The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินสมรรถนะของหน่วยงานในการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานการประเมินสมรรถนะของหน่วยงานในการ

รายงานการประเมินสมรรถนะของหน่วยงานในการ

รายงานการประเมินสมรรถนะ
ของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ ๔.๐
(PMQA ๔.๐) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔

หมวด ๔ การวัด การวิเคราะหแ์ ละการจดั การความรู้
หมวด ๗ ผลลพั ธ์การดาเนินการ

นางสาวลาใย สายโงน

ตาแหน่ง ศกึ ษานิเทศก์

สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

เอกสาร 35/2564



คานา
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สานักงาน ก.พ.ร.) ได้พัฒนา กรอบแนวทางการนาเกณฑ์
คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) เป็นแนวทางหลักเพ่ือพัฒนาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ
ภาครัฐสาหรบั ส่วนราชการไทยอย่างเป็นระบบ ให้ทุกส่วนราชการ ต้องเรียนรู้ พัฒนา และปรับปรุงระบบการ
ดาเนินงานให้ก้าวข้ามสู่ยุคระบบราชการ ๔.๐ ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ภายใต้มิติการทางนอย่างเปิดกว้าง
และเช่ือมโยงถึงกัน (Open &Connected Government มีการทางานโดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง
(Citizen-Centric Government) เปน็ องค์การทม่ี ีขดี สมรรถนะสูงและทนั สมัย (Smart & High Performance
Government โดยยึดหลักการปฏบิ ัติงานตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี ท่ีมุ่งเน้น
ประโยชน์สขุ ของประชาชนเป็นหลักพรอ้ มสาหรบั การดแู ลและใหบ้ ริการประชาชนในยคุ ๔.๐ นั้น
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2 ขอขอบคุณ คณะครู ผู้บริหารในสังกัด
ตลอดจนผู้เกย่ี วข้องทุกฝ่ายที่ใหค้ วามรว่ มมือ จนทาให้ผู้ทไี่ ดร้ ับมอบหมายตามคาส่งั ฯ ดาเนนิ การรายงานข้อมูล
การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 ในหมวด ๔ (๔.๑-๔.๓) และหมวด ๗ (๗.๑)
ตามกรอบคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังเป็นว่าเอกสาร รายงาน
ฉบบั น้ี จะเปน็ ประโยชน์ต่อผบู้ ริหารการศึกษา ศึกษานเิ ทศก์ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครูผสู้ อน ทจ่ี ะนาผลจากการ
ประเมินไปใช้เปน็ ขอ้ มูล ประกอบการจดั ทาแผนพัฒนาองค์กร อนั จะนาไปสู่การยกระดับของหน่วยงาน ภาครัฐ
ใหเ้ ป็นระบบราชการ ๔.๐ ต่อไป

ลาใย สายโงน

รายงานการประเมินสถานะของหนว่ ยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564


สารบัญ
เรื่อง หนา้
คานา ..............................................................................................................................................ก
สารบัญ ............................................................................................................................................ ข
สว่ นที่ 1 บทนา............................................................................................................................................๑
สว่ นที่ 2 รายงานการประเมนิ สถานะของหนว่ ยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 ...................................๗
ภาคผนวก...................................................................................................................................................๓๐

รายงานการประเมนิ สถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564



ส่วนที่ ๑
บทนา
๑.๑ ความเปน็ มาของระบบราชการ ๔.๐
ตามวิสยั ทศั นข์ องประเทศ "ประเทศไทยมีความม่นั คง มัง่ คงั่ ย่งั ยืน เปน็ ประเทศทพ่ี ฒั นาแลว้
ดว้ ยการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง" โดยมีฐานคดิ หลักคือ เปลี่ยนจากการผลิตสินค้าโภคภัณฑ์ไปสู่
สินคา้ เชิงนวตั กรรม เปล่ียนจากการขบั เคลอ่ื นประเทศด้วยภาคอุตสาหกรรมไปสูก่ ารขบั เคลอื่ นด้วยเทคโนโลยี
ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม และเปล่ยี นจากการเนน้ ภาคการผลิตสินค้าไปสกู่ ารเน้นภาคบริการมากขึ้น
เพ่ือให้บรรลวุ ิสยั ทัศน์ดังกล่าว รฐั บาลจึงมีนโยบายท่ีจะใช้โมเดลขับเคล่ือนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม เพ่ือพัฒนา
ประเทศไทย ไปสู่การเป็นประเทศไทย ๔.๐ ดังน้ัน ระบบราชการจึงต้องมีการเปลี่ยน แปลงเพ่ือสอดรับกับ
บริบทที่จะเกิดข้ึนจากการเป็นประเทศไทย ๔.0 โดยภาครัฐหรือระบบราชการจะต้องทางานโดยยึดหลักธรร
มาภิบาล เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนเป็นหลัก หมายความว่า ระบบราชการไทยจะต้องปฏิรูปขนานใหญ่
เพื่อให้สามารถเป็นท่ีไว้วางใจและเป็นพึง่ ของประชาชนได้อย่างแท้จริง กล่าวคือ ภาครัฐต้องปรับตัวและต้อง
พลิกโฉมเข้าสู่ยุคดิจิทัล ยกระดับประสิทธิภาพภาครัฐสู่สังคมดิจิทัลที่มีการเปลี่ยน แปลงอย่างรวดเร็ว เพื่อ
ตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน และอานวยความสะดวกในการดาเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ และสงั คม
ในยุคดิจิทัล ความเปลี่ยนแปลงท่ีรวดเร็วและไม่สามารถคาดเดาได้ ดังน้ัน ภาครฐั จึงต้องมุ่งเน้นความคล่องตัว
เพื่อขบั เคล่อื นภารกจิ พิเศษ (Agenda-based) และนาเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเข้ามาพลกิ โฉมหนว่ ยงานภาครัฐสูร่ ะบบ
ราชการ ๔.๐ (Government ๔.๐ หรือ Gov. ๔.๐) อันเป็นฟันเฟือง และ เสาหลักท่ีสาคัญในการขับเคลื่อน
นโยบายของรฐั บาลให้สามารถปฏบิ ัตงิ านได้อย่างสอดคลอ้ งกับทิศทางในการบริหาร งานของประเทศใหก้ ้าวสู่
การเปน็ ประเทศท่พี ัฒนาแล้ว ซงึ่ จะสง่ ผลใหก้ ลไกการพัฒนาระบบราชการมกี ารปรบั ตัวต่อความท้าทายใหม่ ๆ
อกี ท้ังเป็นการเพ่ิมศักยภาพในการแขง่ ขันกบั นานาประเทศ และยังเป็นการยกระดับสมรรถนะของหน่วยงาน
ภาครัฐใหม้ ีประสิทธภิ าพมากยงิ่ ขึน้
๑.๒ เปา้ หมายการพัฒนาสู่ระบบราชการ ๔.๐
จากแนวคิดของการพัฒนาหน่วยงานภาครัฐสู่ระบบราชการ ๔.๐ เพ่ือให้รองรับต่อการเปล่ียนแปลง
และการเป็นประเทศไทย ๔.0 ตามนโยบายของรัฐบาล ดังนั้น การพัฒนาสูร่ ะบบราชการ ๔.๐ จึงมีเป้าหมาย
หลักเพื่อให้ภาครัฐสามารถเป็นท่ีพ่ึง ที่เชื่อถือและไว้วางใจได้ของประชาชน โดยได้กาหนดเป้าหมายในการ
พัฒนาระบบราชการไว้ ดงั นี้

รายงานการประเมินสถานะของหน่วยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0
สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564



ภาพท่ี ๑ ยดึ หลกั ธรรมาภิบาล เพ่ือประโยชนส์ ุขของประชาชน (Better Governance, Happier Citizens)
๑. ระบบราชการท่ีเปิดกว้างเช่ือมโยงถึงกัน (Open & Connected Government) ต้องมีความ

เปิดเผย โปร่งใสในการทางานโดยบุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารของทางราชการหรือมีการ
แบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกัน และสามารถเข้ามาตรวจสอบการทางานได้ ตลอดจนเปิดกว้างให้กลไกหรือภาค
ส่วนอื่น ๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วม และโอนถ่ายภารกิจภาครัฐท่ีไม่ควรดาเนิน
การเองออกไปให้แก่ภาคส่วนอื่น ๆ เป็นผู้รับผิดชอบดาเนินการแทน โดยการจัดระเบียบความสัมพันธ์ในเชิง
โครงสร้างให้สอดรับกับการทางานในแนวระนาบในลักษณะของเครือข่ายมากกว่าตามสายการบังคับบัญชาใน
แนวดิง่ ขณะเดียวกันกย็ งั ต้องเช่ือมโยงการทางานภายในภาครัฐดว้ ยกนั เองใหม้ ีเอกภาพและสอดรบั ประสานกัน
ไมว่ า่ จะเปน็ การบรหิ ารราชการสว่ นกลาง สว่ นภูมิภาคและสว่ นท้องถ่ิน

๒. ระบบราชการทย่ี ืดประชาชนเป็นศูนย์กลาง(Citizen-Centric Government) ต้องทางานในเชิงรุก
และมองไปข้างหน้า โดยต้ังคาถามกับตนเองเสมอว่าประชาชนจะได้อะไรมงุ่ เนน้ แก้ไขปัญหาความต้องการและ
ตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยไมต่ ้องรอให้ประชาชนเข้ามาตดิ ต่อขอรบั บริการหรือร้องขอความ
ช่วยเหลือจากทางราชการ (Proactive Public Services) รวมทัง้ ใช้ประโยชนจ์ ากข้อมูลของทางราชการ
(Big Government Data) และระบบดิจิทัลสมัยใหม่ ในการจัดบริการสาธารณะท่ีตรงกับความต้องการของ
ประชาชน (Personalized หรือ Tailored Services) พร้อมทั้งอานวยความสะดวกโดยมีการเช่ือมโยงกันเอง
ของหน่วยงานราชการเพ่ือให้บริการตา่ ง ๆ สามารถเสร็จสิ้นในจุดเดียว ประชาชนสามารถใช้บริการของทาง
ราชการได้ตลอดเวลาตามความต้องการ และสามารถติดต่อได้หลายช่องทางผสมผสานกันทั้งการติดต่อด้วย
ตนเอง ติดต่อผา่ นอนิ เตอรเ์ นต็ เว็บไซต์ โซเชยี ลมีเดยี หรอื แอปพลิเคชนั ทางโทรศัพท์มือถอื

๓. หน่วยงานของรัฐมีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart & High Performance Government)
ต้องทางานอย่างเตรียมการณ์ไว้ล่วงหน้า มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง สร้างนวัตกรรมหรือความคิดริเริ่มและ
ประยุกตอ์ งค์ความรู้ในแบบสหสาขาวิชาเขา้ มาใช้ในการตอบโต้กับโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน เพื่อ
สร้างคุณค่า มีความยืดหยุ่น และความสามารถในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างทันเวลา

รายงานการประเมินสถานะของหนว่ ยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0
สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564



ตลอดจน เป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง และปรับตัวเข้าสู่สภาพความเป็นสานักงานสมัยใหม่ รวมท้ังทาให้
ขา้ ราชการมีความผกู พันต่อการปฏบิ ัติราชการและปฏบิ ัตหิ น้าท่ีได้อย่างเหมาะสมกบั บทบาทของตน กลา่ วคือ

๑) ในฐานะเป็นผู้สนับสนุนการทางานของรัฐบาล จะต้องให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่ตั้งอยู่บน
พ้นื ฐานของข้อมูลสารสนเทศที่ถกู ต้อง เชงิ ลึกและสามารถนาไปปฏิบตั ใิ หบ้ ังเกิดได้จริงและเกดิ ความคมุ้ คา่

๒) ในฐานะเป็นผู้กากับดูแล จะต้องมีความเป็นกลางและตรงไปตรงมา รวมท้ังวางกฎระเบียบ
ให้เหมาะสม (Smart Regulation) และยกเลิกการควบคุมท่ีไม่เกิดประโยชน์ลง เพื่อไม่ให้เป็นภาระ หรือ
อปุ สรรคต่อประชาชนหรอื การประกอบธรุ กิจ

๓) ในฐานะเปน็ ผู้ปฏบิ ัติ ก็จะตอ้ งมีความซือ่ สัตย์สุจรติ รบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าที่ ทางานรว่ มมือกัน ระหวา่ ง
หนว่ ยงานต่างๆในทุกระดับได้และสามารถบูรณาการเช่ือมโยงการทางานตามห่วงโซ่ยทุ ธศาสตรต์ ้งั แต่ต้นจนจบ
รวมทงั้ ใช้ทรพั ยากรและบริการต่าง ๆ รว่ มกนั

ฉะนน้ั ความสาเร็จของการพฒั นาไปสู่ระบบราชการ ๔.๐ดังกลา่ วตอ้ งอาศยั ปัจจยั สาคญั ๆ อย่างน้อย
๓ ประการ ได้แก่

๑. การสานพลังทุกภาคสว่ น ระหว่างภาครฐั และภาคส่วนอ่ืน ๆ ในสังคม (Collaboration)
เป็นการยกระดับการทางานให้สงู ข้ึนไปกวา่ การประสานงานกัน (Coordination) หรอื ทางานดว้ ยกนั
(Cooperation) ไปสู่การร่วมมือกัน (Collaboration) อย่างแท้จริง โดยจัดระบบให้มีการวางแผนให้บรรลุ
วัตถุประสงค์และเป้าหมายท่ีต้องการร่วมกัน มีการระดมและนาเอาทรัพย์เข้ามาแบ่งปันและใช้ประโยชน์
รว่ มกัน มีการยอมรับความเสย่ี งและรับผิดชอบต่อผลสาเรจ็ ทเี่ กิดข้ึนร่วมกัน เพื่อพัฒนาประเทศหรือแก้ปัญหา
ความตอ้ งการของประชาชนที่มีความสลับชบั ซอ้ นมากข้ึน จนไม่มีภาคส่วนใดในสังคมจะสามารถดาเนินการได้
ลุล่วงดว้ ยตนเองโดยลาพงั อกี ตอ่ ไป หรอื เป็นการบรหิ ารกิจการบ้านเมืองในรปู แบบ "ประชารฐั "

๒. การสรา้ งนวัตกรรม (Innovation) เปน็ การคดิ คน้ และแสวงหาวิธกี ารหรอื แนวทาง
(Solutions) ใหม่ ๆ อนั จะเกดิ ผลกระทบมหาศาล (Big Impact) เพื่อปรบั ปรงุ และออกแบบค่มู อื PMQA 4.0
การประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0 ระดับสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 การให้บริการสาธารณะและนโยบายสาธารณะให้สามารถตอบโจทย์ความท้าทาย
ของประเทศหรือตอบสนองปัญหาความต้องการของประชาชนได้อย่างมีคุณภาพ อันแปรผันไปตามสภาพ
พลวัตของการเปลีย่ นแปลง โดยอาศยั รูปแบบห้องปฏิบัติการนวัตกรรมภาครฐั (Government Innovation
Lab) และใชก้ ระบวนการความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ในลักษณะทีใ่ ห้ประชาชนเขา้ มามสี ่วนร่วม
เพ่ือสร้างความเข้าใจและเข้าถึงความรู้สึกของประชาชน (Empathize) นาข้อมูลมาวิเคราะห์ถึงปัญหา
(Define) และใช้ความคดิ สร้างสรรคเ์ พ่ือสร้างไอเดีย (ideate) สาหรบั พัฒนาต้นแบบ (Prototype) และทาการ
ทดสอบปฏบิ ัติจรงิ (Test) กอ่ นนาไปขยายผลต่อไป หรอื เป็นการนาเอาศาสตร์พระราชาว่าด้วย "เขา้ ใจ เข้าถึง
พัฒนา" มาประยกุ ต์ใช้"

๓. การปรับเข้าสกู่ ารเป็นดิจทิ ัล (Digitization/Digitalization) เปน็ การผสมผสานกันของการ
จัดเก็บและประมวลข้อมูลผา่ นคลาวด์คอมพิวต้ิง (Cloud Computing) อุปกรณ์ประเภทสมาร์ทโฟน (Smart
Phone) และการทางานร่วมกนั ผา่ นเครอ่ื งมือต่าง ๆ (Collaboration Tools) ทาให้สามารถติดต่อกนั ได้อย่าง
เรียลไทม์ (Real Time) ไมว่ ่าจะอยู่ท่ีใด สามารถวเิ คราะห์ข้อมลู ทส่ี ลับซับซอ้ นต่าง ๆวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง
พฤตกิ รรมของประชาชน เกิดผลกระทบอย่างสูงและสามารถตอบสนองตอ่ ความคาดหวังในการให้บริการของ

รายงานการประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564



ทางราชการท่ีจะต้องดาเนินการได้ทุกเวลาทุกสถานท่ี ทุกอุปกรณ์ และทุกช่องทาง ได้อย่างมั่นคง ปลอดภัย
และประหยดั ในส่วนของข้าราชการและเจา้ หนา้ ท่ขี องรฐั ต้องไดร้ ับการปรบั เปลี่ยนกระบวนการทางความคิด

(Mindset) ให้ตนเองมีความเป็นผู้ประกอบการสาธารณะ (Public Entrepreneurship) เพ่ิมทักษะให้มี
สมรรถนะท่ีจาเปน็ และเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมของตน อนั จะช่วยทาให้สามารถแสดงบทบาทของการเป็นผู้นา

การเปล่ยี นแปลง (Change Leader) เพือ่ สร้างคุณคา่ (Public Value) และประโยชนส์ ุขให้แก่ประชาชน
การทางานของระบบราชการต้องปรับเปล่ียนจากการทางานรูปแบบเดิมๆ มาสู่ระบบราชการรูปแบบใหม่
ดังตารางที่ ๑ เพอื่ ปรบั ตวั รองรับการเปลย่ี นแปลงท่กี าลงั เกิดขนึ้

ตารางที่ ๑ สรุปการเปรยี บเทียบระหว่างระบบราชการเดิม และระบบราชการใหม่

ระบบราชการเดมิ ระบบราชการใหม่ (ระบบราชการ ๔.๐)

การทางานแยกตามภารกจิ ของแต่ละหนว่ ยงาน การทางานร่วมกันแบบบูรณาการอยา่ งแท้จรงิ

แม้มีการทางานประสานงานกนั ระหวา่ งหนว่ ยงาน ในเชิงยุทธศาสตร์ตง้ั แตร่ ะดับการวางนโยบาย

แตย่ งั ไมใ่ ช่การบูรณาการอย่างแทจ้ รงิ ไปจนถงึ การนาไปปฏิบตั ิ (Collaboration)

(Autonomy, Separation)

การทางานยงั ไม่อยใู่ นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ การทางานมีการเชื่อมโยงผ่านระบบดจิ ิทัลอย่างเต็ม

อยา่ งเตม็ รูปแบบและยงั เปน็ การทางานตาม รปู แบบตงั้ แต่ตน้ จนจบกระบวนการเชือ่ มโยงทุกส่วน

สายการบงั คบั บญั ชาในแนวดิง่ (Fragmentation, ราชการในการบริการประชาชนและมีการบงั คับบัญชา

Hierarchy, Silo, Vertical Approach) ในแนวนอน (End-to-end process flow Cross-

boundary management, Program/Project

Management Office, Horizontal approach)

ให้บริการเป็นมาตรฐานเดียวกันอย่างตายตัวตามสิทธิ ให้บริการตามความต้องการเฉพาะบุคคลซึ่งสามารถ

พืน้ ฐานของบุคคลทรี่ ัฐกาหนด ออกแบบ/เลอื กรปู แบบ/วิธีการในการขอรบั บรกิ ารได้

(Standardization) (Customization, Personalization)

ระบบทางานในแบบอนาล็อก (Analog) ระบบการทางานทป่ี รบั เปน็ ติจิทลั เต็มรูปแบบ

(Digitization)

การดาเนินงานเชิงรับตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น การดาเนินงานที่ตอบสนองทันที/ทันเวลา/เชิงรุก ทัน

(Passive) ต่อการเปล่ียนแปลงมีการคาดการณ์ไว้ล่วงหน้า (Pro-

Active)

ยึดกฎเกณฑ์ และมุง่ เน้นแตก่ ารปฏิบตั งิ านตาม สรา้ งนวัตกรรม มีการควบคมุ อยา่ งชาญฉลาด

เป้าหมาย (Rule-based, Performance- oriented) ม่งุ ผลสัมฤทธ์ิในการปฏิบัติงาน (Innovation, Smart

regulation, Results-oriented)

ปฏิบัติงานตามนโยบาย ขับเคลื่อนโดยภาครัฐเป็น ปฏิบัติงานโดยเน้นให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง

ศนู ยก์ ลาง (Government-driven) (Citizen-centric)

รายงานการประเมินสถานะของหนว่ ยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0
สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564



ตารางท่ี ๑ (ตอ่ ) สรปุ การเปรียบเทยี บระหวา่ งระบบราชการเดมิ และระบบราชการใหม่

ระบบราชการเดมิ ระบบราชการใหม่ (ระบบราชการ ๔.๐)

ระบบการทางานที่ล่าช้า มีต้นทุนสูง (Red tape, สร้างคุณค่าในการให้บริการแก่ประชาชน ทาน้อยได้

Costly) มาก (Creating value for the public, Doing more

and better with less)

เปิดเผยข้อมูลตามทร่ี ้องขอเฉพาะราย/เปดิ เผย เปิดเผยข้อมูลเป็นปกติ (default) ในรูปแบบทีส่ ามารถ

ขอ้ มูลจากดั (Close system, Upon Request only) นาไปใช้ได้ทันทีโดยไม่ต้องร้องขอ (Open system,

Open access)

การปฏบิ ตั งิ านตามขน้ั ตอนแบบเดมิ ๆ (Routine Work) สามารถแก้ไขปัญหาโดยไม่จาเป็นตอ้ งใช้วิธีการทางาน

รู ปแ บบเ ดิ ม แ ละ ส าม าร ถต อ บสน อ ง ไ ด้ ทั น ที (Non-

routine problem solving, Real-time capability)

ต่างหน่วยงานต่างทางานกันลาพังโดยไม่มีการแบ่งปัน แบ่งปันทรัพยากรในการทางานร่วมกัน เพ่ือลดต้นทุน

ทรพั ยากรเพือ่ ใชง้ านรว่ มกนั (Stand-alone) เพิ่มปร ะ สิทธิภาพ ใน ก าร ปฏิบัติง าน ( Shared

Services)

วางนโยบาย และปฏิบัติงานโดยใช้ความรู้สึกและคาด ปฏิบัติงานบนพ้ืนฐานของข้อมูลความต้องการของ

เดาเอาเอง (Intuition) ประชาชน และวางนโยบายท่ีสามารถนาไปปฏิบัติให้

เ กิ ด ผ ล ไ ด้ จ ริ ง ( Data-driven, Demand-driven,

Actionable policy solutions)

บริการประชาชนเฉพาะในเวลาราชการ (Office-hours บรกิ ารประชาชนตลอดเวลา (On-demand services)

only)

มีความเช่ียวชาญ/ชานาญเฉพาะทาง ( Expert/ มคี วามสามารถในการใช้ความรู้ สติปัญญา และข้อมูล

Specialist) สาร สน เทศเพ่ือ แก้ ไ ข ปัญ หาและ สร้าง คุณค่ า

(Knowledge worker) มคี วามสามารถในการเรียนรู้

(Educability) มีเหตุ ผลใ น เชิ ง จริย ธ ร ร ม ( Ethic

ability)

ข้าราชการแบบด้งั เดมิ (Public administrator) มีคว ามเป็น ผู้ปร ะ ก อ บก าร สาธ าร ณะ (Public

Entrepreneurship)

รายงานการประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564



๑.๓ คณุ ลักษณะสาคัญ ๑๐ ประการ ของระบบราชการ ๔.๐

รายงานการประเมนิ สถานะของหนว่ ยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564



ส่วนท่ี ๒

รายงานการประเมินสถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0

(PMQA 4.0) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต 2

-----------------------------------

หมวด 4 การวัด การวเิ คราะห์ และการจดั การความรู้

ประเดน็ 4.1 การกาหนดตัววดั และการเปิดเผยข้อมลู ต่อสาธารณะ

ผกู้ ากับ

1. นายทรงวุฒิ ศรลอ้ ม 4. นายสมยงค์ บุญพบ

2. นางลาไพ พลสงคราม 5. นางสาวสมนกึ แซอ่ ง้ึ

3. นางชนาพร พรหมคณุ

ผู้รับผิดชอบ

1. นางลาไพ พลสงคราม ๖. นางสาวอภิรดี ใจดี

2. นางสุมาลี เกตุทองมา ๗. นายชยั ยทุ ธ หงส์โสภา

๓. นางสาวสมนึก แซอ่ ้ึง ๘. นางสาวศศิวมิ ล ใจดี

๔. นายกันตพัฒน์ อาพรไพเกื้อกลู 9. นางสาวลาใย สายโงน

๕. นายสมยงค์ บุญพบ 10. นางอมั ราภัสร์ จันทะแสงโรจน์

1. ชื่อ กจิ กรรม/โครงการทจ่ี ะนารายงาน (กลมุ่ นเิ ทศฯ)
-โครงการยกระดับคุณภาพผเู้ รยี นในศตวรรษที่ ๒๑ สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษา

ศรีสะเกษ เขต ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ (NT/RT)
- โครงการประเมนิ คุณภาพการศึกษาเพ่อื การประกนั คุณภาพผเู้ รยี น ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ และชัน้

มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาศรสี ะเกษเขต ๒

2. สอดคล้องกบั การเปลีย่ นแปลงในอนาคตดา้ น เศรษฐกิจ  สังคม ส่ิงแวดล้อม
สาธารณสุข
3. ขัน้ ตอน/กระบวนการดาเนนิ งาน (ระบ)ุ

- วิธดี ำเนนิ กำร
๑. เสนอโครงการโครงการฯ
๒. แตง่ ต้งั คณะกรรมการดาเนนิ งานโครงการฯ
๓. ดาเนนิ การใน ๔ กจิ กรรม ดงั นี้

รายงานการประเมนิ สถานะของหนว่ ยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

๑๐

กจิ กรรมท่ี ๑ กำรกำหนดตวั ช้ีวดั ทส่ี ำคัญของโครงกำร
โดยดาเนินการประชุมชี้แจงและสร้างความเข้าใจ แก่ผู้บริหาร/ครูวิชาการ/ครูผู้สอนท่ีเก่ียวข้อง ใน

กาหนดตัวช้ีวัดท่ีสาคัญของ โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ (NT/RT) ได้แก่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ การประเมิน
ความสามารถดา้ นการอา่ นของผู้เรียนช้ัน (RT) และ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ การประเมนิ คุณภาพผเู้ รียน (NT)
โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพผเู้ รียน (O-NET) ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ และช้ัน
มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษเขต ๒ รายละเอียด
ดงั โครงการฯ ท่แี นบ

สรุป คา่ เป้าหมายคือ มีผลสัมฤทธิเ์ พิม่ ขน้ึ ร้อยละ ๓ จากปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ท้งั ๒ โครงการ
กิจกรรมท่ี ๒ กำหนดขอ้ มลู สำรสนเทศสำคัญ (ฐานขอ้ มลู นกั เรียน/โรงเรียนในการพฒั นา)

การส่งเสริมให้โรงเรียนใช้ข้อมูลผลการประเมิน ๒๕๖๒ เป็นฐานในการยกระดับคุณภาพการศึกษา
ประชาสัมพันธ์ สร้างความตระหนักให้ผู้บริหารสถาศึกษาเห็นความสาคัญ โดยนาเข้าวาระการประชุม
ประจาเดือนผู้บริหาร เพ่ือให้ไปกากับ ติดตาม นิเทศภายในสถานศึกษา นอกจากน้ี สพป.ศก.๒ โดยนิเทศ
ตดิ ตามการจัดการเรยี นการสอนเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา ผา่ นช่องทางกลุ่มไลน์ ครูวัดผล NT/RT สพป.
ศก.๒ และเว๊ปไซต์ นเิ ทศออนไลน์ ศน.สมนึก แซ่อ้ึง /ศน.ลาใย สายโงน (QR Code ดังแนบ)
กจิ กรรมท่ี ๓ มกี ำรจัดกำรสำรสนเทศทเี่ ปน็ ระบบ

มีการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศผลการประเมินตามโครงการฯ ได้แก่ รายงานการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ และช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ , รายงานการ
ประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้น (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และรายงานการประเมิน
คุณภาพผู้เรียน (NT) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓ โดยสรปุ รายงานผลการดาเนินงาน และประชาสัมพันธ์ เผยแพร่
ผลการดาเนินงานแก่ผู้มีส่วนเก่ียวข้องได้รับทราบข้อมูลสะท้อนผลการดาเนินการ และสร้างขวัญกาลังใจโดย
การมอบเกียรติบัตรยกย่องชมเชยแก่ สถานศึกษาท่ีมีผลการประเมินในระดับยอดเย่ียมและมีพัฒนาการท่ี
รวบรวมอย่างเป็นระบบ ผ่านช่องทางการส่ือสาร ได้แก่ และเว็ปไซต์ นิเทศออนไลน์ ศน.สมนึก แซ่อึ้ง /ศน.
ลาใย สายโงน กลมุ่ ไลน์ ครูวดั ผล สพป.ศก.๒ , กลุ่มไลน์ NT/RT สพป.ศก.๒ (QR Code ดังแนบ)

กิจกรรมท่ี ๔ มีระบบเทคโนโลยีสำหรับกำรบรหิ ำรจดั กำร ไดแ้ ก่ ระบบ e-office สพป.ศก.2 ในการรบั -สง่
หนงั สือราชการ คาสัง่ ฯ สพป.ศก.๒ ที่ ๓๓/๒๕๖๔ ,๓๕/๒๕๖๔,๓๙/๒๕๖๔ การประชาสมั พนั ธ์ และ
สารสนเทศต่าง ๆ ในรปู eBook ท่เี วป๊ ไซต์ http://www2.osea2.go.th/ ระบบการจดั สอบของ สทศ
(องค์การมหาชน) สทศ.สพฐ. (NT Access)

รายงานการประเมนิ สถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

๑๑

4. เอกสาร/หลกั ฐานอ้างองิ
 บันทกึ /หนังสอื เสนอขออนมุ ตั ิจดั ทาโครงการ
 โครงการ
 บันทึก/หนังสอื แจง้ การดาเนินงาน
 รายงานผลการดาเนนิ งาน
 เอกสารอนื่ ท่เี กีย่ วขอ้ ง (ระบ)ุ
1. QR Code
2. ลงิ ค์เว็ปไซต์
3. รายงานโครงการ
4. คาส่ังฯ
๕. กลุ่มไลน์ ครูวดั ผล สพป.ศก.๒ /กล่มุ ไลน์ NT/RT สพป.ศก.๒
เอกสารอ้างองิ 4.1

รายงานการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรียนช้ัน (RT)
ชั้น ป.1 ปกี ารศึกษา 2563

รายงานการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียน (NT) ชั้น ป.3 ปีการศกึ ษา
2563

รายงานทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขนั้ พื้นฐาน (O-NET) ช้นั ป.6
และ ม.3 ปกี ารศกึ ษา 2563

กลมุ่ ไลน์ ครูวัดผล สพป.ศก.๒

รายงานการประเมนิ สถานะของหน่วยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0
สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

๑๒

เอกสารอา้ งองิ 4.1 (ต่อ)

กลุม่ ไลน์ NT/RT สพป.ศก.๒

เวป็ ไซต์ สพป.ศก.๒ http://www2.osea2.go.th/
e-office สพป.ศก.๒
http://eoffice.osea2.go.th/eoffice_v2/index.ph
eBook สพป.ศก.๒
เว็ปไซต์ นิเทศออนไลน์ ศน.สมนึก แซอ่ ้ึง p?title=0&menu=0&mod=home&js=table

เวป็ ไซต์ นเิ ทศออนไลน์ ศน.ลาใย สายโงน http://www2.osea2.go.th/ebook/

https://sites.google.com/a/esdc.go.th/
somnuk/home

https://sites.google.com/a/esdc.go.th/
snlamyai-esdc-go-th/

รายงานการประเมนิ สถานะของหนว่ ยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

๑๓

เวป็ ไซต์ สพป.ศก.๒

eBook สพป.ศก.๒

รายงานการประเมินสถานะของหน่วยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

๑๔

ประเด็น 4.2 การวเิ คราะหผ์ ลจากขอ้ มูล และตวั วดั เพอ่ื นาไปสู่การพัฒนาและแก้ไข
ผกู้ ากบั
1. นางวรรณภา บตุ รวงศ์
2. นางสาวสมนึก แซอ่ ึ้ง
ผู้รับผดิ ชอบ
1. นางสาวลาใย สายโงน
2. นางอมั ราภสั ร์ จนั ทะแสงโรจน์
1. ชอ่ื กจิ กรรม/โครงการที่จะนารายงาน (ระบ)ุ

-โครงการยกระดบั คุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา
ศรีสะเกษ เขต ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ (NT/RT)

- โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาเพอ่ื การประกันคณุ ภาพผูเ้ รียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ และชน้ั
มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษเขต ๒
2. สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในอนาคตดา้ น เศรษฐกิจ  สงั คม สิง่ แวดลอ้ ม สาธารณสขุ
3. ขัน้ ตอน/กระบวนการดาเนินงาน (ระบ)ุ
-วิธีดำเนนิ กำร
๑. เสนอโครงการโครงการฯ
๒. แต่งตงั้ คณะกรรมการดาเนินงานโครงการฯ
๓. ดาเนนิ การใน ๔ กิจกรรม ดังนี้
กิจกรรมที่ ๑ ดาเนินการ ประชมุ ชแี้ จงและสรา้ งความเขา้ ใจ แก่ผบู้ รหิ าร/ครูวิชาการ/ครผู ู้สอนท่เี กี่ยวขอ้ ง
ได้แก่

- ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ การประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผูเ้ รียนชั้น (RT)
- ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ การประเมินคณุ ภาพผูเ้ รียน (NT)
- ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ และชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพน้ื ฐาน
(O-NET)
กจิ กรรมที่ ๒ นเิ ทศ ติดตามการจัดการเรียนการสอนเพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา
กจิ กรรมท่ี ๓ ประชมุ คณะกรรมการดาเนนิ การจัดสอบตามโครงการฯ และดาเนนิ การทดสอบ ไดแ้ ก่ การ
ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพืน้ ฐาน(O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ และช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ , การ
ประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผ้เู รยี นช้นั (RT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ และการประเมนิ คณุ ภาพผ้เู รยี น
(NT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓

รายงานการประเมินสถานะของหน่วยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

๑๕

กิจกรรมที่ ๔ : สรุป รายงานผลการดาเนินงาน และประชาสมั พนั ธ์ เผยแพร่ผลการดาเนินงานแกผ่ มู้ สี ่วน
เกย่ี วขอ้ งไดร้ บั ทราบข้อมลู สะทอ้ นผลการดาเนินการ และสรา้ งขวญั กาลงั ใจโดยการมอบเกยี รติบตั รยกยอ่ ง
ชมเชยแก่ สถานศกึ ษาที่มีผลการประเมินในระดบั ยอดเยี่ยมและมีพฒั นาการ

4. เอกสาร/หลักฐานอ้างองิ
 บันทึก/หนงั สอื เสนอขออนมุ ัตจิ ดั ทาโครงการ
 โครงการ
 บนั ทึก/หนังสือแจง้ การดาเนนิ งาน
 รายงานผลการดาเนนิ งาน
 เอกสารอืน่ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง (ระบ)ุ
1. เกยี รติบัตร
2. ขา่ วประชาสมั พันธ์
3. รายงานโครงการ

เกยี รตบิ ตั ร
ผลการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรยี น (NT) ชั้น ป.3 และ
ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นของผ้เู รยี น(RT) ชัน้ ป.1

NT/RT ปกี ำรศึกษำ 2563

รายงานการประเมินสถานะของหนว่ ยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0
สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

๑๖

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O-NET) ชัน้ ป.6 และ ม.3

O-NET ปีกำรศกึ ษำ 2563

ขา่ วประชาสมั พันธ์

รายงานการประเมนิ สถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

๑๗

รายงานโครงการ
ยกระดบั คณุ ภาพผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21 สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา ศรีสะเกษ เขต 2

ปีการศกึ ษา 2563
รายงานการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผเู้ รียนช้นั (RT)
ชน้ั ป.1 ปีการศึกษา 2563

RT ปีกำรศกึ ษำ 2563

รายงานการประเมินสถานะของหนว่ ยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

๑๘

รายงานการประเมินคุณภาพผเู้ รียน (NT) ชั้น ป.3 ปีการศึกษา
2563

NT ปกี ำรศกึ ษำ 2563

รายงานทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ช้นั ป.6
และ ม.3 ปีการศึกษา 2563

O-NET ปกี ำรศึกษำ 2563

ประเด็น 4.3 การจดั การความรแู้ ละใชอ้ งคค์ วามรู้เพื่อนาไปใชป้ ระโยชน์

ผูก้ ากบั

1. นางวรรณภา บุตรวงศ์ 3. นางสาวสมนึก แซอ่ ง้ึ

2. นายทรงวุฒิ ศรลอ้ ม 4. นางชนาพร พรหมคุณ

ผ้รู ับผิดชอบ

1. นางลาไพ พลสงคราม ๖. นางสาวอภริ ดี ใจดี

2. นางสุมาลี เกตุทองมา ๗. นายชยั ยุทธ หงสโ์ สภา

๓. นางสาวสมนกึ แซอ่ ึ้ง ๘. นางสาวศศวิ ิมล ใจดี

๔. นายกันตพัฒน์ อาพรไพเกือ้ กลู 9. นางสาวลาใย สายโงน

๕. นายสมยงค์ บญุ พบ 10. นางอัมราภัสร์ จันทะแสงโรจน์

1. ชอ่ื กิจกรรม/โครงการทจี่ ะนารายงาน (กลุ่มนิเทศฯ)
- โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษท่ี ๒๑ สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา

ศรีสะเกษ เขต ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ (NT/RT)

รายงานการประเมนิ สถานะของหนว่ ยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

๑๙

- โครงการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาเพ่ือการประกนั คณุ ภาพผ้เู รยี น ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ และชนั้
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษเขต ๒

- โครงการสง่ เสรมิ ผเู้ รยี นใหม้ คี ุณลกั ษณะและทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ ๒๑ สานกั งานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

2. สอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงในอนาคตด้าน เศรษฐกิจ  สังคม ส่งิ แวดล้อม สาธารณสุข
3. ขัน้ ตอน/กระบวนการดาเนนิ งาน (ระบ)ุ

- วธิ ีดำเนนิ กำร
การขบั เคล่อื นด้านการจดั การความรู้และใช้องค์ความรู้เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ ในสว่ นของโครงการการ
ยกระดับคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษท่ี ๒๑ (NT/RT),โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาเพื่อการประกัน
คุณภาพผู้เรียน ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๖ และชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
ศรีสะเกษ เขต ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ในด้านการจัดการความรู้และใช้องค์ความรู้เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ มี
การดาเนนิ การ ๓ ด้าน ดังนี้
ด้ำนที่ ๑ กำรจดั กำรองค์ควำมรสู้ ำหรบั บุคลำกรในสงั กัดอย่ำงเปน็ ระบบ
สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษเขต ๒ มีการจัดการองคค์ วามรสู้ าหรบั บคุ ลากรใน
สังกัดอยา่ งเปน็ ระบบ โดยกลมุ่ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา มีการสรปุ รายงานผลการ
ดาเนินการงานในหนา้ ที่ และงานโครงการที่รบั ผิดชอบ ของศกึ ษานเิ ทศก์ ได้รวบรวมและเผยแพร่ต่อสาร
ธารณะชน ผ่านเวป็ ไซต์ http://www2.osea2.go.th/ในรูปแบบ e-book
ดำ้ นที่ ๒ มกี ระบวนกำรรวบรวมองค์ควำมรู้ ทง้ั ภำยในและภำยนอก สพท.โดยใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศเพอื่
นำมำวเิ ครำะหแ์ ละเชือ่ มโยงข้อมูลรว่ มกันสำกรับกำรสง่ เสริมกำรเรียนรใู้ หแ้ ก่บุคลำกรในสังกัด
สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษเขต ๒ โดยกลมุ่ นิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการ
จดั การศกึ ษา ได้สง่ เสรมิ ใหโ้ รงเรยี นใช้ข้อมูลผลการประเมนิ ๒๕๖๒ (ฐานข้อมูลนกั เรยี น/โรงเรยี นในการ
พัฒนา) เปน็ ฐานในการยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา ประชาสัมพันธ์ สร้างความตระหนักให้ผบู้ รหิ ารสถาศกึ ษา
เห็นความสาคญั โดยนาเข้าวาระการประชมุ ประจาเดือนผบู้ ริหาร เพอื่ ใหไ้ ปกากับ ติดตาม นิเทศภายใน
สถานศกึ ษา นอกจากนี้ สพป.ศก.๒ โดยนเิ ทศ ติดตามการจดั การเรียนการสอนเพอ่ื ยกระดับคุณภาพ
การศกึ ษา ผ่านช่องทางกลมุ่ ไลน์ ครวู ัดผล NT/RT สพป.ศก.๒ , กลุ่มไลน์ โรงเรียนส่งเสรมิ ผู้เรยี นให้มี
คุณลกั ษณะและทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑ และเว๊ปไซต์ นเิ ทศออนไลน์ ศน.สมนึก แซอ่ งึ้ /
ศน.ลาใย สายโงน

รายงานการประเมินสถานะของหนว่ ยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

๒๐

http://www2.osea2.go.th/ในรปู แบบ e-book

รายงานการประเมนิ สถานะของหนว่ ยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

๒๑

รายงานการประเมินสถานะของหนว่ ยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

๒๒

ด้ำนท่ี ๓ มกี ำรเช่อื มโยงองค์ควำมรู้ที่ไดจ้ นเกดิ นวตั กรรมกำรปฏิบตั ทิ ่ดี ี Best Practice หรอื มำตรฐำน
ใหมใ่ นกำรถำ่ ยทอดควำมรู้สกู่ ำรปฏบิ ตั ิ

สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษเขต ๒ โดยกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล
การจดั การศึกษา มีการเช่อื มโยงองค์ความรู้ท่ไี ด้จนเกดิ นวัตกรรมการปฏิบตั ิทด่ี ี Best Practice หรือมาตรฐาน
ใหม่ในการถา่ ยทอดความรู้สู่การปฏบิ ัติ ยกตัวอย่างเชน่ การดาเนินการโรงเรยี นตามโครงการสง่ เสริมผู้เรยี นให้
มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ หลังจากที่มีการประชุมช้ีแจงแก่โรงเรียนท่ีเข้าร่วม
โครงการผ่านการประชมุ ออนไลน์ ( Zoom Meeting ) สานักงานเขตพื้นท่ีมีการนิเทศติดตาม การดาเนินการ
จัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนคิ /วธิ ีการจัดการเรยี นรู้ สือ่ นวัตกรรม เพือ่ พัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีทกั ษะการเรยี นรู้ใน
ศตวรรษท่ี ๒๑ ตามบริบทของพ้ืนท่ีและผูเ้ รยี นหลังจากนั้น จัดการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ด้วยวิธกี ารทีเ่ หมาะสมกับ
บริบทของพ้ืนท่ีและผู้เรียน เช่น การนาเสนอผลงานนักเรียน ประกวด แข่งขัน จัดค่าย ฯลฯ เพื่อพัฒนาทักษะ
การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ และสรุปรายงานโครงการส่งเสรมิ ผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ ๒๑ ประชาสัมพนั ธ์ เผยแพรผ่ ลการดาเนินงานแก่ผู้มสี ่วนเกยี่ วข้องได้รับทราบข้อมูลสะท้อนผลการ
ดาเนินการ และสร้างขวญั กาลังใจโดยการมอบเกียรติบัตรยกย่องชมเชยแก่ สถานศึกษาทเ่ี ข้าร่วมโครงการเป็น
โรงเรียนต้นแบบ และมอบเกียรติบัตรแก่ครูที่นาเสนอผลการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ นวัตกรรมการ
ปฏิบัติที่ดี Best Practice มี การเผยแพร่ผ่านช่องทางการส่ือสาร ได้แก่ ช่องทาง You Tube และเว็ปไซต์
http://www2.osea2.go.th/ กลุ่มไลน์ โรงเรียนส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ ๒๑ (QR Code ดังแนบ)
4. เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

 บนั ทึก/หนังสอื เสนอขออนมุ ัติจดั ทาโครงการ
 โครงการ
 บนั ทึก/หนังสอื แจ้งการดาเนินงาน
 รายงานผลการดาเนนิ งาน
 เอกสารอ่นื ท่เี กยี่ วขอ้ ง (ระบุ)

1. QR Code
2. ลิงคเ์ วป็ ไซต์
3. รายงานโครงการ
4. ลิงค์ วิดีทัศน์ Best Practice การจัดการเรยี นสอนท่ีสง่ เสรมิ ผู้เรียนให้มคี ุณลักษณะและทกั ษะการ
เรียนร้ใู นศตวรรษท่ี ๒๑
๕. กลุ่มไลน์ ครูวดั ผล สพป.ศก.๒ /กลุม่ ไลน์ NT/RT สพป.ศก.๒/กลุ่มไลน์ โรงเรยี นสง่ เสรมิ ผู้เรยี นให้มี
คุณลกั ษณะและทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑

รายงานการประเมินสถานะของหน่วยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0
สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

๒๓

เอกสารอ้างอิง 4.3
รายงานการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นของผูเ้ รยี นชนั้ (RT)
ช้นั ป.1 ปีการศึกษา 2563

รายงานการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รยี น (NT) ชั้น ป.3 ปีการศกึ ษา
2563

รายงานทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พื้นฐาน (O-NET) ชน้ั ป.
6 และ ม.3 ปกี ารศึกษา 2563

รายงานโครงการส่งเสริมผู้เรียนใหม้ คี ุณลกั ษณะและทกั ษะการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ ๒๑

กลุม่ ไลน์ ครวู ัดผล สพป.ศก.๒

กลุ่มไลน์ NT/RT สพป.ศก.๒

รายงานการประเมนิ สถานะของหน่วยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาศรีสะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

๒๔

กลมุ่ ไลน์ โรงเรยี นส่งเสริมผเู้ รียนให้มคี ุณลักษณะและทกั ษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑

คลปิ VDO โรงเรียนปฏิบัตทิ ่ีเปน็ เลศิ (Best Practice) จำนวน ๑๐ โรงเรียน

จัดกจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนเพ่อื กำรพฒั นำผเู้ รยี นใหม้ ที ักษะแหง่ ศตวรรษที่ ๒๑

ตำมทักษะกำรเรยี นรู้ 3 Rx8 C

รำยช่ือ ที่ตัง้ คลิป VDIO/ลิงค์ ของ

หนว่ ยงำน/สถำนศกึ ษำ หน่วยงำน/สถำนศกึ ษำ ของตน้ แบบหรือแบบอย่ำงท่ดี ี

โรงเรยี นบา้ นผอื อ.โพธ์ิศรีสุวรรณ จ.ศรสี ะเกษ https://youtu.be/quu_ic_Cb50

โรงเรียนบ้านบยุ าว อ.หว้ ยทบั ทนั จ.ศรีสะเกษ https://youtu.be/JH9yZfUBnk8

โรงเรียนจินดาวทิ ยาคาร ๒ อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ https://youtu.be/-VIQGCllwo
(บ้านหนองศาลา) https://youtu.be/qLRNWFxmsGM

โรงเรียนบ้านบอนใหญ่ อ.อุทมุ พรพสิ ยั จ.ศรีสะเกษ

โรงเรยี นบา้ นหนองแคน https://www.youtube.com/watch?v=dKxEeU
อ.เมืองจันทร์ จ.ศรสี ะเกษ MuU9g

โรงเรยี นชุมชนบา้ นหนองคู อ.บงึ บูรพ์ จ.ศรสี ะเกษ https://youtu.be/pOJiOVMpf4M
https://youtu.be/aif6AvVrRdI
โรงเรยี นบ้านหนองบวั ดง อ.ศลิ าลาด จ.ศรสี ะเกษ
(รฐั ราษฎรว์ ิทยาคม) https://youtu.be/llgtibH_V4o

โรงเรยี นบ้านขะยงู อ.อทุ มุ พรพสิ ยั จ.ศรีสะเกษ https://youtu.be/zJnlfsq6KZI
(ขะยงู ศลิ ป์ศึกษา) https://youtu.be/UBoLhEwmwn4

โรงเรยี นบ้านโต่งโตน้ อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ

โรงเรียนบ้านโทะ อ.ห้วยทบั ทัน จ.ศรสี ะเกษ

รายงานการประเมินสถานะของหนว่ ยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0
สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

๒๕

เอกสารอา้ งองิ 4.3 (ต่อ)

เวป็ ไซต์ สพป.ศก.๒ http://www2.osea2.go.th/
e-office สพป.ศก.๒
http://eoffice.osea2.go.th/eoffice_v2/index.ph
eBook สพป.ศก.๒
เวป็ ไซต์ นเิ ทศออนไลน์ ศน.สมนกึ แซอ่ งึ้ p?title=0&menu=0&mod=home&js=table

เวป็ ไซต์ นิเทศออนไลน์ ศน.ลาใย สายโงน http://www2.osea2.go.th/ebook/

https://sites.google.com/a/esdc.go.th/
somnuk/home

https://sites.google.com/a/esdc.go.th/
snlamyai-esdc-go-th/

รายงานการประเมนิ สถานะของหนว่ ยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

๒๖

หมวดท่ี 7 ผลลัพธ์การดาเนนิ การ

ประเด็น 7.1 การบรรลุผลลพั ธข์ องตวั ชี้วัดตามพันธกจิ

ผ้กู ากบั

1. นางวรรณภา บตุ รวงศ์

2. นางสาวสมนึก แซอ่ ้งึ

ผู้รับผิดชอบ

1. นายสาราญ สงวนบญุ 3. วา่ ที่ ร.ต.สมั ฤทธ์ิ พรหมพทิ กั ษ์

2. นางลาใย สายโงน 4. นางอัมราภัสร์ จนั ทะแสงโรจน์

ค่าเปา้ หมาย ความสาเร็จ แนบเอกสาร/หลกั ฐาน

ตวั ชวี้ ัด ปี พ.ศ.2564 การดาเนินการ

ระบุ หน่วย ระบุ หน่วย

ตัวเลข ตัวเลข

7.1 การบรรลผุ ลลพั ธ์ของตัวชว้ี ัด เอกสาร/หลกั ฐานอ้างองิ

ตามพนั ธกิจ  บนั ทกึ /หนงั สอื เสนอขอ

เป็นการวดั ความสาเร็จของการ อนมุ ตั จิ ดั ทาโครงการ

ดาเนนิ การบรรลเุ ป้าหมายตาม  โครงการ

แผนปฏิบัติราชการของ สพท. ซ่ึงต้องมี  บันทกึ /หนังสอื แจง้ การ

ความสัมพนั ธก์ บั พนั ธกิจหลักและ ดาเนนิ งาน

ยุทธศาสตรข์ อง สพฐ. และ สพท. รวม  รายงานผลการ

ทั้งตัววดั ที่ดาเนนิ การตามนโยบายและ ดาเนนิ งาน

แผนของรฐั บาลทก่ี าหนดไวป้ ระจาปี  เอกสารอื่นท่เี ก่ียวขอ้ ง
(1) ระดบั ความสาเร็จของการ รอ้ ยละ 10 รอ้ ยละ 10 (ระบ)ุ
100 โรงเรียน 100 โรงเรยี น - คลิป VTR การจัดการเรยี นการ
ดาเนนิ โครงการสง่ เสรมิ ผูเ้ รยี นให้มี

คุณลกั ษณะและทกั ษะการเรียนร้ใู น สอน
ศตวรรษที่ 21 - ข่าวประชาสัมพนั ธ์ การประชุม
- คาสง่ั ฯ

- เกียรตบิ ัตรรร ตน้ แบบ/ครูนาเสนอ

Best practice ระดับเขตพน้ื ที

- หนงั สือราชการแจง้ ประชุมฯ

4. เอกสาร/หลกั ฐานอ้างองิ

 บนั ทึก/หนงั สอื เสนอขออนมุ ตั จิ ัดทาโครงการ

 โครงการ

 บันทกึ /หนังสอื แจง้ การดาเนนิ งาน

รายงานการประเมนิ สถานะของหน่วยงานในการเป็นระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

๒๗

 รายงานผลการดาเนนิ งาน
 เอกสารอน่ื ทเ่ี ก่ยี วข้อง (ระบ)ุ

1. เกยี รตบิ ตั ร
2. ขา่ วประชาสมั พนั ธ์
3. รายงานโครงการ

เกียรตบิ ัตร
ผลการประเมนิ คณุ ภาพผเู้ รียน (NT) ช้ัน ป.3 และ
ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน(RT) ช้ัน ป.1

NT/RT ปีกำรศกึ ษำ 2563

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) ชั้น ป.6 และ ม.3

O-NET ปกี ำรศกึ ษำ 2563

รายงานการประเมินสถานะของหน่วยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต ๒ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

๒๘

ข่าวประชาสัมพันธ์

รายงานการประเมินสถานะของหน่วยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

๒๙

รายงานโครงการ
ยกระดบั คุณภาพผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษา ศรีสะเกษ เขต 2

ปกี ารศกึ ษา 2563

รายงานการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้น (RT)
ช้ัน ป.1 ปกี ารศกึ ษา 2563

RT ปกี ำรศกึ ษำ 2563

รายงานการประเมนิ คุณภาพผเู้ รียน (NT) ชั้น ป.3 ปีการศึกษา
2563

NT ปีกำรศกึ ษำ 2563

รายงานทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-NET) ชั้น ป.6
และ ม.3 ปกี ารศึกษา 2563

O-NET ปีกำรศึกษำ 2563

รายงานการประเมินสถานะของหนว่ ยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0
สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

๓๐

ภาคผนวก

รายงานการประเมนิ สถานะของหนว่ ยงานในการเปน็ ระบบราชการ 4.0
สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาศรสี ะเกษ เขต ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564





บัญชีแนบทา้ ยคาสั่งสานักงานเขตพน้ื ท
ท่ี 81 /2564 ลงวันท่ี 1

แตง่ ตัง้ คณะกรรมการขับเคลื่อนตวั ชี้วัดตามมาตรการปรับปรงุ ประสิทธิภาพในการ
ตวั ชี้วัดท่ี 4 การประเมินสถานะของหนว่ ยงา

ตัวช้วี ัด ระดับ ระดบั การประเมนิ ตนเอง
Basic ระดบั
หมวด 1 การนาองคก์ ร
ประเดน็ 1.1 ระบบการนา Advance
องคก์ ารท่สี รา้ งความยงั่ ยนื

1.1.1 การนาระบบ ผอ.สพท.กาหนดทศิ ทาง ผอ.สพท.กาหนดทิศทางของ
องค์การของผู้บรหิ าร
ขององคก์ ารท่รี องรบั พนั ธกิจ องคก์ ารทร่ี องรับพันธกิจปัจจบุ นั อ

ปจั จุบันของ สพท. ของ สพท.
เป
สอดคลอ้ งกับการเปลี่ยนแปลง ..
(เ
ในอนาคต ด้าน................ ส

(เศรษฐกจิ /สงั คม/ส่ิงแวดล้อม/

สาธารณสขุ

เช



เศ


ท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 2
19 พฤษภาคม พ.ศ. 2564
รปฏบิ ัตริ าชการของสานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
านในการเป็นระบบราชการ 4.0 (PMQA 4.0)

ผกู้ ากบั /ผรู้ บั ผิดชอบจัดเก็บ หมายเหตุ/เอกสาร

ระดบั ข้อมูลและรายงาน แนบระบบรายงาน
Significance

ผอ.สพท.กาหนดทิศทางของ ผู้ผ้กู ากบั ระดับ Advance
องคก์ ารที่รองรับพันธกจิ ปัจจบุ นั 1. นางวรรณภา บตุ รวงศ์ ระดับ Significance
ของ สพท. 2. นางนารรี ตั น์ แกว้ ศรี - ใสช่ ื่อโครงการท่ี
3. นางดาราวัลย์ สุรเิ ตอร์ สพท.เลอื กสอดคล้อง
สอดคลอ้ งกับการ ผรู้ ับผิดชอบ ด้านใด (1 ด้าน)
ปลีย่ นแปลง ในอนาคต ดา้ น ระบใุ นช่องแสดงความ
............... 1. นางนารรี ัตน์ แก้วศรี (เจ้าภาพหลัก) คิดเห็นในระบบ
เศรษฐกิจ/สงั คม/สง่ิ แวดล้อม/ - โครงการ
สาธารณสุข 2. นางณิชาภา เรอื งฤทธิร์ าวี - หนงั สือเสนอขอ
คานึงถงึ ผลกระทบต่อสังคมทั้ง 3. นางสาวสจุ ารี โพธ์ิศรีทตั อนมุ ัตดิ าเนนิ การ
ชงิ บวก เชิงลบ ท้ังทางตรงและ 4. นายธนวัฒน รัตนวงษา โครงการ
ทางอ้อม เช่น ............... 5. นางณฐพร เทพหสั ดนิ ณ อยุธยา - เอกสารอน่ื ท่ี
สร้างขดี ความสามารถในการ 6. นางอรอมุ า ฤาชา เกยี่ วขอ้ ง แนบไฟล์ใน
แขง่ ขันของประเทศ (ดา้ น 7. นางดาราวัลย์ สรุ เิ ตอร์ ระบบ
ศรษฐกจิ /สังคม/สาธารณสขุ / 8. นางนันทกา ชาปดั
สง่ิ แวดล้อม) เชน่ ............. กิจกรรม/โครงการทจี่ ะต้องรายงาน
- วิสยั ทศั น,์ แผน, ITA
- โครงการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา
ยาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา

-2

ตัวช้วี ดั ระดบั การประเมนิ ตนเอง

1.1.2 การสรา้ ง ระดับ ระดบั
สภาพแวดล้อมเพื่อการบรรลุ Basic
เปา้ หมายขององค์การ Advance
ผอ.สพท. สรา้ ง
สภาพแวดลอ้ มเอื้อต่อการ ผอ.สพท.สร้างสภาพแวดลอ้ ม
ทางาน
เอือ้ ตอ่ การทางาน ส

เกดิ วัฒนธรรมที่มุ่งเน้น

ผู้รบั บรกิ ารและผูม้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี ผ

โดยวิธีการ..................... เส

เป



2-

ระดับ ผกู้ ากับ/ผูร้ บั ผิดชอบจดั เก็บ หมายเหต/ุ เอกสาร
Significance ขอ้ มูลและรายงาน แนบระบบรายงาน

ผอ.สพท. สง่ เสริมการสร้าง ผกู้ ากับ ระดบั Advance
สภาพแวดลอ้ มเอ้ือต่อการทางาน 1. นางวรรณภา บตุ รวงศ์ ระดบั Significance
2. นายทรงวุฒิ ศรล้อม - ระบุวธิ ีการที่ สพท.
เกิดวฒั นธรรมทีม่ งุ่ เน้น 3. นางนารรี ัตน์ แกว้ ศรี สรา้ งเกิดวฒั นธรรม
ผู้รับบริการและผ้มู สี ว่ นไดส้ ว่ น 4. นางลัดดาวลั ย์ ศิรสิ วัสดิ์ องค์การ
สยี โดยวธิ กี าร..................... ผรู้ ับผิดชอบ - ยกตวั อยา่ ง
นวตั กรรมทไ่ี ด้
เกิดนวัตกรรมทส่ี ง่ ผลต่อการ 1. นางนารรี ัตน์ แก้วศรี (เจา้ ภาพหลกั ) ระบใุ นช่องแสดงความ
ปล่ยี นแปลงในองคก์ าร บรรลุ คดิ เหน็ ในระบบ
วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตรข์ อง 2. นางณชิ าภา เรืองฤทธร์ิ าวี - แนบภาพถา่ ย
องคก์ าร 3. นางสาวสุจารี โพธิศ์ รีทัต ประกอบ(ถา้ มี)
4. นายธนวฒั น รตั นวงษา - เอกสารอื่นที่
5. นางณฐพร เทพหสั ดนิ ณ อยุธยา เกย่ี วขอ้ ง แนบไฟล์ใน
6. นางอรอมุ า ฤาชา ระบบ
7. นางลัดดาวลั ย์ ศิรสิ วัสดิ์
8. นางนันทิยา ทองสิงห์
9. นางศศธิ ร รัตนวงษา
10. นางสาวกชพรรณ บรุ ะพา
11.นางสาวสวุ ณยี ์ แก้ววงษา
กจิ กรรม/โครงการทจี่ ะตอ้ งรายงาน
- วิสยั ทศั น์, ค่านิยมองค์กร
- โครงการปรับปรงุ ภมู ทิ ศั น์ พัฒนา
ระบบส่อื สารและสง่ิ แวดล้อม

-3

ตัวช้ีวัด ระดบั การประเมนิ ตนเอง

ระดับ ระดับ

Basic Advance

1.1.3 การนาเทคโนโลยมี า ผอ.สพท. มกี ระบวนการ ผอ.สพท. มกี ระบวนการ

ใชใ้ นการสอ่ื สารภายใน ส่ือสารถ่ายทอดวสิ ยั ทศั น์ สอ่ื สารถ่ายทอดวิสยั ทัศน์ นโยบาย ส

องค์การ เพ่อื ใหเ้ กิดความ นโยบายเปา้ หมายตามแผนฯ เป้าหมายตามแผนฯ ของ สพท. น

ทั่วถึง รวดเร็ว และทนั ของ สพท. ผอ.สพท.นาเทคโนโลยมี าใชใ้ น ส

เหตกุ ารณ์ การสือ่ สารถ่ายทอดวสิ ยั ทศั น์

นโยบาย เป้าหมายตามแผนฯ ของ ใ

เขต สรา้ งการรับร้แู ละเข้าใจให้กับ น

บุคลากรในสงั กัด ข




เป








3-

ผกู้ ากับ/ผู้รบั ผิดชอบจดั เก็บ หมายเหตุ/เอกสาร
แนบระบบรายงาน
ระดับ ข้อมูลและรายงาน
ระดบั Advance
Significance ระดบั Significance
ระบุ
ผอ.สพท. มกี ระบวนการ ผู้กากบั - ยกตวั อย่างปัญหา
- เทคโนโลยที ่ใี ช้
สือ่ สารถ่ายทอดวสิ ยั ทศั น์ 1. นางวรรณภา บุตรวงศ์ แก้ปัญหา
- วิธกี ารแกป้ ัญหา
นโยบายเปา้ หมายตามแผนฯ ของ 2. นางสาวสมนกึ แซอ่ ้ึง รว่ มกนั
- ผลสาเรจ็ จาการ
สพท. 3. นายสมยงค์ บุญพบ แก้ปญั หา
ระบุในช่องแสดงความ
ผอ.สพท.นาเทคโนโลยมี าใช้ 4. นางนารรี ตั น์ แก้วศรี คิดเห็นในระบบ
- แนบภาพถ่าย
ในการส่อื สารถา่ ยทอดวสิ ัยทศั น์ ผู้รบั ผิดชอบ ประกอบ(ถ้ามี)
- แนบโครงการขอ
นโยบาย เป้าหมายตามแผนฯ 1. นายสมยงค์ บญุ พบ (เจา้ ภาพหลกั ) อนมุ ัตดิ าเนนิ การเพ่ือ
แก้ปญั หาดังยกตัวอยา่ ง
ของเขต สร้างการรับรู้และเข้าใจ 2. วา่ ท่ี ร.ต.ชาตรี ไชยโยธา (ถ้าม)ี
- เอกสารอ่ืนที่
ให้กบั บุคลากรในสงั กดั 3. นางสาวอุษณีย์ ศรคี ราม เก่ียวข้อง แนบไฟลใ์ น
ระบบ
มีกระบวนการสื่อสาร 4. นายธนวัฒน์ รัตนวงษา

ถ่ายทอดวิสยั ทัศน์ นโยบาย

ปา้ หมายตามแผนฯ ของ สพท.

นาเทคโนโลยีมาใช้ใน

กระบวนการส่ือสาร สร้างการ

รบั รู้สู่ทุกกลมุ่ ทีเ่ กย่ี วข้องรับทราบ

การตัดสนิ ใจร่วมกันเพ่อื ร่วมแกไ้ ข

ปญั หาอยา่ ง ทันการณ์ มี

ประสิทธผิ ลและรวดเรว็ โดย

วิธกี าร................

-4

ตัวช้วี ัด ระดบั ระดับการประเมนิ ตนเอง
Basic ระดับ
ประเด็น 1.2 การปอ้ งกนั
ทุจริตและสร้างความโปร่งใส มกี ลไก/วธิ กี ารสร้าง Advance
ประเดน็ 1.3 การสรา้ งการมี เครอื ขา่ ยเขา้ มามสี ว่ นร่วมใน
ส่วนร่วมของบคุ ลากร และ การทางาน ดึงค
เครอื ข่ายทง้ั ภายในและ
ภายนอก มีการกระจายอานาจใน มีกลไก/วิธีการสร้างเครอื ข่าย ม
การบริหารครอบคลุม เข้ามามสี ว่ นร่วมในการทางาน
ภารกิจ 4 ดา้ น อยา่ งเปน็ ค
ระบบ สามารถตรวจสอบได้ มีการกระจายอานาจในการ ร
บรหิ ารครอบคลมุ ภารกิจ 4 ดา้ น
อย่างเป็นระบบ สามารถ ท
ตรวจสอบได้ ร

มแี นวทาง วธิ กี าร เอือ้ ให้
เครอื ขา่ ยทง้ั ภายในและภายนอก ก
เข้ามามสี ่วนรว่ มในการทางาน ค
เพื่อใหเ้ กดิ การพัฒนาดา้ น และ ภ

มแี นวทาง วิธีการให้เกดิ การ เค
กระจายอานาจในการบรหิ าร ก
ครอบคลมุ ภารกจิ 4 ดา้ น เชน่
ภารกจิ ดา้ น........................ จ
กจิ กรรม/โครงการ...................... เค
เครอื ขา่ ยโดย......................... ก
ขั้นตอนการดาเนินการ............... -
-
-

(ย

4-

ผกู้ ากบั /ผรู้ ับผิดชอบจดั เก็บ หมายเหต/ุ เอกสาร

ระดบั ข้อมูลและรายงาน แนบระบบรายงาน
Significance

คะแนนจากผลประเมนิ ITA สพท.

มีกลไก/วธิ กี ารสรา้ งเครือขา่ ยเข้า ผู้ผกู้ ากับ ระดับ Significance
มามสี ว่ นรว่ มในการทางาน 1. นางวรรณภา บุตรวงศ์ ระบุ
2. นางสาวสมนึก แซ่อ้งึ - ยกตัวอย่างกลไก/
มกี ารกระจายอานาจในการบริหาร 3. นางลาไพ พลสงคราม วธิ กี าร
ครอบคลุมภารกจิ 4 ด้าน อยา่ งเปน็ 4. นางดาราวลั ย์ สรุ เิ ตอร์ - กจิ กรรม/โครงการ
ระบบ สามารถตรวจสอบได้ 5. นางชนาพร พรหมคุณ - กลุ่มเครอื ข่ายทร่ี ่วม
ผู้รบั ผดิ ชอบ ดาเนนิ การ
มีแนวทาง วธิ ีการ เอ้อื ให้เครอื ขา่ ย - ผลสาเรจ็ กิจกรรม/
ทง้ั ภายในและภายนอกเขา้ มามีส่วน 1. ว่าที่ ร.ต.สมั ฤทธิ์ พรหมพิทักษ์ โครงการ
รว่ มในการทางาน เพอ่ื ให้เกิดการ (เจา้ ภาพหลัก) ในช่องแสดงความ
พัฒนาดา้ น และ 2. นางสาวกฤติยา คาเพราะ คิดเหน็ ของระบบ
3. นางลาไพ พลสงคราม - แนบภาพถ่าย
มีแนวทาง วธิ กี ารใหเ้ กดิ การ 4. นางสาวธนิดา สุวพานิช ประกอบ(ถ้ามี)
กระจายอานาจในการบริหาร 5. นางดาราวัลย์ สรุ เิ ตอร์ - แนบโครงการขอ
ครอบคลมุ ภารกิจ 4 ดา้ น เช่น 6. นางสาวโสภดิ า พมิ สอน อนุมัตดิ าเนินการ
ภารกจิ ดา้ น........................ 7. นางชนาพร พรหมคณุ ร่วมกันกบั เครอื ข่าย
กิจกรรม/โครงการ................... 8. นายกนั ตพัฒน์ อาพรไพเก้อื กูล แนบไฟลใ์ นระบบ
ครือขา่ ยโดย.........................ขั้นตอน
การดาเนนิ การ............. กิจกรรม/โครงการท่ีจะต้องรายงาน
- โครงการการดาเนนิ งานคณะกรรมการ
มผี ลงานของ สพท.ทโ่ี ดดเดน่ อนั เกิด
จากการสรา้ งนวตั กรรมรว่ มกบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศ
ครอื ข่าย/ผลงานโดดเดน่ เกิดจากการ การศึกษาของ สพป.ศก.2 (ก.ต.ป.น.)
กระจายอานาจ เชน่ - กิจกรรมที่มีบุคคลภายนอกมสี ่วนร่วมใน
ผลงานนวัตกรรมเชิงนโยบาย คอื ..... การดาเนินงาน
ผลงานนวตั กรรมการใหบ้ ริการ คือ....
ผลงานนวตั กรรมเชิงกระบวนการ
คอื ...............................
ยกตวั อยา่ ง 1 ผลงาน)

-5

ตวั ช้ีวดั ระดบั การประเมนิ ตนเอง

ประเดน็ 1.4 การคานงึ ถึง ระดับ ระดบั
ความรับผิดชอบต่อสังคม
Basic Advance

มีการวเิ คราะหผ์ ลกระทบ มีการวิเคราะหผ์ ลกระทบเชิง

เชิงลบต่อด้านเศรษฐกจิ / ลบต่อด้านเศรษฐกิจ/สังคม/ ล

สังคม/สิ่งแวดล้อม/ ส่ิงแวดลอ้ ม/สาธารณสุข ที่อาจ ส

สาธารณสขุ ทีอ่ าจเกดิ ข้ึน เกดิ ขึ้นและกาหนดมาตรการ เก

และกาหนดมาตรการ ปอ้ งกัน ป

ป้องกัน เช่น กิจกรรม/ มกี ารใชป้ ระโยชน์ของ

โครงการ.............................. เครอื ขา่ ยเฝา้ ระวงั ติดตาม เค

ผลกระทบเชงิ ลบ และรว่ ม ผ

แก้ปัญหาไดท้ ันการณ์ เชน่ ........... แ



เก


เค







..

5-

ระดับ ผ้กู ากบั /ผู้รับผิดชอบจัดเกบ็ หมายเหต/ุ เอกสาร
Significance ข้อมูลและรายงาน แนบระบบรายงาน

มีการวเิ คราะห์ผลกระทบเชิง ผกู้ ากบั ระดับ Basic ระบุ
ลบต่อด้านเศรษฐกิจ/สงั คม/ 1. นางวรรณภา บตุ รวงศ์ - กจิ กรรม/โครงการทีเ่ กิด
สง่ิ แวดล้อม/สาธารณสขุ ทอ่ี าจ 2. นางสาวสมนกึ แซอ่ งึ้ จากการวิเคราะห์
กิดขึ้นและกาหนดมาตรการ 3. นางดาราวัลย์ สุรเิ ตอร์ ผลกระทบเชิงลบ ด้าน
ปอ้ งกนั ผรู้ บั ผดิ ชอบ เศรษฐกจิ /สงั คม/
1. นางดาราวลั ย์ สรุ เิ ตอร์ (เจ้าภาพหลัก) ส่งิ แวดล้อม/สาธารณสุข
มีการใชป้ ระโยชน์ของ 2. นางสาวนิชาภา ดาวัล (เลอื ก 1 ด้าน)
ครือข่ายเฝ้าระวัง ตดิ ตาม 3. นางสาวภทั ราวดี มนยั นิล ระดับ Advance ระบุ
ผลกระทบเชิงลบ และร่วม 4. นางสาวกฤตยิ า คาเพราะ - เครอื ขา่ ยท่รี ว่ ม
แกป้ ญั หาไดท้ นั การณ์ เช่น........... กจิ กรรม/โครงการท่จี ะตอ้ งรายงาน ดาเนินการเฝ้าระวงั และ
- มาตรการป้องกนั และควบคมุ ยกตวั อย่างแกป้ ัญหา
มกี ารวิเคราะห์ผลกระทบเชิง สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติด ระดับ Significance
ลบตอ่ เศรษฐกจิ /สงั คม/ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (โคว-ิ 19) ระบุ
สง่ิ แวดล้อม/สาธารณสุข ท่อี าจ - โครงการคัดแยกขยะ - ตวั ชี้วัดทีร่ ว่ มดาเนินการ
กดิ ข้ึน และกาหนดมาตรการ ติดตาม
ปอ้ งกนั - ระบบกากับติดตาม
- ผลงานแก้ปัญหา
มกี ารใช้ประโยชน์ของ ผลกระทบ
ครอื ขา่ ยเฝา้ ระวงั ตดิ ตาม ในชอ่ งแสดงความ
ผลกระทบเชงิ ลบ และร่วม คดิ เหน็ ของระบบ
แกป้ ญั หาไดท้ ันการณ์ เช่น.......... แนบเอกสาร
- แนบภาพถ่ายประกอบ
มกี ารกาหนดตัวชี้วดั ในการ (ถ้าม)ี
จัดการและตดิ ตามผลกระทบเชิง - แนบโครงการขออนมุ ัติ
ลบที่วเิ คราะห์ เช่น.................... ดาเนินการร่วมกนั กับ
เครือข่าย
มผี ลงานโดดเด่นจาการจดั การ แนบไฟล์ในระบบ
ผลกระทบเชิงลบทว่ี เิ คราะห์ เชน่
...............................

-6

ตวั ช้วี ัด ระดับการประเมนิ ตนเอง

หมวด 2 การวางแผนเชงิ ระดับ ระดบั
ยุทธศาสตร์ Basic
ประเดน็ 2.1 แผนปฏิบตั ิการ Advance
ประจาปขี อง สพท.ท่ี สพท.มกี ระบวนการ
ตอบสนองความท้าทาย สรา้ ง กาหนดยทุ ธศาสตร์ สพท.มีกระบวนการกาหนด
นวัตกรรม การเปลยี่ นแปลง เป้าหมายของแผนปฏิบตั ิ
และมุง่ เนน้ ประโยชน์สุข การประจาปีฯ ทีต่ อบสนอง ยุทธศาสตร์ เป้าหมายของ ย
ประชาชน แผนยทุ ธศาสตร์ชาติ
แผนปฏิบตั กิ ารประจาปฯี ท่ี แ

ตอบสนองแผนยุทธศาสตร์ชาติ ต

แผนปฏบิ ตั กิ ารฯ ตอบสนอง

ความท้าทายในดา้ นพนั ธกิจ ของ ค

สพท./สพฐ. เช่น.......................... ส

(ระบชุ ือ่ กจิ กรรม/โครงการ อย่าง (ร

นอ้ ย 1 โครงการ) น







(ร


6-

ระดับ ผู้กากับ/ผ้รู ับผิดชอบจดั เก็บ หมายเหต/ุ เอกสาร
Significance ข้อมูลและรายงาน แนบระบบรายงาน

สพท.มกี ระบวนการกาหนด ผูก้ ากับ ระดบั Basic
ยทุ ธศาสตร์ เปา้ หมายของ 1. นางวรรณภา บุตรวงศ์ - ระบุกระบวนการ
แผนปฏิบตั กิ ารประจาปฯี ที่ 2. นางนารรี ตั น์ แก้วศรี จดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการ
ตอบสนองแผนยทุ ธศาสตรช์ าติ ผรู้ ับผดิ ชอบ ของ สพท.
1. นางนารีรตั น์ แกว้ ศรี
แผนปฏบิ ตั ิการฯ ตอบสนอง 2. นางสาวสจุ ารี โพธิ์ศรที ตั ระดบั Advance
ความท้าทายในด้านพนั ธกิจ ของ ระดบั Significance
สพท./สพฐ. เช่น.......................... - ระบกุ จิ กรรม/โครงการ
ระบุช่อื กจิ กรรม/โครงการ อย่าง ทต่ี อบสนองความทา้
นอ้ ย 1 โครงการ) ทาย/สร้างขีด
ความสามารถ
สพท.มีแผนปฏบิ ัตกิ ารท่ี ในชอ่ งแสดงความ
ตอบสนองความทา้ ทายสร้าง คิดเหน็ ของระบบ
นวตั กรรม การเปลี่ยนแปลและ แนบเอกสาร
มุ่งเนน้ ประโยชน์สขุ ประชาชน - แนบภาพถา่ ยหนา้ ระบบ
สรา้ งขดี ความสามารถในการ emenscr ของ สพท.
แข่งขนั หรือสรา้ งโอกาสเชิงกล (หน้า M1)
ยทุ ธ์ิ เช่น................................. - แนบโครงการขออนมุ ตั ิ
ระบชุ ่ือกจิ กรรม/โครงการ ดาเนินการร่วมกนั กับ
อย่างน้อย 1 โครงการ) เครอื ข่าย
แนบไฟล์ในระบบ

-7

ตัวชวี้ ดั ระดบั การประเมินตนเอง

ระดบั ระดับ

Basic Advance

ประเด็น 2.2 เปา้ หมายสอด สพท.มีการกาหนด สพท.มกี ารกาหนดเปา้ หมาย

รับยทุ ธศาสตรช์ าติทง้ั ระยะสัน้ เปา้ หมาย และตวั ชีว้ ดั การ และตวั ชีว้ ัดการทางานของแผนท้งั แ

และระยะยาว ทางานของแผนท้งั แผนระยะ แผนระยะส้นั คือ แผนปฏิบตั กิ าร ท

สน้ั คือ แผนปฏบิ ตั กิ ารและ และแผนระยะยาว ก

แผนระยะยาว คอื แผน....... มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง/

................................ ผลกระทบและมีแผนรองรับความ ผ

เสีย่ งของผลกระทบ เช่น เส

ความเสยี่ งท่ีสาคัญ คอื ..................

ผลกระทบความเสย่ี งน้ี คือ........... เก

แผนรองรับความเสย่ี ง คือ........... เศ



เช



7-

ผูก้ ากบั /ผรู้ บั ผิดชอบจดั เก็บ หมายเหต/ุ เอกสาร
แนบระบบรายงาน
ระดบั ขอ้ มูลและรายงาน
ระดบั Basic
Significance - ระบุแผนระยะยาว
ระดับ Advance
สพท.มกี ารกาหนดเปา้ หมาย ผู้กากับ - ระบคุ วามเสี่ยงท่สี าคญั
ท่ี สพท.วิเคราะห์
และตวั ชว้ี ดั การทางานของแผน 1. นางวรรณภา บุตรวงศ์ - ผลกระทบที่ไดร้ ับ
- การจัดทาแผนรองรบั
ท้งั แผนระยะสนั้ คอื แผนปฏบิ ัติ 2. นางนารรี ตั น์ แก้วศรี ความเสีย่ ง ยกตัวอยา่ ง
ระดับ Significance
การและแผนระยะยาว ผู้รับผิดชอบ - ระบุผลกระทบที่ส่งผล
ต่อประเทศด้าน
มีการวเิ คราะห์ความเสยี่ ง/ 1. นางนารรี ตั น์ แก้วศรี เศรษฐกจิ /สงั คม/
สาธารณสุข/สิง่ แวดล้อม
ผลกระทบและมแี ผนรองรับความ 2. นางสาวสจุ ารี โพธ์ศิ รีทตั (เลือก 1 ด้าน)
- ระบุแผนรองรับ
สี่ยงของผลกระทบ ในช่องแสดงความ
คดิ เหน็ ของระบบ
มีการวิเคราะหผ์ ลกระทบท่ี แนบเอกสาร
- แนบเสนอความ
กิดขนึ้ ที่ส่งผลต่อประเทศดา้ น เหน็ ชอบในแผนระยะยาว
- โครงการขออนุมัติ
ศรษฐกิจ/สังคม/สาธารณสุข/ ดาเนินการตามแผนที่
วิเคราะห์ ยกตวั อย่าง
สิง่ แวดลอ้ ม - ในแผนมกี ารกาหนด
ตัวช้วี ัดท่สี าคญั ตอ่
ชน่ ......................................... ผลกระทบดงั กลา่ ว
แนบไฟล์ในระบบ
แผนรองรบั คอื ..........................

-8

ตัวชว้ี ดั ระดบั การประเมนิ ตนเอง

ประเด็น 2.3 แผนขบั เคลื่อน ระดบั ระดับ
ในทุกระดับและทุกภาคสว่ น Basic
Advance
แผนปฏิบัตกิ ารของ
สพท. สอดคล้องยุทธศาสตร์ แผนปฏบิ ตั กิ ารของ สพท.
ชาติ
สอดคลอ้ งยุทธศาสตร์ชาติ ส
มีการวางแผนการใช้
งบประมาณ การบรหิ ารงาน มีการวางแผนการใช้
การเงนิ บญั ชี พสั ดุ การ
ควบคุมและการตรวจสอบ งบประมาณ การบรหิ ารงาน ง
ภายใน
การเงนิ บัญชี พสั ดุ การควบคุม ก

และการตรวจสอบภายใน แ

แผนปฏบิ ัติการของ สพท.

มุ่งเน้นการลดต้นทุน เพิ่มความ ม

รวดเรว็ และสรา้ งคณุ คา่ ตอ่ ร

ผู้รบั บรกิ าร โดย ผ

- ใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั ปรบั ปรุง

กระบวนการดา้ นบรกิ าร เช่น........ ส

- ใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพื่อลดการ ย

ทาซา้ และลดความผดิ พลาด ของ -

กระบวนการทางาน เชน่ .............. อ

-

เท

-





8-

ระดบั ผกู้ ากบั /ผู้รับผิดชอบจดั เก็บ หมายเหตุ/เอกสาร
Significance ขอ้ มูลและรายงาน แนบระบบรายงาน

แผนปฏบิ ตั กิ ารของ สพท. ผู้กากบั ระดับ Basic
สอดคล้องยุทธศาสตร์ชาติ 1. นางวรรณภา บุตรวงศ์ - ดงึ หลักฐานจาก 2.1
2. นางนารีรตั น์ แก้วศรี ระดับ Advance
มีการวางแผนการใช้ 3. นางสาวณฏั ฐิกา สมบูรณ์ - ระบเุ ทคโนโลยีท่ใี ชล้ ด
งบประมาณ การบรหิ ารงาน 4. นางสาวกมนรตั น์ ปญั ญา ความผดิ พลาด
การเงนิ บัญชี พสั ดุ การควบคมุ 5. นางสาวสมนกึ แซอ่ ึ้ง - ระบุผลจากการใช้
และการตรวจสอบภายใน ผรู้ บั ผิดชอบ เทคโนโลยี
1. นางนารีรตั น์ แกว้ ศรี (เจา้ ภาพหลัก) ระดับ Significance
แผนปฏิบตั ิการของ สพท. 2. นางสาวสจุ ารี โพธ์ศิ รที ตั - ระบเุ ทคโนโลยดี ิจิทัล
มงุ่ เน้นการลดตน้ ทนุ เพิ่มความ 3. นางสาวณัฎฐกิ า สมบูรณ์ ท่ีใช้ในการปฏิบตั ิงาน
รวดเร็ว และสรา้ งคณุ คา่ ต่อ 4. นางสาวกมนรตั น์ ปญั ญา รว่ มกนั กบั หน่วยงานอน่ื
ผรู้ ับบริการ โดยใช้เทคโนโลยี 5. นางสาวสมนกึ แซ่อง้ึ ตามแผนบรู ณาการฯ
กจิ กรรม/โครงการทีจ่ ะต้องรายงาน ในช่องแสดงความ
แผนปฏิบตั กิ ารของ สพท. - แผนปฏิบัติการ คิดเห็นของระบบ
สนบั สนุนความสาเรจ็ ของ - แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
ยุทธศาสตร์ สพฐ./สพท. โดย
มกี ารบรู ณาการกับหน่วยงาน
อ่ืนเพอื่ เพม่ิ ขดี ความสามารถ
รองรับการเปลยี่ นแปลงดา้ น
ทคโนโลยี
นาระบบเทคโนโลยดี ิจิทลั มาใช้
ในการดาเนนิ งานร่วมกนั และใช้
ข้อมูลรว่ มกันในการปฏิบัตงิ าน

-9

ตวั ชว้ี ัด ระดบั ระดับการประเมนิ ตนเอง ต
Basic ด
ประเด็น 2.4 การตดิ ตามและ ระดบั
แกไ้ ขปัญหาที่รวดเร็ว มรี ะบบที่ สพท.ใชใ้ นการ Advance ก
ติดตาม และรายงานผลการ แ
ดาเนินงาน มีระบบที่ สพท.ใช้ในการ
ตดิ ตาม และรายงานผลการ
ดาเนินงาน

มรี ะบบหรือเทคโนโลยที ใ่ี ชใ้ น
การคาดการณด์ าเนินงานตามแผน
เช่น.............................

เช


Click to View FlipBook Version