๕๔ เอกสารประกอบหลักสูตร กลุ1มสาระการเรียนรู6สุขศึกษาและพลศึกษา ๙. งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลO น้ำใจนักกีฬา (Spirit) เป]นคุณธรรมประจำใจของการเลCนรCวมกัน อยูCรCวมกัน และมีชีวิตอยูCรCวมกันในสังคม ไดIอยCางปกติสุขและมีประสิทธิภาพ พฤติกรรมที่แสดงถึงความมีน้ำใจนักกีฬา เชCน การมีวินัย เคารพ กฎกติกา รูIแพI รูIชนะ รูIอภัย บริการสุขภาพ (Health Service) บริการทางการแพทยOและสาธารณสุขทั้งของรัฐและเอกชน ประชาสังคม (Civil Society) เครือขCาย กลุCม ชมรม สมาคม มูลนิธิ สถาบัน องคOกร หรือชุมชนที่มีกิจกรรม การเคลื่อนไหวทางสังคม เพื่อประโยชนOรCวมกันของกลุCม ผลิตภัณฑOสุขภาพ (Health Products) ยา เครื่องสำอาง อาหารสำเร็จรูป เครื่องปรุงรสอาหาร อาหารเสริม วิตามิน พฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศ (Sex Abuse) การประพฤติปฏิบัติใด ๆ ที่ไมCเป]นไปตามธรรมชาติทางเพศตนเอง เชCน มีจิตใจรักชอบในเพศ เดียวกัน การแตCงตัวหรือแสดงกิริยาเป]นเพศตรงขIาม พฤติกรรมสุขภาพ (Health Behaviour) การปฏิบัติหรือกิจกรรมใด ๆ ในดIานการปfองกัน การสรIางเสริม การรักษาและการฟçéนฟูสุขภาพ อันมีผลตCอสภาวะทางสุขภาพของบุคคล พฤติกรรมเสี่ยง (Risk Behaviour) รูปแบบจำเพาะของพฤติกรรม ซึ่งไดIรับการพิสูจนOแลIววCา มีความสัมพันธOกับการเพิ่มโอกาส ที่จะปeวยจากโรคบางชนิดหรือการเสื่อมสุขภาพมากขึ้น
๕๕ เอกสารประกอบหลักสูตร กลุ1มสาระการเรียนรู6สุขศึกษาและพลศึกษา พลังปhญญา (Empowerment) กระบวนการสรIางเสริมศักยภาพแกCบุคคลและชุมชนใหIเป]นผูIสนใจใฝeรูI และมีอำนาจ ในการคิด การตัดสินใจ การแกIปaญหาดIวยชุมชนเองไดIเป]นสCวนใหญC นอกจากนั้นบุคคลและชุมชน ยังสามารถควบคุมสภาพแวดลIอมที่มีผลกระทบตCอปaญหาสุขภาพใหIอยูCในสภาพที่เอื้อตCอการสรIางเสริมและ พัฒนาสุขภาพ ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition) การขาดสารอาหารที่จำเป]นตCอการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก ทำใหIมีผลกระทบตCอ สุขภาพ ภาวะผู6นำ (Leadership) การมีคุณลักษณะในการเป]นหัวหนIา สามารถชักชวนและชี้นำสมาชิกในกลุCมรCวมมือรCวมใจกัน ปฏิบัติงานใหIสำเร็จลุลCวงไปดIวยดี ภูมิปhญญาไทย (Thai Wisdom) สติปaญญา องคOความรูIและคCานิยมที่นำมาใชIในการดำเนินชีวิตไดIอยCางเหมาะสม เป]นมรดกทาง วัฒนธรรมที่เกิดจากการสั่งสมประสบการณO ความรูIแขนงตCาง ๆ ของบรรพชนไทยนับแตCอดีต สอดคลIองกับวิถีชีวิต ภูมิปaญญาไทย จึงมีความสำคัญตCอการพัฒนาชีวิตความเป]นอยูCของคนไทย ทั้งดIานเศรษฐกิจ สังคม ลักษณะของภูมิปaญญาไทย มีองคOประกอบตCอไปนี้ ๑. คติ ความเชื่อ ความคิด หลักการที่เป]นพื้นฐานขององคOความรูIที่เกิดจากสั่งสมถCายทอดกันมา ๒. ศิลปะ วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณี ๓. การประกอบอาชีพในแตCละทIองถิ่นที่ไดIรับการพัฒนาใหIเหมาะสมกับสมัย ๔. แนวคิด หลักปฏิบัติ และเทคโนโลยีสมัยใหมCที่นำมาใชIในชุมชน ซึ่งเป]นอิทธิพลของ ความกIาวหนIาทางวิทยาศาสตรOและเทคโนโลยี ตัวอยCางภูมิปaญญาไทยที่เกี่ยวขIองกับสุขภาพ เชCน การแพทยOแผนไทย สมุนไพร อาหารไทย ยาไทย ฯลฯ
๕๖ เอกสารประกอบหลักสูตร กลุ1มสาระการเรียนรู6สุขศึกษาและพลศึกษา แรงขับทางเพศ (Sex Drive) แรงขับที่เกิดจากสัญชาตญาณทางเพศ ลHวงละเมิดทางเพศ (Sexual Abuse) การใชIคำพูด การจับ จูบ ลูบ คลำ และ / หรือรCวมเพศ โดยไมCไดIรับการยินยอมจาก ฝeายตรงขIาม โดยเฉพาะกับผูIเยาวO สติ (Conscious) ความรูIสึกตัวอยูCเสมอในการรับรูIสิ่งตCาง ๆ การใหIหลักการและเหตุผลในการปfองกัน ยับยั้งชั่งใจ และควบคุมตนเองเพื่อไมCใหIคิดผิดทาง ไมCหลงลืม ไมCเครียด ไมCผิดพลาด กCอใหIเกิดพฤติกรรมที่ถูกตIอง ดีงาม สมรรถภาพกลไก (Motor Fitness) หรือสมรรถภาพเชิงทักษะปฏิบัติ (Skill - Related Physical Fitness) ความสามารถของรCางกายที่ชCวยใหIบุคคลสามารถประกอบกิจกรรมทางกาย โดยเฉพาะอยCางยิ่ง การเลCนกีฬาไดIดี มีองคOประกอบ ๖ ดIาน ดังนี้ ๑. ความคลCอง (Agility) หมายถึง ความสามารถในการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ไดIอยCาง รวดเร็วและสามารถควบคุมไดI ๒. การทรงตัว (Balance) หมายถึง ความสามารถในการรักษาดุลของรCางกายเอาไวIไดI ทั้งในขณะอยูCกับที่และเคลื่อนที่ ๓. การประสานสัมพันธO (Co – ordination) หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนไหวไดIอยCาง ราบรื่น กลมกลืน และมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป]นการทำงานประสานสอดคลIองกันระหวCางตา-มือ-เทIา ๔. พลังกลIามเนื้อ (Power) หมายถึง ความสามารถของกลIามเนื้อสCวนหนึ่งสCวนใดหรือ หลาย ๆ สCวนของรCางกายในการหดตัวเพื่อทำงานดIวยความเร็วสูง แรงหรืองานที่ไดIเป]นผลรวมของ ความแข็งแรงและความเร็วที่ใชIในชCวงระยะเวลานั้น ๆ เชCน การยืนอยูCกับที่ กระโดด การทุCมน้ำหนัก เป]น ตIน ๕. เวลาปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction time) หมายถึง ระยะเวลาที่รCางกายใชIในการตอบสนอง ตCอสิ่งเรIาตCาง ๆ เชCน แสง เสียง สัมผัส
๕๗ เอกสารประกอบหลักสูตร กลุ1มสาระการเรียนรู6สุขศึกษาและพลศึกษา ๖. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนที่จากที่หนึ่งไปยังอีกหนึ่งไดIอยCาง รวดเร็ว สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) ความสามารถของระบบตCาง ๆ ของรCางกาย ในการทำงานอยCางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บุคคลที่มีสมรรถภาพทางกายดีนั้นจะสามารถประกอบกิจกรรมในชีวิตประจำวันไดIอยCางกระฉับกระเฉง โดยไมCเหนื่อยลIาจนเกินไปและยังมีพลังงานสำรองมากพอ สำหรับกิจกรรมนันทนาการหรือกรณีฉุกเฉิน ในปaจจุบันนักวิชาชีพดIานสุขศึกษาและพลศึกษาไดIเห็นพIองตIองกันวCา สมรรถภาพทางกายสามารถจัดกลุCม ไดIเป]นสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (Health – Related Physical Fitness) และหรือสมรรถภาพ กลไก (Motor Fitness) สมรรถภาพเชิงทักษะปฏิบัติ (Skill – Related Physical Fitness) สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (Health – Related Physical Fitness) ความสามารถของระบบตCาง ๆ ในรCางกายประกอบดIวย ความสามารถเชิงสรีรวิทยาดIานตCาง ๆ ที่ชCวยปfองกันบุคคลจากโรคที่มีสาเหตุจากภาวะการขาดการออกกำลังกาย นับเป]นปaจจุบันหรือตัวบCงชี้ สำคัญของการมีสุขภาพดี ความสามารถหรือสมรรถนะเหลCานี้ สามารถปรับปรุงพัฒนาและคงสภาพไดI โดย การออกกำลังกายอยCางสม่ำเสมอ สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพมีองคOประกอบดังนี้ ๑. องคOประกอบของรCางกาย (Body Composition) ตามปกติแลIวในรCางกายมนุษยO ประกอบดIวย กลIามเนื้อ กระดูก ไขมัน และสCวนอื่น ๆ แตCในสCวนของสมรรถภาพทางกายนั้น หมายถึง สัดสCวนปริมาณไขมันในรCางกายกับมวลรCางกายที่ปราศจากไขมัน โดยการวัดออกมาเป]น เปอรOเซ็นตOไขมัน (% fat) ดIวยเครื่อง ๒. ความทนทานของระบบไหลเวียนโลหิต (Cardiorespiratory Endurance) หมายถึง สมรรถนะเชิงปฏิบัติของระบบไหลเวียนโลหิต (หัวใจ หลอดเลือด) และระบบหายใจในการลำเลียง ออกซิเจนไปยังเซลลOกลIามเนื้อ ทำใหIรCางกายสามารถยืนหยัดที่จะทำงานหรือออกกำลังกายที่ใชIกลIามเนื้อ มัดใหญCเป]นระยะเวลายาวนานไดI
๕๘ เอกสารประกอบหลักสูตร กลุ1มสาระการเรียนรู6สุขศึกษาและพลศึกษา ๓. ความอCอนตัวหรือความยืดหยุCน (Flexibility) หมายถึง พิสัยของการเคลื่อนไหวสูงสุดเทCาที่ จะทำไดIของขIอตCอหรือกลุCมขIอตCอ ๔. ความทนทานหรือความอดทนของกลIามเนื้อ (Muscular Endurance) หมายถึง ความสามารถของกลIามเนื้อมัดใดมัดหนึ่งหรือกลุCมกลIามเนื้อ ในการหดตัวซ้ำ ๆ เพื่อตIานแรงหรือ ความสามารถในการคงสภาพการหดตัวครั้งเดียวไดIเป]นระยะเวลายาวนาน ๕. ความแข็งแรงของกลIามเนื้อ (Muscular Strength) หมายถึง ปริมาณสูงสุดของแรง ที่กลIามเนื้อมัดใดมัดหนึ่งหรือกลุCมกลIามเนื้อสามารถออกแรงตIานทานไดI ในชCวงการหดตัว ๑ ครั้ง สุขบัญญัติแหHงชาติ (National Health Disciplines) ขIอกำหนดที่เด็กและเยาวชน ตลอดจนประชาชนทั่วไป พึงปฏิบัติอยCางสม่ำเสมอ จนเป]นสุขนิสัย เพื่อใหIมีสุขภาพดีทั้งรCางกาย จิตใจ และสังคม ซึ่งกำหนดไวI ๑๐ ประการ ดังนี้ ๑. ดูแลรักษารCางกายและของใชIใหIสะอาด ๒. รักษาฟaนใหIแข็งแรงและแปรงฟaนทุกวันอยCางถูกตIอง ๓. ลIางมือใหIสะอาดกCอนกินอาหารและหลังการขับถCาย ๔. กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด สีฉูดฉาด ๕. งดบุหรี่ สุรา สารเสพติด การพนัน และการสำสCอนทางเพศ ๖. สรIางความสัมพันธOในครอบครัวใหIอบอุCน ๗. ปfองกันอุบัติภัยดIวยการไมCประมาท ๘. ออกกำลังกายสม่ำเสมอและตรวจสุขภาพประจำปt ๙. ทำจิตใจใหIรCาเริงแจCมใสอยูCเสมอ ๑๐ .มีสำนึกตCอสCวนรวม รCวมสรIางสรรคOสังคม สุขภาพ (Health) สุขภาวะ (Well – Being หรือ Wellness) ที่สมบูรณOและเชื่อมโยงกันเป]นองคOรวมอยCางสมดุล ทั้งมิติทางจิตวิญญาณ (มโนธรรม) ทางสังคม ทางกาย และทางจิต ซึ่งมิไดIหมายถึงเฉพาะความ ไมCพิการและความไมCมีโรคเทCานั้น สุนทรียภาพของการเคลื่อนไหว (Movement Aesthetic)
๕๙ เอกสารประกอบหลักสูตร กลุ1มสาระการเรียนรู6สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะและความงดงามของทCวงทCาในการเคลื่อนไหวรCางกายในอิริยาบถตCาง ๆ ซึ่งเป]นผลมาจาก ความคิดสรIางสรรคOในการออกแบบทCาทางการเคลื่อนไหวและการฝuกฝนจนเกิดความชำนาญ สามารถ แสดงออกมาเป]นความกลมกลืนและตCอเนื่อง แอโรบิก (Aerobic) กระบวนการสรIางพลังงานแบบตIองใชIอากาศ ซึ่งในที่นี้ หมายถึง ออกซิเจน (Aerobic - energe delivery) ในการสรIางพลังงานของกลIามเนื้อ เพื่อทำงานหรือเคลื่อนไหว นั้น กลIามเนื้อจะมี วิธีการ ๓ แบบที่จะไดIพลังงานมา แบบที่ ๑ เป]นการใชIพลังงานที่มีสำรองอยูCในกลIามเนื้อซึ่งจะใชIไดIในเวลาไมCเกิน ๓ วินาที แบบที่ ๒ การสังเคราะหOพลังงานโดยไมCใชIออกซิเจน (Anaerobic energy delivery) ซึ่งใชIไดIไมCเกิน ๑๐ วินาที แบบที่ ๓ การสังเคราะหOสารพลังงาน โดยใชIออกซิเจน ซึ่งจะใชIพลังงานไดIระยะเวลานาน
๖๐ เอกสารประกอบหลักสูตร กลุ1มสาระการเรียนรู6สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคผนวก
เอกสารประกอบหลักสูตร ตารางวิเคราะหOมาตรฐานและตัวชี้วัด สุขที่ หนCวย พ.๑ พ.๒ ๑.๑ ๒.๑ ๓๑ ๒ ๑ ๒ ๓ ๑ ๑ ตัวเรา ü ü ๒ ชีวิตและครอบครัว ü ü ü ๓ กิจกรรมหรรษา ü ๔ การสรIางเสริมสุขภาพ ๕ ความปลอดภัยในชีวิต ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
๕๔ กลุ1มสาระการเรียนรู6สุขศึกษาและพลศึกษา ขศึกษา และพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปZที่ ๑ พ.๓ พ.๔ พ.๕ ๓.๑ ๓.๒ ๔.๑ ๕.๑ รวม คะแนน ๒ - ๑ ๒ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ - ๒ ๑๐ - ๓ ๑๐ ü - ü ü ๔ ๔๐ - ü ü ü ๓ ๑๐ - ü ü ü ๓ ๑๐ ๑ - ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑๕ ๘๐
๕๕ เอกสารประกอบหลักสูตร กลุ1มสาระการเรียนรู6สุขศึกษาและพลศึกษา คำสั่งโรงเรียน ที่ ๕๐ / ๒๕๖๖ เรื่อง แตHงตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ********************************* เพื่อใหIการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป]นไปอยCางมีประสิทธิภาพ สอดคลIองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหCงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๔ มาตรา ๒๗ ที่กำหนดใหI สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีหนIาที่จัดทำสาระของหลักสูตรเพื่อความเป]นไทย ความเป]นพลเมืองที่ดีของชาติ การดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาตCอ ในสCวนที่เกี่ยวกับสภาพของปaญหาใน ชุมชน และสังคม ภูมิปaญญาทIองถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงคOเพื่อเป]นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ และสอดคลIองกับระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวCาดIวยคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๔๔ อาศัยอำนาจตามมาตรา ๓๗ แหCงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ และที่แกIไขเพิ่มเติม จึงแตCงตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน โรงเรียนบIานดง ปtการศึกษา ๒๕๖๖ ดังนี้ ๑. คณะกรรมการที่ปรึกษา นายพิชัย ทรงรักษา ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน นายภาวัช กันธวรรณO ผูIอำนวยการโรงเรียน นางนิจพร นันชัยอุด ครูชำนาญการพิเศษ นางสาวรินCา จันทรOหอม ครู นางสาวอาภาภรณO แกCนการ ครูชำนาญการ ๒. คณะกรรมการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา นางสาวปริศนา เป]งพฤกษO ครูชำนาญการ สาระการเรียนรูIภาษาไทย นางธัญภรณO โกฏแกIว ครูชำนาญการพิเศษ สาระการเรียนรูIภาษาไทย นางจริยาวดี พริ้งดี ครูอัตราจIาง
๕๖ เอกสารประกอบหลักสูตร กลุ1มสาระการเรียนรู6สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปtที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปtที่ ๖ นางสาวอาภาภรณO แกCนการ ครู ชำนาญการ สาระการเรียนรูIคณิตศาสตรO ชั้นประถมศึกษาปtที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปtที่ ๖ นางสาววาสนา พึ่งศรี ครูผูIชCวย สาระการเรียนรูIวิทยาศาสตรO ชั้นประถมศึกษาปtที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปtที่ ๖ นายรังสรรคO พรมมา ครู สาระการเรียนรูIสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปtที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปtที่ ๖ นางสาวชวิกา จันทรOธีระโรจนO ครูชำนาญการพิเศษ สาระการเรียนรูIศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปtที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปtที่ ๖ นางนิจพร นันชัยอุด ครูชำนาญการพิเศษ สาระ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปtที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปtที่ ๖ นายภูมิ วิริยะ ครูชำนาญการ สาระ คอมพิวเตอรO ชั้นประถมศึกษาปtที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปtที่ ๖ นายรังสรรคO พรมมา ครู สาระการเรียนรูIการงานอาชีพ สุขศึกษาแลพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปtที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปtที่ ๖ นางสาวดวงฤทัย โสภี ครูชำนาญการพิเศษ สาระการเรียนรูIภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศึกษาปtที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปtที่ ๖ นางสาวรินCา จันทรOหอม ครู สาระการเรียนรูI ปฐมวัย นางสาวศรัณยOรักษO สันติอรุโณทัย ครู สาระการเรียนรูI ปฐมวัย นางสาววัชรียา คำจันทรO ครูอัตราจIาง สาระการเรียนรูI ปฐมวัย ชั้นอนุบาล ๑ ถึงชั้นอนุบาล ๓ ๓. คณะกรรมการจัดทำระเบียบการวัดผลประเมินผล นางนิจพร นันชัยอุด ครูชำนาญการพิเศษ นางสาวอาภาภรณO แกCนการ ครูชำนาญการ นางสาวชวิกา จันทรOธีระโรจนO ครูชำนาญการพิเศษ ๔. คณะกรรมการตรวจทานและใหIความเห็นชอบ นายภาวัช กันธวรรณO ผูIอำนวยการโรงเรียน นางธัญภรณO โกฏแกIว ครูชำนาญการพิเศษ นางสาวดวงฤทัย โสภี ครูชำนาญการพิเศษ
๕๗ เอกสารประกอบหลักสูตร กลุ1มสาระการเรียนรู6สุขศึกษาและพลศึกษา นางสาวปริศนา เป]งพฤกษO ครูชำนาญการ นางสาวอาภาภรณO แกCนการ ครูชำนาญการ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ให6คณะกรรมการดำเนินการ มีหน6าที่และดำเนินการจัดการตามขั้นตอนที่กำหนด ดังนี้ ๑. วางแผนการดำเนินงานวิชาการ กำหนดสาระรายละเอียดของหลักสูตรระดับสถานศึกษาและ แนวทางการจัดสัดสCวนสาระการเรียนรูI และกิจกรรมพัฒนาผูIเรียนของสถานศึกษา ใหIสอดคลIองกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และสภาพเศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปaญญา ทIองถิ่น ๒. จัดทำคูCมือการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการของสถานศึกษา นิเทศ กำกับ ติดตาม ใหI คำปรึกษา เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรูI การวัดและประเมินผลและการแนะ แนวใหIสอดคลIองและเป]นไปตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๓. สCงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร การจัดกระบวน การเรียนรูI การวัดและประเมินผลและการแนะแนวใหIเป]นไปตามจุดหมายและแนวทางการดำเนินการของหลักสูตร ๔. ประสานความรCวมมือจากบุคคล หนCวยงาน องคOกรตCาง ๆ และชุมชน เพื่อใหIการใชIหลักสูตร เป]นไปอยCางมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ ๕. ประชาสัมพันธOหลักสูตรและการใชIหลักสูตรแกCนักเรียน ผูIปกครอง ชุมชนและผูIเกี่ยวขIองและ นำขIอมูลปfอนกลับจากฝeายตCาง ๆ มาพิจารณาเพื่อปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา ๖. สCงเสริมสนับสนุนการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรูI ๗. ติดตามผลการเรียนของนักเรียนเป]นรายบุคคล ระดับชั้น และชCวงชั้น ระดับวิชา กลุCมวิชา ใน แตCละปtการศึกษา เพื่อปรับปรุงแกIไข และพัฒนาการดำเนินงานดIานตCาง ๆ ของสถานศึกษา ๘. ตรวจสอบทบทวน ประเมินมาตรฐาน การปฏิบัติงานของครู และการบริหารหลักสูตรระดับ สถานศึกษาในรอบปtที่ผCานมา แลIว ใชIผลการประเมิน เพื่อวางแผนพัฒนาการปฏิบัติงานของครูและการ บริหารหลักสูตรปtการศึกษาตCอไป ๙. รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการบริหารหลักสูตรของสถานศึกษา โดยเนIนผลการพัฒนา คุณภาพนักเรียนตCอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรระดับเหนือ สถานศึกษา สาธารณชน และผูIเกี่ยวขIอง
๕๘ เอกสารประกอบหลักสูตร กลุ1มสาระการเรียนรู6สุขศึกษาและพลศึกษา ๑๐. ใหIดำเนินการประชุมคณะกรรมการอยCางนIอยภาคเรียนละ ๒ ครั้ง ทั้งนี้ใหIผูIไดIรับการแตCงตั้งปฏิบัติหนIาที่ที่ไดIรับมอบหมายอยCางมีประสิทธิภาพ และบรรลุตาม วัตถุประสงคOที่ตั้งไวI ตั้งแตCบัดนี้เป]นตIนไป สั่ง ณ วันที่ ๓๐ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ (ลงชื่อ) ( นายภาวัช กันธวรรณO) ผูIอำนวยการโรงเรียนบIานดง
๕๙ เอกสารประกอบหลักสูตร กลุ1มสาระการเรียนรู6สุขศึกษาและพลศึกษา ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบIานดง ไดIพิจารณาหลักสูตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๖) โรงเรียนบIานดง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ แลIว มี ความเห็นดังนี้ ๑. โครงสรIางเวลาเรียนมีความเหมาะสม ๒. สาระการเรียนรูIหลักสูตรสถานศึกษามีความสอดคลIองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และความตIองการของทIองถิ่น ๓. การวัดผลประเมินผลมีความชัดเจน เหมาะสมตCอการพัฒนาผูIเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบIานดงจึงเห็นชอบ และอนุมัติใหIใชIหลักสูตรฉบับ ปรับปรุงโรงเรียนบIานดง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตั้งแตCบัดนี้เป]นตIนไป (ลงชื่อ) ประธานกรรมการ (นายพิชัย ทรงรักษา) ๑๕ / พฤษภาคม / ๒๕๖๖