The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โวหารภาพพจน์ (2)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by PINGping channel, 2023-08-28 03:35:59

โวหารภาพพจน์ (2)

โวหารภาพพจน์ (2)

โวหารภาพพจน์ รายวิชาภาษาไทย เรื่อง


หนังสือเล่มนี้เป็นการรวบรวมเนื้อหาเรื่อง โวหารภาพพจน์ ผู้จัดทำ วัตถุประสงค์เพื่อจัดทำ วิธีการเรียนรู้ การจัดทำ e-book เพื่อเป็นสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ใน กลุ่มสาระการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย หนังสื่อเล่มนี้ประกอบไปด้วยควาทหมาย ประเภททั้งหมด13 หัวข้อคืออุปมา โวหารอุปลักษณ์ สัญลักษณ์ บุคลาธิฐาน อธิพจน์ สัทพจน์ นามนัย ประพากย์วิภาษ อรรถวิภาษ อธินามนัยอุปมานิทัศน์ และคำ ไวพจน์ที่ มีความเกี่ยวข้องกับ โวหาร ภาพพจน์ ผู้จัดทำ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าe-book เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เข้ามาศึกษารายวิชา ภาษาไทยและเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาความรู้ในกลุ่มสาระภาษาไทย ผู้จัดทำ ขอ ขอบคุณ คุณครูเเละหน่วยงานอื่นๆในการจัดทำ ไว้ ณ โอกาสนี้ คำ นำ


หนังสือเล่มนี้ลุล่วงได้ด้วยความอนุเคราะห์จาก คุณครูที่ปรึกษา นางสิริญากร ดาราเย็น คุณครูประจำ รายวิชาภาษาไทย ที่ได้ให้คำ ปรึกษา เเละข้อคิดเห็นต่างๆ ใน การจัดทำ หนังสือเรื่องโวหารภาพพจน์เล่มนี้ โดยตลอดรวมทั้งช่วยเเก้ไขข้อบกพร่อง จนหนังสือเล่มนี้สำ เร็งลุล่วงได้คณะผู้จัดทำ ขอขอบพระคุณ ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณเพื่อนๆ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ช่วยให้คำ เเนะนำ เกี่ยวกับ การใช้เทคโนโลยีในการจัดทำ E-book เเละช่วยเเนะนำ เสนอความคิดเป็น เพื่อให้ หนังสือเล่มนี้สมบูรณ์มายิ่งขึ้น กิตติกรรมประกาศ คณะผู้จัดทำ


สารบัญ เรื่องความหมายโวหารภาพพจน์๑. อุปมาโวหาร๒. อุปลักษณ์๓. สัญลักษณ์๔.บุคบุลาธิษฐาน๕. อธิพจน์๖. สัทพจน์๗. นามนัย๘. ปรพากย์๙. วิภาษ๑๐. อธินามนัย๑๑. อธินามนัย๑๒. อุปมานิทัศน์๑๓. คำ ไวพจน์ หน้า๑๑๒๒๓๓๔๔๕๕๕๖๖๖


โวหาร คือ การใช้ถ้อยคำ อย่างมีชั้นเชิง เป็นการแสดง ข้อความออกมาในทำ นองต่างๆ เพื่อให้ข้อความได้เนื้อความดี มีความหมายแจ่มแจ้ง เหมาะสมน่าฟัง ในการเขียนเรื่องราวอาจใช้โวหารต่างกัน แล้วแต่ชนิด โวหาร คือ การใช้ถ้อยคำ อย่างมีชั้นเชิง เป็นการแสดง ข้อความออกมาในทำ นองต่างๆ เพื่อให้ข้อความได้เนื้อความดี มีความหมายแจ่มแจ้ง เหมาะสมน่าฟัง ในการเขียนเรื่องราวอาจใช้โวหารต่างกัน แล้วแต่ชนิด ๑.อุปมาโวหาร อุปมาคือ การเปรียบเทียบว่าสิ่งหนึ่งเหมือนกับ สิ่งหนึ่งโดยใช้คำ เชื่อมที่มีความหมายเช่นเดียวกับ คำ ว่า “ เหมือน ” เช่น ดุจดั่ง ราว ราวกับ เปรียบ ประดุจ เฉก เล่ห์ ปาน ประหนึ่ง เพียง เพี้ยง พ่าง ปูน ถนัด หม้ายเสมอ ตัวอย่าง เช่น ปัญญาประดุจดังอาวุธ ความหมาย ของโวหารภาพพจน์ ความหมาย ของโวหารภาพพจน์ ๑


๒.อุปลักษณ์ อุปลักษณ์ คล้ายกับอุปมาโวหารคือเป็นการเปรียบ เทียบเหมือนกัน แต่เป็นการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีก สิ่งหนึ่ง การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่งอุปลักษณ์ จะไม่กล่าวโดยตรงเหมือนอุปมาแต่ใช้วิธีกล่าวเป็นนัยให้ เข้าใจเอาเอง ที่สำ คัญอุปลักษณ์จะไม่มีคำ เชื่อมเหมือน อุปมา สัญลักษณ์ เป็นการเรียกชื่อสิ่งๆ หนึ่งโดยใช้คำ อื่นมาแทน ไม่เรียก ตรงๆ ส่วนใหญ่คำ ที่นำ มาแทนจะ เป็นคำ ที่เกิดจากการเปรียบเทียบ และตีความ ซึ่งใช้กันมานานจนเป็น ที่เข้าใจและรู้จักกันโดยทั่วไปทั้งนี้ อาจเป็นเพราะผู้ประพันธ์ต้องการ เปรียบเทียบเพื่อสร้างภาพพจน์ หรือมิฉะนั้นก็อาจจะอยู่ในภาวะที่ กล่าวโดยตรงไม่ได้เพราะไม่สมควร จึงต้องใช้สัญลักษณ์แทน ๓.สัญลักษณ์ ๒


บุคลาธิษฐาน หรือ บุคคลวัต บุคคลสมมติ คือการกล่าวถึงสิ่งต่างๆ ที่ไม่มีชีวิตไม่มีความคิด ไม่มีวิญญาณ เช่น โต๊ะ เก้าอี้อิฐ ปูน หรือสิ่งมี ชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์เช่น ต้นไม้ สัตว์ โดยให้สิ่ง ต่างๆเหล่านี้ แสดงกิริยาอาการและความรู้สึกได้ เหมือนมนุษย์ให้มีคุณลักษณะต่างๆ เหมือนสิ่ง มีชีวิต ตัวอย่าง เช่น ไส้เดือนเที่ยวเกี้ยวสาว ชาวอัปสรนอนชั้นฟ้า ทุกจุลินทรีย์อะมีบา เชิดหน้าได้ดิบได้ดี ๔.บุคลาธิษฐาน พจน์ หรืออธิพจน์ คือโวหารที่กล่าวเกินความจริง เพื่อสร้าง และเน้นความรู้สึกและอารมณ์ ทำ ให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกที่ลึกซึ้ง ภาพพจน์ชนิดนี้นิยมใช้กันมากแม้ในภาษาพูดเพราะเป็นการ กล่าวที่ทำ ให้เห็นภาพได้ง่ายและแสดงความรู้สึกของกวีได้อย่าง ชัดเจน ตัวอย่าง เช่น คิดถึงใจจะขาด หนาวกระดูกจะหลุด การบินไทยรักคุณเท่าฟ้าคิดถึงเธอทุกลมหายใจเข้าออก ๕.อธิพจน์ ๓


สัท สั พจน์ หมายถึง ถึ ภาพพจน์ที่ น์ เ ที่ ลีย ลี นเสีย สี ง ธรรมชาติเช่นช่เสีย สี งดนตรีเสีย สี งสัต สั ว์เสีย สี ง คลื่น ลื่ เสีย สี งลม เสีย สี งฝนตก เสีย สี งน้ำ ไหลฯลฯ การใช้ภ ช้ าพพจน์ปน์ ระเภทนี้จ นี้ ะทำ ให้เ ห้ หมือ มื น ได้ยิ ด้ นยิเสีย สี งนั้น นั้ จริงริๆ ตัว ตั อย่าย่งเช่นช่ลูก ลู หมาร้อ ร้ งบ๊อ บ๊ กๆๆ ลูก ลู นกร้อ ร้ งจิ๊บ จิ๊ ๆๆ ลูก ลู แมวร้อ ร้ งเหมีย มี วๆๆ ๖.สัทพจน์ นามนัยคือ การใช้คำ หรือวลีซึ่งบ่งลักษณะ หรือคุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแทนอีกสิ่ง หนึ่งคล้ายๆ สัญลักษณ์ แต่ต่างกันตรงที่ นามนัยนั้นจะดึงเอาลักษณะบางส่วนของสิ่ง หนึ่งมากล่าวให้หมายถึงส่วนทั้งหมด หรือใช้ ชื่อส่วนประกอบสำ คัญของสิ่งนั้นแทนสิ่งนั้น ทั้งหมดตัวอย่าง เช่น เมืองโอ่งคือจังหวัด ราชบุรี เมืองย่าโม คือจังหวัดนครราชสีมา ๗. นามนัย ๔


ปฏิพากย์ หรือ ปรพากย์คือการใช้ถ้อยคำ ที่มีความหมาย ตรงกันข้ามหรือขัดแย้งกันมากล่าวอย่างกลมกลืนกันเพื่อ เพิ่มความหมายให้มีน้ำ หนักมากยิ่งขึ้น ตัวอย่าง เช่น เลวบริสุทธิ์ บาปบริสุทธิ์สวยเป็นบ้าสวยอย่าง ร้ายกาจ การเปรียบเทียบความขัดแย้ง หรือสิ่งที่ตรงข้ามกันนำ มาจับ เข้าคู่กัน เช่น กากับหงส์ดินกับฟ้า มืดกับสว่าง ตัวอย่างเช่น ความมืดแผ่รอบกว้างสว่างหลบ รอบใจพลบแพ้พ่ายสลายขวัญ ชวนกำ สรดซบหน้าซ่อนจาบัลย์ วะหวิวหวั่นหวาดหวังว่ายังคอย คือ การเปรียบเทียบการใช้คำ ที่ดูเหมือนจะขัดแย้งกัน แต่เมื่อพิจารณาความหมายลึกซึ้งโดยแท้จริงแล้วอาจเข้า กันได้ หรือนำ มาเข้าคู่กันได้อย่างกลมกลืน ตัวอย่าง เช่น เปลวควันเทียนริบหรี่กลับมีแสง เกิดจาก แรงตั้งจิตอธิษฐาน ๘. ปรพากย์ ๙. วิภาษ ๑๐.อรรถวิภาษ ๕


คือการเปรียบเทียบโดยยกเรื่องราวหรือนิทานมา ประกอบ ขยาย หรือแนะโดยนัยให้ผู้อ่านผู้ฟังเข้าใจแนว ความคิด หลักธรรม หรือความประพฤติที่สมควรได้แจ่ม แจ้งยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น นิทานเรื่อง คนตาบอดคลำ ช้าง เป็นอุปมานิทัศน์ชี้ให้เห็นว่า คนที่มีประสบการณ์ หรือภูมิ หลังต่างกันย่อมมีความสามารถในการรับ รู้ความเชื่อและทัศนคติต่างกันโคลงโลกนิติ คือ การเปรียบเทียบ โดยจาระไนของหลาย ๆ อย่างที่มีลักษณะเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันมาก ล่าวนำ และสรุปความหมายรวม คือใช้ชื่อเรียกรวม ๆ แทนสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง หรือคนใดคนหนึ่ง คือ คำ ที่มีความหมายเหมือนกัน แต่ใช้ในบริบทต่างๆกัน ตัวอย่างเช่น กิน – รับประทาน เขมือบ หม่ำ ฉัน ดอกบัว – โกมุท โกมล ปทุม ๑๑.อธินามนัย ๑๒.อุปมานิทัศน์ ๑๓.คำ ไวพจน์ ๖


แบบฝึกหัดเรื่อง โวหารภาพพจน์ คำ ชี้แจง : ให้นักเรียนพิจารณาข้อความที่กำ หนดให้ว่ามีการใช้ภาพพจน์ชนิดใด อุปมา อุปลักษณ์ ปฏิพากย์ อติพจน์ อวพจน์ บุคลาธิษฐาน สัทพจน์ สัญลักษณ์ นามนัย ๑. ให้อายุยืนหมื่นเท่าเสาศิลาอยู่คู่ฟ้าดินได้ดังใจปอง ๒. น้ำ ค้างหยดลงเผาะๆ ๓.ตอนหล่อนเป็นไฟ ฉันก็กลายเป็นน้ำ ๔.ความสุขที่แสนจะเจ็บปวด ๕. เมื่อฟ้าหลั่งน้ำ ตา หมู่เมฆาพาหัวร่อ ๖.อินทรีเหล็ก ๗. เพียรทองงามดั่งทอง ไม่เหมือนน้องห่มตาดพราย ๘. เธอคือนางแมวป่า ๙.แอดออดออดแอดแอดออดลมลอดไล่เลี้ยวเรียวไผ่ ๑๐.ดีอย่างร้ายกาจ ..................... ..................... ..................... ..................... ..................... ..................... ..................... ..................... ..................... .....................


เฉลยแบบฝึฝึฝึ ก ฝึ กหัหั หั ด หั ดเรื่รื่ รื่ อ รื่ อง โวหารภาพพจน์น์ น์น์ คำ ชี้แจง : ให้นักเรียนพิจารณาข้อความที่กำ หนดให้ว่ามีการใช้ภาพพจน์ชนิดใด อุปมา อุปลักษณ์ ปฏิพากย์ อติพจน์ อวพจน์ บุคลาธิษฐาน สัทพจน์ สัญลักษณ์ นามนัย ๑. ให้อายุยืนหมื่นเท่าเสาศิลาอยู่คู่ฟ้าดินได้ดังใจปอง ๒. น้ำ ค้างหยดลงเผาะๆ ๓.ตอนหล่อนเป็นไฟ ฉันก็กลายเป็นน้ำ ๔.ความสุขที่แสนจะเจ็บปวด ๕. เมื่อฟ้าหลั่งน้ำ ตา หมู่เมฆาพาหัวร่อ ๖.อินทรีเหล็ก ๗. เพียรทองงามดั่งทอง ไม่เหมือนน้องห่มตาดทราย ๘. เธอคือนางแมวป่า ๙.แอดออดออดแอดแอดออดลมลอดไล่เลี้ยวเรียวไผ่ ๑๐.ดีอย่างร้ายกาจ ..................... ..................... ..................... ..................... ..................... ..................... ..................... ..................... ..................... ..................... อติติ ติ พ ติ พจน์น์ น์น์ สัสั สั ท สั ทพจน์น์ น์น์ สัสั สั ญ สั ญลัลั ลั ก ลั กษณ์ณ์ ณ์ณ์ ปฏิฏิ ฏิ พ ฏิ พากย์ย์ ย์ย์ บุบุ บุ ค บุ คลาธิธิ ธิ ษ ธิ ษฐาน นามนันั นั ย นั ย อุปมา อุอุ อุ ป อุ ปลัลั ลั ก ลั กษณ์ณ์ ณ์ณ์ สัสั สั ท สั ทพจน์น์ น์น์ ปฏิฏิ ฏิ พ ฏิ พากย์ย์ ย์ย์


บรรณานุกรม https://np.thai.ac/clientupload/np/uploads/files/%E0%B9%82%E0%B8%A7%E0%B8%A B%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8 %9E%E0%B8%9E%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B9%8C.pdf http://elsd.ssru.ac.th


สมาชิกในกลุ่ม นางสาว ธนัชพรแรงสู้ นางสาว ชลธิชา ไผ่หล้า นางสาวละแสงทอง นาย พงศธร พงพันธ์ นายวีรพงศ์ ป้อมสุวรรณ นาย กฤษฎา ระดาบุตร


Click to View FlipBook Version