอ้ งการและบรบิ ท

๑๒. สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต ๒ มีข้อมูลสารสนเทศท่ีสามารถนำไปต่อยอด
และยกระดบั คุณภาพการวิจัยและพฒั นานวตั กรรมการจดั การเรยี นให้มีคุณภาพอย่างตอ่ เน่อื ง



หลักฐานแนบประกอบ



โครงการ
วจิ ยั และพฒั นานวตั กรรมการเรยี นรู้ Active Learning ร่วมกบั ภาคีเครือขา่ ย



โครงการ วิจยั และพัฒนานวตั กรรมการเรยี นรู้ Active Learning รว่ มกับภาคีเครือขา่ ย

แผนงาน การพฒั นาการเรยี นรู้

ลักษณะโครงการ ตอ่ เน่อื ง

ผ้รู ับผดิ ชอบ นางอมั ราภสั ร์ จันทะแสงโรจน์

หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ กลมุ่ นิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา สพป.ศรีสะเกษ เขต 2

สว่ นที่ 1 ความเช่ือมโยง/ความสอดคล้องกบั แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ : M1
ยุทธศาสตร์ชาติ (Z) ด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
เป้าหมาย คนไทยเป็นคนดี คนเกง่ มีคณุ ภาพ พรอ้ มวถิ ีชีวิตในศตวรรษที่ 21

ประเด็น ปฏริ ูปกระบวนการเรียนรูท้ ่ตี อบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21

แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ (Y) ประเด็น การพัฒนาการเรียนรู้

เปา้ หมายระดับประเดน็ คนไทยมกี ารศกึ ษาที่มีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มข้นึ มีทักษะท่จี ำเป็นของโลก
ศตวรรษที่ 21 สามารถในการแก้ปญั หา ปรบั ตัว สอื่ สาร และทำงานรว่ มกบั ผอู้ ่ืนได้อย่างมี
ประสิทธิผลเพมิ่ ข้ึน มนี ิสยั ใฝเ่ รยี นร้อู ย่างต่อเน่อื งตลอดชวี ติ

แผนย่อยของแผนแม่บทฯ การปฏริ ปู กระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองตอ่ การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21

เป้าหมายแผนแมบ่ ทย่อย คนไทยไดร้ บั การศกึ ษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และทักษะทีจ่ ำเปน็
ของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถเขา้ ถึงการเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่องตลอดชวี ติ ดีขึ้น

ความสอดคล้องห่วงโซค่ ณุ ค่า (Value Chains) ของเปา้ หมายแผนย่อย

ชือ่ องคป์ ระกอบ (V) : รูปแบบและระบบการเรยี นรู้
ชือ่ ปจั จัย (F) : กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นท่ีหลากหลาย และผ้เู รยี นสามารถกำกับการเรยี นรขู้ องตนได้
ส่วนท่ี 2 สรปุ เน้อื หาสำคัญของโครงการ (X) : M2 – M3

1. หลกั การและเหตุผล

ในปัจจุบันโลกกำลังก้าวเข้าสู่ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การแข่งขันในระดับนานาชาติ

ที่ทวคี วามรนุ แรงและซบั ซ้อนมากข้นึ กวา่ อดีตหลายเท่าตวั ทำใหแ้ ตล่ ะประเทศตอ้ งเร่งพัฒนายกระดบั ตนเองให้เท่าทัน

กับนานาประเทศ และเตรียมรับมือกับสถานการณค์ วามผันผวนของโลกทีเ่ กิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ด้วยเหตุน้ี

หลายประเทศที่เจริญแล้วจึงได้มีการลงทุนใน “ทรัพยากรมนุษย์” อย่างมหาศาล อันเนื่องมาจากมนุษย์เป็นทุนที่

สามารถพัฒนาศักยภาพตนเองโดยตลอดชีวิต ซึ่งเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการสร้างความมั่งคั่ง และมั่นคงให้



ประเทศ ดงั นั้น การลงทุนในทรพั ยากรมนษุ ยจ์ ึงเปรยี บเสมือนการวางรากฐานสู่ความยั่งยืนของประเทศท้ังในปัจจุบัน
และอนาคต

ประเทศไทยได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการ
แขง่ ขนั กับประเทศอน่ื ๆ จงึ ได้กำหนดยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) เปน็ แผนแม่บทในการพฒั นา
ประเทศระยะยาว และกำหนดให้การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ เป็นหน่ึงในยทุ ธศาสตร์ที่สำคัญ
ของชาติ โดยมุ่งเน้นการพฒั นาคนในทุกมิติ และทกุ ช่วงวยั ใหเ้ ป็นคนดี เก่ง และมคี ณุ ภาพ มีความพร้อมทั้งกาย ใจ
สติปญั ญา มีพัฒนาที่ดรี อบดา้ น และมสี ขุ ภาวะท่ีดที กุ ช่วงวยั เพ่ือกา้ วมาเป็นกำลงั หลักในการขับเคล่อื นประเทศไทยสู่
ยุค 4.0 (Thailand 4.0) หรือยุคแห่งการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรมส่งเสริมให้คนในประเทศใช้ความคิด
สร้างสรรคม์ าแปรเปลย่ี นเป็นนวัตกรรมขับเคลื่อนใหเ้ ศรษฐกจิ เติบโต และมกี ารพฒั นาอยา่ งย่ังยืน

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการวางรากฐาน
ใหแ้ กเ่ ดก็ และเยาวชนไทยตั้งแต่ระดับข้ันพ้ืนฐาน จึงได้ดำเนนิ โครงการพฒั นานวัตกรรมการเรยี นรู้ Active Learning
เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนทุกคนในสังกัด ได้รับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active
Learning รวมถึงพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ Active Learning ที่สนับสนุนให้โรงเรียนสามารถวิเคราะหแ์ ละเลือกใช้
นวัตกรรมได้ตามความต้องการและเหมาะสมกับบริบทพร้อมทั้งเชื่อมโยงสื่อ นวัตกรรม ทรัพยากร และองค์ความรู้
ไปประยกุ ตใ์ ชต้ ามบริบทพนื้ ท่ีด้วยรูปแบบและระบบที่เขา้ ถึงสะดวกและมีคุณภาพ

ดังนั้น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 จึงได้ดำเนินโครงการวิจัยและพัฒนา
นวัตกรรมการเรยี นรู้ Active Learning ร่วมกับภาคเี ครือขา่ ย เพ่อื ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนทกุ คนในสังกัด ไดร้ ับการพัฒนา
ทักษะในศตวรรษที่ 21 ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning รวมถึงพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ Active
Learning ที่สนับสนุนให้โรงเรียนสามารถวิเคราะห์และเลือกใชน้ วตั กรรมไดต้ ามความตอ้ งการและความเหมาะสมกบั
บริบทพร้อมทั้งเชื่อมโยงสือ่ นวัตกรรม ทรัพยากร และองค์ความรู้ ไปประยุกต์ใช้ตามบริบทพื้นที่ ด้วยรูปแบบและ
ระบบท่เี ขา้ ถงึ สะดวกและมีคณุ ภาพ ตอบสนองตอ่ ทิศทางการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาและทิศทางการพฒั นาประเทศ

2. วัตถุประสงค์
1. เพ่อื ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ให้ผูเ้ รียนทุกคนในโรงเรียนสังกดั สพป.ศรสี ะเกษ เขต 2

มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ผา่ นกิจกรรมการเรยี นรแู้ บบ Active Learning
2. เพอื่ พฒั นานวัตกรรมการเรียนรู้ Active Learning ท่ีสนับสนุนใหโ้ รงเรียนสามารถวเิ คราะห์และ

เลอื กใชน้ วัตกรรม ได้ตามความต้องการและเหมาะสมกับบริบท
3. สง่ เสริมใหโ้ รงเรยี นพฒั นานวตั กรรม ActiveLearning ตามความต้องการและเหมาะสมกับบริบท
4. เพอ่ื ประสานความร่วมมือและสังเคราะหอ์ งคค์ วามรใู้ นการจัดการเรยี นรู้ Active Learning ไป

ประยุกต์ใช้ตามบรบิ ทพ้ืนทด่ี ้วยรูปแบบ และระบบทเี่ ข้าถึงสะดวกและมคี ุณภาพ

๑๐

3. เปา้ หมาย
1. ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ใหโ้ รงเรยี นพัฒนาและจดั การเรียนรู้ Active Learning ได้อย่าง

มีคณุ ภาพ
2. พฒั นารูปแบบและนวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ Active Learning ท่สี นบั สนนุ ใหโ้ รงเรยี น

สามารถวเิ คราะห์และเลือกใช้นวัตกรรมได้ตามความต้องการและเหมาะสมกับบรบิ ท
3. พฒั นาครแู ละผเู้ ก่ียวข้องใหส้ ามารถจดั การเรียนรู้ Active Learning ท่ีสง่ เสรมิ ทักษะ

ในศตวรรษท่ี 21 ของผเู้ รยี นไดอ้ ย่างเหมาะสม
4. สรา้ งเครือขา่ ยความรว่ มมือเชิงพื้นท่ีในการจัดการเรียนรู้ Active Learning อยา่ งเป็นระบบ

ตัวชีว้ ดั เป้าหมายโครงการ

1. ประสิทธิภาพในการจดั การเรียนรู้ Active Learning ของโรงเรียน
2. จำนวนโรงเรยี นท่นี ำนวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ Active Learning ไปใช้
3. รอ้ ยละของความตระหนัก ความรู้ และทักษะของครู และผู้เก่ียวข้องในการจดั การเรยี นรู้
Active Learning
ตวั ช้ีวัดผลลพั ธ์
1. จำนวนโรงเรยี นท่สี ามารถจัดการเรยี นรู้ Active Learning ได้อย่างมีคุณภาพ
2. รปู แบบและนวัตกรรมการเรียนการสอนแบบ Active Learning ที่โรงเรยี นเลอื กนำไปใชไ้ ด้อยา่ ง
เหมาะสมกับความต้องการและบรบิ ทของโรงเรยี น
3. จำนวนนวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ Active Learning ทโ่ี รงเรียนพัฒนาตามความเหมาะสมกับ
ความตอ้ งการและบริบท
ผลทค่ี าดวา่ จะเกิด
1. นกั เรยี นได้รบั การพฒั นาทักษะในศตวรรษท่ี 21 ตามความถนัดและความสนใจผ่านกิจกรรมการ
เรยี นรแู้ บบ Active Learning ท่เี น้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัตจิ ริง
2. ครแู ละผ้เู กี่ยวข้องมีความตระหนกั ถึงความสำคัญในการจดั การเรยี นรู้ Active Learning มา
ประยกุ ต์ใช้และบูรณาการในกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ตา่ งๆ
3. ครแู ละผู้เกย่ี วข้องมีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการจัดการเรยี นรู้ Active Learning และ
สามารถนำไปปฏิบตั ไิ ด้จริง อย่างมีประสทิ ธิผล
4. โรงเรยี นมีรูปแบบการจัดการเรียนรู้ Active Learning ทีห่ ลากหลายเพ่ือตอบสนองความ
ตอ้ งการและบรบิ ท

๑๑

5. สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2 มีขอ้ มูลสารสนเทศทีส่ ามารถนำไป
ต่อยอดและยกระดบั คณุ ภาพการวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรยี นให้มีคุณภาพอยา่ งต่อเน่อื ง

กลุ่มเปา้ หมาย/ผู้ทีไ่ ด้รบั ผลประโยชน์
ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ขา้ ราชการครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา นกั เรยี น และผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี ใน

การจดั การศกึ ษา ในสังกัด สพป.ศรีสะเกษ เขต 2
4. ระยะเวลาเร่มิ ต้นและสน้ิ สุดโครงการ ตลอดปกี ารศึกษา

สว่ นที่ 3 กจิ กรรมและงบประมาณ (X) : M4 – M5

กจิ กรรม ประมาณการงบประมาณ
๑. สง่ เสรมิ พฒั นาต่อยอดการจัดการเรียนรู้ Active 8,000 บาท

Learning
๒. คัดเลอื กโรงเรยี นที่ประสบผลสำเร็จและมี

ความโดดเดน่
๓. ถอดบทเรียนกระบวนการจดั การเรียนรู้ Active

Learning
๔. ประชาสัมพนั ธก์ ิจกรรม 129 สดุ ยอด Best

Practices การจดั การเรยี นรู้ Active Learning
ร่วมกับภาคเี ครือข่ายฯ

๑๒

รายละเอยี ดการดำเนนิ งาน

การใชจ้ ่ายงบประมาณ

กิจกรรม/รายละเอียดการใช้ งบประมาณ พ.ค.-ม.ิ ย. ก.ค.-ก.ย ต.ค.-ธ.ค ม.ค.-ม.ี ค.
งบประมาณ ท่ใี ช้ 2564 2564 2564 2565

๑. จัดทำโครงการ -

๒. เสนอโครงการ -

๓. สง่ เสริมพฒั นาต่อยอด -
การจัดการเรยี นรู้ 2,000 บาท
Active Learning

๔. คัดเลือกโรงเรยี นที่
ประสบผลสำเร็จและมี
ความ
โดดเด่น

- จดั ประชุมปฏบิ ตั กิ าร
(ค่าอาหาร+เบรก)

๕. ประชาสัมพันธก์ ิจกรรม - ๑๓
129 สดุ ยอด Best -แปดพนั บาทถว้ น-
Practices การจดั การ 6,000 บาท
เรียนรู้ Active Learning -
รว่ มกับภาคีเครือข่ายฯ
8,000 บาท
๖. ถอดบทเรียนกระบวนการ
จัดการเรยี นรู้ Active
Learning

- เอกสารการถอดบทเรยี น

๗. รายงานผลการดำเนนิ งาน

รวมงบประมาณ

การประเมนิ ผล

กจิ กรรม วิธปี ระเมนิ เคร่ืองมือที่ใช้วัด
1. ส่งเสรมิ พฒั นาต่อยอดการจดั การ - นิเทศ ติดตามฯ - แบบนเิ ทศติดตาม

เรียนรู้ Active Learning - ติดตาม,เสนอขอรบั การ - แบบตดิ ตาม,เกณฑ์ในการ
2. คัดเลือกโรงเรียนทป่ี ระสบผลสำเรจ็ คัดเลอื กฯ คัดเลอื ก
- ประเมนิ ,สังเกต - แบบประเมิน, แบบสงั เกต
และมีความโดดเด่น
3. ถอดบทเรยี นกระบวนการจัดการ - ประเมนิ การเข้ารว่ ม - แบบประเมิน

เรียนรู้ Active Learning
4. ประชาสมั พันธก์ จิ กรรม 129 สดุ ยอด

Best Practices การจดั การเรียนรู้
Active Learning รว่ มกับภาคี
เครอื ข่ายฯ

๑๔

ตวั อย่าง
ปกแผนการจดั การเรียนรู้

ตวั อย่างแผนการจดั การเรยี นรูแ้ บบ Active Learning

๑๕

ปกแผนการจดั การเรยี นรู้
ตวั อย่างแผนการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning

๑๖

ดวี ีทัศน์
ตัวอยา่ งการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning

ตัวอย่างรายงานการดำเนินงาน
กิจกรรม Active Learning
โรงเรยี นบ้านโจดมว่ ง

๑๗

เกยี รตบิ ตั รทีแ่ สดงถึงความสำเร็จ
กิจกรรม Active Learning

๑๘

เกียรตบิ ัตรท่ีแสดงถงึ ความสำเร็จ
กจิ กรรม Active Learning

๑๙

เกยี รตบิ ตั รทีแ่ สดงถึงความสำเร็จ
กิจกรรม Active Learning

๒๐

เกยี รติบตั รที่แสดงถงึ ความสำเร็จ
กจิ กรรม Active Learning


Click to View FlipBook Version