The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จัดทำโดย นางสาวปาลิตา ไทยลา<br>ชั้น ม.5/6 เลขที่ 23 กลุ่มที่ 9<br>ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 23 ปาลิตา ไทยลา, 2023-09-02 04:52:30

วิชาเทคโนโลยี ระดับชั้น ม. 5

จัดทำโดย นางสาวปาลิตา ไทยลา<br>ชั้น ม.5/6 เลขที่ 23 กลุ่มที่ 9<br>ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566

Keywords: เทคโนโลยี

รายงาน วิชาวิทยาการคํานวณ รหัส ว30118 จัดทําโดย 1. นายพีรภัทร เปลียนทอง่เลขที่ 1 2. นางสาวมณินทร เป้ าด่าน เลขที่ 18 3. นางสาวปาลิตา ไทยลา เลขที่ 23 ชันมัธยมศึกษาปี ที้ ่ 5/6 เสนอ ครูจิรายุ ทองดี รายงานเล่มนี้ เป็ นส่วนหนึ่ งของรายวิชาเทคโนโลยีรหัส ว30118 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566 สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ


คํานํา รายงานฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาเทคโนโลยีรหัส ว30118 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับหลักการเขียนโปรแกรม ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม โครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ กระบวนการเขียนโปรแกรม ในการจัดทํารายงานประกอบสื่อการเรียนร้ในครั้งนี้ ูผ้จัดทําขอขอบคู ุณ ครูจิรายุทองดี ผ้ให้ความรู ้และแนวทางการศึกษาและเพื่อนๆที่ให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ู คณะผ้จัดทําหวังเป็ นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะอํานวยประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจและศึกษาเนื้อหาู เพิ่มเติม และพัฒนาศักยภาพ และบรรลุตามเป้าหมาย ลงชื่อนักเรียนผ้จัดทํารายงานู ผ้จัดทําู ปาลิตา ไทยลา


สารบัญ เรือง่หน้า คํานํา ก สารบัญ ข 1. ภาษาคอมพิวเตอร์ 1-4 2. ICT เทคโนโลยีและการสื่อสาร 5-7 3. Iot (Internet Of Things) 8-9 4.บรรณานุกรม 10 5. ภาคผนวก 14


ภาษาคอมพิวเตอร ์ ภาษคอมพิวเตอร์ : ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารระหวางคอมพิวเตอร์ก ่ บมนุษย์ หรือระหว ั างคอมพิวเตอร์ก ่บั คอมพิวเตอร์เองกน ภาษาคอมพิวเตอร์มีหลายแบบ รวมทั ั้ ง ภาษาเครื่องหมาย (Machine Language) ซึ่งเป็ นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้โดยตรง และภาษาโปรแกรม (Programming Language) ที่มนุษย์ใช้เขียนโปรแกรมเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทํางานตามที่ต้องการ ภาษาคอมพิวเตอร์ออกได้เป็ น 5ยุค ดังนี้ ภาษาเครือง ่ (Machine Language) ยุคของ ภาษาคอมพิวเตอร ์


ก่อนปี ค.ศ. 1952 มีภาษาคอมพิวเตอร์เพียงภาษาเดียวเท่านั้นคือ ภาษาเครื่อง (Machine Language) ซึ่ง เป็ นภาษาระดับตํ่าที่สุด เพราะใช้เลขฐานสอง ซึ่งประกอบด้วยเลขฐานสองคือ 0 และ 1 ซึ่งจะสัมพันธ์ กบการเปิ ด ( ั On) และการปิ ด (Off) ของสัญญาณไฟฟ้า ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์แทนข้อมูล และคําสั่ ง ต่าง ๆ ทั้ งหมด จะเป็ นภาษาที่ขึ้นอยูก่ บชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือหน ั ่วยประมวลผลที่ใช้ นันคือ ่ แต่ละเครื่องกจะมีรูปแบบของคําสั ็ ง เฉพาะของตนเอง ซึ่งนักคํานวณและนักเขียนโปรแกรมใน ่ สมัยก่อน ต้องรู้จักวิธีที่จะรวมตัวเลขเพื่อแทนคําสั่ งต่าง ๆ ทําให้การเขียนโปรแกรมยุงยากมาก่ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) เป็ นภาษาที่มีการใช้ตัวอักษรในภาษาอังกฤษมาแทนคําสังที่เป็ นเลขฐานสอง และเรียกอักษรสัญลักษณ์ ่ ที่เป็ นคําสั่ งนี้วา สัญลักษณ์ข้อความ ( ่ mnemonic codes) เพื่อให้ง่ายต่อการเขียนและการจดจํามากกวา่ ภาษาเครื่อง แต่ถึงอยางไรก ่ ยังจัดภาษาแอสเซมบลีนี ็ ้เป็ นภาษาระดับตํ่า ภาษาช ันสูง ้ (High-level Language) สามารถเรียกได้อีกอยางว่ าเป็ นภาษารุ ่ ่นที่ 3 (3rd Generation Language หรือ 3GLs) เป็ นภาษาที่ถูกสร้าง ขึ้นมาเพื่อให้สามารถเขียน และอ่านโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากมีลักษณะเหมือนภาษาอังกฤษ


ทัวๆไป และที่สําคัญ คือ ผู้เขียนโปรแกรม ไม ่่จําเป็ นต้องมีความรู้เกี่ ยวกบ ระบบฮาร์ดแวร์แต ั ่อยางใด ่ ตัวอยางของภาษาประเภทนี ่้ได้แก่ ภาษาฟอร์แทรน(Fortran) , โคบอล (Cobol) , เบสิก (Basic) , ปาสคาล (Pascal) , ซี(C) , เอดา(ADA) เป็ นต้น ภาษาขันสูงมาก ( ้Very high-level Language) สามารถเรียกได้อีกอยางว่า่ ภาษาในร่นที่ ุ 4(4GLs : Fourth-Generation Languages) ภาษานี้เป็ นภาษา ที่อยูในระดับสูงกว ่าภาษารุ่ ่นที่ 3 มีลักษณะของภาษาที่เป็ นธรรมชาติ คล้ายกบภาษาพูดของมนุษย์ ัจะ ช่วยในเรื่องของการสร้างแบบฟอร์มบนหน้าจอ เพื่อจัดการเกี่ ยวกบข้อมูล รวมไปถึงการออกรายงาน ั ซึ่งจะมีการจัดการที่ง่ายมากไม่ยุงยากเหมือนภาษารุ ่ ่นที่3 ตัวอยางของภาษาในรุ ่ ่นที่ 4 ได้แก่Informix4GL , Focus , Sybase , InGres เป็ นต้น ภาษาธรรมชาติ(National Language) เป็ นภาษาในยุคที่5 ที่มีรูปแบบเป็ นแบบ nonprocedural เช่นเดียวกบภาษารุั ่นที่4 การที่เรียกวา่ ภาษาธรรมชาติ เพราะจะสามารถสังงานคอมพิวเตอร์ ได้โดยใช้ภาษามนุษย์ได้โดยตรง โดยทั ่ วไป ่ คําสังที่มนุษย์ป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์ จะอยู ่ในรูปของภาษาพูดมนุ ่ ษย์ ซึ่งอาจมีรูปแบบที่ไม่แน่นอน ตายตัว แต่คอมพิวเตอร์กสามารถแปลคําสั ็ งเหล่่านั้นให้อยู ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจ ่ คําสังได้ ถ้าคําสั ่ งใดไม ่่กระจ่างชัดเจน กจะมีการถามกลับ เพื่อให้เข้าใจคําสั ็ งได้อย ่ างถูกต้อง ่


การพัฒนาโปรแกรมสําหรับความ บันเทิง เช่นเกมส์ต่าง ๆ กยังทํารายได้ให้แก ็ ่ผู้เขียนโปรแกรมอยางมหาศาล ดังนั ่้น การรู้จักวิธีเขียนคําสังควบคุมการ่ ทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ จึงนับวาเป็ นประโยชน์อย ่ างยิ ่ ง ซึ่งพอสรุปได้ดังนี ่ ้ 1. ด้านรายได้:ผู้พัฒนาโปรแกรมที่สามารถใช้งานได้ดี ยอมมีรายได้จากการจําหน ่ ่ายโปรแกรมอยางไม ่ ่จํากด ั ตัวอยางเช่ ่น บิลล์ เกต เจ้าของ บริษัทไมโครซอฟต์ที่รํ่ารวยจากการขายโปรแกรมเป็ นอันดับหนึ่งของโลก 2. ด้านความสะดวกสบายของผ้ใช้โปรแกรมู: ทําให้การทํางานในชีวิตประจําวันมีความสะดวกสบาย และมีเวลาพักผอนมากขึ ่้น เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยผอนการทํางานได้มาก ่ 3. ด้านการศึกษา :โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะช่วยให้นักเรียนเข้าใจในบทรียนต่าง ๆ มากขึ้น สามารถ ทบทวนบทเรียนได้หลาย ๆ ครั้งด้วยตนเอง หรือการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย Internet จะเพิ่ มมวลความรู้ได้อยางไม ่ ่ จํากดเวลาและสถานที่ ั ประโยชน์ของภาษาคอมพิวเตอร ์


Information and Communication Technology เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกบขั ่าวสารข้อมูลและการ สื่อสาร นับตั้ งแต่การสร้าง การนํามาวิเคราะห์หรือประมวลผล การรับและส่งข้อมูล การจัดเกบ ็ และการนําไปใช้งานใหม่ เทคโนโลยีเหล่านี้มักจะหมายถึง คอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยส่วน อุปกรณ์ (hardware) ส่วนคําสัง (่software) และ ส่วนข้อมูล (data) และระบบการสื่อสารต่าง ๆ ไม่วาจะเป็ นโทรศัพท์ ระบบสื่อสารข้อมูล ่ ดาวเทียมหรือเครื่องมือสื่อสารใด ๆ ทั้ งมีสาย และไร้สาย I ย่อมาจากคําว่า Information คือ ระบบสารสนเทศ C ย่อมาจากคําว่า Communication คือ การสือสาร่ T ย่อมาจากคําว่า echnology คือ เทคโนโลยีในทีนี่ ้คือ คอมพิวเตอร ์


Information Technology, IT : การประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์โทรคมนาคม เพื่อทําการ จัดเกบ ค้นหา จัดส ็ ่ง กระจายออก ติดตาม รวบรวม และจัดการข้อมูลต่างๆ Communication Technology : เทคโนโลยีดิจิตัลประเภทหนึ่ง ซึ่งได้พัฒนาตัวเพื่อเอื้อต่อการจัดการ “การสื่อสาร(Communication)” หรือ “การขนส่งข่าวสาร(Transfer of Information)” ไม่วาจะเป็ นทางด้านภาพ ่ เสียง หรือ ทางด้านข้อมูล สามารถเชื่อมโยงติดต่อกนได้อย ั างสะดวกรวดเร็ว ่ และเป็ นเครือข่ายที่ติดต่อสื่อสารกนได้ทั ั วโ่ลก Telecommunication Technology : การสื่อสารระยะใกล้และไกล โดยการรับส่งสัญญาณเสียง ข้อความและภาพ ผานสื่อสัญญาณทางสายหรือ ่ ไร้สายด้วยระบบแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งอาจเป็ นไฟฟ้า แสง หรือวิธีอื่นใดที่ทํางาน ร่วมกน เชั ่น โทรสาร วิทยุติดตามตัว โทรศัพท์เคลื่อนที่ อินเทอร์เน็ต วิทยุกระจายและโทรทัศน์ Remote Control เป็ นต้น Computer TechnologyComputer Technology Computer Technology :อุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ที่ใช้ในการ จัดการข้อมูลที่มีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ทําหน้าที่ในการ ประมวสผลข้อมูล (คํานวณและตรรกะ) แล้วนําข้อมูลไปเกบไว้ ็ ในหน่วยความจํา (Memory Unit) และนําข้อมูลออกมาแสดงผลทาง หน่วยแสดงผลข้อมูล(Output Unit) องค ์ประกอบ ICT


Storage Technology : เป็ นเทคโนโลยีที่ช่วยในเรื่องการจัดการ กบข้อมูลที่จําเป็ นต้องใช้ เพื่อให้ผู้ใช้หลาย ๆ คน สามารถเข้าไป ั ใช้งานร่วมกนได้ ซึ่งจะมีการก ั าหนดสิทธิในการใช้งา ํน ( Authentication )ข้อมูลที่สามารถเข้าถึงได้อยางง่ ่ายดายและมีความเป็ น ปัจจุบัน ช่วยทําให้เกิดประสิทธิภาพในองค์กรมากขึ้น


Internet of Things (IoT) Internet of Things (IoT) คือ "อินเตอร์เน็ตในทุกสิ่ง" หมายถึง การที่อุปกรณ์ต่างๆ สิ่งต่างๆ ได้ถูกเชื่อมโยงทุก สิ่งทุกอย่างส่โลกอินเตอร์เน็ต ทําให้มนู ุษย์สามารถสั่งการควบคุมการใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ ผ่านทางเครือข่าย อินเตอร์เน็ต เช่น การเปิ ด-ปิ ด อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า loT เป็ นเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่เชื่อมต่ออุปกรณ์กับเครื่องมือต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน เทคโนโลยี IoT มีความ จําเป็ นต้องทํางานร่วมกับอปกรณ์ประเภท ุRFID และ Sensors ซึ่งเปรียบเสมือนการเติมสมองให้กับอุปกรณ์ต่างๆ ที่ขาดไม่คือการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต เพื่อให้อุปกรณ์สามารถรับส่งข้อมูลถึงกันได้ หลักการทํางานของ IoT ทํางานผ่านอินเทอร์เน็ต ใช้อินเทอร์เน็ตเป็ นตัวกลาง เชื่อมต่อระหว่างเราและ เครื่องใช้อิเล็กทรกนิกส์ ในส่วนนี้เราอาจจะใช้กระบวนการที่เรียกว่า Wireless Sensor Network (WSN) เป็ นการ ตรวจจับ ค่าแสงหรืออุณหภูมิต่างๆ เพื่อประมวลผลกลายเป็ นการทํางานในขั้นต่อไป ส่งผ่านค่าพวกนี้ผ่าน Dateway Sensor Nodes เพื่อเชื่อมต่อส่อินเทอร์เน็ตให้กระจายคําสั่งได้ ไม่ว่าผู้ออกคําสั่งจะอยู่ที่ไหน ไม่มีข้อจํากัดู เรื่องระยะห่าง ทําให้สะดวกมากยิ่งขึ้น


ความเสี่ยง อาจมีการเจาะระบบเข้าไปยังอุปกรณ์ IoT และทําการ โจมตีรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นการโจมตีระบบอื่นๆ จาก ระยะไกล, การส่ง Email แอบแฝง Malware/Email หลอกลวง/Spam Email, ขโมยข้อมูลส่วนตัว หรือ แม้กระทั่งขัดขวางกระบวนการรักษาความปลอดภัยใน ประโยชน์ของ IoT 1.ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน 2.ไร้ข้อจํากัดด้านเวลาและสถานที่ 3.ช่วยลดต้นทุนในหลาย ๆ ด้าน 4.อํานวยความสะดวก มีเวลาเหลือในการ สรรค์สร้างนวัตกรรม 5.ยกระดับกิจการให้ Smart ในสายตานัก


บรรณานุกรม https://sites.google.com/ntun.ac.th/mashebew/home https://sites.google.com/ntun.ac.th/ishibanya/home https://sites.google.com/ntun.ac.th/pali4/home


ภาคผนวก 1.ยอดผู้เข้าชมการนําเสนออนไลน์ ยอดวิว100 หรือยอดแชร์ 100 https://www.facebook.com/100069415332600/posts/pfbid024YdrPPYTJbTgFSDd7zVjEwGUNBp8 TFbhcsZGPvsdQjaYQhjPf6nCN7n4k7MhQ8xkl/?mibextid=cr9u03


Click to View FlipBook Version