The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มฐ.ปฐมวัยแห่งชาติ ฉบับเต็ม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by noi1910251751, 2022-05-07 03:56:32

มฐ.ปฐมวัยแห่งชาติ ฉบับเต็ม

มฐ.ปฐมวัยแห่งชาติ ฉบับเต็ม

มาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยแห่งชาต











































คณะรัฐมนตรีมมี ตเิ ห็นชอบ วันท่ี ๒ มกราคม ๒๕๖๒


คณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ (ก.พ.ป.)

๖๔๙.๑๒๓ สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา

ค ๑๒๓ ม มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แห่งชาติ / กรงุ เทพฯ : ๒๕๖๒

๓๑๒ หน้า

ISBN : 978-616-395-986-7

๑. มาตรฐาน ๒. เด็กปฐมวยั ๓. ชอ่ื เรือ่ ง


มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ

National Standard for Early Childhood Care, Development

and Education Thailand


สิง่ พิมพ์ สกศ. อนั ดบั ท่ี ๒๖/๒๕๖๒


พิมพ์ครง้ั ท่ี ๑ มิถนุ ายน ๒๕๖๒


จำนวน ๕,๐๐๐ เล่ม


ผจู้ ดั พมิ พ์เผยแพร่ สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

ถนนสุโขทัย เขตดุสติ กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐

โทรศัพท์ ๐ ๒๖๖๘ ๗๙๗๔ หรอื ๐ ๒๖๖๘ ๗๑๒๓ ต่อ ๒๕๑๓, ๒๕๒๒

โทรสาร ๐ ๒๒๔๓ ๑๑๒๙

Web site: http://www.onec.go.th


พิมพ์ท่ี บรษิ ัท พริกหวานกราฟฟคิ จำกัด

๙๐/๖ ซอยจรญั สนทิ วงศ์ ๓๔/๒

ถนนจรญั สนิทวงศ์ แขวงอรณุ อมรนิ ทร์

เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐

โทรศัพท์ ๐ ๒๔๒๓ ๓๒๔๙, ๐ ๒๔๒๔ ๓๒๕๒

โทรสาร ๐ ๒๔๒๓ ๓๒๔๙, ๐ ๒๔๒๔ ๓๒๕๒



คำนำ




รฐั บาลไดใ้ หค้ วามสำคญั เรอื่ งการพฒั นาเดก็ และเยาวชนโดยเฉพาะชว่ งปฐมวยั ซงึ่ ถอื เปน็

ช่วงวัยท่ีมีความสำคัญสูงสุดในการวางรากฐานการพัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์ โดยเร่ิมต้ังแต

การพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีสุขภาพกายและใจท่ีดี มีทักษะทางสมอง ทักษะการเรียนรู้ และทักษะ
ชีวิต เพ่ือให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ และสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ การศึกษา และสวัสดิการ
สงั คมไดอ้ ยา่ งเทา่ เทยี มกนั ภายใตบ้ รบิ ทของประเทศทเี่ ปลย่ี นแปลงหลงั การประกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู

แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕๔ วรรคหนง่ึ รฐั ตอ้ งดำเนนิ การใหเ้ ดก็ ทกุ คน

ได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพ
โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และวรรคสอง รัฐต้องดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อน

เข้ารับการศึกษาตามวรรคหน่ึง เพ่ือพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา

ใหส้ มกบั วยั

การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั เปน็ การดำเนนิ งานทม่ี คี วามเชอ่ื มโยงกบั หลายหนว่ ยงาน จงึ จำเปน็

ต้องอาศยั ความร่วมมือจากทกุ กระทรวง/หน่วยงานท่ีเกีย่ วข้องในการบูรณาการดำเนินงานรว่ มกนั

เพื่อให้เกิดการขับเคล่ือนในทางปฏิบัติ และเป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างเป็นรูปธรรม และเพื่อ
ให้เกิดความต่อเนื่องในการดำเนินงานพัฒนาเด็กปฐมวัยของประเทศ โดยการมีส่วนร่วมของ

ทุกภาคส่วน ส่งผลให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้าน มีคุณภาพ ตามศักยภาพ
ตามวัยและตอ่ เนือ่ ง

คณะรฐั มนตรไี ดใ้ หค้ วามเหน็ ชอบมาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาตทิ ี่ดำเนนิ การ

จัดทำโดยคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ (ก.พ.ป.) โดยความร่วมมือของผู้แทน

หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เสนอโดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อ

วันที่ ๒ มกราคม ๒๕๖๒ โดยให้ใช้เป็นมาตรฐานกลางของประเทศ และให้กระทรวงท่ีเก่ียวข้อง
พิจารณานำมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติฉบับใหม่ไปใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริม
สนับสนุนให้สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีอยู่ภายใต้การกำกับ ดูแลและรับผิดชอบ มีการบริหาร
จัดการ ประเมินผลการดำเนินงานเพ่ือยกระดับการพัฒนาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานฯ ดังกล่าว
และเปน็ มาตรฐานเดียวกันท้ังประเทศ ก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุดสำหรบั เด็กปฐมวัยใหเ้ จริญเตบิ โต
อย่างมีคุณภาพและมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และเติบโตเป็นผู้ใหญ่ท่ีดี อันจะเป็นกำลัง
สำคญั ในการพัฒนาประเทศต่อไป




ในฐานะประธานคณะกรรมการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ (ก.พ.ป.) หวงั วา่ เอกสารฉบบั น
้ี
จะเป็นแนวทางการดำเนินงาน และเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานทุกสังกัด ผู้ปฏิบัติงานพัฒนา

เดก็ ปฐมวัย และผทู้ ่เี กี่ยวขอ้ งในสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั เพอ่ื ชว่ ยกันเพมิ่ คุณภาพเดก็ ปฐมวยั อยา่ ง
เป็นรูปธรรม และขอขอบคุณทุกหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ท้ัง ๔ กระทรวงหลัก ได้แก่ กระทรวง
ศึกษาธิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข และ
กระทรวงมหาดไทย รวมถึงกรุงเทพมหานคร คณะอนุกรรมการฯ ที่เกี่ยวข้องทุกคณะ และ
สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาซง่ึ เปน็ ฝา่ ยเลขานกุ ารฯ ทไี่ ดร้ ว่ มกนั จดั ทำมาตรฐานสถานพฒั นา

เด็กปฐมวัยฉบับน้ี ให้บรรลุวัตถุประสงค์ท่ีกำหนดไว้ และขอให้ร่วมกันขับเคลื่อนนำสู่การปฏิบัติ

ไดป้ ระสบผลสำเรจ็ ตอ่ ไป





พลอากาศเอก


(ประจิน จนั่ ตอง)

รองนายกรัฐมนตรี

ประธานคณะกรรมการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาต








กติ ติกรรมประกาศ




รฐั บาลปจั จบุ นั (พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตร)ี ไดใ้ หค้ วามสำคญั อยา่ งมาก

เก่ียวกับการพัฒนาคนทุกช่วงวัย โดยเฉพาะอย่างย่ิงช่วงปฐมวัยอันหมายถึงเด็กแรกเกิด (รวมทั้ง
เด็กในครรภ์) จนถึงก่อนเข้าประถมศึกษาปีที่ ๑ และมีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ มาตรา ๕๔
วรรค ๑ และวรรค ๒ โดยในการดำเนนิ การดงั กลา่ ว รฐั บาลไดจ้ ดั ใหม้ กี ารดำเนนิ งานหลายประการ

ทม่ี ่งุ ผลการดำเนินงานทเ่ี ปน็ รปู ธรรม ชดั เจน ในกรอบเวลาท่ีเรง่ ด่วน

จากการดำเนินงานที่ผ่านมามีหลายหน่วยงานมีภารกิจในการพัฒนาเด็กปฐมวัย จึงมี
หลายมาตรฐานของแตล่ ะสงั กดั ตา่ งกนั ไป ดงั นน้ั การมมี าตรฐานเดยี ว จะเปน็ แนวทางการดำเนนิ งาน

สำหรบั หนว่ ยงานทมี่ ภี ารกจิ เกยี่ วขอ้ งกบั การเลยี้ งดู ดแู ล พฒั นาและจดั การศกึ ษาใหแ้ กเ่ ดก็ ปฐมวยั

ทุกระดับ เพ่ือให้งา่ ยตอ่ หน่วยปฏิบตั ิ และการมีผลบงั คบั ใช้ รวมถงึ การติดตามผล การมมี าตรฐาน
กลางเดียวกันจะทำให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการเล้ียงดู ดูแล และพัฒนาอย่างเท่าเทียมกัน

ไม่ว่าจะอยู่ในสถานพัฒนาของหน่วยงานหรือสังกัดใด ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการ
พฒั นาเดก็ ปฐมวัยของไทย

คณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ (ก.พ.ป.) จึงเห็นควรให้มีการจัดทำมาตรฐาน
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เพื่อเชื่อมต่อให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. ๒๕๖๐ ยุทธศาสตร์ชาติ นโยบาย และแผนพัฒนาต่างๆ ในการพัฒนาเด็กปฐมวัยของ
ประเทศ และกรอบมาตรฐานคุณภาพปฐมวัยอาเซียน ท้ังน้ี เพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงาน
สำหรบั หนว่ ยงานทกุ สงั กดั ทงั้ ในระดบั นโยบายจนถงึ ระดบั ปฏบิ ตั ิ ซง่ึ จะทำใหก้ ารพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้านเต็มตามศักยภาพ

เป็นพ้ืนฐานของความเป็นพลเมืองคุณภาพ รวมท้ังมีมาตรฐานกลางของประเทศเพื่อพัฒนา
คุณภาพการจัดบริการ ดูแล พัฒนา และจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพทัดเทียม
ลดความเหลื่อมล้ำ

การจัดทำมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ดำเนินการโดยความร่วมมือของ
หน่วยงานที่เก่ียวข้องทุกภาคส่วน ในรูปของคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการพัฒนา

เด็กปฐมวัยแห่งชาติ (ก.พ.ป.) ๓ คณะ ได้แก่ ๑) คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย

๒) คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจจัดทำรา่ งมาตรฐานคุณภาพขนั้ ตำ่ ของการเลีย้ งดู การพัฒนา และ
การใหก้ ารศกึ ษาแกเ่ ดก็ ปฐมวยั สำหรบั ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ ปฐมวยั และ ๓) คณะอนกุ รรมการเฉพาะกจิ

จัดทำร่างมาตรฐานคุณภาพขั้นต่ำของการเล้ียงดู การพัฒนา และการให้การศึกษาแก่เด็กปฐมวัย

สำหรับโรงเรียนอนุบาล และคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและ



เยาวชนแห่งชาติ (กดยช.) ๒ คณะ ได้แก่ ๑) คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจปรับปรุงร่างมาตรฐาน
คณุ ภาพขน้ั ตำ่ ของการอบรมเลยี้ งดเู ดก็ ปฐมวยั ของสถานรบั เลยี้ งเดก็ เอกชน และ ๒) คณะอนกุ รรมการ

ประสานและส่งเสริมการพัฒนาเด็ก โดยแต่งตั้งคณะทำงานจัดทำมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ
ฉบบั ปรบั ปรุง รวมทง้ั สน้ิ ๕ คณะ โดยมี รองศาสตราจารยน์ ติ ยา คชภักดี เป็นผู้รับผิดชอบหลกั

ในฐานะเลขานกุ ารคณะกรรมการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ ขอขอบคณุ รองศาสตราจารย

นติ ยา คชภกั ดี ประธานคณะอนกุ รรมการฯ ผู้แทนจากกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงการพฒั นา
สังคมและความม่ันคงของมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย กรุงเทพมหานคร
และหน่วยงานอน่ื ๆ ทกุ ภาคสว่ นทเ่ี กี่ยวข้อง ท้งั ภาครัฐ และภาคเอกชน ทีร่ ว่ มกนั จดั ทำมาตรฐาน
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติและคู่มือมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติฉบับนี้ และ
ดำเนนิ งานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั มาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง สำนกั งานฯ หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ มาตรฐานสถานพฒั นา

เด็กปฐมวัยแห่งชาติ จะเป็นมาตรฐานกลางของประเทศซ่ึงเชื่อมโยงและบูรณาการการดำเนินงาน
ร่วมกันในทุกภาคส่วนเพ่ือให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้าน มีคุณภาพ

ตามศกั ยภาพ ตามวยั และตอ่ เนอื่ ง และสามารถเขา้ ถงึ บรกิ ารสขุ ภาพ การศกึ ษา และสวสั ดกิ ารสงั คม

ไดอ้ ยา่ งเท่าเทยี มกนั







(นางวัฒนาพร ระงบั ทกุ ข)์

รองเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ






สารบญั
หนา้








มาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แห่งชาติ ๓

- ความสำคัญของเดก็ ปฐมวยั ๔

- อุดมการณ์และหลักการในการจดั การศึกษาเดก็ ปฐมวัยของชาต ิ ๕

- เหตุผลทีต่ ้องมีมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แห่งชาต ิ ๗

- วตั ถุประสงค์
- กล่มุ เปา้ หมาย
- สาระของมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แห่งชาติ

ภาคผนวก ๑ คู่มอื มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาต ิ ๑๕

- มาตรฐานด้านท่ี ๑ การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ๔๓

- มาตรฐานด้านท่ี ๒ ครู/ผ้ดู ูแลเดก็ ใหก้ ารดูแล และจดั ประสบการณ์ ๑๓๐

การเรยี นรู้และการเลน่ เพอื่ พัฒนาเดก็ ปฐมวยั

- มาตรฐานด้านท่ี ๓ คุณภาพของเด็กปฐมวัย ๑๙๗


ภาคผนวก ๒ แบบบันทกึ การประเมนิ มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แห่งชาต ิ ๒๖๓


ภาคผนวก ๓ คำสง่ั คณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการทเี่ กย่ี วข้อง ๒๘๑


ภาคผนวก ๔ มติคณะรฐั มนตรี เม่อื วันที่ ๒ มกราคม ๒๕๖๒ ๒๙๗


เอกสารอ้างองิ ๓๐๐


คณะผจู้ ดั ทำ ๓๐๒







มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาต





ความสำคัญของเด็กปฐมวัย


ปฐมวัยเป็นวัยเริ่มต้นของชีวิตและพัฒนาการในทุกด้าน เป็นช่วงวัยที่พัฒนาการทางด้าน
ต่างๆ เป็นไปอย่างรวดเร็วท่ีสุดและเป็นฐานรากท่ีสำคัญสำหรับพัฒนาการในช่วงวัยต่อๆ ไป

เด็กในวัยน้ีจึงเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีความสำคัญอย่างย่ิงของประเทศ เด็กปฐมวัยท่ีได้รับ

การดูแลอย่างเหมาะสมตามช่วงวัยจะสามารถเติบโตเป็นผู้ใหญ่ท่ีดีมีคุณภาพและจะเป็นกำลัง
สำคัญของประเทศชาติตอ่ ไปในอนาคต ดงั คำกล่าวของ ศ.ดร.เจมส์ เจ เอคแมน นักเศรษฐศาสตร์
รางวัลโนเบล ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่ว่า “การลงทุนพัฒนาเด็กปฐมวัย เป็นการลงทุนท่ีคุ้มค่า

ใหผ้ ลตอบแทนแกส่ ังคมที่ดีทีส่ ุดในระยะยาว”

ดังน้ัน การพัฒนาเด็กปฐมวัยจึงเป็นรากฐานที่มีผลต่อคุณภาพและประสิทธิภาพของคน
ตลอดชีวิตและเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าที่สุด กล่าวคือ เด็ก เยาวชนและผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพดี

มีความสามารถเรียนรู้ ทำงานได้เก่ง และเป็นพลเมืองดีท่ีจะนำสู่ความสำเร็จในสังคมท่ีท้าทาย

ในศตวรรษที่ ๒๑ ต้องได้รับโอกาสการพัฒนาอย่างรอบด้านในช่วงปฐมวัย แต่คุณภาพของ

เด็กปฐมวัยยังเป็นจุดอ่อนที่เข้าข้ันวิกฤตของประเทศไทย ที่จำเป็นต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน รัฐและ
ทุกภาคส่วน พ่อแม่ผู้ปกครอง ครอบครัว ชุมชน สังคม บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข
ครู/ผู้ดูแลเด็ก โรงเรียน องค์กรท้องถ่ินทุกระดับ บุคลากรพัฒนาสังคมท้ังภาครัฐ เอกชน

ภาคศาสนาและภาคธุรกิจ จึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในความสำคัญของช่วงปฐมวัย ตระหนักใน
พันธกิจและลงมือช่วยกันทำให้เด็กปฐมวัยมีโอกาสพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพในภาวะแวดล้อม

ที่ปลอดภยั

“เด็กปฐมวัย” ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาเด็กปฐมวัย

พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้ให้ความหมายของเด็กปฐมวัยว่า หมายถึง เด็กซึ่งมีอายุยังไม่ครบหกปีบริบูรณ์
และให้หมายความรวมถึงทารกในครรภม์ ารดาดว้ ย




1

อดุ มการณแ์ ละหลกั การในการจัดการศึกษาเดก็ ปฐมวยั ของชาติ


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้ให้ความสำคัญกับ

การพฒั นาเดก็ ปฐมวัยไว้หลายมาตรา คอื

มาตรา ๕๔ วรรคสอง กำหนดว่า “...รัฐต้องดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแล

และพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา

ให้สมกับวัย โดยส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการ
ดำเนนิ การด้วย”

มาตรา ๒๕๘ ให้ดําเนินการปฏิรูปประเทศให้เกิดผล จ. ด้านการศึกษา (๑) ให้
สามารถเร่ิมดําเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา ตามมาตรา ๕๔
วรรคสอง เพ่ือให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา

ใหส้ มกับวัยโดยไมเ่ ก็บค่าใช้จ่าย

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติมฉบับท่ี ๒

(พ.ศ. ๒๕๔๕) และฉบบั ท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๓) มาตรา ๑๘ (๑) กำหนดใหก้ ารจดั การศึกษาปฐมวยั
จดั ในสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ได้แก่ ศูนย์เด็กเลก็ ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ศนู ย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์
ของสถาบันศาสนา ศูนย์บริการช่วยเหลือระยะแรกเร่ิมของเด็กพิการและเด็กซึ่งมีความต้องการ
พิเศษหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีเรียกชื่ออย่างอื่น และมาตรา ๑๓ (๑) ให้บิดา มารดา หรือ

ผู้ปกครอง มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ในการสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความรู้ความสามารถในการ
อบรมเลีย้ งดู และการใหก้ ารศกึ ษาแก่บตุ รหรือบุคคลซึ่งอย่ใู นความดแู ล

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ ในยุทธศาสตร์ท่ี ๓ การพัฒนาศกั ยภาพ
คนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เป้าหมายข้อ ๓.๓ สถานศึกษาทุกระดับ

การศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน

มีตัวชี้วัดท่ีสำคัญ เช่น ศูนย์เด็กเล็ก/สถานศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาท่ีจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ไดค้ ณุ ภาพและมาตรฐานเพิม่ ข้ึน สถานศึกษา/สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับ
หลักสูตรปฐมวัย และสมรรถนะของเด็กที่เชื่อมโยงกับมาตรฐานคุณภาพเด็กปฐมวัยของอาเซียน
เพิ่มขึ้น สถานศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียน
ใหม้ คี ณุ ลักษณะและทักษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ ๒๑ เพมิ่ ขนึ้

โดยแนวทางการพัฒนาส่งเสริมให้เด็กเล็ก (๐-๒ ปี) ได้รับการดูแลและพัฒนาที่สมวัย
รอบด้านอย่างมีคุณภาพและต่อเนื่อง มีการปรับระบบการบริหารจัดการการดูแลและพัฒนา

เด็กเล็ก (๐-๒ ปี) และการศึกษาปฐมวัย (๓-๕ ปี) ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน รวมทั้งพัฒนา
หลักสูตรและคู่มือการเตรียมความพร้อมพ่อแม่ และการเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กเล็กให้มีพัฒนาการ
ตามวัย และพัฒนาหลักสูตรการศึกษาระดับปฐมวัย สมรรถนะเด็กปฐมวัยท่ีสอดคล้องกับ

2

มาตรฐานอาเซียนและระดับสากล เพ่ือการพัฒนาคุณภาพและพัฒนาการรอบด้านสมวัยของ

เด็กปฐมวัย

(ร่าง) แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔ ได้กำหนด
นโยบายด้านเด็กปฐมวัย ไว้ดังน้ี

๑. เด็กปฐมวัยทุกคนต้องได้รับการพัฒนาอย่างรอบด้าน อย่างมีคุณภาพ ตามศักยภาพ
ตามวัยและต่อเน่ือง

๒. การพัฒนาเด็กตามข้อ ๑ ต้องจัดให้เป็นระบบและมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน

โดยบรู ณาการ ชดั เจนระหว่างหนว่ ยงานราชการ และท่ไี ม่ใช่ราชการ ระหว่างวิชาชพี ทส่ี มั พันธ์กับ
การพัฒนาเด็กปฐมวัย และระหว่างระดับต่างๆ ของการบริหารราชการแผ่นเดินจากระดับชาติ
ส่วนกลาง สว่ นภูมภิ าค และสว่ นทอ้ งถ่นิ

๓. รัฐและทุกภาคส่วนต้องร่วมกันระดมทรัพยากรให้เพียงพอแก่การพัฒนาเด็กปฐมวัย
ตามนโยบายข้อ ๑

นอกจากน้ี ได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย โดยกำหนดไว้ใน
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๓ การพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการให้บรกิ ารทพี่ ฒั นาเด็กปฐมวยั เปา้ ประสงค์
ท่ี ๑ สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกแห่งได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวยั แหง่ ชาติ และเป้าประสงคท์ ี่ ๒ คุณภาพของระบบบริการและระบบการพฒั นาเดก็ ปฐมวัย
ไดร้ ับการปรบั ปรงุ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาต ิ




เหตผุ ลทีต่ ้องมมี าตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาต


ในปัจจุบันประเทศไทยมีเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ ๖ ปี ที่มีพัฒนาการไม่สมวัย
เปน็ จำนวนมาก นบั เป็นวิกฤตรา้ ยแรงตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพทรัพยากรมนุษย์ ซ่งึ เปน็ ปจั จัยสำคญั
ท่ีสดุ ในการสร้างประเทศให้เจรญิ รุ่งเรือง มั่นคง มงั่ คั่ง และย่งั ยืน ในสภาพสังคมทบี่ ิดามารดาและ
ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีความจำเป็น ต้องพาเด็กปฐมวัยไปรับบริการการดูแลและพัฒนาในรูปแบบ
ต่างๆ ท่ีมีคุณภาพแตกต่างเหลื่อมล้ำกันมาก ระหว่างกลุ่มมีโอกาสกับกลุ่มด้อยโอกาส ระหว่าง
การจัดการศึกษาเร่งเรียนจนเครียดกับแบบละเลยขาดความเอาใจใส่ ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพ
ของสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเดก็ จงึ เป็นความจำเปน็ เรง่ ดว่ นทั้งจาก
มุมมองของการพัฒนาคุณภาพมนุษย์และการปฏิรูปการศกึ ษา

ทผ่ี า่ นมาประเทศไทยมหี นว่ ยงานภาครัฐหลายแห่ง องค์กรทอ้ งถิ่น เอกชนจดั บรกิ ารดูแล
พัฒนา และจัดการศึกษาเด็กปฐมวัยหลากหลายรูปแบบ โดยแต่ละหน่วยงานมีมาตรฐาน

และเกณฑ์การประเมินแตกต่างกันตามภารกิจของหน่วยงาน แม้จะมีการจัดทำมาตรฐาน

ศนู ยเ์ ดก็ เลก็ แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔ ในทางปฏบิ ตั มิ มี าตรฐานหลากหลายจากหนว่ ยงานตา่ งๆ ทเี่ นน้


3

การประเมินตามภารกิจของหน่วยงาน และข้อจำกัดของการใช้มาตรฐานเดิม ที่ครอบคลุม

เฉพาะเด็กอายุ ๒-๕ ปี เท่านั้น ไม่ครอบคลุมเด็กปฐมวัยตั้งแต่แรกเกิดถึงก่อนเข้าประถมศึกษา
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยส่วนใหญ่ยังต้องใช้หลายมาตรฐานทำให้ผู้ปฏิบัติสับสนและต้องทำงาน

ซ้ำซ้อน และยงั ไม่ไดน้ ำผลการประเมนิ ไปพฒั นาเท่าทคี่ วร

ความกา้ วหนา้ ในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ของภาคสว่ นตา่ งๆ ไดม้ หี นว่ ยงานรว่ มกนั ดำเนนิ งาน

อย่างหลากหลาย เช่น การเพิ่มโอกาสให้ครู ผู้ดูแลเด็กได้รับการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขา
ปฐมวัย การมีโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารี เนอื่ งในโอกาสฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ครอบคลมุ ทวั่ ประเทศ การมมี าตรฐาน

ความปลอดภัย การบรู ณาการงานภายในกระทรวง และการบรู ณาการงานของ ๔ กระทรวงหลกั
ตลอดจนรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาและให้การศึกษาที่เหมาะสม

แกเ่ ด็กปฐมวัย ดงั นัน้ จงึ จำเป็นต้องมีการจดั ทำมาตรฐานกลางที่ทกุ ภาคส่วนจะใชร้ ว่ มกนั ได้

คณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ (ก.พ.ป.) จึงเห็นชอบให้คณะอนุกรรมการ
พัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย จัดทำมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติข้ึนเป็นมาตรฐาน
กลางให้ทุกหน่วยงานใช้ร่วมกันในการประเมิน เพ่ือพัฒนาคุณภาพการบริการดูแลพัฒนา และ
จัดการศึกษาสำหรับเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึงก่อนเข้าประถมศึกษา เป็นการปรับกระบวนทัศน์ให้ใช้
เดก็ เปน็ ทีต่ ้งั ของการกำหนดมาตรฐาน คำนงึ ถึงการตอบสนองตอ่ สทิ ธิพน้ื ฐานท่เี ด็กทกุ คนพึงไดร้ ับ
ซ่ึงถือเป็นการวางรากฐานการพัฒนามนุษย์แทนการใช้บริบทหรือหน่วยงานต้นสังกัดเป็นที่ต้ัง
การมีมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติฉบับเดียวเป็นมาตรฐานกลาง ให้ทุกหน่วยงาน
ร่วมจัดทำ ร่วมใช้เป็นหลักประเมินการดำเนินงานให้เป็นแนวทางเดียวกันและประสานงาน เพ่ือ
มุ่งเป้าหมายเดียวกันคือ การพัฒนาคุณภาพ ซึ่งสอดคล้องและตอบสนองต่อการบูรณาการงาน
พัฒนาเดก็ ปฐมวยั ของ ๔ กระทรวงหลกั และอกี หลายหน่วยงาน ตามบันทึกข้อตกลงความรว่ มมอื
การบูรณาการความร่วมมือการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต (กลุ่มเด็กปฐมวัยและผู้สูงอายุ) เม่ือวันท่ี
๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ นำไปส่กู ารพัฒนาคุณภาพของเด็กปฐมวยั สร้างรากฐานทีแ่ ขง็ แรงของ
พลเมอื งคณุ ภาพตอ่ ไป




วตั ถปุ ระสงค์


เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพการบรกิ าร ดแู ล พฒั นาและจดั การศกึ ษา และการดำเนนิ งานสถานพฒั นา

เด็กปฐมวัยทุกสังกัดท่ีดูแลเด็กในเวลากลางวัน ช่วงอายุตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ ๖ ปีบริบูรณ์ หรือ
ก่อนเข้าเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ท่ีสามารถนำไปใช้ประเมินการดำเนินงานของสถานพัฒนา
เด็กปฐมวัยในทุกสังกัด เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดบริการและความต่อเนื่องของการพัฒนา

เดก็ ปฐมวัย




4

กลมุ่ เป้าหมาย


สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย หมายถึง สถานท่ีรับดูแล พัฒนา จัดประสบการณ์เรียนรู้

และการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัยครอบคลุมต้ังแต่ทารกแรกเกิดถึง ๖ ปี หรือก่อนเข้าเรียน

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ท่ใี ชช้ ื่อหลากหลายรวมทกุ สงั กัดในประเทศไทย ได้แก

๑. กระทรวงมหาดไทย : ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และโรงเรียน
อนบุ าล

๒. กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ : สถานรบั เล้ยี งเดก็ เอกชน

๓. กรุงเทพมหานคร : ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ ก่อนวัยเรียน (สำนกั พฒั นาสงั คม) สถานรับเลีย้ ง
เด็กกลางวัน (สำนกั อนามัย) และโรงเรยี นอนบุ าล (สำนกั การศกึ ษา)

๔. กระทรวงสาธารณสุข : ศนู ย์เดก็ เล็กในโรงพยาบาล

๕. กระทรวงศึกษาธิการ : โรงเรียนอนุบาล (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา

ขน้ั พื้นฐาน) และโรงเรียนอนบุ าลเอกชน (สำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน)

๖. หน่วยงานอ่ืนๆ เช่น โรงเรียนอนุบาลสาธิตในมหาวิทยาลัย กระทรวงกลาโหม
สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ มูลนิธิ และองคก์ รเอกชน




มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แหง่ ชาต


มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เป็นมาตรฐานกลางของประเทศใช้แทน
มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ (ซ่ึงเป็นมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔)
เพื่อให้ทุกหน่วยงานและสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ท้ังภาครัฐและเอกชนท่ัวประเทศ ใช้เป็น
แนวทางในการประเมินผลการดำเนินงานและยกระดับคุณภาพ รวมถึงใช้เป็นเครื่องมือ

ประกันคุณภาพภายใน เพ่ือรองรับการตรวจประเมินจากต้นสังกัด และภายนอกจากสำนักงาน
รบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน)

โดยในการจัดทำมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

มาร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย กระทรวง
สาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
กรุงเทพมหานคร สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
นอกจากน้ีผลการวิจัยของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และมาตรฐาน
ต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง เช่น มาตรฐานคุณภาพของอาเซียน มาตรฐานความปลอดภัย คู่มือเฝ้าระวัง

คัดกรองและส่งเสริมพัฒนาการ DSPM เป็นต้น นำมาใช้ประกอบในการจัดทำมาตรฐาน

สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาตดิ ว้ ย


5

มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ถือเป็นมาตรฐานขั้นต้นท่ีจำเป็นสำหรับ

การพัฒนาเด็กของประเทศ และเป็นมาตรฐานเชิงคุณภาพเพื่อใช้ประโยชน์ในการดำเนินงานและ
จัดบริการให้เด็กปฐมวัยได้มีโอกาสเร่ิมต้นชีวิตอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมกัน เพ่ือลด

ความเหลื่อมล้ำ เป็นการเพิ่มคุณภาพทรัพยากรมนุษย์ท่ีสำคัญที่สุดในการนำประเทศไทย

สคู่ วามเจรญิ ก้าวหนา้ ม่ันคง ย่งั ยืน ท่ามกลางความทา้ ทายของโลกในศตวรรษที่ ๒๑

นอกจากน้ี มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ เป็นเคร่ืองมือในการประเมิน
คุณภาพของการดำเนินงานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกสังกัด ท่ีดูแลเด็กในเวลากลางวัน ช่วงอายุ
ตัง้ แตแ่ รกเกิดถงึ อายุ ๖ ปีบริบรู ณ์ หรือกอ่ นเข้าเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ซงึ่ ใชไ้ ด้กบั ทกุ บรบิ ท
โดยได้มีการเทียบเคียงกับมาตรฐานของทุกหน่วยงานที่มีอยู่แล้วร่วมกับมาตรฐานคุณภาพของ

ภูมิภาคอาเซียนฯ ท้ังนี้ หากสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีมีศักยภาพการให้บริการพัฒนาเด็กอย่าง

มีคุณภาพสูงกว่ามาตรฐานน้ี สามารถพิจารณาเพ่ิมเติมเกณฑ์ดังกล่าวได้ตามบริบท เช่น

สถานรับเลี้ยงและพัฒนาเด็กเอกชน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีมีความต้องการพิเศษ โรงเรียน
อนบุ าลท้ังรฐั และเอกชน โรงเรยี นอนุบาลนานาชาติ ฯลฯ


6

สาระของมาตรฐานสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยแห่งชาต




มาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ประกอบด้วยมาตรฐาน ๓ ด้าน ได้แก

• มาตรฐานดา้ นท่ี ๑ การบริหารจัดการสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั

- จำนวน ๕ ตัวบ่งช/ี้ ๒๖ ขอ้

• มาตรฐานด้านท่ี ๒ ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแล และจัดประสบการณ์การเรียนร ู้

และการเล่นเพือ่ พฒั นาเด็กปฐมวยั

- จำนวน ๕ ตวั บง่ ชี้/ ๒๐ ข้อ

• มาตรฐานด้านที่ ๓ คณุ ภาพของเด็กปฐมวยั

- ๓ ก แรกเกิด ถงึ ๒ ปี (๒ ปี ๑๑ เดอื น ๒๙ วัน) จำนวน ๒ ตวั บ่งช/ี้ ๗ ขอ้

- ๓ ข ๓ ปี ถงึ ๖ ปี (กอ่ นเขา้ เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑) จำนวน ๗ ตวั บง่ ช/ี้ ๒๒ ขอ้

สาระของมาตรฐานแต่ละด้าน มดี ังน้




มาตรฐานดา้ นที่ ๑ การบริหารจัดการสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย




ตัวบ่งชที้ ่ี ๑.๑ การบริหารจัดการอยา่ งเป็นระบบ

ตัวบ่งช้ยี อ่ ย

๑.๑.๑ บริหารจัดการสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั อย่างเป็นระบบ

๑.๑.๒ บริหารหลกั สตู รสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั

๑.๑.๓ บรหิ ารจดั การขอ้ มลู อย่างเป็นระบบ

ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๑.๒ การบรหิ ารจัดการบคุ ลากรทุกประเภทตามหนว่ ยงานที่สังกดั

ตัวบง่ ชยี้ ่อย

๑.๒.๑ บรหิ ารจัดการบุคลากรอยา่ งเป็นระบบ

๑.๒.๒ ผู้บริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย/หัวหน้าระดับปฐมวัย/ผู้ดำเนิน

กจิ การ มคี ณุ วฒุ /ิ คณุ สมบตั เิ หมาะสม และบรหิ ารงานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

๑.๒.๓ ครู/ผู้ดูแลเด็กท่ีทำหน้าที่หลักในการดูแลและพัฒนาเด็กปฐมวัย


มีวฒุ ิการศึกษา/คุณสมบัติเหมาะสม


7

๑.๒.๔ บริหารบุคลากรจัดอัตราส่วนของครู/ผู้ดูแลเด็กอย่างเหมาะสม

พอเพยี งตอ่ จำนวนเดก็ ในแต่ละกลุ่มอายุ




เดก็ (อายุ) อตั ราส่วนครู/ผดู้ ูแล : เด็ก(คน) จำนวนเด็กในกล่มุ กิจกรรม


ตำ่ กว่า ๑ ปี ๑ : ๓ กลมุ่ ละไม่เกนิ ๖ คน


ต่ำกวา่ ๒ ปี ๑ : ๕ กลุ่มละไมเ่ กิน ๑๐ คน


ตำ่ กวา่ ๓ ปี ๑ : ๑๐ กลมุ่ ละไม่เกนิ ๒๐ คน


๓ ปี - ก่อนเข้า ป.๑ ๑ : ๑๕ กล่มุ ละไม่เกิน ๓๐ คน





ตวั บง่ ชี้ท่ ี ๑.๓ การบรหิ ารจดั การสภาพแวดลอ้ มเพ่ือความปลอดภยั

ตวั บง่ ชี้ยอ่ ย

๑.๓.๑ บรหิ ารจัดการด้านสภาพแวดลอ้ มเพือ่ ความปลอดภยั อยา่ งเป็นระบบ

๑.๓.๒ โครงสร้างและตัวอาคารมั่นคง ตั้งอยู่ในบริเวณและสภาพแวดล้อม


ที่ปลอดภยั

๑.๓.๓ จดั การความปลอดภยั ของพนื้ ทเ่ี ลน่ /สนามเดก็ เลน่ และสภาพแวดลอ้ ม


ภายนอกอาคาร

๑.๓.๔ จัดการสภาพแวดล้อมภายในอาคาร ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ เคร่ืองใช้


ใหป้ ลอดภัยเหมาะสมกับการใช้งานและเพยี งพอ

๑.๓.๕ จัดให้มีของเล่นท่ีปลอดภัยได้มาตรฐาน มีจำนวนเพียงพอ สะอาด

เหมาะสมกบั ระดบั พัฒนาการของเด็ก

๑.๓.๖ ส่งเสริมให้เด็กปฐมวยั เดนิ ทางอยา่ งปลอดภยั

๑.๓.๗ จัดให้มีระบบป้องกันภัยจากบุคคลท้ังภายในและภายนอก


สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั

๑.๓.๘ จัดให้มีระบบรับเหตุฉุกเฉิน ป้องกันอัคคีภัย/ภัยพิบัติตามความเส่ียง

ของพน้ื ท
ี่
ตวั บง่ ชท้ี ่ ี ๑.๔ การจัดการเพื่อสง่ เสรมิ สุขภาพและการเรยี นรู

ตวั บ่งช้ียอ่ ย

๑.๔.๑ มีการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็ก

และดูแลการเจ็บปว่ ยเบื้องตน้


8

๑.๔.๒ มีแผนและดำเนินการตรวจสุขอนามัยประจำวัน ตรวจสุขภาพ

ประจำปี และปอ้ งกันควบคมุ โรคติดตอ่


๑.๔.๓ อาคารต้องมีพื้นท่ีใช้สอยเป็นสัดส่วนตามกิจวัตรประจำวันของเด็ก

ที่เหมาะสมตามชว่ งวัย และการใช้ประโยชน์


๑.๔.๔ จัดให้มีพื้นท่ี/มุมประสบการณ์ และแหล่งเรียนรู้ในห้องเรียนและ

นอกหอ้ งเรยี น


๑.๔.๕ จัดบริเวณห้องน้ำ ห้องส้วม ที่แปรงฟัน/ล้างมือให้เพียงพอ สะอาด
ปลอดภยั และเหมาะสมกบั การใชง้ านของเดก็


๑.๔.๖ จัดการระบบสุขาภิบาลที่มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมสถานท่ีปรุง
ประกอบอาหาร น้ำด่มื น้ำใช้ กำจดั ขยะ สิง่ ปฏิกูล และพาหะนำโรค


๑.๔.๗ จัดอุปกรณ์ภาชนะและเคร่ืองใช้ส่วนตัวให้เพียงพอกับการใช้งาน

ของเดก็ ทุกคน และดูแลความสะอาดและปลอดภยั อย่างสมำ่ เสมอ


ตัวบง่ ชท้ี ่ี ๑.๕ การสง่ เสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน

ตัวบง่ ชี้ยอ่ ย

๑.๕.๑ มีการสื่อสารเพื่อสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่าง


พ่อแม่/ผู้ปกครองกับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเก่ียวกับตัวเด็กและ

การดำเนนิ งานของสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย

๑.๕.๒ การจดั กจิ กรรมทพ่ี ่อแม่/ผู้ปกครอง/ครอบครวั และชุมชนมีสว่ นรว่ ม

๑.๕.๓ ดำเนินงานให้สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชน

ในเร่ืองการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

๑.๕.๔ มคี ณะกรรมการสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั




มาตรฐานดา้ นท่ี ๒ ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแล และจัดประสบการณ์การเรียนร
ู้
และการเลน่ เพอ่ื พฒั นาเด็กปฐมวัย




ตัวบ่งชที้ ี ่ ๒.๑ การดูแลและพัฒนาเด็กอยา่ งรอบด้าน

ตัวบ่งชย้ี อ่ ย

๒.๑.๑ มีแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตร


การศึกษาปฐมวัย มีการดำเนินงานและประเมนิ ผล

๒.๑.๒ จัดพ้ืนที่/มุมประสบการณ์การเรียนรู้และการเล่นที่เหมาะสมอย่าง

หลากหลาย


9

๒.๑.๓ จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการทุกด้านอย่างบูรณาการตามธรรมชาติ
ของเด็กท่ีเรียนรู้ด้วยประสาทสัมผัส ลงมือทำ ปฏิสัมพันธ์ และ

การเล่น


๒.๑.๔ เลือกใช้ส่ือ/อุปกรณ์ เทคโนโลยี เคร่ืองเล่นและจัดสภาพแวดล้อม
ภายใน-ภายนอก แหลง่ เรียนรู้ ทเ่ี พยี งพอ เหมาะสม ปลอดภยั


๒.๑.๕ เฝ้าระวังติดตามพัฒนาการเด็กรายบุคคลเป็นระยะ เพื่อใช้ผลในการ
จัดกจิ กรรมพัฒนาเดก็ ทุกคนให้เตม็ ตามศักยภาพ


ตัวบ่งช้ีท่ ี ๒.๒ การส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ นร่างกายและดูแลสขุ ภาพ

ตัวบ่งชีย้ อ่ ย

๒.๒.๑ ให้เด็กอายุ ๖ เดือนข้ึนไป รับประทานอาหารที่ครบถ้วนในปริมาณ


ท่เี พียงพอ และสง่ เสรมิ พฤตกิ รรมการกนิ ทีเ่ หมาะสม

๒.๒.๒ จัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสมในการดูแล

สขุ ภาพ ความปลอดภัยในชวี ติ ประจำวนั

๒.๒.๓ ตรวจสุขภาพอนามัยของเด็กประจำวัน ความสะอาดของร่างกาย


ฟันและช่องปากเพือ่ คดั กรองโรคและการบาดเจ็บ

๒.๒.๔ เฝ้าระวังติดตามการเจริญเติบโตของเด็กเป็นรายบุคคล บันทึกผล

ภาวะโภชนาการอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

๒.๒.๕ จัดให้มีการตรวจสุขภาพร่างกาย ฟันและช่องปาก สายตา หู ตาม

กำหนด

ตัวบง่ ชท้ี ี ่ ๒.๓ การส่งเสรมิ พัฒนาการดา้ นสติปญั ญา ภาษาและการสอื่ สาร

ตัวบง่ ชยี้ ่อย

๒.๓.๑ จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กได้สังเกต สัมผัส ลองทำ คิดต้ังคำถาม


สบื เสาะหาความรู้ แกป้ ญั หา จินตนาการ คดิ สร้างสรรค์ โดยยอมรับ
ความคดิ และผลงานท่แี ตกต่างของเดก็

๒.๓.๒ จัดกิจกรรมและประสบการณ์ทางภาษาที่มีความหมายต่อเด็ก เพื่อ
การส่ือสารอย่างหลากหลาย ฝึกฟัง พูด ถาม ตอบ เล่าและสนทนา
ตามลำดบั ขนั้ ตอนพัฒนาการ

๒.๓.๓ จัดกิจกรรมปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยรักการอ่านให้เด็กมีทักษะการดูภาพ
ฟังเร่ืองราว พูดเล่า อ่าน วาด/เขียน เบื้องต้น ตามลำดับพัฒนาการ
โดยครู/ผดู้ ูแลเด็ก เป็นตัวอยา่ งของการพดู และการอา่ นทีถ่ ูกต้อง


10

๒.๓.๔ จดั ใหเ้ ดก็ มปี ระสบการณเ์ รยี นรเู้ กย่ี วกบั ตวั เดก็ บคุ คล สง่ิ ตา่ งๆ สถานท ี่

และธรรมชาติรอบตวั ดว้ ยวิธีการท่ีเหมาะสมกบั วยั และพฒั นาการ


๒.๓.๕ จัดกิจกรรมและประสบการณ์ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์

เบ้ืองต้นตามวัย โดยเด็กเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัส และลงมือปฏิบัติ
ดว้ ยตนเอง


ตวั บง่ ช้ที ี่ ๒.๔ การส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ-สังคม ปลูกฝังคุณธรรมและ

ความเป็นพลเมืองด

ตัวบ่งช้ียอ่ ย

๒.๔.๑ สร้างความสัมพันธ์ที่ดีและมั่นคง ระหว่างผู้ใหญ่กับเด็ก จัดกิจกรรม

สร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กกับเด็ก และการแก้ไข

ขอ้ ขดั แย้งอยา่ งสร้างสรรค์

๒.๔.๒ จัดกิจกรรมส่งเสริมใหเ้ ด็กมีความสุข แจม่ ใส รา่ เรงิ ได้แสดงออกด้าน
อารมณ์ความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง โดยผ่านการเคล่ือนไหวร่างกาย
ศิลปะ ดนตรี ตามความสนใจและถนดั

๒.๔.๓ จัดกิจกรรมและประสบการณ์ ปลูกฝังคุณธรรมให้เด็กใฝ่ดี มีวินัย
ซ่ือสัตย์ รู้จักสิทธิและหน้าท่ีรับผิดชอบของพลเมืองดี รักครอบครัว
โรงเรียน ชุมชนและประเทศชาติด้วยวิธีท่ีเหมาะสมกับวัย และ
พัฒนาการ

ตัวบ่งชีท้ ี ่ ๒.๕ การสง่ เสรมิ เด็กในระยะเปลี่ยนผา่ นใหป้ รับตัวส่กู ารเชือ่ มตอ่ ในขั้นถัดไป

ตวั บง่ ชี้ย่อย

๒.๕.๑ จัดกิจกรรมกับผู้ปกครองให้เตรียมเด็กก่อนจากบ้านเข้าสู่สถานพัฒนา
เด็กปฐมวัย/โรงเรียน และจัดกิจกรรมช่วงปฐมนิเทศให้เด็กค่อยปรับ
ตัวในบรรยากาศทเี่ ป็นมติ ร

๒.๕.๒ จัดกิจกรรมส่งเสริมการปรับตัวก่อนเข้ารับการศึกษาในระดับท่ีสูงข้ึน
แต่ละขัน้ จนถงึ การเป็นนกั เรียนระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑




11

มาตรฐานด้านท่ี ๓ คุณภาพของเดก็ ปฐมวยั




• สำหรับเดก็ แรกเกิด - อายุ ๒ ปี (๒ ปี ๑๑ เดอื น ๒๙ วัน)

ตัวบ่งชท้ี ่ี ๓.๑ ก เด็กมกี ารเจรญิ เติบโตสมวยั

ตวั บ่งชย้ี ่อย

๓.๑.๑ ก เด็กมีน้ำหนักตัวเหมาะสมกับวัยและสูงดีสมส่วน ซ่ึงมีบันทึกเป็น

รายบคุ คล

ตัวบ่งช้ีท่ี ๓.๒ ก เด็กมีพฒั นาการสมวัย

ตวั บ่งช้ียอ่ ย

๓.๒.๑ ก เดก็ มพี ัฒนาการสมวัยโดยรวม ๕ ด้าน

๓.๒.๒ ก รายดา้ น : เด็กมีพัฒนาการกลา้ มเนอ้ื มดั ใหญ่ (Gross Motor)

๓.๒.๓ ก รายดา้ น : เด็กมีพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา

สมวยั (Fine Motor Adaptive)

๓.๒.๔ ก รายดา้ น : เดก็ มพี ฒั นาการดา้ นการรบั รแู้ ละเขา้ ใจภาษา (Receptive


Language)

๓.๒.๕ ก รายด้าน : เด็กมีพัฒนาการการใช้ภาษาสมวัย (Expressive

Language)

๓.๒.๖ ก รายด้าน : เด็กมีพัฒนาการการช่วยเหลือตนเองและการเข้าสังคม

(Personal Social)

• สำหรบั เดก็ อายุ ๓ ปี - อายุ ๖ ปี (ก่อนเข้าชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑)

ตัวบง่ ชีท้ ี่ ๓.๑ ข เดก็ มกี ารเจรญิ เติบโตสมวยั และมีสุขนสิ ยั ทเ่ี หมาะสม

ตัวบง่ ชี้ย่อย

๓.๑.๑ ข เด็กมีน้ำหนักตัวเหมาะสมกับวัยและสูงดีสมส่วน ซึ่งมีบันทึกเป็น

รายบคุ คล

๓.๑.๒ ข เด็กมสี ขุ นสิ ัยที่ดีในการดแู ลสขุ ภาพตนเองตามวยั

๓.๑.๓ ข เดก็ มสี ขุ ภาพช่องปากดี ไม่มีฟันผ

ตวั บง่ ชี้ที่ ๓.๒ ข เดก็ มีพฒั นาการสมวัย

ตัวบ่งชยี้ ่อย

๓.๒.๑ ข เด็กมพี ัฒนาการสมวัยโดยรวม ๕ ดา้ น


12

ตัวบ่งชท้ี ี่ ๓.๓ ข เดก็ มีพฒั นาการด้านการเคลอื่ นไหว

ตวั บง่ ชีย้ อ่ ย

๓.๓.๑ ข เด็กมีพัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ สามารถเคลื่อนไหว

และทรงตัวไดต้ ามวยั

๓.๓.๒ ข เด็กมีพัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก และการประสานงาน

ระหวา่ งตากับมือตามวัย

ตวั บ่งช้ที ี่ ๓.๔ ข เดก็ มีพฒั นาการดา้ นอารมณ์จติ ใจ

ตัวบ่งชี้ย่อย

๓.๔.๑ ข เด็กแสดงออก ร่าเริง แจ่มใส รู้สึกมั่นคงปลอดภัย แสดงความรู้สึก


ที่ดตี อ่ ตนเองและผอู้ ่นื ได้สมวยั

๓.๔.๒ ข เด็กมีความสนใจ และร่วมกิจกรรมต่างๆ อย่างสมวัย ซ่ึงรวม


การเลน่ การทำงาน ศิลปะ ดนตรี กฬี า

๓.๔.๓ ข เด็กสามารถอดทน รอคอย ควบคุมตนเอง ยับยั้งชั่งใจ ทำตาม


ข้อตกลง คำนึงถึงความรู้สึกของผู้อ่ืน มีกาลเทศะ ปรับตัวเข้ากับ
สถานการณ์ใหมไ่ ดส้ มวัย

ตัวบง่ ชท้ี ่ ี ๓.๕ ข เดก็ มีพฒั นาการดา้ นสติปญั ญา เรยี นรแู้ ละสรา้ งสรรค์

ตวั บ่งชี้ยอ่ ย

๓.๕.๑ ข เด็กบอกเกี่ยวกับตัวเด็ก บุคคล สถานท่ีแวดล้อมธรรมชาติ และ

ส่งิ ตา่ งๆ รอบตัวเดก็ ไดส้ มวัย

๓.๕.๒ ข เดก็ มพี นื้ ฐานดา้ นคณติ ศาสตร์ สามารถสงั เกต จำแนก และเปรยี บเทยี บ

จำนวน มิติสมั พนั ธ์ (พืน้ ที่/ระยะ) เวลา ไดส้ มวยั

๓.๕.๓ ข เดก็ สามารถคิดอยา่ งมีเหตผุ ล แกป้ ัญหาได้สมวยั

๓.๕.๔ ข เด็กมจี ินตนาการ และความคดิ สร้างสรรค์ ทแี่ สดงออกได้สมวยั

๓.๕.๕ ข เดก็ มคี วามพยายาม มงุ่ มัน่ ตงั้ ใจ ทำกิจกรรมให้สำเรจ็ สมวัย

ตัวบ่งชท้ี ี่ ๓.๖ ข เด็กมพี ฒั นาการดา้ นภาษาและการสื่อสาร

ตวั บง่ ช้ียอ่ ย

๓.๖.๑ ข เดก็ สามารถฟงั พดู จับใจความ เล่า สนทนา และส่ือสารไดส้ มวัย

๓.๖.๒ ข เด็กมีทักษะในการดูรูปภาพ สัญลักษณ์ การใช้หนังสือ รู้จัก

ตัวอักษร การคิดเขียนคำ และการอ่านเบ้ืองต้นได้สมวัยและ

ตามลำดับพฒั นาการ


13

๓.๖.๓ ข เด็กมีทักษะการวาด การขีดเขียนตามลำดับข้ันตอนพัฒนาการ
สมวยั นำไปส่กู ารขดี เขยี นคำทคี่ ุน้ เคย และสนใจ


๓.๖.๔ ข เด็กมีทักษะในการส่ือสารอย่างเหมาะสมตามวัย โดยใช้ภาษาไทย
เป็นหลัก และมีความคนุ้ เคยกับภาษาอนื่ ด้วย


ตวั บ่งชท้ี ี่ ๓.๗ ข เดก็ มีพฒั นาการดา้ นสงั คม คณุ ธรรม มีวินัย และความเปน็ พลเมืองดี

ตัวบง่ ช้ยี อ่ ย

๓.๗.๑ ข เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้อย่างสมวัย และแสดงออกถึงการ

ยอมรับความแตกตา่ งระหว่างบุคคล

๓.๗.๒ ข เด็กมคี วามเมตตา กรุณา มีวินัย ซอื่ สตั ย์ รบั ผดิ ชอบต่อตนเองและ

ส่วนรวม และมีคา่ นยิ มท่พี ึงประสงคส์ มวยั

๓.๗.๓ ข เด็กสามารถเล่น และทำงานร่วมกับผู้อ่ืนเป็นกลุ่ม เป็นได้ท้ังผู้นำ

และผู้ตาม แก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค

๓.๗.๔ ข เด็กภาคภูมิใจท่ีเป็นสมาชิกท่ีดีในครอบครัว ชุมชน สถานพัฒนา

เด็กปฐมวัย และตระหนักถึงความเป็นพลเมืองดีของประเทศไทย
และภูมิภาคอาเซียน






------------------------------


14

ภาคผนวก ๑


ค่มู ือมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั แห่งชาต




คู่มอื มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาต





ความเปน็ มา


คณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ (ก.พ.ป.) ได้เห็นชอบให้คณะอนุกรรมการ
พัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย  จัดทำมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติขึ้นเป็น

มาตรฐานกลางให้ทกุ หนว่ ยงานใช้ร่วมกันในการประเมินเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพการบริการดูแลพฒั นา

และจัดการศึกษาสำหรับเด็กต้ังแต่แรกเกิดถึงก่อนเข้าประถมศึกษา โดยมีการประสานงาน

คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจฯ ทั้งสองคณะ (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและอนุบาล) ร่วมกับคณะทำงาน
ปรบั ปรงุ มาตรฐานฯ คณะอนกุ รรมการประสานและสง่ เสรมิ การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั คณะกรรมการ

ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (กดยช.) นับว่าเป็นการปรับกระบวนทัศน์ ให้ใช้

เด็กเป็นที่ตั้งของการกำหนดมาตรฐาน คำนึงถึงการตอบสนองต่อสิทธิพ้ืนฐานที่เด็กทุกคน

พึงได้รับ ซึ่งถือเป็นการวางรากฐานการพัฒนามนุษย์แทนการใช้บริบทหรือหน่วยงานต้นสังกัดเป็นทตี่ งั้

การมีมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติฉบับเดียวเป็นมาตรฐานกลางให้ทุกหน่วยงาน

ร่วมจัดทำ ร่วมใช้เป็นหลักประเมินการดำเนินงานให้เป็นแนวทางเดียวกันและประสานงาน เพื่อ
มุง่ เป้าหมายเดยี วกนั คอื การพฒั นาคณุ ภาพ จึงจำเปน็ ท่ีจะต้องจัดทำคู่มือมาตรฐานสถานพฒั นา
เด็กปฐมวัยแห่งชาติที่ชัดเจน สามารถนำไปใช้ประเมินเพื่อพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพใน
บริบทต่างๆ โดยผู้ใช้มีภูมิหลังและมาจากต้นสังกัดที่แตกต่างกัน การจัดทำคู่มืออันนำไป

สู่การปฏิบัติ ดำเนินตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทั้ง ๓ ด้าน ตามตัวบ่งชี้ และแบบ
ประเมินต้องสร้างความเข้าใจ มีข้อมูลท่ีเหมาะกับการใช้งานและแหล่งอ้างอิงเพื่อเป็นแนวทาง

สู่การปฏิบัติอย่างทั่วถึง นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพของเด็กปฐมวัย สร้างรากฐานท่ีแข็งแรงของ
พลเมอื งคณุ ภาพต่อไป

การขับเคล่ือนมาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั แหง่ ชาติไปสกู่ ารปฏิบตั ิ มดี ังน
้ี
๑. สร้างการรับรู้ความเข้าใจกระบวนการประเมิน ประสานความร่วมมือเพื่อพัฒนา
คุณภาพสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติด้วยการใช้มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ
สำหรับบุคลากร ผู้รับผิดชอบด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัยใน ๔ กระทรวงหลัก และหน่วยงาน

ทเ่ี กย่ี วขอ้ งทง้ั ภาครัฐและเอกชน

๒. จัดสรรงบประมาณเพ่ือสนับสนุนการขับเคลื่อนมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
แห่งชาติ เพ่ือบูรณาการการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างเป็น

รปู ธรรม


17

๓. ดำเนินการให้สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ ๔ กระทรวง
และภาคีเครือข่ายดำเนินงานตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติอย่างทั่วถึง เช่น

เผยแพร่ในระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี ในเว็บไซต์ออนไลน์ สร้างความตระหนักในส่ือ
สาธารณะเพือ่ ใหค้ รอบครวั และสังคมมีส่วนรว่ มรบั รู้ และพัฒนาคณุ ภาพสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั

๔. มีการพฒั นาพิจารณารวบรวมข้อมลู สรปุ ผลการตดิ ตาม และรายงานความกา้ วหน้า
ผลการขับเคล่ือนมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติสู่การปฏิบัติ ในระดับท้องถิ่น อำเภอ
รายงานต่อคณะอนุกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัด เพ่ือเสนอต่อคณะกรรมการส่งเสริม
การพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ (กดยช.) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) หรือ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) รายงานต่อคณะกรรมการพัฒนา

เด็กปฐมวยั แหง่ ชาติ (ก.พ.ป.) เสนอตอ่ คณะรฐั มนตรี ปีละ ๑ ครั้ง เพ่อื พัฒนาคณุ ภาพตอ่ ไป




วตั ถปุ ระสงค์


เพื่อใช้เป็นคู่มือในการสรุปผลการประเมิน โดยการศึกษาคู่มือมาตรฐานสถานพัฒนา

เดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ พรอ้ มรายการเกณฑก์ ารพจิ ารณาตามตวั บง่ ชี้ และแบบบนั ทกึ ผลการประเมนิ

ผลการประเมินที่ได้เป็นระดับคุณภาพที่ระบุประเด็นเฉพาะเจาะจงที่ต้องปรับปรุง ท่ีสามารถ

นำไปใช้ประเมินการดำเนินงานของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในทุกสังกัด เพ่ือพัฒนาคุณภาพ

การจัดบริการและความต่อเนอื่ งของการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย




คมู่ อื มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ


เป็นเคร่ืองมือในการประเมินคุณภาพของการดำเนินงานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย

ทุกสังกดั ท่ดี ูแลเด็กในเวลากลางวัน ชว่ งอายุต้ังแตแ่ รกเกดิ ถึงอายุ ๖ ปีบรบิ ูรณ์ หรือกอ่ นเขา้ เรียน
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑

มาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ ประกอบดว้ ยมาตรฐาน ๓ ดา้ น ได้แก่

• มาตรฐานดา้ นที่ ๑ การบริหารจัดการสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั

- จำนวน ๕ ตวั บ่งช้/ี ๒๖ ข้อ

• มาตรฐานด้านที่ ๒ ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแล และจัดประสบการณ์การเรียนร ู้

และการเล่น เพือ่ พัฒนาเดก็ ปฐมวัย

- จำนวน ๕ ตวั บ่งช้ี/ ๒๐ ขอ้

• มาตรฐานดา้ นท่ี ๓ คณุ ภาพของเด็กปฐมวัย

- ๓ ก แรกเกดิ ถึง ๒ ปี (๒ ปี ๑๑ เดอื น ๒๙ วัน) จำนวน ๒ ตวั บ่งช้/ี ๗ ข้อ

- ๓ ข ๓ ปี ถงึ ๖ ปี (กอ่ นเขา้ เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑) จำนวน ๗ ตวั บง่ ช/้ี ๒๒ ขอ้


18

การประเมินเพื่อพัฒนาคุณภาพ ท่ีเน้นการดูแล พัฒนาและจัดการศึกษาให้เหมาะสม
สำหรับเด็กปฐมวัยเป็นรายบุคคล พิจารณาตามตัวบ่งช้ีเป็นรายข้อย่อย ๔ ระดับคะแนน คือ

ไมผ่ ่าน (๐) ผ่านขนั้ ตน้ (๑) ดี (๒) และดีมาก (๓) นำคะแนนมาตรฐานแตล่ ะดา้ น คิดเป็นร้อยละ
แลว้ นำมารวมกนั ๓ ด้าน เฉล่ยี เป็นคะแนนรวม และนบั จำนวนข้อทไี่ มผ่ า่ นต้องปรับปรงุ มาเปน็
เกณฑ์การประเมินระดบั คุณภาพ ดังตาราง



การสรุปผลการประเมินของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
แหง่ ชาต


ระดับคุณภาพ
เกณฑ์การพิจารณา


คะแนนเฉลย่ี จำนวนข้อทต่ี ้องปรบั ปรงุ


A ดีมาก ร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป ไม่ม


B ดี ร้อยละ ๖๐-๗๙.๙๙ ๑-๗ ขอ้


C ผา่ นเกณฑข์ นั้ ตน้ ร้อยละ ๔๐-๕๙.๙๙ ๘-๑๕ ขอ้


D ต้องปรับปรงุ ตำ่ กว่ารอ้ ยละ ๔๐ ๑๖ ข้อขึ้นไป


มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ ถือเป็นมาตรฐานข้ันพื้นฐานของประเทศซึ่ง
ใช้ได้กับทุกบริบท โดยได้มีการเทียบเคียงกับมาตรฐานของทุกหน่วยงานที่มีอยู่แล้วร่วมกับ
มาตรฐานคุณภาพของภูมิภาคอาเซียนฯ ท้ังนี้ หากสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีศักยภาพการให้
บริการพัฒนาเด็กอย่างมีคุณภาพสูงกว่ามาตรฐานนี้ สามารถพิจารณาเพ่ิมเติมเกณฑ์ดังกล่าวได้
ตามบริบท เช่น สถานรับเล้ียงและพัฒนาเด็กเอกชน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีมีความต้องการ
พเิ ศษ โรงเรียนอนุบาลทั้งรฐั และเอกชน โรงเรียนอนุบาลนานาชาติ ฯลฯ

ในกรณที สี่ ถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ไมผ่ า่ นการประเมนิ ตามมาตรฐานนี้ คอื ระดบั คณุ ภาพ D

(ตอ้ งปรบั ปรุง) หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งในทกุ ระดับชมุ ชนและสังคมจะตอ้ งช่วยเหลือ สนับสนนุ เพอื่
ให้ดำเนินการได้ตามมาตรฐานข้ันต้นเป็นอย่างน้อย แต่ไม่ควรปรับลดเกณฑ์ให้ต่ำลงเน่ืองจาก
มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยฉบับนี้ถือเป็นมาตรฐานขั้นต้นที่จำเป็นสำหรับการพัฒนาเด็ก
ของประเทศ และเป็นมาตรฐานเชิงคุณภาพเพื่อใช้ประโยชน์ในการดำเนินงานและจัดบริการให้
เด็กปฐมวัยได้มีโอกาสเริ่มต้นชีวิตอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมกัน เพ่ือลดความเหล่ือมล้ำ
เป็นการเพิ่มคุณภาพทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญท่ีสุดในการนำประเทศไทยสู่ความเจริญก้าวหน้า
มน่ั คง ยงั่ ยืน ทา่ มกลางความทา้ ทายของโลกในศตวรรษท่ี ๒๑




19

มาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ

สำหรบั เด็กแรกเกดิ - อายุ ๖ ปี (ก่อนเขา้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑)





มาตรฐานดา้ นที่ ๑
การบรหิ ารจดั การสถานพฒั นาเด็กปฐมวัย



ตวั บง่ ชที้ ี่ ช่ือตัวบ่งช้ี จำนวนขอ้ ย่อย


๑.๑ การบรหิ ารจัดการอยา่ งเปน็ ระบบ ๓


๑.๒ การบริหารจดั การบคุ ลากรทุกประเภทตามหน่วยงานท่สี ังกัด ๔


๑.๓ การบรหิ ารจัดการสภาพแวดลอ้ มเพอ่ื ความปลอดภัย ๘


๑.๔ การจัดการเพ่อื ส่งเสริมสุขภาพและการเรียนร ู้ ๗


๑.๕ การสง่ เสริมการมีสว่ นร่วมของครอบครัวและชุมชน ๔


มาตรฐานด้านท่ี ๒ ครู/ผดู้ แู ลเด็กให้การดแู ล และจัดประสบการณ์การเรียนรแู้ ละการเลน่ เพ่ือพัฒนา

เดก็ ปฐมวยั


ตัวบง่ ชี้ที ่ ชอื่ ตวั บง่ ช้ ี จำนวนข้อย่อย


๒.๑ การดูแลและพฒั นาเดก็ อยา่ งรอบดา้ น ๕


๒.๒ การส่งเสริมพฒั นาการดา้ นร่างกายและดูแลสขุ ภาพ ๕


๒.๓ การส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ นสตปิ ัญญา ภาษาและการสื่อสาร ๕


๒.๔ การส่งเสรมิ พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ-สงั คม ปลูกฝังคณุ ธรรม ๓

และความเปน็ พลเมืองด ี


๒.๕ การสง่ เสริมเด็กในระยะเปลย่ี นผา่ นให้ปรับตวั สู่การเช่ือมต่อในข้นั ถัดไป

20

มาตรฐานดา้ นท่ี ๓ คุณภาพของเด็กปฐมวยั


ตัวบ่งชีท้ ่ี ชื่อตัวบง่ ช ้ี จำนวนขอ้ ยอ่ ย


สำหรบั เดก็ แรกเกิด - อายุ ๒ ปี (๒ ปี ๑๑ เดือน ๒๙ วนั )




๓.๑ ก เดก็ มกี ารเจริญเตบิ โตสมวัย


๓.๒ ก เดก็ มพี ฒั นาการสมวัย ๑



สำหรบั เดก็ อายุ ๓ ปี - อายุ ๖ ปี (ก่อนเขา้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑)




๓.๑ ข เด็กมกี ารเจริญเตบิ โตสมวัยและมสี ขุ นิสัยทเ่ี หมาะสม ๔



๓.๒ ข เดก็ มีพฒั นาการสมวยั

๓.๓ ข เดก็ มีพัฒนาการด้านการเคล่อื นไหว

๓.๔ ข เด็กมพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์จิตใจ

๓.๕ ข เด็กมพี ัฒนาการด้านสติปญั ญา เรียนรแู้ ละสร้างสรรค ์

๓.๖ ข เดก็ มพี ฒั นาการด้านภาษาและการส่ือสาร

๓.๗ ข เดก็ มีพฒั นาการด้านสังคม คณุ ธรรม มีวนิ ยั และความเป็นพลเมอื งด ี

21

มาตรฐานดา้ นท่ี ๑ การบรหิ ารจัดการสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั มาตรฐานด้านที่ ๑ 



ขอ้ มลู ประกอบ

ตัวบง่ ชที้ ี่ ๑.๑ การบรหิ ารจดั การอย่างเป็นระบบ
การพจิ ารณา

- แผนการบรหิ ารจดั การ


เกณฑก์ ารพจิ ารณา ตามบรบิ ทของ

ขอ้ รายการพจิ ารณา สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

๐ ๑ ๒ ๓ - บนั ทกึ /รายงานผล

ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก
การดำเนนิ งาน

- บนั ทกึ การปรบั ปรงุ /

๑.๑.๑ บรหิ ารจดั การสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั อยา่ งเปน็ ระบบ ไมม่ แี ผนและ ดำเนนิ งานตาม ดำเนนิ งานตาม ดำเนนิ งานตาม พฒั นาแผนและ

❏ ๑. จดั ทำแผนบรหิ ารจดั การสถานพฒั นา ไมม่ กี ารปฏบิ ตั ิ รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา การดำเนนิ งาน

เดก็ ปฐมวยั โดยสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั / อยา่ งเปน็ ระบบ ขอ้ ๑ และ ๒ ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ครบทกุ ขอ้ - หลกั สตู รสถานพฒั นา

หนว่ ยงานทกี่ ำกบั ดแู ล เดก็ ปฐมวยั

❏ ๒. ปฏบิ ตั ติ ามแผนการบรหิ ารจดั การ - บนั ทกึ /รายงาน

สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ผลการดำเนนิ งาน

22 ❏ ๓. ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานตามแผน - บนั ทกึ การปรบั ปรงุ /

❏ ๔. นำผลจากการประเมนิ ไปพฒั นาและปรบั ปรงุ พฒั นาหลกั สตู ร

การบรหิ ารจดั การสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั


๑.๑.๒ บรหิ ารหลกั สตู รสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ไมม่ หี ลกั สตู ร ดำเนนิ งานตาม ดำเนนิ งานตาม ดำเนนิ งานตาม
❏ ๑. จดั ทำหลกั สตู รสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา
สอดคลอ้ งกบั หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั และไมม่ กี ารปฏบิ ตั ิ ขอ้ ๑ และ ๒ ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ครบทกุ ขอ้
ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร อยา่ งเปน็ ระบบ
❏ ๒. นำหลกั สตู รสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
ไปใชอ้ บรมเลย้ี งดเู ดก็ ตามวถิ ชี วี ติ ประจำวนั
และจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู

❏ ๓. ประเมนิ ผลการนำหลกั สตู รสถานพฒั นา


เดก็ ปฐมวยั ไปใช ้

❏ ๔. นำผลการประเมนิ ไปพฒั นาและปรบั ปรงุ

หลกั สตู รสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑.๑ การบริหารจดั การอยา่ งเป็นระบบ (ตอ่ )



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ นั้ ตน้ ด ี ดมี าก


๑.๑.๓ บรหิ ารจดั การขอ้ มลู อยา่ งเปน็ ระบบ ไมม่ กี ารรวบรวม มแี ละดำเนนิ การ มแี ละดำเนนิ การ มแี ละดำเนนิ การ - เอกสาร/หลกั ฐาน

❏ ๑. รวบรวมและจดั เกบ็ ขอ้ มลู และจดั เกบ็ ขอ้ มลู ตามรายการพจิ ารณา ตามรายการพจิ ารณา ตามรายการพจิ ารณา แสดงขอ้ มลู ทจี่ ดั เกบ็

ในการบรหิ ารจดั การและขอ้ มลู เกยี่ วกบั เดก็ อยา่ งเปน็ ระบบ ขอ้ ๑ และ ๒ ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ครบทกุ ขอ้ - รายงานผลการ

❏ ๒. นำขอ้ มลู ทจ่ี ดั เกบ็ ไปใชป้ ระโยชน ์ ประมวลผล

❏ ๓. ประมวลผลการดำเนนิ งานและจดั ทำรายงาน - รายงานประจำป/ี

ผลการดำเนนิ งานประจำป ี รายงานการประเมนิ

❏ ๔. บรหิ ารจดั การขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ระบบอยา่ งครบถว้ น ตนเองของสถานพฒั นา

ถกู ตอ้ งและเปน็ ปจั จบุ นั เดก็ ปฐมวยั

23 - ระบบสารสนเทศ

ทมี่ ขี อ้ มลู เปน็ ปจั จบุ นั

- ขอ้ มลู เลขประจำตวั

๑๓ หลกั ของเดก็

ตวั บง่ ชที้ ี่ ๑.๒ การบรหิ ารจดั การบคุ ลากรทกุ ประเภทตามหนว่ ยงานทสี่ งั กดั



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ นั้ ตน้ ด ี ดมี าก


๑.๒.๑ บรหิ ารจดั การบคุ ลากรอยา่ งเปน็ ระบบ ไมม่ กี ารบรหิ ารจดั การ บรหิ ารจดั การ บรหิ ารจดั การตาม บรหิ ารจดั การ - แผนผงั โครงสรา้ ง

❏ ๑. จดั ทำโครงสรา้ ง คณุ สมบตั แิ ละอตั รากำลงั บคุ ลากรตาม ตามขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ขอ้ ๑, ๒, ๓ และ ครบทกุ ขอ้ และระเบยี บปฏบิ ตั งิ าน

❏ ๒. มกี ระบวนการคดั เลอื ก โดยคำนงึ ถงึ ขอ้ พจิ ารณา อกี ๑ ขอ้ ตามรายการพจิ ารณา ของบคุ ลากร

สขุ ภาพกายสขุ ภาพจติ (ขอ้ ๔ หรอื ๕ หรอื ๖) - กฎระเบยี บการรบั

❏ ๓. ไมใ่ ชส้ ารเสพตดิ ไมเ่ คยไดร้ บั โทษการกระทำ บคุ ลากรตามหนว่ ยงาน

ความผดิ ทเ่ี กยี่ วกบั ความรนุ แรง โทษทเี่ กย่ี วกบั ตน้ สงั กดั

การกระทำผดิ ตอ่ เดก็ - เอกสาร/ภาพถา่ ย

❏ ๔. มกี ารตรวจสขุ ภาพประจำปที กุ คนและ กจิ กรรม/บนั ทกึ

24 ประเมนิ ความเครยี ดดว้ ยตนเอง การประชมุ

- แฟม้ ประวตั สิ ขุ ภาพ

โดยมกี ารชว่ ยเหลอื ทจ่ี ำเปน็ บคุ ลากรทกุ คน

❏ ๕. ตดิ ตาม สนบั สนนุ การทำงานของบคุ ลากร

โดยจดั ใหม้ สี วสั ดกิ ารและไดร้ บั สทิ ธปิ ระโยชน ์
ตา่ งๆ ตามระเบยี บของหนว่ ยงานตน้ สงั กดั

❏ ๖. พฒั นาบคุ ลากรอยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนอื่ ง

ตวั บง่ ชที้ ี่ ๑.๒ การบรหิ ารจดั การบคุ ลากรทกุ ประเภทตามหนว่ ยงานทสี่ งั กดั (ตอ่ )



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก


๑.๒.๒ ผบู้ รหิ ารสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั /หวั หนา้ ไมม่ กี ารบรหิ ารจดั การ บรหิ ารจดั การ บรหิ ารจดั การตาม บรหิ ารจดั การ - ใบแสดงคณุ วฒุ กิ ารศกึ ษา

ระดบั ปฐมวยั /ผดู้ ำเนนิ กจิ การ มคี ณุ วฒุ /ิ บคุ ลากรตาม ตามขอ้ ๑ และ ๒ ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ครบทกุ ขอ้ - ขอ้ กำหนดเกย่ี วกบั

คณุ สมบตั เิ หมาะสม และบรหิ ารงานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ขอ้ พจิ ารณา ตามรายการพจิ ารณา บทบาทหนา้ ท่ี

❏ ๑. มวี ฒุ ทิ างการศกึ ษาไมต่ ำ่ กวา่ ปรญิ ญาตรี ของบคุ ลากร

สาขาวชิ าเอกอนบุ าลศกึ ษาหรอื ปฐมวยั - หลกั ฐานการผา่ น

- กรณที ม่ี วี ฒุ ปิ รญิ ญาตรสี าขาทเ่ี กย่ี วขอ้ ง การอบรม

(จติ วทิ ยา แพทย์ พยาบาล สาธารณสขุ - เอกสารผลการประเมนิ

คหกรรม) ตอ้ งมกี ารศกึ ษารายวชิ าทเี่ กยี่ วขอ้ ง เชน่ เอกสารความ

25 กบั เดก็ ปฐมวยั อยา่ งนอ้ ย ๓ หนว่ ยกติ พงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ าร


(ไมต่ ำ่ กวา่ ๔๕ ชว่ั โมง) ผรู้ ว่ มงาน ใบรบั รอง

- กรณที ม่ี วี ฒุ กิ ารศกึ ษาปรญิ ญาตรไี มต่ รง จากหนว่ ยงานอนื่

ตามทก่ี ำหนด ตอ้ งมปี ระสบการณ ์

ในการทำงานเกย่ี วกบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

อยา่ งตอ่ เนอื่ งมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ ป ี

และผา่ นการฝกึ อบรมไมต่ ำ่ กวา่ ๔๕ ชว่ั โมง

❏ ๒. สนบั สนนุ กำกบั ตดิ ตาม การปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี

ของบคุ ลากรใหเ้ ปน็ ไปตามแผน

❏ ๓. จดั กจิ กรรมทส่ี รา้ งสรรคเ์ พอื่ การสรา้ ง

ความสมั พนั ธท์ ดี่ รี ะหวา่ งบคุ ลากร

ครอบครวั ของเดก็ และเครอื ขา่ ยภายนอก

❏ ๔. เปน็ ตวั อยา่ งทด่ี ใี นการพฒั นาตนเอง

อยา่ งตอ่ เนอื่ ง

ตวั บง่ ชที้ ่ี ๑.๒ การบรหิ ารจดั การบคุ ลากรทกุ ประเภทตามหนว่ ยงานทส่ี งั กดั (ตอ่ )



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก


๑.๒.๓ คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ ทท่ี ำหนา้ ทหี่ ลกั ในการดแู ลและพฒั นา คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ - ใบแสดงคณุ วฒุ

เดก็ ปฐมวยั มวี ฒุ กิ ารศกึ ษา/คณุ สมบตั เิ หมาะสม มคี ณุ สมบตั เิ หมาะสม มคี ณุ สมบตั เิ หมาะสม มคี ณุ สมบตั เิ หมาะสม มคี ณุ สมบตั เิ หมาะสม - หลกั ฐานการผา่ น

❏ ๑. ผทู้ ำหนา้ ทคี่ รมู ใี บประกอบวชิ าชพี ครู (ตาม ขอ้ ๑ และ ๒) (ตาม ขอ้ ๑ และ ๒) (ตาม ขอ้ ๑ และ ๒) (ตาม ขอ้ ๑ และ ๒) การอบรม

มวี ฒุ ทิ างการศกึ ษาไมต่ ำ่ กวา่ ปรญิ ญาตรี นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๒๕ รอ้ ยละ ๒๕-๕๐ รอ้ ยละ ๕๑-๗๕ มากกวา่ รอ้ ยละ - ใบรบั รองการอบรม

สาขาวชิ าเอกอนบุ าลศกึ ษาหรอื ปฐมวยั ของจำนวนคร/ู ของจำนวนคร/ู ผดู้ แู ล ของจำนวนคร/ู ผดู้ แู ล ๗๕ ขนึ้ ไป ของจำนวน หรอื เอกสารการอบรม

หรอื กรณที ม่ี วี ฒุ ปิ รญิ ญาตรสี าขาทเี่ กย่ี วขอ้ ง ผดู้ แู ลทง้ั หมด ทงั้ หมด (หากมจี ำนวน ทงั้ หมด และมขี อ้ ๓ คร/ู ผดู้ แู ลทง้ั หมด

(ครสู าขาอนื่ ทไ่ี มใ่ ชเ่ อกปฐมวยั จติ วทิ ยา ทงั้ หมด นอ้ ยกวา่ ๔ คน และมขี อ้ ๓

แพทย์ พยาบาล สาธารณสขุ คหกรรม) ตอ้ งมอี ยา่ งนอ้ ย ๑ คน

26 ตอ้ งมกี ารศกึ ษารายวชิ าทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ทเ่ี ขา้ เกณฑ)์


เดก็ ปฐมวยั อยา่ งนอ้ ย ๓ หนว่ ยกติ

(ไมต่ ำ่ กวา่ ๔๕ ชวั่ โมง)

❏ ๒. ผทู้ ที่ ำหนา้ ทผี่ ชู้ ว่ ยครู กรณที วี่ ฒุ กิ ารศกึ ษา

ตำ่ กวา่ ปรญิ ญาตรี ตอ้ งมอี ายไุ มต่ ำ่ กวา่ ๑๘ ป ี

มปี ระสบการณท์ ำงานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

อยา่ งตอ่ เนอ่ื งไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ ปี หรอื ผา่ น

การฝกึ อบรมเกย่ี วกบั การดแู ลและพฒั นา

เดก็ ปฐมวยั ตามทสี่ ว่ นราชการรบั รอง

หรอื อยใู่ นระหวา่ งการอบรมดงั กลา่ ว

ภายในระยะเวลา ๑ ปี

❏ ๓. คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ ไดร้ บั การพฒั นาตอ่ เนอื่ ง

ระหวา่ งประจำการ อยา่ งนอ้ ยปลี ะ

๒๐ ชว่ั โมง

ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑.๒ การบรหิ ารจดั การบคุ ลากรทกุ ประเภทตามหนว่ ยงานทสี่ งั กดั (ตอ่ )



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก
๑. เอกสาร/หลกั ฐานบง่ ช้ี

จำนวนคร/ู ผดู้ แู ลเดก็

๑.๒.๔ บรหิ ารบคุ ลากรจดั อตั ราสว่ นของคร/ู ผดู้ แู ลเดก็ ไมเ่ ปน็ ไปตาม มกี ารบรหิ ารจดั การ มกี ารบรหิ ารจดั การ มกี ารบรหิ ารจดั การ และเดก็ ปฐมวยั ไดแ้ ก

อยา่ งเหมาะสมพอเพยี งตอ่ จำนวนเดก็ ในแตล่ ะกลมุ่ อายุ อตั ราสว่ นและ ตามขอ้ ๑ ตามขอ้ ๑ และ ๒ ครบทกุ ขอ้ ตาม - ทะเบยี นเดก็

❏ ๑. มอี ตั ราสว่ นและกลมุ่ กจิ กรรมตามเกณฑ ์ กลมุ่ กจิ กรรมทก่ี ำหนด รายการพจิ ารณา แสดงจำนวนและ

ทก่ี ำหนด (บคุ ลากรประจำ/เตม็ เวลา) อายขุ องเดก็

❏ ๒. มอี ตั ราสว่ นและกลมุ่ กจิ กรรมดกี วา่ เกณฑ ์ - จำนวนคร/ู ผดู้ แู ลเดก็

ทก่ี ำหนด (บคุ ลากรประจำ/เตม็ เวลา) ทปี่ ฏบิ ตั งิ านจรงิ

❏ ๓. สามารถจดั หาครหู รอื ผดู้ แู ลเดก็ ทมี่ คี ณุ สมบตั ิ ๒. หลกั ฐานทแี่ สดงวา่

ตามเกณฑม์ าชว่ ยเสรมิ ในการจดั กจิ กรรม มคี รหู รอื ผดู้ แู ลเดก็

27 ( อเด าก็ย )ุ (ทมี่ คี ณุ สมบตั ิ

อตั ราสว่ นคร/ู ตามเกณฑ)์ มาชว่ ยเสรมิ

ผดู้ แู ล : เดก็ จำนวนเดก็
ในการจดั กจิ กรรม

ในกลมุ่ ก
จิ กรรม

(คน)

ตำ่ กวา่ ๑ : ๓ กลมุ่ ละไมเ่ กนิ ๖ คน


๑ ป ี


ตำ่ กวา่ ๑ : ๕ กลมุ่ ละไมเ่ กนิ ๑๐ คน

๒ ป ี


ตำ่ กวา่ ๑ : ๑๐ กลมุ่ ละไมเ่ กนิ ๒๐ คน

๓ ป ี


๓ ปี -
๑ : ๑๕ กลมุ่ ละไมเ่ กนิ ๓๐ คน

กอ่ นเขา้
ป.๑

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑.๓ การบรหิ ารจดั การสภาพแวดลอ้ มเพอื่ ความปลอดภยั



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก


๑.๓.๑ บรหิ ารจดั การดา้ นสภาพแวดลอ้ มเพอื่ ความปลอดภยั ไมม่ แี ผนและไมม่ ี มกี ารดำเนนิ งาน มกี ารดำเนนิ งาน มกี ารดำเนนิ งาน - แผนการจดั การ

อยา่ งเปน็ ระบบ การปฏบิ ตั ิ ตามรายการพจิ ารณา ตามรายการพจิ ารณา ตามรายการพจิ ารณา ดา้ นสภาพแวดลอ้ ม

❏ ๑. จดั ทำนโยบายและแผนทค่ี รอบคลมุ อยา่ งเปน็ ระบบ ขอ้ ๑ และ ๒ ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ครบทกุ ขอ้ เพอื่ ความปลอดภยั

โครงสรา้ งอาคารบรเิ วณทตี่ ง้ั ภายใน อยา่ งเปน็ ระบบ

ภายนอกอาคาร วสั ดอุ ปุ กรณท์ กุ ชนดิ - แบบบนั ทกึ การสำรวจ

รวมทง้ั ปจั จยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง คน้ หาจดุ เสย่ี ง

❏ ๒. ปฏบิ ตั ติ ามแผนอยา่ งเปน็ ระบบและ - บนั ทกึ การตดิ ตาม

มกี ารสำรวจ คน้ หาจดุ เสย่ี ง เพอ่ื หาแนวทาง ประเมนิ ผลการสำรวจ

28 ปอ้ งกนั และแกไ้ ขเปน็ ระยะอยา่ งตอ่ เนอื่ ง อยา่ งสมำ่ เสมอ


❏ ๓. ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานตามแผน - บนั ทกึ การปรบั ปรงุ /

❏ ๔. นำผลจากการประเมนิ ไปพฒั นาและปรบั ปรงุ พฒั นาแผนและ

การบรหิ ารจดั การดา้ นสภาพแวดลอ้ ม การดำเนนิ งาน

เพอื่ ความปลอดภยั อยา่ งเปน็ ระบบ

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑.๓ การบรหิ ารจดั การสภาพแวดลอ้ มเพอ่ื ความปลอดภยั (ตอ่ )



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ นั้ ตน้ ด ี ดมี าก


๑.๓.๒ โครงสรา้ งและตวั อาคารมน่ั คง ตงั้ อยใู่ นบรเิ วณ ไมม่ กี ารจดั การ มกี ารดำเนนิ งาน มกี ารดำเนนิ งาน มกี ารดำเนนิ งาน - แบบประเมนิ

และสภาพแวดลอ้ มทป่ี ลอดภยั ตามรายการพจิ ารณา ตามรายการพจิ ารณา ตามรายการพจิ ารณา ตามรายการพจิ ารณา สภาพแวดลอ้ มภายนอก

❏ ๑. โครงสรา้ งและตวั อาคารมนั่ คง มขี อบเขต ขอ้ ๑ และ ๒ ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ครบทกุ ขอ้ อาคารเพอื่ ความปลอดภยั

และทางเขา้ -ออกทชี่ ดั เจน - บนั ทกึ การตดิ ตาม

❏ ๒. บรเิ วณทต่ี ง้ั ปลอดภยั สะอาดไมอ่ ยใู่ กลแ้ หลง่ ประเมนิ ตามแผน

มลพษิ ทางอากาศ นำ้ ดนิ เวน้ แตม่ มี าตรการ อยา่ งสมำ่ เสมอ

ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพในการปอ้ งกนั อนั ตราย - บนั ทกึ การปรบั ปรงุ /

ทอ่ี าจจะเกดิ ขนึ้ พฒั นาแผนและ

29 ❏ ๓. ตดิ ตามประเมนิ ผลการสำรวจสมำ่ เสมอ การดำเนนิ งาน


อยา่ งนอ้ ยทกุ ๓ เดอื น และแกไ้ ขในสว่ น

ทม่ี โี อกาสเกดิ อนั ตรายไดม้ ากอยา่ งเรง่ ดว่ น

❏ ๔. นำผลการประเมนิ ปรบั ปรงุ /พฒั นาระยะยาว

ตวั บง่ ชที้ ี่ ๑.๓ การบรหิ ารจดั การสภาพแวดลอ้ มเพอ่ื ความปลอดภยั (ตอ่ )



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก


๑.๓.๓ จดั การความปลอดภยั ของพน้ื ทเ่ี ลน่ /สนามเดก็ เลน่ ไมม่ กี ารจดั การตาม มกี ารจดั การ มกี ารจดั การ มกี ารจดั การครบ - แบบประเมนิ

และสภาพแวดลอ้ มภายนอกอาคาร รายการพจิ ารณา ตามขอ้ ๑ และ ๒ ตามขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ตามรายการพจิ ารณา สภาพแวดลอ้ มภายนอก

❏ ๑. สภาพแวดลอ้ มภายนอกอาคารสถานพฒั นา อาคารเพอ่ื ความปลอดภยั

เดก็ ปฐมวยั มคี วามปลอดภยั เครอ่ื งเลน่ สนาม - แบบคดั กรองความเสย่ี ง

มคี วามเหมาะสมตามพฒั นาการของเดก็ ของพนื้ ทเ่ี ลน่ /

ตามวยั สนามเดก็ เลน่

❏ ๒. พนื้ ทเี่ ลน่ /สนามเดก็ เลน่ เปน็ ทป่ี ลอดภยั - บนั ทกึ /รายงาน

ในการเลน่ ของเดก็ มกี ารสำรวจความเสยี่ ง ผลการดำเนนิ งาน

30 ของพน้ื ทเ่ี ลน่ สนามเดก็ เลน่ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง - บนั ทกึ การปรบั ปรงุ /

พฒั นาแผนและ

❏ ๓. ตดิ ตามประเมนิ การดำเนนิ งาน ขอ้ ๑ และ ๒ การดำเนนิ งาน

สมำ่ เสมออยา่ งนอ้ ยทกุ ๓ เดอื น และแกไ้ ข
ในสว่ นทม่ี โี อกาสเกดิ อนั ตรายไดม้ าก

อยา่ งเรง่ ดว่ น

❏ ๔. นำผลการประเมนิ วเิ คราะหเ์ พอื่ ปรบั ปรงุ /

พฒั นา

ตวั บง่ ชที้ ่ี ๑.๓ การบรหิ ารจดั การสภาพแวดลอ้ มเพอ่ื ความปลอดภยั (ตอ่ )



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ นั้ ตน้ ด ี ดมี าก


๑.๓.๔ จดั การสภาพแวดลอ้ มภายในอาคาร ครภุ ณั ฑ์ ไมม่ กี ารจดั การตาม มกี ารจดั การ มกี ารจดั การ มกี ารจดั การครบ - แบบประเมนิ

อปุ กรณ์ เครอื่ งใชใ้ หป้ ลอดภยั เหมาะสมกบั การใชง้ าน รายการพจิ ารณา ตามขอ้ ๑ และ ๒ ตามขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ตามรายการพจิ ารณา สภาพแวดลอ้ ม

และเพยี งพอ ภายในอาคาร

❏ ๑. สภาพแวดลอ้ มภายในอาคารมคี วามปลอดภยั เพอื่ ความปลอดภยั

❏ ๒. ครภุ ณั ฑ์ อปุ กรณเ์ ครอ่ื งใชป้ ลอดภยั - แบบประเมนิ อปุ กรณ์

มที ะเบยี นควบคมุ ตรวจสอบสมำ่ เสมอ ผลติ ภณั ฑ์ เครอ่ื งใช

ใหใ้ ชง้ านไดค้ รบถว้ นไมช่ ำรดุ และเปน็ ปจั จบุ นั เพอื่ ความปลอดภยั

❏ ๓. ตดิ ตามประเมนิ การดำเนนิ งาน ขอ้ ๑ และ ๒ - ทะเบยี นควบคมุ

31 สมำ่ เสมออยา่ งนอ้ ยทกุ ๓ เดอื น และแกไ้ ข ตรวจสอบ และคดั แยก

ของทชี่ ำรดุ

ในสว่ นทมี่ โี อกาสเกดิ อนั ตรายไดม้ าก - บนั ทกึ /รายงาน

อยา่ งเรง่ ดว่ น ผลการดำเนนิ งาน

❏ ๔. นำผลการประเมนิ วเิ คราะหเ์ พอื่ ปรบั ปรงุ - บนั ทกึ การปรบั ปรงุ /

พฒั นา พฒั นาแผนและ

การดำเนนิ งาน

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑.๓ การบรหิ ารจดั การสภาพแวดลอ้ มเพอ่ื ความปลอดภยั (ตอ่ )



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก


๑.๓.๕ จดั ใหม้ ขี องเลน่ ทป่ี ลอดภยั ไดม้ าตรฐาน มจี ำนวน ไมม่ กี ารจดั การตาม มกี ารจดั การ มกี ารจดั การ มกี ารจดั การครบ - แบบประเมนิ ของเลน่

เพยี งพอ สะอาด เหมาะสมกบั ระดบั พฒั นาการของเดก็ รายการพจิ ารณา ตามขอ้ ๑ และ ๒ ตามขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ตามรายการพจิ ารณา เพอื่ ความปลอดภยั

❏ ๑. ของเลน่ ปลอดภยั ตามมาตรฐานอตุ สาหกรรม - แบบบนั ทกึ ผลติ ภณั ฑ์

(มอก.) และเหมาะสมตามพฒั นาการ ของเลน่ ของใชอ้ นั ตราย

ของเดก็ ตามวยั - บนั ทกึ /รายงาน

❏ ๒. มที ะเบยี นควบคมุ ตรวจสอบสมำ่ เสมอ ผลการดำเนนิ งาน

ใหม้ จี ำนวนเพยี งพอเหมาะสมกบั วยั และ - บนั ทกึ การปรบั ปรงุ /

พฒั นาการของเดก็ และมคี วามสะอาด พฒั นาแผนและ

32 ใชง้ านไดค้ รบถว้ นไมช่ ำรดุ และเปน็ ปจั จบุ นั การดำเนนิ งาน


❏ ๓. ตดิ ตามประเมนิ การดำเนนิ งาน ขอ้ ๑ และ ๒

สมำ่ เสมออยา่ งนอ้ ยทกุ ๓ เดอื น และแกไ้ ข

ในสว่ นทม่ี คี วามเสย่ี งสงู ตอ่ การเกดิ อนั ตราย

❏ ๔. นำผลการประเมนิ มาวเิ คราะหเ์ พอ่ื ปรบั ปรงุ /

พฒั นาการจดั หาและบำรงุ รกั ษาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑.๓ การบรหิ ารจดั การสภาพแวดลอ้ มเพอ่ื ความปลอดภยั (ตอ่ )



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ นั้ ตน้ ด ี ดมี าก


๑.๓.๖ สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ ปฐมวยั เดนิ ทางอยา่ งปลอดภยั ไมม่ กี ารจดั การตาม มกี ารจดั การ มกี ารจดั การ มกี ารจดั การครบ - แบบประเมนิ

❏ ๑. สำรวจการเดนิ ทางของเดก็ และวางแผน รายการพจิ ารณา ตามขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ตามขอ้ ๑, ๒, ๓ ตามรายการพจิ ารณา การเดนิ ทางทปี่ ลอดภยั

การดำเนนิ งานเพอื่ ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั และ ๔ สำหรบั เดก็ ปฐมวยั

ในการเดนิ ทางของเดก็ - บนั ทกึ /รายงาน

❏ ๒. ใหค้ วามรู้ สรา้ งวนิ ยั และฝกึ ทกั ษะเดก็ ผลการดำเนนิ งาน

ในการเดนิ ทางไป-กลบั อยา่ งปลอดภยั - บนั ทกึ การปรบั ปรงุ /

❏ ๓. ปรบั ปรงุ โครงสรา้ งและการปฏบิ ตั ิ พฒั นาแผนและ

เพอ่ื สรา้ งเสรมิ ความปลอดภยั และปอ้ งกนั การดำเนนิ งาน

33 การบาดเจบ็ ในการเดนิ ทางของเดก็


❏ ๔. สรา้ งความตระหนกั และใหค้ วามร
ู้
กบั ผปู้ กครองและชมุ ชน เพอื่ รว่ มกนั สนบั สนนุ

ใหเ้ ดก็ เดนิ ทางไดอ้ ยา่ งปลอดภยั

❏ ๕. มกี ารประเมนิ ผลการดำเนนิ งานและ

พฒั นาปรบั ปรงุ

ตวั บง่ ชที้ ่ี ๑.๓ การบรหิ ารจดั การสภาพแวดลอ้ มเพอ่ื ความปลอดภยั (ตอ่ )



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ นั้ ตน้ ด ี ดมี าก


๑.๓.๗ จดั ใหม้ รี ะบบปอ้ งกนั ภยั จากบคุ คลทง้ั ภายในและ ไมม่ มี าตรการและ มกี ารจดั การ มกี ารจดั การ มกี ารจดั การครบ - แบบบนั ทกึ การบาดเจบ็

ภายนอกสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั การดำเนนิ งานตาม ตามขอ้ ๑ และ ๒ ตามขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ตามรายการพจิ ารณา รายบคุ คล

❏ ๑. มรี ะบบปอ้ งกนั ภยั จากบคุ คล ตรวจสอบ รายการพจิ ารณา - บนั ทกึ /รายงาน

การเขา้ -ออก การรบั และสง่ เดก็ ผลการดำเนนิ งาน

❏ ๒. สรา้ งความตระหนกั ใหบ้ คุ ลากรทกุ ฝา่ ย - บนั ทกึ การปรบั ปรงุ /

ในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั เฝา้ ระวงั พฒั นาแผนและ

ความปลอดภยั ของเดก็ จากบคุ คลทง้ั ภายใน การดำเนนิ งาน

และภายนอก เมอื่ พบสง่ิ ทน่ี า่ สงสยั
มกี ารจดั การ
34 ตอ้ งรายงานใหค้ รเู วรประจำวนั ทราบ

ตามขอ้ ๑ และ ๒
เพอ่ื ปอ้ งกนั และแกไ้ ข
ไมม่ มี าตรการและ
❏ ๓. มกี ารบนั ทกึ และประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน
การดำเนนิ งานตาม มกี ารจดั การ มกี ารจดั การครบ - แบบประเมนิ ระบบ

ตามแผน
รายการพจิ ารณา ตามขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ตามรายการพจิ ารณา อคั คภี ยั

❏ ๔. มกี ารนำผลจากการประเมนิ ไปพฒั นา
- บนั ทกึ /รายงาน

และปรบั ปรงุ ผลการดำเนนิ งาน

๑.๓.๘ จดั ใหม้ รี ะบบรบั เหตฉุ กุ เฉนิ ปอ้ งกนั อคั คภี ยั /ภยั พบิ ตั ิ - บนั ทกึ การปรบั ปรงุ /

ตามความเสย่ี งของพนื้ ท ี่ พฒั นาแผนและ

❏ ๑. แผนฝกึ ซอ้ มอพยพหนไี ฟ การดำเนนิ งาน

❏ ๒. ฝกึ ซอ้ มแผนอพยพใหก้ บั บคุ ลากรและ
เดก็ ทกุ คนเสมอื นเกดิ เหตจุ รงิ อยา่ งนอ้ ย
ปลี ะ ๑ ครง้ั
❏ ๓. มกี ารตรวจสอบประเมนิ ผลการดำเนนิ การ
❏ ๔. นำผลประเมนิ มาปรบั ปรงุ /พฒั นา

ตวั บง่ ชท้ี ่ี ๑.๔ การจดั การเพอ่ื สง่ เสรมิ สขุ ภาพและการเรยี นรู้



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ นั้ ตน้ ด ี ดมี าก


๑.๔.๑ มกี ารจดั การเพอ่ื สง่ เสรมิ สขุ ภาพ เฝา้ ระวงั ไมม่ กี ารจดั การตาม มกี ารจดั การตาม มกี ารจดั การตาม มกี ารจดั การครบ - เครอื่ งชงั่ นำ้ หนกั และ

การเจรญิ เตบิ โตของเดก็ และดแู ลการเจบ็ ปว่ ยเบอื้ งตน้ รายการพจิ ารณา ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ขอ้ ๑, ๒, ๓ และ ๔ ตามรายการพจิ ารณา เครอ่ื งวดั สว่ นสงู

❏ ๑. จดั ใหม้ อี าหารทเ่ี หมาะสม และเพยี งพอ ตามมาตรฐาน และควรใช

ตามวยั ทกุ วนั เครอื่ งชงั่ นำ้ หนกั ทมี่ ี

❏ ๒. จดั ใหม้ เี ครอ่ื งชง่ั นำ้ หนกั และเครอ่ื งวดั ความละเอยี ด

ความยาว/สว่ นสงู ทไ่ี ดม้ าตรฐาน ตดิ ตง้ั ๐.๑ กโิ ลกรมั และ

ถกู ตอ้ ง และมกี ารฝกึ ใชง้ านอยา่ งถกู วธิ ี เครอ่ื งวดั สว่ นสงู

❏ ๓. ประเมนิ การเจรญิ เตบิ โตเปน็ รายบคุ คล ทม่ี คี วามละเอยี ด

อยา่ งถกู วธิ ี และมกี ารบนั ทกึ ขอ้ มลู นำ้ หนกั ๐.๑ เซนตเิ มตร

35 สว่ นสงู ลงในกราฟการเจรญิ เตบิ โต - เครอื่ งวดั สว่ นสงู แบบนอน


เปน็ รายบคุ คลอยา่ งตอ่ เนอื่ ง อยา่ งนอ้ ย สำหรบั เดก็ เลก็

ทกุ ๓ เดอื น - กราฟนำ้ หนกั

❏ ๔. มยี าและเวชภณั ฑส์ ามญั ประจำบา้ นและ ตามเกณฑอ์ ายุ ความยาว/

อปุ กรณท์ จ่ี ำเปน็ สำหรบั ปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ สว่ นสงู ตามเกณฑอ์ าย

❏ ๕. จดั ใหม้ กี ารอบรมปฐมพยาบาลและฝกึ และนำ้ หนกั ตามเกณฑ

ชว่ ยชวี ติ เบอื้ งตน้ (CPR) ความยาว/สว่ นสงู

ตามเพศเปน็ รายบคุ คล

- หลกั ฐานแสดงการจดั ทำ

บนั ทกึ การตรวจสอบ

เครอื่ งมอื

- หลกั ฐานแสดงการอบรม

- รายการยา เวชภณั ฑ ์

เครอ่ื งมอื อปุ กรณท์ จ่ี ำเปน็

ตวั บง่ ชที้ ี่ ๑.๔ การจดั การเพอ่ื สง่ เสรมิ สขุ ภาพและการเรยี นรู้ (ตอ่ )



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ นั้ ตน้ ด ี ดมี าก


- การบนั ทกึ ขอ้ มลู นำ้ หนกั

และสว่ นสงู และ

การแปลผล

การเจรญิ เตบิ โต

- รายการอาหารยอ้ นหลงั

๑ เดอื น และลว่ งหนา้

๑ เดอื น


๑.๔.๒ มแี ผนและดำเนนิ การตรวจสขุ อนามยั ประจำวนั ไมม่ แี ผนและดำเนนิ การ มแี ผนและดำเนนิ การ มแี ผนและดำเนนิ กา มแี ผนและดำเนนิ การ - แผนบรหิ ารจดั การ

ตรวจสขุ ภาพประจำปี และปอ้ งกนั ควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ตามรายการพจิ ารณา ตามรายการพจิ ารณา ตามรายการพจิ ารณา ตามรายการพจิ ารณา ตรวจสขุ อนามยั ประจำวนั

36 ❏ ๑. มกี ารตรวจสขุ ภาพอนามยั และรอ่ งรอย ตามขอ้ ๑ และ ๒ ตามขอ้ ๑, ๒, ๓ ครบทกุ ขอ้ และ ตรวจสขุ ภาพประจำปี

การบาดเจบ็ ประจำวนั และ ๔
❏ ๒. สนบั สนนุ /จดั การตรวจสขุ ภาพประจำป ี นำขอ้ มลู การดำเนนิ งาน ปอ้ งกนั และควบคมุ

โดยบคุ ลากรทางการแพทยอ์ ยา่ งนอ้ ย มาปรบั ปรงุ โรคตดิ ตอ่

ปลี ะ ๑ ครงั้ - บนั ทกึ การตรวจสขุ อนามยั

❏ ๓. มกี ารตรวจสอบประวตั กิ ารไดร้ บั วคั ซนี ประจำวนั /ตรวจสขุ ภาพ

ตงั้ แตแ่ รกรบั และทกุ ๖ เดอื น ประจำปอี ยา่ งนอ้ ยปลี ะ

❏ ๔. มมี าตรการและกจิ กรรมปอ้ งกนั และแกไ้ ข ๑ ครง้ั /ตามกำหนด

เมอ่ื เกดิ โรคตดิ ตอ่ ขน้ึ รวมทง้ั เกบ็ ขอ้ มลู - ตารางการฉดี วคั ซนี

ของโรคตดิ ตอ่ ตามแนวทางการปอ้ งกนั

โรคตดิ ตอ่ ในศนู ยเ์ ดก็ เลก็

- แบบบนั ทกึ การไดร้ บั วคั ซนี

- แบบบนั ทกึ ปญั หาสขุ ภาพ

และการดแู ลเบอ้ื งตน้

- แบบคดั กรองอาการปว่ ย


รายหอ้ งเรยี น

ตวั บง่ ชที้ ่ี ๑.๔ การจดั การเพอ่ื สง่ เสรมิ สขุ ภาพและการเรยี นรู้ (ตอ่ )



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก
- พน้ื ทใ่ี ชส้ อย

ตามทกี่ ำหนดในมาตรฐาน

๑.๔.๓ อาคารตอ้ งมพี น้ื ทใ่ี ชส้ อยเปน็ สดั สว่ นตามกจิ วตั ร ไมม่ พี น้ื ทใี่ ชส้ อย ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม ความปลอดภยั

ประจำวนั ของเดก็ ทเ่ี หมาะสมตามชว่ งวยั เปน็ สดั สว่ น รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

และการใชป้ ระโยชน ์ ตามกจิ กรรม ดงั นี้ ขอ้ ๑, ๒, ๓ ดงั นี้ ขอ้ ๑, ๒, ๓, ๔ ครบทกุ ขอ้ ดา้ นอาคารและ

❏ ๑. มพี น้ื ทพี่ อเพยี งสำหรบั การจดั กจิ กรรมและ และ ๔ และ ๕ สง่ิ แวดลอ้ ม

กจิ วตั รประจำวนั ของเดก็ พอเพยี งเฉลย่ี - แผนผงั พนื้ ทแี่ ละการใช้

๑.๕-๒.๐ ตร.ม./คน ของสถานพฒั นา

❏ ๒. มพี น้ื ทเ่ี ตรยี มอาหาร/ครวั วธิ กี ารขนสง่ อาหาร เดก็ ปฐมวยั

และมบี รเิ วณทจี่ ดั ใหเ้ ดก็ รบั ประทานอาหาร
37 ทสี่ ะอาด ถกู สขุ ลกั ษณะ

❏ ๓. มพี น้ื ทส่ี ำหรบั นอนหลบั เนน้ ความสะอาด

ปลอดโปรง่ และอากาศถา่ ยเทไดด้ ี

❏ ๔. มพี นื้ สำหรบั เลน่ และทำกจิ กรรมการเรยี นรู้

ทเ่ี พยี งพอและเหมาะสม

❏ ๕. มพี นื้ ทหี่ รอื บรเิ วณสำหรบั การทำความสะอาด

ชอ่ งปาก แปรงฟนั ลา้ งมอื ลา้ งหนา้

ของเดก็ ฯลฯ

❏ ๖. มพี นื้ ทสี่ ำหรบั แยกเดก็ ปว่ ย

ตวั บง่ ชที้ ี่ ๑.๔ การจดั การเพอื่ สง่ เสรมิ สขุ ภาพและการเรยี นรู้ (ตอ่ )



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓ - การจดั มมุ เสรมิ ทกั ษะ/

ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก
มมุ เสรมิ ประสบการณ

- ขอ้ มลู การประเมนิ

๑.๔.๔ จดั ใหม้ พี น้ื ท/ี่ มมุ ประสบการณ์ และแหลง่ เรยี นร ู้ ไมม่ กี ารจดั พน้ื ท/่ี ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม - ภาพหรอื วดี โี อทแี่ สดงถงึ

ในหอ้ งเรยี นและนอกหอ้ งเรยี น มมุ ตามรายการ รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา กจิ กรรมทที่ ำในมมุ ตา่ งๆ

❏ ๑. มพี น้ื ท/ี่ มมุ ประสบการณ์ และแหลง่ เรยี นร ู้ พจิ ารณา ตามขอ้ ๑ และ ๒ ตามขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ครบทกุ ขอ้
ทมี่ อี ปุ กรณแ์ ละครภุ ณั ฑอ์ ยา่ งเหมาะสม - การเยย่ี มชมและสงั เกต

ในหอ้ งเรยี น - ภาพถา่ ย

❏ ๒. มพี น้ื ท/ี่ มมุ ประสบการณ์ และแหลง่ เรยี นร้
ู - แบบบนั ทกึ ตาราง

38 ทม่ี อี ปุ กรณแ์ ละครภุ ณั ฑน์ อกหอ้ งเรยี น
การทำความสะอาด และ

อยา่ งเหมาะสม
เจา้ หนา้ ทผี่ รู้ บั ผดิ ชอบ

❏ ๓. เกบ็ ขอ้ มลู /ประเมนิ การใชพ้ น้ื ท/่ี
ประจำวนั

มมุ ประสบการณ์ และแหลง่ เรยี นรขู้ องเดก็

❏ ๔. นำผลจากการประเมนิ ไปปรบั เปลยี่ น

ซอ่ มแซมใหพ้ รอ้ มใชง้ านอยเู่ สมอ


๑.๔.๕ จดั บรเิ วณหอ้ งนำ้ หอ้ งสว้ ม ทแ่ี ปรงฟนั /ลา้ งมอื ไมม่ กี ารดำเนนิ การได ้ ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม
ใหเ้ พยี งพอ สะอาด ปลอดภยั และเหมาะสมกบั ตามรายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณาขอ้ ๑ รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา
การใชง้ านของเดก็ ขอ้ ๑ และ ๒ ครบทกุ ขอ้
❏ ๑. แยกหอ้ งนำ้ หอ้ งสว้ ม บรเิ วณแปรงฟนั /
ทล่ี า้ งมอื อยา่ งเปน็ สดั สว่ น และสะอาด
ไมม่ นี ำ้ ขงั และไมล่ น่ื
❏ ๒. มกี ารทำความสะอาดอยา่ งนอ้ ยวนั ละ ๒ ครง้ั

❏ ๓. มรี ะบบดแู ลความสะอาดรวมทง้ั มเี จา้ หนา้ ท
่ี
รบั ผดิ ชอบโดยตรง

ตวั บง่ ชที้ ี่ ๑.๔ การจดั การเพอื่ สง่ เสรมิ สขุ ภาพและการเรยี นรู้ (ตอ่ )



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓ - การเยย่ี มชมและสงั เกต

ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ นั้ ตน้ ด ี ดมี าก
- ภาพถา่ ย

- การสมั ภาษณผ์ รู้ บั ผดิ ชอบ

๑.๔.๖ จดั การระบบสขุ าภบิ าลทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ครอบคลมุ ไมม่ กี ารจดั การระบบ ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม
สถานทป่ี รงุ ประกอบอาหาร นำ้ ดม่ื นำ้ ใช้ กำจดั ขยะ สขุ าภบิ าล รายการพจิ ารณาตาม รายการพจิ ารณาตาม รายการพจิ ารณา - การเยย่ี มชมและสงั เกต

สงิ่ ปฏกิ ลู และพาหะนำโรค ทถี่ กู สขุ ลกั ษณะ ขอ้ ๑ และ ๒ ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ครบทกุ ขอ้ - ภาพถา่ ย

❏ ๑. สถานทป่ี ระกอบอาหาร/ทเ่ี ตรยี มอาหาร

ตอ้ งมอี า่ งลา้ งภาชนะและอปุ กรณท์ ถี่ กู หลกั

สขุ าภบิ าลอาหาร

❏ ๒. มนี ำ้ ดมื่ นำ้ ใชท้ สี่ ะอาด

❏ ๓. มกี ารจดั การขยะ สงิ่ ปฏกิ ลู อยา่ งถกู สขุ ลกั ษณะ

39 ทงั้ ภายในและภายนอกอาคาร


❏ ๔. มมี าตรการปอ้ งกนั แมลงและสตั วท์ เ่ี ปน็ พาหะ

นำโรค


๑.๔.๗ จดั อปุ กรณภ์ าชนะและเครอ่ื งใชส้ ว่ นตวั ใหเ้ พยี งพอ ไมม่ ตี ามรายการ ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม
กบั การใชง้ านของเดก็ ทกุ คน และดแู ลความสะอาด พจิ ารณา รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา
และปลอดภยั อยา่ งสมำ่ เสมอ ขอ้ ๑ และ ๒ ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ครบทกุ ขอ้

❏ ๑. มอี ปุ กรณภ์ าชนะและเครอ่ื งใชส้ ว่ นตวั


สำหรบั เดก็ ทกุ คน

❏ ๒. จดั เกบ็ อยา่ งเหมาะสมและเปน็ ระเบยี บ

❏ ๓. อปุ กรณม์ มี าตรฐาน สะอาด เพยี งพอ

กบั การใชง้ าน

❏ ๔. มกี ารตรวจสอบอปุ กรณเ์ ปน็ ระยะและ

จดั ใหอ้ ยใู่ นสภาพพรอ้ มใชง้ าน

ตวั บง่ ชท้ี ี่ ๑.๕ การสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของครอบครวั และชมุ ชน



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓
ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก
- บนั ทกึ การประชมุ

- ภาพถา่ ย

40 ๑.๕.๑ มกี ารสอื่ สารเพอื่ สรา้ งความสมั พนั ธแ์ ละความเขา้ ใจ ไมม่ ตี ามรายการ ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม - บนั ทกึ การจดั กจิ กรรม

อนั ดรี ะหวา่ งพอ่ แม/่ ผปู้ กครอง กบั สถานพฒั นา พจิ ารณา รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา - แผนจดั กจิ กรรมประจำปี

เดก็ ปฐมวยั เกยี่ วกบั ตวั เดก็ และการดำเนนิ งาน ขอ้ ๑ ขอ้ ๑ และ ๒ ครบทกุ ขอ้ - บอรด์ ประชาสมั พนั ธ

ของสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั กจิ กรรมสถานพฒั นา

❏ ๑. มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เดก็ ปฐมวยั ฯ ภายนอก

❏ ๒. มพี นื้ ทห่ี รอื ชอ่ งทางประชาสมั พนั ธ์ อาคาร

❏ ๓. มกี ารประเมนิ กจิ กรรมเพอื่ พฒั นา - เอกสารแผน่ พบั

❏ ๔. มกี ารสรา้ งเครอื ขา่ ยพอ่ แม/่ ผปู้ กครอง/ ความรตู้ า่ งๆ

ครอบครวั - พน้ื ทก่ี ารเรยี นรสู้ ำหรบั

ผปู้ กครองหรอื

ชอ่ งทางอน่ื ๆ

ตวั บง่ ชที้ ี่ ๑.๕ การสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของครอบครวั และชมุ ชน (ตอ่ )



เกณฑก์ ารพจิ ารณา ขอ้ มลู ประกอบ

ขอ้ รายการพจิ ารณา การพจิ ารณา

๐ ๑ ๒ ๓ - บนั ทกึ การประชมุ

ตอ้ งปรบั ปรงุ ผา่ นเกณฑข์ น้ั ตน้ ด ี ดมี าก
- ภาพถา่ ย

- บนั ทกึ การจดั กจิ กรรม

๑.๕.๒ การจดั กจิ กรรมทพี่ อ่ แม/่ ผปู้ กครอง/ครอบครวั ไมม่ ตี ามรายการ ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม - แผนจดั กจิ กรรมประจำปี

และชมุ ชน มสี ว่ นรว่ ม พจิ ารณา รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา - บนั ทกึ ขอ้ มลู การสอื่ สาร

❏ ๑. มกี ารจดั ประชมุ ผปู้ กครองอยา่ งนอ้ ย ขอ้ ๑ และ ๒ ขอ้ ๑, ๒ และ ๓ ครบทกุ ขอ้ กบั ผปู้ กครอง

ปลี ะ ๒ ครง้ั
❏ ๒. มกี ารจดั กจิ กรรมทพี่ อ่ แม่ ผปู้ กครอง - บนั ทกึ การประชมุ

ครอบครวั และชมุ ชนมสี ว่ นรว่ มในโอกาส - ภาพถา่ ย

สำคญั ตา่ งๆ ตามประเพณี ศาสนา และ

- บนั ทกึ การจดั กจิ กรรม

41 วฒั นธรรมของชมุ ชน
- แผนจดั กจิ กรรมประจำปี

❏ ๓. มกี ารประเมนิ กจิ กรรมเพอื่ นำไปปรบั ปรงุ
- หอ้ งสมดุ ของเลน่ และสอื่

❏ ๔. มกี ารสรา้ งเครอื ขา่ ยชมุ ชน

๑.๕.๓ ดำเนนิ งานใหส้ ถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั เปน็ แหลง่ เรยี นร ู้ ไมม่ ตี ามรายการ ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม ดำเนนิ การไดต้ าม
แกช่ มุ ชนในเรอ่ื งการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั พจิ ารณา รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา รายการพจิ ารณา
❏ ๑. มกี ารเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ ขา่ วสาร ขอ้ ๑ ขอ้ ๑ และ ๒ ครบทกุ ขอ้
หรอื ความรทู้ ห่ี ลากหลายและทนั สมยั
❏ ๒. มกี ารประสานเชอ่ื มโยงเครอื ขา่ ยภมู ปิ ญั ญา
ทอ้ งถนิ่ หนว่ ยงานภายนอกทง้ั ภาครฐั และ

เอกชน เพอ่ื พฒั นาการดำเนนิ งาน

ในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั

❏ ๓. มกี ารจดั กจิ กรรมอยา่ งสมำ่ เสมอ

และมสี มาชกิ ในชมุ ชนสนบั สนนุ

การดำเนนิ งานของสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั


Click to View FlipBook Version