ชดุ การสอน
เร่อื ง
สทิ ธิของผ้บู รโิ ภค
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3
นางสมหมาย พงศเ์ ศรษฐ์กลุ
ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ
โรงเรยี นหาดใหญ่วิทยาลัย อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา
สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 16
2
บตั รคาสงั่
ชดุ การสอนท่ี 1
เรื่องสิทธิผบู้ ริโภค
1. ใหน้ กั เรียนศึกษาบตั รเน้ือหาเป็นรายบุคคล
2. ตอบคาํ ถามจากบตั รคาํ ถามลงในบตั รคาํ ตอบ ทาํ เป็นรายบุคคล
3. ร่วมกนั ทาํ บตั รกิจกรรมเป็นรายกลุ่ม
4. ร่วมกนั คิดและอภิปรายหาขอ้ ยตุ ิกรณีศึกษา
5. เกบ็ ผลงานทุกชิ้นส่งครูผสู้ อน
3
บตั รเน้ือหาที่ 1
ความหมายของผบู้ ริโภค
ผ้บู ริโภค
หมายความว่า ผซู้ อ้ื หรอื ผไู้ ดร้ บั บรกิ ารจากผปู้ ระกอบธุรกจิ หรอื ผซู้ ง่ึ ไดร้ บั การ
เสนอ หรอื ชกั ชวนจากผปู้ ระกอบธรุ กจิ เพอ่ื ใหซ้ อ้ื สนิ คา้ หรอื รบั บรกิ าร และหมายความรวมถงึ
ผใู้ ชส้ นิ คา้ หรอื ผไู้ ดร้ บั บรกิ ารจากผปู้ ระกอบธุรกจิ โดยชอบ แมม้ ไิ ดเ้ สยี ค่าตอบแทนกต็ าม
ผซู้ ้ือ
ผไู้ ดร้ ับบริการ
ผไู้ ดร้ ับการเสนอ/ชกั ชวนให้ซ้ือ
ผไู้ ดร้ ับการเสนอ/ชกั ชวนใหร้ ับบริการ
ผใู้ ช/้ ผรู้ ับบริการจากผปู้ ระกอบธุรกิจ
แมไ้ ม่เสียค่าตอบแทนกต็ าม
ท่ีมา : สาํ นกั งานคณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภค สาํ นกั นายกรัฐมนตรี ร่วมกบั สาํ นกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (มพป. : 23)
4
บตั รคาํ ถามท่ี 1
เรื่อง
ความหมายของผ้บู ริโภค
จากเหตุการณ์ข้างล่างนีใ้ ห้นักเรียนพจิ ารณาว่าบุคคลดังกล่าวเป็ นผู้บริโภคหรือไม่
เพราะเหตุใด
1. สุดาเป็นพนกั งานขายเครื่องสาํ อางคย์ หี่ อ้ หน่ึง ไดน้ าํ เครื่องสาํ อางยห่ี อ้ ดงั กล่าวให้
สมพรทดลองใชโ้ ดยกล่าววา่ หากใชแ้ ลว้ ถูกใจจะนาํ มาจาํ หน่าย แต่สมพรใชแ้ ลว้
ไม่ถูกใจ สมพรจดั เป็นผบู้ ริโภคหรือไม่
…………………………………………………………………………………………………..
2. สาํ แดงซ้ือตวั๋ ดูหนงั ที่โรงภาพยนตร์โคลีเซียมพทั ลุง สาํ แดงจดั เป็นผบู้ ริโภค
หรือไม่
………………………………………………………………………………………………..
3. สมสุขนาํ รถจกั รยานยนตไ์ ปจอดไวท้ ่ีหา้ งสรรพสินคา้ และไปรับแฟนที่ทาํ งานอยทู่ ่ี
ขา้ งหา้ งสรรพสินคา้
สมสุขเป็นผบู้ ริโภคของหา้ งสรรพสินคา้ หรือไม่
…………………………………………………………………………………………………
5
บตั รคาํ ตอบที่ 1
ขอ้ 3. ตอบ สมสุขไม่เป็นผบู้ ริโภค
เพราะ สมสุข ไม่ใช่ผซู้ ้ือและผรู้ ับบริการ แค่นาํ รถไปจอดไวเ้ ท่าน้นั
ขอ้ 1 . ตอบ สมพรเป็นผบู้ ริโภค
เพราะ เป็นผไู้ ดร้ ับการเสนอชกั ชวนใหซ้ ้ือ
ขอ้ 2. ตอบ สาํ แดงเป็นผบู้ ริโภค
เพราะเป็นผไู้ ดร้ ับบริการ
6
บตั รเน้ือหาท่ี 2
การสร้างทรัพยากรบุคคลใหม้ ีคุณภาพ จาํ เป็นตอ้ งคุม้ ครองประชาชน ให้
ไดร้ ับความปลอดภยั
ในการบริโภคสินคา้ และบริการ รัฐบาลมีหนา้ ที่คอยปกป้องคุม้ ครองสิทธิ
ต่างๆ ของประชาชน จึงไดต้ รากฎหมายคุม้ ครองสิทธิต่างๆ ของประชาชน ทาํ ให้
ประชาชนซ่ึงเป็นผูบ้ ริโภค ไดท้ ราบและตระหนกั ในสิทธิและหนา้ ที่ของตน ท่ี
เป็นผบู้ ริโภค
ในการดาํ รงชีวิตประจาํ วนั รวมท้งั หน้าที่ที่ควรตรวจสอบสินคา้ และ
บริการที่ผลิตและเสนอขาย ในตลาดดว้ ยคุณภาพที่ดี ขายแก่ผูบ้ ริโภคในราคา
และคุณภาพที่ยุติธรรม นอกจากน้ียงั สร้างความเข้าใจให้ประชาชนในฐานะ
ผูบ้ ริโภค ได้ทราบถึงความสําคญั ถึงการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคเพ่ือติดตามผูผ้ ลิต
ผูจ้ าํ หน่ายสินคา้ และบริการ ถา้ เห็นผูใ้ ดท่ีมีพฤติกรรมที่ไม่ซ่ือตรง เอารัด เอา
เปรียบ ไม่มีความเป็ นธรรม จะไดช้ ่วยกนั ต่อตา้ น ไม่ซ้ือสินคา้ น้นั ๆ และแจง้ ให้
เจา้ หนา้ ที่คุม้ ครองผบู้ ริโภคทราบ เพ่อื ดาํ เนินการตามกฎหมายต่อไป
ท่ีมา : ดาํ รงศกั ด์ิ ชยั สนิท และสุนี เลิศแสวงกิจ (2538 : 3)
7
บตั รคาํ ถามท่ี 2
.....................................................................
1.นกั เรียนในฐานะท่ีเป็นผบู้ ริโภคคิดวา่ กฎหมายคุม้ ครองผบู้ ริโภคมีประโยชนต์ ่อ
นกั เรียนและผบู้ ริโภคหรือไม่ อยา่ งไร
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
2. เม่ือนกั เรียนถูกเอาเปรียบจากผผู้ ลิต หรือผจู้ าํ หน่าย นกั เรียนควรวางเฉยหรือไม่และ
ควรปฏิบตั ิอยา่ งไร
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
8
บตั รคาํ ตอบที่ 2
ขอ้ 1. ตอบ มีประโยชนต์ ่อผบู้ ริโภค
เพราะ ผบู้ ริโภคจะไดซ้ ้ือสินคา้ ท่ี มีคุณภาพ ราคายตุ ิธรรม ไม่ถูกเอาเปรียบ
จากผผู้ ลิต
ขอ้ 2. ตอบ ไม่ควรวางเฉย
ควรแจง้ ใหเ้ จา้ หนา้ ที่คุม้ ครองผบู้ ริโภคดาํ เนินการตามกฎหมาย
9
บตั รเน้ือหาที่ 3
“สิทธิผู้บริโภคข้อที่ 1’’ ตามพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองผบู้ ริโภค พ.ศ. 2522 ซ่ึงแกไ้ ข
เพิม่ เติมโดยพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองผบู้ ริโภค (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2541 บญั ญตั ิวา่
ขอ้ 1. สทิ ธิท่ีจะไดร้ บั ข่าวสารรวมทง้ั คาพรรณนาคณุ ภาพท่ีถกู ตอ้ งและ
เพยี งพอเก่ยี วกบั สนิ คา้ หรอื บรกิ าร
หมายถึง สิทธิที่จะไดร้ ับการโฆษณาหรือการแสดงฉลากตามความเป็นจริง และ
ปราศจากพษิ ภยั แก่ผบู้ ริโภค รวมตลอดถึงสิทธิที่จะไดร้ ับทราบขอ้ มูลเก่ียวกบั สินคา้ และ
บริการอยา่ งถูกตอ้ งและเพียงพอที่จะไม่หลงผดิ ในการซ้ือสินคา้ หรือรับบริการโดยไม่
เป็ นธรรม
ท่ีมา : ดาํ รงศกั ด์ิ ชยั สนิท และ สุนี เลิศแสวงกิจ (2538 :7)
10
บคุ คลซึ่งเป็ นผูบ้ ริโภคมีสิทธิท่ีจะ บคุ คลซ่ึงเป็ นผูบ้ ริโภคมี
ไดร้ บั ทราบรายละเอียดเก่ียวกบั ฉลาก สิทธิท่ีจะไดร้ บั ทราบรายละเอียด
สินคา้ ที่เพียงพอที่จะไม่ทาใหเ้ กิดความ เกี่ยวกบั การโฆษณาสินคา้ หรือ
เขา้ ใจผิดในการซ้ือสินคา้ เช่น บริการ เช่น
** ชื่อประเภทหรือชนิดของสินคา้ ** การใชข้ อ้ ความท่ีเป็ นธรรมตอ่
** ช่ือท่ีอยผู่ ปู้ ระกอบการ ผบู้ ริโภค
** ขนาด ปริมาณ ปริมาตร น้าํ หนกั ** ไม่ใชข้ อ้ ความที่เป็นเทจ็ หรือเกิน
** วธิ ีใช้ ความจริง
** ขอ้ แนะนาํ ในการใช้ / ขอ้ หา้ มใช้ ** ไมใ่ ชข้ อ้ ความท่ีอาจก่อใหเ้ กิด
** คาํ เตือน ความเขา้ ใจผดิ ในสาระสาํ คญั
** วนั เดือนปี ที่ผลิตหรือหมดอายุ เก่ียวกบั สินคา้ หรือบริการ
** ราคาที่ระบุหน่วยเป็นบาท **ไม่ใชข้ อ้ ความที่เป็นการ
สนบั สนุนโดยตรง/ โดยออ้ มให้
กระทาํ ผดิ กฎหมาย
** ไม่ใชข้ อ้ ความท่ีก่อใหเ้ กิดความ
แตกแยกแตกแยก / เสื่อมเสียความ
สามคั คีในหมู่ประชาชน
ท่ีมา : สาํ นกั งานคณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภค สาํ นกั นายกรัฐมนตรี ร่วมกบั สาํ นกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ( มปพ. : 9)
11
บตั รคาํ ถามท่ี 3
เร่ือง
สิทธิของผู้บริโภค
...........................................................................
1. สิทธิขอ้ ที่ 1 กล่าววา่ อยา่ งไร
........................................................................................................................
2. ฉลากสินคา้ ควรมีขอ้ ความใดระบุบา้ งเพอ่ื ไม่ใหม้ ีความเขา้ ใจผดิ
เก่ียวกบั สินคา้ น้นั
........................................................................................................................
3. การโฆษณาขายสินคา้ และบริการมีหลายช่องทางดว้ ยกนั ใหน้ กั เรียน
ยกตวั อยา่ งช่องทางการโฆษณาที่นกั เรียนพบเห็นในชีวติ ประจาํ วนั มา
3 ช่องทาง
........................................................................................................................
4. ผปู้ ระกอบการที่ดีควรโฆษณาขายสินคา้ ท่ีมีขอ้ ความลกั ษณะดงั น้ีคือ
........................................................................................................................
5. การโฆษณาที่กล่าววา่ “ยาชนิดมีตวั ยาพเิ ศษ เม่ือรับประทานแลว้ โรคภยั ไข้
เจบ็ จะหายในทนั ที ” เป็นคาํ กล่าวที่ละเมิดสิทธิของผบู้ ริโภคหรือไม่
เพราะเหตุใด
....................................................................................................................................
12
บตั รคาํ ตอบที่ 3
คาส่ัง ให้นักเรียนตรวจคาตอบจากบตั รเฉลยด้วยความซื่อสัตย์
และบันทกึ คะแนนไว้เพ่ือแจ้งให้ครูผู้สอนทราบ
……………………………………………………
ขอ้ 4. ตอบ 1. การใชข้ อ้ ความที่เป็นธรรมต่อผบู้ ริโภค
2. ไมใ่ ชข้ อ้ ความที่เป็นเทจ็ หรือเกินความจริง
3. ไมใ่ ชข้ อ้ ความที่อาจก่อใหเ้ กิดความเขา้ ใจผดิ ในสาระสาํ คญั เกี่ยวกบั สินคา้ หรือ
บริการ
4. ไมใ่ ชข้ อ้ ความที่เป็นการสนบั สนุนโดยตรง/โดยออ้ ม
ใหก้ ระทาํ ผดิ กฎหมาย
5. ไม่ใชข้ อ้ ความท่ีก่อใหเ้ กิดความแตกแยก
ขอ้ 3. ตอบ โทรทศั น์ วทิ ยุ สิ่งพิมพ์ อินเตอร์เน็ต เครื่องขยายเสียง ฯลฯ
ขอ้ 2. ตอบ 1. ช่ือประเภทหรือชนิดของสินคา้
2. ช่ือที่อยผู่ ปู้ ระกอบการ
3. ขนาด ปริมาณ ปริมาตร น้าํ หนกั
4. วธิ ีใช้
5. ขอ้ แนะนาํ ในการใช้ / ขอ้ หา้ มใช้
6. คาํ เตือน
7. วนั เดือนปี ท่ีผลิตหรือวนั หมดอายุ
8. ราคาท่ีระบุหน่วยเป็ นบาท
ขอ้ 1. ตอบ สิทธิท่ีจะไดร้ ับข่าวสารรวมท้งั คาํ พรรณนาคุณภาพที่ถูกตอ้ งและเพยี งพอเก่ียวกบั
สินคา้ หรือบริการ
ขอ้ 5. ตอบ ถูกละเมิด เพราะเป็นการโฆษณาเกินความจริง
13
บตั รกิจกรรมท่ี 1
เร่ือง : การโฆษณา
คาสั่ง 1.ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มหาขอ้ ความโฆษณาทางหนงั สือพิมพ์ หรือนิตยสารท่ีเห็น
วา่ ไม่เป็นธรรมต่อผบู้ ริโภค หรือมีรายละเอียดในโฆษณาไมค่ รบถว้ นตอ่ การ
พจิ ารณาเลือกซ้ือสินคา้ หรือใชบ้ ริการ
2. แลว้ ติดขอ้ ความลงในกระดาษ
3. ช่วยกนั ระดมความคิดเพือ่ อธิบายวา่
- ไม่ครบถว้ นอยา่ งไร
- ไมเ่ ป็นธรรมอยา่ งไร
14
บตั รเน้ือหาท่ี 4
สิทธิน้ีของเราอยา่ ใหเ้ ขาเอาเปรยี บ
“สิทธิผู้บริโภคข้อท่ี 2’’ ตามพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองผบู้ ริโภค พ.ศ. 2522 ซ่ึงแกไ้ ข
เพิม่ เติมโดยพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองผบู้ ริโภค (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2541 บญั ญตั ิว่า
ขอ้ 2. สทิ ธทิ ่จี ะมีอสิ ระในการเลอื กหาสนิ คา้ หรอื บรกิ าร
หมายถึงผูบ้ ริโภคไดร้ ับทราบรายละเอียดเกี่ยวกบั ขอ้ มูลของสินคา้ หรือบริการ
หรือรายละเอียดเก่ียวกบั การโฆษณาสินคา้ หรือบริการผบู้ ริโภคมีสิทธิเลือกซ้ือสินคา้ หรือ
บริการโดยความสมคั รใจและมีอิสระในการตดั สินใจโดยปราศจากการชกั จูงใจอนั ไม่
เป็นธรรมท้งั ปวง เช่น การเลือกสินคา้ โดยเปรียบเทียบขนาดบรรจุ หรือเลือกใชบ้ ริการ
โดยเปรียบเทียบราคา เป็นตน้
ท่ีมา : สาํ นกั งานคณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภค สาํ นกั นายกรัฐมนตรี ร่วมกบั สาํ นกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ( มปพ. : 10)
15
ตวั อยา่ งมใี หเ้ ห็น อยา่ เป็ นเชน่ เขา
ตวั อยา่ งของการถูกละเมดิ สทิ ธิขอ้ ที่ 2
** ห้างสรรพสนิ ค้าซเู ปอร์บูมจัดโปรโมช่ันลดราคาเคร่ืองป่ันนา้ ผลไม้เหลือเพียงเคร่ืองละ
200 บาท แต่ไม่อนุญาตให้ลูกค้าลองเคร่ือง และเม่อื ซ้ือแล้วไม่รับเปล่ียนหรือคนื สนิ ค้า
** ชูใจไปเลือกซ้ือผ้ารัดผมอเนกประสงค์ตามท่รี ้านดวงแก้วบิวต้ีได้โฆษณาไว้ว่าสามารถใช้
เกล้าผมได้ถึง 20 แบบ เม่อื ชูใจขอให้ทางร้านทดลองสนิ ค้าดังกล่าวให้ดูก่อนซ้ือ
ปรากฏว่าไม่สามารถเกล้าผมได้ตามท่โี ฆษณา ชูใจจึงปฏเิ สธท่จี ะซ้ือผ้ารัดผมดังกล่าว
แต่ทางร้านดวงแก้วบิวต้ไี ม่ยอม โดยบังคับให้ชูใจต้องซ้ือผ้ารัดผมเส้นน้ันไป โดยอ้างว่า
ชูใจได้แกะห่อผ้ารัดผมแล้ว
** อนงค์ได้รับจดหมายแจ้งว่าเป็นผู้โชคดีได้รับนาฬกิ าฟรี โดยเม่ือเดนิ ทางไปรับนาฬิกา
ดงั กล่าว กลับถูกบริษัทฯ ใช้เล่ห์อุบายหว่านล้อมแกมบังคับให้ซ้ือเคร่ืองกรองนา้
ซ่ึงราคาสงู กว่าท้องตลาดถงึ 4 เทา่
16
ฉลาดซื้อเป็ นมืออาชีพ
หลกั การซ้ือสินคา้ ควรคาํ นึงถึงประโยชนท์ ี่จะไดร้ ับเป็นสาํ คญั และควรซ้ืออยา่ ง
ระมดั ระวงั เพ่ือใหเ้ กิดความพอใจมากที่สุดและจะไดส้ ินคา้ ท่ีคุณภาพ ราคาประหยดั ควร
มีหลกั ในการซ้ือดงั น้ี
1. ซ้ือตามความจาํ เป็นอยา่ งแทจ้ ริง ไม่ซ้ือเพราะความอยากได้
2. สาํ รวจราคาเพ่ือเปรียบเทียบ ปัจจุบนั สินคา้ มีการแข่งขนั กนั มากผบู้ ริโภคควร
สาํ รวจราคาสินคา้ จากแหล่งต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบราคาและคุณภาพ
3. คุณภาพของสินคา้ คุณภาพของสินคา้ ไม่อยทู่ ี่ราคาถูกหรือแพงแต่อยทู่ ่ี
ประโยชนว์ า่ สามารถตอบสนองความตอ้ งการของผูบ้ ริโภคไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด เช่น บาง
คนคุณภาพอยทู่ ี่ความคงทน บางคนคุณภาพอยทู่ ี่กลไกสลบั ซบั ซอ้ น บางคนคุณภาพอยู่
ที่ความสวยงาม ดงั น้นั การซ้ือสินคา้ ของแต่ละคนจึงควรพิจารณาในแง่คุณภาพสาํ หรับ
ตนเองดว้ ย
4. การใหบ้ ริการ การซ้ือสินคา้ บางประเภทตอ้ งคาํ นึงถึงความต่อเน่ืองดว้ ย
เพราะการซ่อมแซม การควบคุมดูแลตามกาํ หนด ผบู้ ริโภคไม่สามารถทาํ เองได้ ตอ้ ง
อาศยั การบริการของผขู้ าย
5. เวลาที่จะซ้ือและฤดูกาลของสินคา้ โดยเฉพาะสินคา้ เกษตร สินคา้ และบริการ
บางอยา่ งจะแตกต่างกนั ตามช่วงเวลา เช่นสินคา้ เกษตร การท่องเท่ียวในฤดูร้อนจะแพง
กวา่ ฤดูฝน
6. ปริมาณการซ้ือ สินคา้ บางอยา่ งซ้ือนอ้ ยชิ้นราคาจะสูงกวา่ ซ้ือเป็นชุด หาก
ซ้ือปริมาณมากเป็นปัญหา ผบู้ ริโภคอาจจะใชว้ ธิ ีรวมกลุ่มกนั ซ้ือสินคา้
ท่ีมา : ไพรินทร์ แยม้ จินดา และสมบตั ิ วรินทรนุวตั ร (2542 : 48 – 49)
17
บตั รคาถามท่ี 4
เร่ือง
สิทธิของผู้บริโภคข้อที่ 2
…………………………………………………
1. สิทธิของผบู้ ริโภคขอ้ ท่ี 2 กล่าวไวอ้ ยา่ งไร
....................................................................................................................................
2. จากตวั อยา่ งการละเมิดสิทธิขอ้ ท่ี 2 นกั เรียนเคยถูกละเมิดสิทธิในลกั ษณะแบบ
น้ีหรือไม่ อยา่ งไร
......................................................................................................................................
18
บัตรคาตอบท่ี 4
คาสั่ง ให้นักเรียนตรวจคาตอบจากบตั รเฉลยด้วยความซ่ือสัตย์
และบันทึกคะแนนไว้เพ่ือแจ้งให้ครูผู้สอนทราบ
……………………………………………………
ขอ้ 1. ตอบ สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินคา้ หรือบริการ
ขอ้ 2. ตอบ คาํ ตอบในขอ้ ที่ 2 ใหน้ าํ มาบรรยายใหเ้ พือ่ นในช้นั ไดร้ ับทราบ
19
บตั รกจิ กรรมที่ 2
เรื่อง : ฉลาดคดิ ฉลาดซื้อ
คาส่ัง 1. ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มเลือกสินคา้ ที่สนใจกลุ่มละ 1 ชนิด
ตัวอย่าง 2. วาดภาพสินคา้ ท่ีเลือกจากขอ้ 1.
3. บอกวธิ ีการเลือกซ้ือสินคา้ ที่เลือกในขอ้ 1.
…………………………………………………………………………..
1. สินคา้ ที่เลือก นมกล่อง
2. วาดภาพ
3. วธิ ีการเลือกซ้ือนม
1. ดูปริมาณสารอาหารวา่ เหมาะสมกบั ตวั เองหรือไมถ่ า้ เด็กๆควรมี
โปรตีนและแคลเซียมปริมาณมาก ถา้ ผสู้ ูงอายคุ วรพร่องมนั เนย
2. ดูปริมาณขา้ งกล่องเพื่อเปรียบเทียบกบั ยห่ี อ้ อ่ืน ๆ
3. ดูราคาเพื่อเปรียบเทียบกบั ยห่ี อ้ อ่ืน ๆ
4. ลกั ษณะของกล่องปกติไมบ่ วม
5. ติดตามขา่ ววา่ มีสารเมลามีนปนเป้ื อนหรือไม่
6. ดูวนั หมดอายุ
20
บัตรเนื้อหาท่ี 5
ฉลาดคิด
จิตมน่ั คง
“สิทธิผ้บู ริโภคข้อท่ี 3’’ ตามพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองผบู้ ริโภค พ.ศ. 2522 ซ่ึงแกไ้ ข
เพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองผบู้ ริโภค (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2522 บญั ญตั ิวา่
ขอ้ 3. สทิ ธิท่จี ะไดร้ บั ความปลอดภยั จากการใชส้ นิ คา้ หรอื บรกิ าร
หมายถึง การที่ผูบ้ ริโภคใชส้ ินคา้ หรือบริการใดกต็ ามสินคา้ หรือบริการน้นั ตอ้ ง
มีสภาพและคุณภาพไดม้ าตรฐานเหมาะสมแก่การใช้ และไม่ก่อใหเ้ กิดอนั ตรายต่อชีวติ
ร่างกาย หรือทรัพยส์ ินในกรณีใชต้ ามคาํ แนะนาํ หรือระมดั ระวงั ตามสภาพของสินคา้
หรือบริการน้นั แลว้ เช่น ผบู้ ริโภคซ้ือรถยนตม์ าแลว้ ยอ่ มจะตอ้ งไดร้ ับความปลอดภยั จาก
การใชร้ ถยนตค์ นั น้นั หรือผบู้ ริโภคใชบ้ ริการสถานเสริมความงาม ยอ่ มประสงคจ์ ะไดร้ ับ
การบริการใหใ้ บหนา้ และร่างกายมีความงาม พร้อมท้งั จะตอ้ งไดร้ ับความปลอดภยั ต่อ
ชีวติ หรือร่างกายจากการเสริมความงามดงั กล่าวดว้ ย
ท่ีมา : สาํ นกั งานคณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภค สาํ นกั นายกรัฐมนตรี ร่วมกบั สาํ นกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ( มปพ. : 11)
21
ดูดีดีมีตวั อย่าง
ตวั อย่างของการถูกละเมดิ สิทธิข้อที่ 3
** มาลยั ใชบ้ ริการนวดหนา้ จากรา้ นสมใจ แตเ่ ม่ือกลบั ถึงบา้ น
ปรากฏวา่
ใบหนา้ ลอกเป็นขุยและมีเลือดซึมบริเวณขอบจมูกและริมฝีปาก
** มธุรสซ้ือพดั ลมไฟฟา้ มาใช้ ปรากฏวา่ เม่ือใชไ้ ป 2 วนั เกิดไฟฟา้ ร่วั
ทาใหไ้ ฟไหมบ้ า้ น
** เอกภพซ้ือน้าด่ืมบรรจุขวดมาบริโภค ปรากฏวา่ กอ่ นเปิด
เอกภพสงั เกตเห็นมีเศษแกว้ ขนาดเล็กตกตะกอนอยูก่ น้ ขวด
** ไพฑูรยซ์ ้ือนมสดมาด่ืม เม่ือเปิดขวดนมพบวา่ นมนัน้ มีฟองข้ึน
และมีกล่ินเหม็นบูดทงั้ ท่ีในฉลากระบุวา่ ยงั ไมถ่ ึงวนั หมดอายุ
22
บตั รคาํ ถามท่ี 5
เรื่อง
สิทธิของผู้บริโภคข้อท่ี 3
...............................................................................
1. สิทธิการคุม้ ครองผบู้ ริโภคขอ้ ท่ี 3 กล่าววา่ อยา่ งไร
..............................................................................................................
2. จากคาํ ตอบขอ้ ที่ 1. ความปลอดภยั ครอบคลุมไปถึงเรื่องใดบา้ ง
..............................................................................................................
23
บตั รคาํ ตอบที่ 5
คาสั่ง ให้นักเรียนตรวจคาตอบจากบตั รเฉลยด้วยความซื่อสัตย์
และบันทกึ คะแนนไว้เพ่ือแจ้งให้ครูผ้สู อนทราบ
......................................................................................................
ขอ้ 1. ตอบ สิทธิท่ีจะไดร้ ับความปลอดภยั จากการใชส้ ินคา้ หรือบริการ
ขอ้ 2. ตอบ ทวนคาํ ถาม
2.1 คุณภาพไดม้ าตรฐานเหมาะสมแก่การใช้
2.2 ไม่ก่อใหเ้ กิดอนั ตรายต่อชีวติ ร่างกาย หรือทรัพยส์ ิน
24
บตั รกิจกรรมที่ 3
เร่ือง : พฤตกิ รรมการบริโภค
คาส่ัง นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มระดมความคิดตามหวั ขอ้ ขา้ งล่างน้ี
1. นกั เรียนในแต่ละกลุ่มบนั ทึกรายการบริโภคสินคา้ ในแตล่ ะวนั กลุ่มละ 10 รายการ
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
2. นาํ สินคา้ ที่บนั ทึก 10 รายการมาวเิ คราะห์วา่ สินคา้ รายการใดก่อให้เกิดอนั ตรายกบั
นกั เรียน
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
ช่ือกลุ่ม.................................................................................................................................................
ชื่อสมาชิก............................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
25
บตั รเน้ือหาที่ 6
ทาํ สญั ญา
ดว้ ยปัญญา
ขอ้ ๔. สทิ ธทิ ่จี ะไดร้ บั ความเป็นธรรมในการทาสญั ญา
หมายถึง เมื่อผบู้ ริโภคมีความตอ้ งการท่ีจะทาํ สญั ญาผกู พนั ตนเองต่อผปู้ ระกอบ
ธุรกิจแลว้ ขอ้ สญั ญาท่ีผปู้ ระกอบกิจทาํ ข้ึนตอ้ งเป็นขอ้ สญั ญาที่ไม่เอาเปรียบผบู้ ริโภค ซ่ึง
ปัจจุบนั มีธุรกิจท่ีสาํ นกั งานคณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภคประกาศใหเ้ ป็นธุรกิจท่ี
ควบคุมสญั ญา ไดแ้ ก่
* ธุรกิจบตั รเครดิต (ถา้ เปล่ียนแปลงดอกเบ้ียหรือเบ้ียปรับ ตอ้ งแจง้ ภายใน 30 วนั )
* ธุรกิจใหเ้ ช่าซ้ือรถยนตแ์ ละรถจกั รยานยนต(์ กรณีผดิ นดั คา้ งชาํ ระ 3 งวดติดตอ่ กนั ตอ้ ง
มีหนงั สือแจง้ ใหช้ าํ ระอยา่ งนอ้ ย 30 วนั )
* ธุรกิจขายหอ้ งชุด (ระบุตาํ แหน่งท่ีดิน เลขท่ีโฉนด จาํ นวนพ้ืนท่ี)
* ธุรกิจการใหบ้ ริการโทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ี(ระบุอตั ราการใชบ้ ริการ ถา้ ผดิ นดั หา้ มเรียกเบ้ีย
ปรับเกิน 15% ต่อปี )
* ธุรกิจใหก้ ยู้ มื เงินเพื่อผบู้ ริโภคของสถาบนั การเงิน(เปลี่ยนแปลงดอกเบ้ียตอ้ งแจง้ ให้
ผบู้ ริโภคทราบล่วงหนา้ กรณีผดิ สัญญา ก่อนยกเลิกสัญญาตอ้ งแจง้ ใหผ้ บู้ ริโภคทราบก่อน)
26
* ธุรกิจให้เช่าซ้ือเครื่องใช้ไฟฟ้า(บอกรายละเอียดเก่ียวกับสินค้า การยกเลิกสัญญา
ตอ้ งแจง้ ใหท้ ราบก่อนไม่นอ้ ยกวา่ 30 วนั )
และไดป้ ระกาศใหม้ ีธุรกจิ ทคี่ วบคุมรายการในหลกั ฐานการรับเงนิ ไดแ้ ก่
* ธุรกิจขายก๊าชหุงตม้ ท่ีเรียกเงินประกันถังก๊าชหุงตม้ ( ระบุช่ือ ท่ีอยู่ของผูข้ าย
ลงลายมือชื่อผรู้ ับเงิน จาํ นวนเงินประกนั และระบุคาํ วา่ ผบู้ ริโภคมีสิทธิรับเงินประกนั คืน)
* ธุรกิจซ่อมรถยนต์(ต้องระบุรายการท่ีซ่อม ค่าแรง ค่าอะไหล่ สภาพของอะไหล่
ระยะทางการใชร้ ถในวนั ท่ีรับมอบ และวนั ท่ีซ่อมเสร็จ)
ซ่ึงการทาํ สัญญากบั ผูป้ ระกอบธุรกิจน้นั ผูบ้ ริโภคย่อมได้รับความเป็ นธรรม เช่น
สัญญาบตั รเครดิตท่ีมีขอ้ สัญญาว่า การเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการใช้บตั ร ค่าธรรมเนียม
ค่าบริการ ดอกเบ้ียคา้ งชาํ ระ ผูป้ ระกอบธุรกิจไม่ตอ้ งแจง้ ให้ทราบล่วงหน้า ผูป้ ระกอบ
ธุรกิจยกเลิกสัญญาการใชบ้ ตั รเครดิตเมื่อใดกไ็ ดโ้ ดยไม่แจง้ เหตุผลใหผ้ ูบ้ ริโภคทราบไม่มี
การระบุสิทธิของผูบ้ ริโภคในการขอยกสัญญาบัตรเครดิต ข้อสัญญาเหล่าน้ีถือว่า
ไม่เป็นธรรมต่อผบู้ ริโภค
ที่มา : สาํ นกั งานคณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภค สาํ นกั นายกรัฐมนตรี ร่วมกบั สาํ นกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ( มปพ. : 12)
27
บตั รคาํ ถามที่ 6
เร่ือง
สิทธิของผ้บู ริโภคข้อท่ี 4
..........................................................................
1. สิทธิการคุม้ ครองผบู้ ริโภคขอ้ ที่ 4 กล่าววา่ อยา่ งไร
......................................................................................................................
2. บุษบาซ้ือรถยนต์ ทาํ สัญญาผอ่ นชาํ ระ 72 งวด ผอ่ นชาํ ระได้ 15 งวด
ขาดผอ่ นชาํ ระ 3 งวดติดต่อกนั บริษทั ยดึ รถคืนและยกเลิกสญั ญาไดห้ รือไม่
.....................................................................................................................
3. สุวนนั ประกอบธุรกิจขายกา๊ ซหุงตม้ สุวมิ ลซ้ือก๊าซหุงตม้ 1 ถงั จ่ายเงินประกนั
800 บาท ใชม้ าแลว้ เป็นเวลา 3 ปี ไดย้ า้ ยไปอยตู่ ่างจงั หวดั จึงคืนถงั ก๊าซแก่สุวนนั
สุวนนั จ่ายเงินประกนั ถงั กา๊ ซให้ 500 บาท อา้ งวา่ ถงั ก๊าซเก่าแลว้ เพราะใชม้ า 3 ปี แลว้
กรณีน้ี สุวมิ ลไดร้ ับความเป็นธรรมหรือไม่
.....................................................................................................................
4. ธุรกิจท่ีควบคุมสัญญามีธุรกิจอะไรบา้ ง
.....................................................................................................................
28
บตั รคาํ ตอบท่ี 6
คาสั่ง ให้นักเรียนตรวจคาตอบจากบัตรเฉลยด้วยความซื่อสัตย์
และบนั ทึกคะแนนไว้เพ่ือแจ้งให้ครูผู้สอนทราบ
…………………………………………………..
ขอ้ 1. ตอบ สิทธิที่จะไดร้ ับความเป็นธรรมในการทาํ สญั ญา
ขอ้ 4. ตอบ ธุรกิจที่ควบคุมสญั ญา ไดแ้ ก่
1. ธุรกิจบตั รเครดิต
2. ธุรกิจใหเ้ ช่าซ้ือรถยนตแ์ ละรถจกั รยานยนต์
3. ธุรกิจขายหอ้ งชุด
4. ธุรกิจการใหบ้ ริการโทรศพั ทเ์ คล่ือนท่ี
5. ธุรกิจใหก้ ยู้ มื เงินเพอื่ ผบู้ ริโภคของสถาบนั การเงิน
6. ธุรกิจใหเ้ ช่าซ้ือเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า
7. และไดป้ ระกาศใหม้ ีธุรกิจที่ควบคุมรายการในหลกั ฐานการ
รับเงินไดแ้ ก่
7.1 ธุรกิจขายกา๊ ชหุงตม้ ท่ีเรียกเงินประกนั ถงั กา๊ ชหุงตม้
7.2 ธุรกิจซ่อมรถยนต์
ขอ้ 2. ตอบ ไม่ได้ ตอ้ งแจง้ ใหบ้ ุษบาไปชาํ ระเงินภายใน 30 วนั หลงั จาก
ขาดชาํ ระ 3 งวด
ขอ้ 3. ตอบ ไมไ่ ดร้ ับความเป็นธรรม สุวมิ ลตอ้ งไดเ้ งินประกนั คืนท้งั จาํ นวนคือ
800 บาท ตามสัญญา ในใบเสร็จรับเงิน
29
บตั รกิจกรรมท่ี 4
สัญญาเป็ นพษิ
คาชี้แจง นกั เรียนในกลุ่มช่วยกนั ระดมความคิดถึงปัญหาที่เกิดข้ึนในชุมชนของนกั เรียน
ในเรื่องการถูกเอาเปรียบทางดา้ นสัญญา แลว้ นาํ มาจดั เรียงลาํ ดบั โดยนาํ ปัญหา
ที่พบบ่อยเป็นลาํ ดบั ที่ 1 และปัญหาที่พบนอ้ ยเป็นลาํ ดบั สุดทา้ ย
ปัญหาที่พบ
1.........................................................................................................................
2.........................................................................................................................
3........................................................................................................................
4.........................................................................................................................
5........................................................................................................................
6.........................................................................................................................
7........................................................................................................................
จดั ลาํ ดบั ของปัญหา
1.........................................................................................................................
2.........................................................................................................................
3........................................................................................................................
4.........................................................................................................................
5.........................................................................................................................
6.........................................................................................................................
7.........................................................................................................................
ช่ือกลุ่ม..........................................................................................................................
สมาชิก ...........................................................................................................................
30
บตั รเน้ือหาท่ี 7
เรียกร้องสิทธิต้องคดิ ละเอยี ด
“สิทธิผู้บริโภคข้อท่ี 5’’ ตามพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองผบู้ ริโภค พ.ศ. 2522 ซ่ึง
แกไ้ ขเพิม่ เติมโดยพระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองผบู้ ริโภค (ฉบบั ที่2) พ.ศ. 2541 บญั ญตั ิวา่
ขอ้ 5. สทิ ธทิ ่ีจะไดร้ บั การพจิ ารณาและชดเชยความเสยี หาย
หมายถึง กรณีที่ผบู้ ริโภคถูกธุรกิจละเมิดสิทธิก่อใหเ้ กิดความเสียหาย ผบู้ ริโภคมี
สิทธิในการเรียกร้องใหผ้ ปู้ ระกอบธุรกิจชดใชค้ ่าเสียหายท่ีเกิดข้ึนจากการกระทาํ น้นั โดย
เม่ือผบู้ ริโภคไดร้ ับความเสียหายแลว้ และไม่สามารถตกลงกบั ผปู้ ระกอบธุรกิจได้
ผบู้ ริโภคควรจะเกบ็ รวบรวมหลกั ฐานต่างๆ ท่ีสามารถใชเ้ ป็นหลกั ฐานเพ่อื ที่จะร้องขอให้
สาํ นกั งานคณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภคพิจารณา ฟ้องร้องดาํ เนินคดีแทนผบู้ ริโภคได้
ตามมาตรา 39 แห่งพระบญั ญตั ิคุม้ ครองผบู้ ริโภค พ.ศ. 2522
ที่มา : สาํ นกั งานคณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภค สาํ นกั นายกรัฐมนตรี ร่วมกบั สาํ นกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ( มปพ. : 13)
31
ตวั อยา่ งของการถกู ละเมิดสทิ ธขิ อ้ ท่ี 5
**อาํ ไพไปซ้ือสินคา้ ท่ีหา้ งสรรพสินคา้ แห่งหน่ึง โดยไดน้ าํ
รถจกั รยานยนตไ์ ปจอดในลานจอดรถของหา้ งฯ และไดร้ ับบตั รจอด
รถเรียบร้อย เมื่อซ้ือของเสร็จแลว้ จะกลบั บา้ น อาํ ไพเดินมาท่ีลานจอด
รถปรากฏวา่ รถจกั รยานยนตข์ องตนหาย จึงไดต้ ิดต่อกบั ทางหา้ งฯ แต่
หา้ งฯ ไม่รับผดิ ชอบ อาํ ไพจึงไดไ้ ปแจง้ ความท่ีสถานีตาํ รวจแลว้ นาํ
หลกั ฐานแสดงตนต่าง ๆ รวมท้งั บตั รจอดรถไปร้องเรียนที่สาํ นกั งาน
คณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภค
**ปิ ติซ้ือนมสดใหบ้ ุตรชายอายุ 2 ปี ดื่ม ปรากฏวา่ บุตรชาย
มีอาการทอ้ งเสียและอาเจียน ปิ ติจึงไดน้ าํ บุตรชายส่งโรงพยาบาลโดย
ไดน้ าํ นมสดไปใหแ้ พทยด์ ูดว้ ย แพทยว์ นิ ิจฉยั วา่ นมบูด ปิ ติมีสิทธิที่จะ
เรียกร้องใหบ้ ริษทั ผผู้ ลิตนมสดดงั กล่าวชดใชค้ ่ารักษาพยาบาลของ
บุตรชายตนท้งั หมด
32
บตั รคาํ ถามท่ี 7
เร่ือง
สิทธิของผ้บู ริโภคข้อที่ 5
…………………………………………………
1. สิทธิการคุม้ ครองผบู้ ริโภคขอ้ ท่ี 5 กล่าววา่ อยา่ งไร
......................................................................................................................................
2. ใจดีซ้ือกระติกน้าํ ร้อนราคา 860 บาท ไม่ไดท้ ดลองใชท้ ่ีร้านเม่ือนาํ กลบั มาบา้ น
ปรากฏวา่ ตม้ น้าํ ไม่เดือดสามารถนาํ มือจุ่มลงไปในน้าํ ไดข้ ณะตม้ ใจดีตอ้ งการ
เปลี่ยนกระติกน้าํ ร้อนใจดีตอ้ งปฏิบตั ิอยา่ งไร
.....................................................................................................................................
3. สาํ รวมนงั่ รถมอเตอร์ไซดร์ ับจา้ งกลบั บา้ น บงั เอิญฝนตกถนนลื่น รถเสียหลกั ชนเสา
ไฟฟ้า สาํ รวมกระเดน็ จากตวั รถหวั ฟาดถนนเยบ็ 5 เขม็ สาํ รวมควรไดร้ ับค่าชดเชย
ความเสียหายหรือไม่ ถา้ ได้ ไดร้ ับจากใครและเป็นค่าอะไรบา้ ง
.....................................................................................................................................
33
บตั รคาํ ตอบที่ 7
คาสั่ง ให้นักเรียนตรวจคาตอบจากบัตรเฉลยด้วยความซ่ือสัตย์
และบันทึกคะแนนไว้เพ่ือแจ้งให้ครูผ้สู อนทราบ
……………………………………………………………………….
ขอ้ 1. ตอบ สิทธิท่ีจะไดร้ ับการพจิ ารณาและชดเชยความเสียหาย
ขอ้ 2. ตอบ เกบ็ รวบรวมหลกั ฐานเช่นใบเสร็จรับเงิน ใบประกนั สินคา้ แลว้
นาํ ไปเปล่ียนที่ร้านที่ซ้ือมา ภายในวนั เวลาท่ีกาํ หนด
ขอ้ 3. ตอบ ไดร้ ับชดเชยค่าเสียหายจากมอเตอร์ไซดร์ ับจา้ ง เป็นค่ารักษาพยาบาล
และค่าทาํ ขวญั และอาจรวมถึงค่าเสียเวลา ค่าเสียโอกาสในการทาํ งาน
…………………………………………………………………………………
34
บตั รกิจกรรมท่ี 5
กรณีศึกษา
หวั อกผบู้ ริโภค
คาส่ัง ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มหากรณีศึกษาจากชุมชนในทอ้ งถิ่นของนกั เรียนกรณีถูก
ละเมิดสิทธิท่ีเรียนมาเลือกมาเพยี ง 1 กรณีโดยบอกรายละเอียดท้งั หมดต้งั แต่
เริ่มตน้ จนสิ้นสุดและใหน้ กั เรียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั เหตุการณ์ที่เกิดข้ึน
1. เหตุการณ์ท่ีถูกละเมิดสิทธิ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. ความคิดเห็นของนกั เรียนเก่ียวกบั เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ช่ือกลุ่ม……………………………………………………………………………………………….
สมาชิก………………………………………………………………………………………………
35
แบบทดสอบ
ก่อนเรียน – หลงั เรียน
เร่ือง สิทธิผู้บริโภค หลงั เรียน
คาส่ัง ใหน้ กั เรียนเลือกคาํ ตอบท่ีถูกท่ีสุดเพียงคาํ ตอบเดียว
1. ผบู้ ริโภคมีสิทธิคืนสินคา้ ไดภ้ ายในสาม 3 วนั ทาํ การหลงั ซ้ือ พร้อมหลกั ฐานการซ้ือ เป็นการ
ใชส้ ิทธิผบู้ ริโภคตามขอ้ ใด
ก. สิทธิในการเลือกหาสินคา้
ข. สิทธิในความปลอดภยั
ค. สิทธิในความเป็นธรรมการทาํ สัญญา
ง. สิทธิชดเชยความเสียหาย
2. ขอ้ ความใดแสดงถึงการเป็นผบู้ ริโภคท่ีดี และมีส่วนช่วยเหลือประเทศชาติ
ก. ซ้ือสินคา้ ท่ีผลิตในประเทศไทย
ข. ซ้ือสินคา้ ท่ีผลิตโดยคนไทยท่ีมีคุณภาพดี
ค. ซ้ือสินท่ีผลิตโดยฝีมือคนไทยท่ีมีคุณภาพมีราคาถูก
ง. ซ้ือสินคา้ ที่ผลิตในประเทศไทย ตรงใจที่ตอ้ งการ
3. นกั เรียนควรเลือกซ้ือเคร่ืองแต่งกายตามเหตุผลขอ้ ใด
ก. ฐานะในสงั คม
ข. อายแุ ละรายไดข้ องครอบครัว
ค. ความจาํ เป็นและความพร้อมของครอบครัว
ง. รสนิยม ราคา และคุณภาพของเครื่องแตง่ กาย
4. คุณธรรมขอ้ ใดท่ีผผู้ ลิตหรือผปู้ ระกอบการควรคาํ นึงถึงมากท่ีสุด
ก. ความซื่อสตั ยไ์ ม่เอาเปรียบผบู้ ริโภค
ข. ความตรงต่อเวลา พร้อมคืนกาํ ไรใหล้ ูกคา้
ค. รักษาส่ิงแวดลอ้ ม ความทนั สมยั ของผลผลิต
ง. ใหส้ วสั ดิภาพที่เหมาะสมแก่ลูกจา้ ง รักษาความสะอาดสถานท่ี
5. ขอ้ ใดกล่าวผดิ ในเรื่องสิทธิของผบู้ ริโภค
36
ก. รังสนั ตถ์ ูกบงั คบั ซ้ือขา้ วสารในราคาสูงกวา่ ทอ้ งตลาด
ข. วนั ทนียซ์ ้ืออาหารกระป๋ องที่มีฉลากและไดม้ าตรฐาน
ค. นนั ทาศิริไดร้ ับการชดเชยค่าเสียหายจากการซ้ือสิ้นคา้
ง. สุภางคท์ าํ สัญญาซ้ือขายบา้ นตามกฎหมาย
6. หน่วยงานใดไมม่ ีหนา้ ที่คุม้ ครองผบู้ ริโภคตามกฎหมาย
ก. กรมสรรพสามิต
ข. กรมการคา้ ภายใน
ค. สาํ นกั งานคณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภค
ง. สาํ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา
7. ขอ้ ความใดบนฉลากของสินคา้ ที่ไม่จาํ เป็นตอ้ งระบุ
ก. คาํ เตือน
ข. ช่ือสินคา้
ค. วธิ ีการผลิต
ง. ชนิดของสินคา้
8. สินคา้ ชนิดใดควรซ้ือมารับประทาน
ก. ปูมา้ ดอง
ข. นมยเู อชทีกล่องบุบบวม
ค. น้าํ ปลาฉลากเลอะเลือน
ง. ปลากระป๋ องมีฉลากครบถว้ น
9. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ประโยชน์ของขอ้ มูลโภชนาการ
ก. ลดอตั ราเส่ียงทางโภชนาการ
ข. ทราบปริมาณและสารอาหาร
ค. ทราบความตอ้ งการอาหารของแตล่ ะบุคคล
ง. เปรียบเทียบเมื่อเลือกซ้ือสินคา้ ชนิดเดียวกนั
10. แหล่งขอ้ มูลใดที่น่าเช่ือถือมากที่สุดสาํ หรับผบู้ ริโภค
ก. โฆษณา
ข. พนกั งานขาย
ค. ผบู้ ริหารของบริษทั
ง. ฉลากสินคา้
37
เฉลยแบบทดสอบ
ก่อนเรียน – หลงั เรียน
หลงั เรียน
เรื่อง
สิทธิของผู้บริโภค
1.ค 6.ก 6.
2.ง 7.ค
3.ค 8.ง
4.ก 9.ค
5.ก 10.ง
38
แบบทดสอบ
ทา้ ยชุดการสอน
หลงั เรียน
ใหน้ กั เรียนตอบคาํ ถามใหไ้ ดใ้ จความสมบูรณ์
1. สิทธิของผบู้ ริโภคขอ้ ที่ 1 กล่าววา่ …………………………………
2. สิทธิของผบู้ ริโภคขอ้ ที่ 2 กล่าววา่ …………………………………
3. สิทธิของผบู้ ริโภคขอ้ ที่ 3 กล่าววา่ …………………………………
4. สิทธิของผบู้ ริโภคขอ้ ท่ี 4 กล่าววา่ …………………………………
5. สิทธิของผบู้ ริโภคขอ้ ท่ี 5 กล่าววา่ …………………………………
6. การโฆษณาท่ีถูกตอ้ งตอ้ งมีลกั ษณะดงั น้ี.............................................
7. สมสมยั ตอ้ งการซ้ือเคร่ืองเสียง 1 ชุด แต่เมื่อเปิ ดลองเสียงท่ีร้าน เสียงดงั ไม่ชดั
สมสมยั เลยไม่ซ้ือ แตท่ างร้านไม่ยอมบงั คบั ใหซ้ ้ือโดยอา้ งเหตุผลวา่ เปิ ดเคร่ืองใช้
แลว้ ไม่รับคืน สมสมยั ถูกละเมิดสิทธิขอ้ ใด …………………………………….
8. สุรพลไปเสริมจมูกท่ีศูนยบ์ ริการความงาม 1 สัปดาหต์ ่อมาจมูกเน่า เขาถูกละเมิด
สิทธิขอ้ ใด
................................................................................................................
9. อรอุมาไปหา้ งสรรพสินคา้ ข้ึนบนั ไดเลื่อนโดยบนั ไดเลื่อนหนีบนิ้วเทา้ แตกทาง
หา้ งจ่ายค่ารักษาพยาบาลและค่าทาํ ขวญั ให้ 1 หม่นื บาท อรอุมาไดร้ ับสิทธิขอ้ ใด
……………………………………………………………………………………
10. ขวญั ฤดีซ้ือเคร่ืองปรับอากาศ 1 เครื่อง ราคา 2 หมื่นบาททางร้านให้
ใบเสร็จรับเงินและใบรับประกนั 5 ปี แต่เม่ือใชง้ านไป 1 ปี เครื่องปรับอากาศไม่
ทาํ งานจึงโทรศพั ทไ์ ปหาเจา้ ของร้านเจา้ ของร้านจะมาซ่อมให้ แต่เวลาผา่ นไป
3 เดือนกย็ งั ไม่ซ่อม อรอุมาถูกละเมิดสิทธิขอ้ ใด
..................................................................................................................................
39
เฉลยแบบทดสอบ
ทา้ ยชุดการสอน
หลงั เรียน
ขอ้ 1. ตอบสิทธิผบู้ ริโภคขอ้ ท่ี 1 สิทธิที่ไดร้ ับข่าวสารรวมท้งั คาํ พรรณนาคุณภาพท่ี
ถูกตอ้ งและเพยี งพอเก่ียวกบั สินคา้ และบริการ
ขอ้ 2. ตอบสิทธิผบู้ ริโภคขอ้ ที่ 2 สิทธิท่ีจะมีอิสระในการเลือกหาสินคา้ หรือบริการ
ขอ้ 3. ตอบสิทธิผบู้ ริโภคขอ้ ที่ 3 สิทธิที่จะไดร้ ับความปลอดภยั จากการใชส้ ินคา้ หรือ
บริการ
ขอ้ 4. ตอบ สิทธิผบู้ ริโภคขอ้ ท่ี 4 สิทธิท่ีจะไดร้ ับความเป็นธรรมในการทาํ สัญญา
ขอ้ 5. ตอบสิทธิผบู้ ริโภคขอ้ ท่ี 5 สิทธิที่จะไดร้ ับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย
ขอ้ 6. ตอบ
6.2 การใชข้ อ้ ความที่เป็นธรรมต่อผบู้ ริโภค
6.2 ไม่ใชข้ อ้ ความท่ีเป็นเทจ็ หรือเกินความจริง
6.3 ไม่ใชข้ อ้ ความที่อาจก่อใหเ้ กิดความเขา้ ใจผดิ
6.4 ในสาระสาํ คญั เก่ียวกบั สินคา้ หรือบริการ
6.5 ไม่ใชข้ อ้ ความที่เป็นการสนบั สนุนโดยตรง/โดยออ้ มใหก้ ระทาํ ผดิ กฎหมาย
6.6 ไม่ใชข้ อ้ ความท่ีก่อใหเ้ กิดความแตกแยก
ขอ้ 7. ตอบ สิทธิผบู้ ริโภคขอ้ ที่ 2 สิทธิท่ีจะมีอิสระในการเลือกหาสินคา้ หรือบริการ
ขอ้ 8. ตอบ สิทธิผบู้ ริโภคขอ้ ท่ี 3 สิทธิท่ีจะไดร้ ับความปลอดภยั จากการใชส้ ินคา้ หรือ
บริการ
ขอ้ 9. ตอบสิทธิผบู้ ริโภคขอ้ ท่ี 5 สิทธิที่จะไดร้ ับการพจิ ารณาและชดเชยความเสียหาย
ขอ้ 10. ตอบ สิทธิผบู้ ริโภคขอ้ ท่ี 4 ท่ีจะไดร้ ับความเป็นธรรมในการทาํ สัญญา
40
บรรณานุกรม
กรองกาญจน์ อรุณรัตน์. (2536). เทคโนโลยกี ารศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สถาบนั เทคโนโลยี
พระจอมเกลา้ พระนครเหนือ.
กาญจนา เกียรติประวตั ิ. (2526). นวตั กรรมทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : สถาบนั เทคโนโลยี
พระจอมเกลา้ พระนครเหนือ.
คณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ, สานกั งาน. (2541). คู่มือการจัดกจิ กรรมทเี่ น้นเดก็ เป็ น
ศูนย์กลางการเรียนรู้ ระดับก่อนระถมศึกษา. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
. (2545). แนวทางการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลกั สูตรการศึกษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ.
2544. กรุงเทพฯ : องคก์ ารรับส่งสินคา้ และพสั ดุภณั ฑ.์ (ร.ส.พ.).
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สาํ นกั งาน.(2543). ปฏิรูปการเรียนรู้ ผู้เรียนสาคัญทสี่ ุด.
กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว.
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สาํ นกั งาน.(2543). ปฏิรูปการเรียนรู้ ผ้เู รียนสาคัญทสี่ ุด.
กรุงเทพฯ : พมิ พด์ ี.
คณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภค,สาํ นกั งาน,สาํ นกั นายกรัฐมนตรี.(2548). สคบ.กบั การคุ้มครองผ้บู ริโภค
พิมพค์ ร้ังที่ 9 กรุงเทพฯ : หา้ งหุน้ ส่วนจาํ กดั โรงพมิ พช์ วนพิมพ.์
คณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภค,สาํ นกั งาน,สาํ นกั นายกรัฐมนตรี ร่วมกบั สาํ นกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน,กระทรวงศึกษาธิการ. (มปพ.). แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการเรื่องการ
คุ้มครองสิทธิผ้บู ริโภคตามพระราชบัญญตั คิ ุ้มครองผ้บู ริโภค พ.ศ.2522 : หจก.อรุณการพิมพ.์
คณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภค,สาํ นกั งาน,สาํ นกั นายกรัฐมนตรี.(มปพ.). คู่มือการเผยแพร่ให้ความรู้แก่
ผ้บู ริโภค.
คณะกรรมการคุม้ ครองผบู้ ริโภค,สาํ นกั งาน,สาํ นกั นายกรัฐมนตรี. (2549). สคบ. คุ้มครองผ้บู ริโภค(ฉบบั
ประชาชน). ฉะเชิงเทรา : บริษทั โรงพิมพป์ ระสานมิตร จาํ กดั .
ดาํ รงศกั ด์ิ ชยั สนิท สุนีย์ เลศแสวงกิจ. การคุ้มครองผู้บริโภค. กรุงเทพฯ : สาํ นกั พมิ พว์ งั อกั ษร.
ไพรินทร์ แยม้ จินดา สมบตั ิ วรินทรนุวตั ร. เศรษฐศาสตร์ผ้บู ริโภค. กรุงเทพฯ : สาํ นกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์