The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นัชชาพร ชวนใช้, 2020-02-18 03:16:32

pocketbook (1)

pocketbook (1)

จุ ด เ ป ลี่ ย น ชี วิ ต

ค ว า ม ใ น ใ จ ข อ ง ผู ป ว ย โร ค ไ ต ว า ย เ ร้ื อ รั ง ท่ี แ ส น ด้ื อ

“การเรียนรูท่จี ะปรับตวั อยูกับโรค...ด ว ย หั ว ใ จ ท่ี เ ป น สุ ข”
คือ

“ก า ร รั ก ษ า โ ร ค ท่ี ดี ท่ี สุ ด...โ ด ย ไ ม ต อ ง พ่ึ ง ย า”

ความรูสกึ ของ ผูปวยโรค เร้อื รัง ทุกคน คงหนีไมพนความเบื่อหนายใน

การรกั ษา การกนิ ยารกั ษาอาการตา ง ๆ มากมาย ตอ งไปพบแพทยท กุ เดอื นกบั Order
Lab ตาง ๆ นานา เข็มฉดี ยาจงึ เปนส่งิ ท่ีผปู ว ยโรคเร้อื รังทกุ คนคุนชนิ ความเจ็บปวดจาก
การเจาะเลอื ดจงึ เปน เร่ืองเลก็ นอยมาก (มดกัดยังเจ็บกวา) ทกุ ๆ เดือนตองไปพบเจอ
บคุ ลากรทางการแพทยท ่ีแสนจะนารักทั้งเจาหนาที่ พยาบาล และหมอ (ไมอ ยากเจอกต็ อ ง
เจอเพราะแพทยนัด Follow up ทกุ เดือน) จริง ๆ แลวแพทยท้งั หลายก็คงไมไดอ ยากเจอ
คนไขอยา งเราสกั เทาไรหรอก แตก ารรักษาก็ คอื “การรกั ษา”

โรคเรอ้ื รัง เปนโรคทรี่ กั ษาไมห าย การรักษาทาํ ไดก แ็ ค “ประคับประคองไมให

อาการแสดงของโรคแยล งไปกวา เดมิ ” โดยเฉพาะผูปว ยโรคไตวายเร้อื รังอยางฉัน ทีต่ อ ง
ใชชีวิตแบบประคับประคอง “ไต” ไมใ หทาํ งานแยลงไปกวาเดิม ส่ิงตา ง ๆ สิ่งทีแ่ พทยส ัง่
ใหท ําดจู ะยดื ยาวไมมที ่ีสน้ิ สดุ ตอ งปฏบิ ัติตลอดเวลา จนกลายเปนชวี ติ ใหมท ี่ไมใชของ
ฉนั เอง (แตฉ นั ก็ คอื “ฉนั ” ท่คี ดิ และมองอกี มุมทตี่ รงกนั ขา มกับการรักษา “ยา” ทไ่ี ดม า
จากการตรวจรกั ษากองโต มกั จะถกู ใชเ พยี งแคไ มก อ็ ยา ง..เพราะฉนั จะใชเทา ทจ่ี ําเปน
จรงิ ๆ เทา นน้ั ) บุคคลรอบขา ง พยาบาล และแพทยมกั จะมองวา “ผปู ว ยอยางฉนั ”
ไมรกั ตัวเอง ไมก นิ ยาตามแพทยสง่ั (สรุปวาดอ้ื ) แตไ มเ คยมใี ครถาม “ผูปวยโรคเรือ้ รงั
อยา งฉนั ” บางวา เพราะเหตใุ ดจึงไมกินยาตามแพทยส งั่ แพทยสงั่ ยาตามผลการตรวจ
รกั ษา (lab) แต ผปู วยอยางฉันรกั ษาดว ยการปรบั ตวั ใหอยูก บั โรคใหได โดยไมตอง
พ่ึงยา เพราะหลงั จากท่กี ินยาตามแพทยสั่ง ผลขา งเคยี งจากการใชยาเกิดขึ้นมากมาย ทง้ั ท่ี
อธบิ ายไดแ ละอธิบายไมไ ด พยาธสิ ภาพรางกาย อาการแสดงของผูปวยแตล ะคน
ไมเ หมอื นกัน แตผ ล lab จากการตรวจเลอื ดทาํ ใหแ พทยตอ งสง่ั ยาตวั เดยี วกัน ผลขา งเคียง
ท่เี กิดจากการใชย าจึงตา งกนั นเ่ี ปนเหตุผล (ไมใ ชข อ อา งนะ) ทีฉ่ นั มักเลือกใชยาเฉพาะท่ี
จําเปนตอการรักษาจรงิ ๆ อาการแสดงใดที่สามารถเรยี นรู และปรับตวั อยูก บั โรคไดก็

พยายามทําเพ่อื รักษาชีวิต (ทคี่ นอ่ืนมกั มองวา ฉนั ไมรกั ชวี ติ ) การรกั ษาชวี ติ และลมหายใจ
ของฉนั มันอาจจะตางจากผูปว ยโรคไตวายเรื้อรงั ท่ัวไป เพราะในใจของฉนั ไมเ คยคดิ วา
ตัวเองเปน ผูปวย แตการไปพบแพทยท กุ เดือน เสมอื นการไปตรวจสขุ ภาพประจําเดือน
เพือ่ ทีจ่ ะบอกกบั ตวั เองวา “เรามเี วลาเหลืออกี เทาไรในการใชชีวิต และเวลาท่เี หลืออยู
เราจะทาํ อะไรบา ง เพื่อคนทีเ่ รารักและรักเรา เพื่อสรา งประโยชนใหแ กสงั คม”
ฉนั มงุ มั่นที่จะดําเนนิ ชีวิตดวยการทํา 3 สิง่ ท่อี ยากทาํ คอื “ไปเท่ียวในท.ี่ ..ทอี่ ยากไป”
“ทาํ ...ในสิง่ ทอ่ี ยากทํา” และ “กนิ ...ในส่ิงทอี่ ยากกนิ ”

บทสนทนาระหวาง แพทยแ ละ ผูปว ยโรคไตวายเรอ้ื รงั อยา งฉนั มักจะเปน

เร่ืองการเดินทางทอ งเท่ยี ว ธรรมชาตสิ ิง่ แวดลอม สถานการณบ า นเมอื ง และสาระความรู
ทวั่ ไป จนทําใหพ ยาบาลทไี่ ปพบแพทยดว ยเกิดความสงสยั วาน่ี คอื การรกั ษาโรคหรอื ไม ?
นแ่ี หละ คอื “การรกั ษาโรค” (แพทยบอกวาถงึ จะปวยก็ไมไดหมายความวาไปเที่ยวไมได)
ชอบท่สี ุดประโยคนเ้ี พราะ “การทอ งเท่ยี ว คือ การรกั ษาโรคดว ยหัวใจท่เี ปน สขุ ” เม่อื ใจ
เราเปน สุขไมไ ดเอาใจไปยึดตดิ ที่โรค อาการของโรคก็ไมกําเรบิ เพราะฉะนนั้ อาการแสดง
ของโรคจึงไมเกิด เมือ่ อาการแสดงไมเ กดิ เรากใ็ ชชวี ติ ประจําวนั ไดเ หมือนคนปกตทิ ไ่ี มไ ด
เปนโรค (การพงึ่ ยาจึงไมจาํ เปนสําหรับผูปว ยอยางฉัน)

แตพ ยาธสิ ภาพของโรคกบั การดาํ เนนิ ไปของโรค เปน สิ่งทเ่ี ราหลีกเลยี่ งไมได

และตองยอมรับวา “ทกุ สรรพสง่ิ ยอ มเสอื่ มไปตามกาลเวลา และการใชงาน” เม่อื ถึง
จดุ ทกี่ ารทาํ งานของไตเหลอื นอยลงไปทุกที และกําลังเขาสูภาวะไตวายเร้อื รังระยะสุดทาย
ซงึ่ ผปู วยไตวายทกุ คนจะตอ งรับการรักษา โดยวธิ ีบําบัดไตทดแทนดว ยวิธกี ารใดวิธกี าร
หนงึ่ ท้งั แพทยแ ละพยาบาลพยายามเกลย่ี กลอ ม ใหฉ นั รกั ษาตอดวยวิธบี ําบดั ไตทดแทน
โดยการฟอกเลอื ด แตผปู วยทถ่ี ูกมองวาแสนดื้ออยางฉันก็ “ขอปฏเิ สธการรกั ษาทกุ ชนดิ
ขออยูดวยตัวเองเทา นั้น” (น่เี ปนความตัง้ ใจตงั้ แตว ันแรกทรี่ วู า ตัวเองปวยเปน โรคไตวาย
เร้ือรงั ) “จนเปนเหตุใหคนรอบขา งเปน ทุกขกบั การคิดและตัดสนิ ใจของฉัน” (พยายาม
บอกทกุ คนให “เชื่อและยอมรับในการตดั สินใจของฉนั เพราะนน่ั คือ ส่ิงที่ฉันคดิ แลว วา
จะอยกู บั โรคนอ้ี ยา งไรใหก ายใจฉนั มีความสขุ ”)

หลงั จากท่แี พทยแ นะนาํ ใหรักษาตอ ดวยวิธีบาํ บัดไตทดแทนโดยการฟอกเลือด
ตง้ั แต ป พ.ศ. 2550 เปนเหตุให “ฉนั ตัดสินใจเรียนตอ ปรญิ ญาโท (ใบท่ี 2) สาขาวชิ า
บรรณารกั ษศาสตรแ ละสารนเิ ทศศาสตร มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง ” ทันที ซ่ึงเปน
การกระทาํ ทส่ี วนทางกบั อาการแสดงของโรค การเดนิ ทางไปกลบั พษิ ณโุ ลก-กรุงเทพฯ
สปั ดาหละเกือบพันกิโลเมตร (คนปกติเขายังไมอยากทําเลย) คงไมต องบอกวามนั เหนอื่ ย
และหนกั เพียงใด แตอยางทบี่ อก ฉนั รกั ษาโรคดวยใจ เมือ่ เราทําในส่ิงทีใ่ จตองการทาํ
“นนั่ คอื ความสขุ ” ความเหน็ดเหนอื่ ยทเี่ กิดข้ึน มนั กลายเปน ความภาคภมู ใิ จทเ่ี รา
ทาํ ได ทําใหเ รารสู ึกวา ชีวิตเรายังมคี ณุ คา (แอบเอา Self Awareness มาใช) รสู ึกวา
ตัวเองยงั มคี วามสามารถท่จี ะดาํ รงชวี ิตเพื่อประโยชนแ กค นรอบขา ง แกสงั คม การ
ตดั สินใจเรยี นตอคร้งั นี้ ทําใหฉันไดพบกบั ทานรองศาสตราจารย ดร. สนุ ยี  กาศจํารูญ
อาจารยทเ่ี ปน แบบอยา งในการใชช วี ิตตอ สูกับโรคราย (อาจารยปวยเปนโรคมะเร็ง) แต
อาจารยสามารถตอ สกู บั โรครา ยนน้ั และใชชวี ติ ประจําวนั ไดอ ยางมคี วามสุข และทาํ ใหฉัน
ไดพ บกบั กลั ยาณมิตรมากมาย พ่ี ๆ เพ่ือน ๆ นอ ง ๆ ท่นี า รักในรั้วมหาวทิ ยาลัยรามคําแหง
เปน อีกหนง่ึ กาํ ลังใจในการใชช ีวิตของฉนั ใหมีความสขุ “มติ รภาพ ความรกั ความผกู พนั
ความหวงใยทเ่ี กดิ ขึ้น” คอื “หยาดน้ําทพิ ยทีค่ อยชะโลมหัวใจของฉนั ใหแ ขง็ แกรง มาก
ข้ึนในทุก ๆ วัน” เพยี งแคนีไ้ มวา คา การทาํ งานของไตจะลดลงไปมากแตไ หน จะเหลอื
การทาํ งานเพยี งไมถ งึ 10 % ฉันก็สามารถใชชีวติ และเดินไปสูเสน ทางสายฝน เสนทาง
ตา ง ๆ อกี มากมาย

ขอบคุณโรคไต...ท่ีเปน แรงผลกั ดันใหฉ ันกาวเดนิ ไปสฝู น ดวย “สติ”
ขอบคุณโรคไต...ท่ที ําใหฉันไดเ หน็ ความสาํ คญั ของ “เวลา”
ขอบคุณโรคไต...ท่ีทาํ ใหฉนั รูคณุ คาของ “การมชี ีวติ และลมหายใจ”
ขอบคุณโรคไต...ท่ีทาํ ใหฉ ันรวู า “ชวี ติ ที่เหลอื อยูฉันจะตองทําอะไร”
ถา ไมเ ปน โรคไตชีวิตฉนั คงไมได ปรญิ ญาโท 2 ใบ ทกุ วนั น้ถี า ใครถามวา
“ปรญิ ญาโททา นไดแ ตใดมา ? กต็ องตอบวา เพราะโรคไตนะส”ิ เมื่อเรารูวาเราเปน โรค
เทา กบั วา เรารวู า เราจะเหลอื เวลานอ ยกวา คนอน่ื แนน อน เพราะฉะนน้ั เราอยากทาํ สง่ิ ใด
เรากต็ อ งรบี ทาํ (ทํา ทัน ที) เราจะรอเวลาไมได เพราะไมรูวา ในเชา วนั พรุงน้เี ราจะมี
โอกาสไดหายใจอีกไหม “ชีวิตฉนั จึงอยกู ับปจจุบัน” (ไมยึดติดกบั อดตี และอนาคต) และ
“ทําวนั น้ใี หด ที ีส่ ดุ ...เทา ทก่ี ายใจเราจะทาํ ได” เพยี งแคนีช้ วี ิตกส็ ขุ แลว

เวลาผานไปพรอ มกบั การเป ล่ียนแ ปลง มากมายในชีวติ ในท่ีสดุ ก็ถงึ เวลา

ที่ตองรักษาดวยการบําบัดไตทดแทน (สิง่ ทฉ่ี ันกลวั มาตลอดการรักษา) ไมใ ชก ลวั ท่จี ะเจบ็
กลวั ท่จี ะปวด แตกลวั “ภาวะพ่ึงพา” ทจ่ี ะตามมาจากการรกั ษา เพราะการใชช วี ติ
หลังจากการรับการรักษาดวยการบําบัดไตทดแทน เราไมสามารถใชชีวิตดวยตัวของเรา
เองได 100% เหมอื นทผ่ี านมา การตอ งพึง่ พาบุคคลรอบขางในการดาํ เนินชีวติ ประจําวัน
ทาํ ใหเ รารสู กึ ทุกขใจ รสู ึกกงั วลทีจ่ ะตอ งเปน ภาระกับหลาย ๆ คน แตเม่ือ “เราตดั สนิ ใจท่ี
จะรกั ษาเพือ่ จะอยกู ับคนท่ีเรารกั และรักเรา ก็ตอ งยอมรับในชวี ิตใหมท ี่จะเกดิ ขน้ึ และ
ตอ งเรียนรูทจ่ี ะปรบั ตวั อยกู บั การรักษาแบบประคับประคองชวี ิตน้ีใหไ ด” การตัดสินใจ
รกั ษาในคร้งั นท้ี าํ ใหฉันไดร บั สงิ่ ดี ๆ มากมายในชวี ิต ไดอยูกับ ผหู ญิงทีด่ ีท่สี ดุ ในชีวิต
(แม) ตลอด 24 ช่วั โมง ทีค่ อยดูแลกนั และกัน ไดพบกับ บคุ ลากรทางการแพทยท ง้ั
เจาหนา ท่ี พยาบาลที่แสนจะนา รกั ในหอผปู วยโรคไต ไดร ับ ความเอือ้ อาทรและความ
หวงใยจากกัลยาณมติ รทง้ั เพ่อื น ๆ พี่ ๆ ในทที่ ํางาน และท่ีสาํ คญั ได โอกาสหายใจเพื่อ
สรางสรรคส่งิ ทดี่ ี ๆ เพอื่ สังคมตอไป

ชีวิตท่เี หลอื ของผปู วยแสนดือ้ อยา งฉนั จะกา วเดินตอ ไปขางหนา ดว ยหวั ใจท่ี

แขง็ แกรง ดว ยแรงและกาํ ลงั ทม่ี ี (แมจ ะมไี มม ากเทา เดมิ ) แตก จ็ ะใชเ ทา ทมี่ ี กาวเดินไปทีละ
กา วจนกวา จะถงึ วนั ทฉ่ี นั หมดลมหาย อยากบอกกบั บคุ ลากรทางการแพทย (แพทยและ
คณุ พยาบาลที่นา รกั วา “ฉนั ไมไ ดเ ปนผปู ว ยโรคไตวายเรอ้ื รังที่แสนด้ือ เพยี งแตฉนั มี
เหตุผลเปน ของตวั เอง ซง่ึ เหตุผลนน้ั มนั คนละดา นกับแพทยแ ละคณุ พยาบาลเทานน้ั เอง)

จุ ด เ ป ลี่ ย น ชี วิ ต

อ ยู กั บ โ ร ค ด ว ย กั ล ย า ณ มิ ต ร

“โ ร ค ส อ น ชี วิ ต”

ใ ห เ รี ย น รู อ ยู ร ว ม กั น กบั โ ร ค อ ย า ง มิ ต ร แ ท

ตง้ั แตว นั แรกท่ีฉนั ไดร ูจักกับ “โรคไต” บอกแลยวา ฉนั ไมไ ดม คี วามสขุ เลย โรคไต
นําพาแตความทุกข ความเจ็บปวดมาใหฉ ันวนั แลว วันเลา ในใจไดแ ตคดิ วาเมอ่ื ไรนะโรคไต
(เธอ) จะจากฉันไปเสยี ที ฉนั เบือ่ เธอเตม็ ทีแลว วันเวลาผานไปเรอื่ ย ๆ ดเู หมอื นวาโรคไต
คงไมจากฉนั ไปงา ย ๆ เปนแนแท นบั วนั ย่ิงสรา งความเจ็บปวดทกุ ขทรมานใหฉันเพ่มิ ข้นึ
เรอ่ื ย ๆ กอ กวนชีวิต รา งกาย จติ ใจฉนั อยูไดตลอดเวลา ยง่ิ ฉนั อยากไลไปใหไ กลจากตวั ฉัน
มากเทาไร ดูเหมอื นโรคไตยิง่ จะลกุ ลามทาํ รา ยฉันมากขึน้ เทานัน้

แลววนั หนึ่งฉนั ก็ตอ ง “ปรบั ความคิดใหม” คดิ วา “โรคไตเปน เพอ่ื นรกั ” ที่เรา
ตองอยูรวมกันตอไปตราบใดท่ฉี ันยงั มชี ีวติ มลี มหายใจ โรคไตกย็ งั คงมีชีวิตท่จี ะดําเนิน
ตอไปตามอาการแสดงของโรคตามความเปน จริงท่ีเปน เม่ือเราเรม่ิ เปนเพื่อนรกั กันแลว
เราก็จะไมท ํารายกนั ตางคนตา งพึ่งพาอาศยั กัน อยูรวมกนั ในแตล ะวนั อยาง “สนั ติ”

“โรคไต” เปน เพอื่ นทด่ี ใี นการสอนใหฉ ันมี “สติ” ในการใชช ีวิต ไมว าจะเปน
เร่ืองการกิน การทํางาน และเรือ่ งอืน่ ๆ ท่เี ก่ียวกับการดาํ เนินชวี ติ ในแตละวนั ในวนั ใดท่ี
ฉนั กินแตข องไมม ปี ระโยชน นอนพกั ผอนไมเ พียงพอ เพื่อนคนน้ีกจ็ ะออกมาบอกทันทีวา
ฉนั กาํ ลงั เริ่มไมดูแลตวั เองแลว นะ ฉนั กําลังทาํ ใหเ ขา (โรคไต) เดือนรอน จงปฏบิ ตั ติ วั เอง
เสียใหมม เิ ชน นั้นฉัน (โรคไต) จะทาํ รา ยเธออีกแนนอน เพยี งแคโรคไตสงสญั ญาณเตอื น
สตฉิ ันก็กลับมาในทนั ที ปรับปรงุ พฤติกรรมการกิน การทาํ งาน การดาํ เนินชีวิตเพื่อรกั ษา
สมดุลระหวางสมั พนั ธภาพที่ดีกับเพือ่ นรัก ไมก นิ และไมท ําในส่งิ ทีเ่ ปนโทษใหกบั เพอ่ื นรัก
เพ่อื ใหเ พอ่ื นรักอยรู ว มกบั ฉันอยา งสงบสุข (จะหาเพือ่ นทด่ี แี บบนี้ไดท ไี่ หนเตือนไดในทนั ที
มติ อ งรอเวลาเลย) เตือนแลวไมเ ชื่อก็ตองพบกบั ความเจบ็ ปวด ทรมานอยางแสนสาหัส
ตอ ไป

เวลาทกุ วินาทใี นการใชชีวติ ไมมเี ลยที่โรคไตจะหายไปจากชีวิตฉัน เรารว ม

ทุกขรว มสุขกนั มาตลอดเวลาทฉ่ี นั หายใจ ไมวา จะตน่ื หรอื จะนอนหลบั “ทุกบทเรียนท่โี รค
ไตสอนเปน ประสบการณต รงทไ่ี มต องอานตาํ ราเลมไหน ๆ และก็ไมสามารถหาอา นได
จากตาํ ราเลม ไหน ๆ เชน กนั ” เพราะอานไปก็ไมเ หมือนประสบการณต รงทไ่ี ดรับจาก
เพอื่ นรกั คนน้ี เพื่อนคนนี้ “สอนใหเรียนรทู ่ีจะแกไ ขในสิง่ ทีเ่ กิดขน้ึ กับตวั เองตลอดเวลา”
(ถา ฉนั แกโ จทยทโ่ี รคไตตง้ั ใหไมไ ดฉ ันก็ไมสามารถทจ่ี ะหายใจไดอ ีกตอไป) “โจทยช วี ติ ยิ่ง
ซับซอนมากเทาไรฉันก็ย่งิ ตองใช สติ สมาธิ และปญ ญาในการแกไขมากขนึ้ เทานัน้ ”
และที่สําคัญเพ่ือนรกั ฉนั คนน้ขี ยนั ต้ังโจทยใหฉันไดแกไขไดตลอดเวลา (เปน เพอื่ นทขี่ ยนั
และเกง มาก) แตขอโทษนะฉันก็แกโจทยไ ดทกุ ครงั้ (แสดงวา ฉนั เกง กวา โรคไต เพราะฉนั มี
ตัวชวยเยอะ << ทมี บคุ ลากรทางการแพทย เครอื่ งมอื แพทย ยา และทสี่ ําคัญ “ฉันมัน
หัวใจทแี่ ขง็ แกรง ทีเ่ สริมใยเหลก็ อยูท ุก ๆ วัน” >>)

ตลอดระยะ เวลา 19 ปที่ผา น ฉนั ใชชวี ิตอยูรว มกบั โรคไตเสมือนเปนสนทิ

เปน เพือ่ นทสี่ อนบทเรยี นชวี ิตทมี่ ีคา ย่งิ พาฉนั ผา นความเปนความตายมาคร้ังแลว คร้งั เลา
สงิ่ ทโ่ี รคไตสอนใหใ ชม ี “สติ สมาธิ และปญญาในการใชชวี ิต” น่ีคือ “ส่ิงที่มคี ณุ คา ยิง่ ”
(ถา ฉันไมร ูจักกับโรคไตไมร ูวา ชาตนิ ท้ี ง้ั ชาติฉนั จะเขาใจบทเรยี นชีวิตเหลาน้ีไหม)
“ชดุ เหตุการณตาง ๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ ระหวา งการใชชีวติ รว มกนั เปนชุดเหตุการณท ่ี
กอใหเ กิดประสบการณท งั้ ดา นบวกและดานลบในชีวิต”

“โรค” ได “สอนชีวติ สะทอนใหฉันตอ งคิดทบทวน ปรบั ปรุงการใชช ีวิตใน

ทกุ ชวงเวลา ทุก ๆ วนั ” ขอบคณุ กลั ยาณมติ ร (โรคไต) ขอบคุณท่ีเราไดพบกนั ทีท่ าํ ใหฉ ัน
มวี นั นว้ี ันทชี่ ีวติ มีความพรอ มในการ “ยอมรับ เรียนรู ท่ีจะอยกู บั ชุดเหตกุ ารณตาง ๆ ที่
จะผานเขามาในชีวิต”

จุ ด เ ป ลี่ ย น ชี วิ ต

อ ย า ก รู ไ ห ม ว า “ค น ไ ข คุ ย อ ะ ไ ร กั บ ห ม อ”

เมื่อเกดิ อาการผดิ ปกติ หรอื มอี าการปว ยไข ไมสบายเกดิ ขน้ึ ในชีวติ “สง่ิ แรกที่
ทกุ คนจะนกึ ถึง” คอื “ตอ งไปหาหมอ” สําหรับฉัน (อดตี ) หมอเปน ใคร หนา ตาเปน แบบ
ไหนไมเ คยรูจัก “โรงพยาบาลร.ึ ..อยา ฝนจะไดเ งนิ จากฉัน ทางไปโรงพยาบาลยังไมร จู กั
เลย” ตั้งแตเ ดก็ แตเลก็ มาไขหวัดเนยี่ ...นบั ครง้ั ไดเ ลย เข็มฉีดยาหนาตาเปน อยา งไรไม
เคยเห็น (เปนผูหญงิ โลกสวยมาแตเ ล็กแตนอ ย) ชีวติ ในแตละวันชางงามงด ราเริง โลดแลน
ไปในที่ตา ง ๆ อยางรวดเร็ว ตามความคดิ และความตอ งการ
แลววันหนึ่งชีวิตก็ผลกิ ผนั ไดอยางนาอศั จรรย เวลาแหง ความสขุ ในชีวติ
“จบลง” ทต่ี รง “อายุ 23 ป” (ของผหู ญงิ โลกสวย) โลกทีเ่ ต็มไปดว ยอิสระเสรภี าพทาง
ความคดิ การกระทาํ โลกทเ่ี ตม็ ไปดว ยความสามารถในการชว ยเหลอื ตวั ของตวั เอง
ในวนั ทฉ่ี นั ไดพบกับ “โรคไต” เพ่อื นรกั ของฉนั (ในวนั น้)ี ทาํ ใหฉนั มองไมเ หน็ ทางเดนิ ใน
ชีวติ มองไมเหน็ แมแ ตพน้ื ทที่ ่จี ะยืน การกาวเดนิ ไปขางหนา มนั ไรท ิศทาง มองไมเห็น
เสน ชยั ในชีวิต ดูมันชา งมึดมนเสยี เหลือเกิน การเขา รบั การรักษา เพอื่ จะดแู ล “ไต”
อวัยวะภายในเพียงแค 1 ใน 32 ของรา งกายทีม่ ีอยู ยงิ่ หา งไกลความจริง เวลายง่ิ ผา นเขา
มาเร็วเทาไร ดเู หมอื น “ไต” ก็ย่งิ ทํางานนอ ยลงมากข้นึ เทานนั้ (สงสยั จะเหน่อื ย หรอื วา
ข้เี กียจทํางานอันน้ีฉนั กต็ อบแทนไมได)

“หมอ” หนา ตาเปนอยา งไร จากที่ไมเ คยรจู ัก ... “โรงพยาบาล” ทไ่ี มเ คยได

เขาไปสัมผสั ... ณ วันน้ีกลายเปนสว นหนง่ึ ในชวี ิตไปแลว ท่ฉี ันจะตองไปพบ ไปเย่ียมเยยี น
ทุก ๆ เดือน (เราสนิทกนั โดยไมรูตวั ) การไปพบหมอแตละครง้ั สําหรบั ผูปวยคนอ่ืน ๆ เขา
ไปพบหมอเพอื่ อะไรฉนั ก็ไมท ราบ แตส าํ หรับฉัน (ท่ีใคร ๆ มกั มองวา “เปนผปู ว ยท่ี
แสนด้อื ” ไปพบหมอ เพราะกระดาษหนึ่งใบทบ่ี คุ ลากรทางการแพทยย่นื ให) น่ันคอื สิง่ ที่
เกิดขึ้น ต้ังแตป พ.ศ. 2543-2548 (5 ป) ของการรบั การรกั ษาเพอื่ ดูแล “ไต” จาก
โรงพยาบาลเอกชน 2 แหงในจังหวดั พษิ ณุโลก ความถใี่ นการไดรบั กระดาษ (บตั รนัด)
ยังคงมีทุกคร้งั ท่ไี ปตามนดั (ความจริง คือ หมอนัดทกุ เดือน แตเหตกุ ารณท ่ีเกดิ ข้ึนจริง
3 เดอื นไปครง้ั หรอื อาจจะนานกวา นน้ั << “ดว ยเหตุผล” คอื “ไมวาง” ... แตคนรอบ
ขางมักเรยี กวา “ขอ อา ง” >> แลวแตจะแปลความ) แตก ไ็ มเ คยไมใ ครถามวา “เพราะ
เหตใุ ดฉนั จงึ ไมอ ยากไปหาหมอ...ตามท่หี มอนดั ”

ในความรูสึกของผปู วยทุกคน คงไมม ใี ครอยากเจ็บไขไ มสบาย (เพราะมนั กบ็ อก
อยแู ลว วา “เจบ็ ” “ไมส บาย” มนั คงเปนอาการทีไ่ มพ ึงประสงคข องทุกคน ยิง่ ความรูส กึ
ของผปู วยโรคเรือ้ รังทกุ คน คงหนไี มพนกบั ความเบอ่ื หนายในการรักษาเพ่อื
ประคับประคองอาการ วนั นด้ี ี พรงุ นแี้ ย แลว แตวา จะดแู ลรักษาอาการท่เี กดิ หรอื ควบคมุ
การดาํ เนนิ ของโรคใหส งบไดม ากนอ ยแคไ หน “ฉัน” ก็เปน 1 ใน....ท่ีรสู ึกเชน นนั้ และเมอ่ื
ไดเ ขารับการดูแลเพือ่ ประคับประคองการทาํ งานของไต ทน่ี บั วันก็เสือ่ มถอยลงเร่อื ย ๆ
และสิ่งท่ีบคุ ลากรทางการแพทย แจงใหทราบอยูท ุกครง้ั ท่ีไปพบ คอื “กไ็ มร ูจ ะรักษา
อยา งไร รอวนั ฟอกเลือกแลวกนั ” เมอ่ื จบการสนทนาในประโยคน้ี หลงั จากนน้ั “ฉนั ”
กไ็ มเ คยเดนิ เขา ไปในโรงพยาบาลเอกชนแหง นน้ั อกี เลย และ หยดุ การรกั ษาเพือ่ ดูแล
ประคับประคอง “ไต” เปน เวลาเกอื บ 2 ป

วนั หนึ่งเพื่อนรัก (เรณู สงวนดษิ ) พยาบาลแผนกผา ตดั ของโรงพยาบาล
นเรศวร พยายามเกลี่ยกลอมใหเขารับการรักษาตอ ที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร
พรอมกับโฆษณาชวนเชือ่ ถงึ สรรพคุณของ “หมอ” ที่รักษาโรคไตของโรพยาบาล
มหาวิทยาลยั นเรศวร ครั้งแลวครั้งเลา ฉันกไ็ ดแตฟง แตไ มไ ดก ระทําการใด ๆ เพ่อื
สนองตอบตอ ความหวังดขี องเพ่ือน จนกระท่ังตน ป พ.ศ. 2550 รูส ึกเกรงใจเพ่อื นที่
ชักชวนดวยความปรารถนาดี และรูส ึกละอายแกใ จตัวเอง จึงตัดสินใจเขาพบหมอตามท่ี
เพอ่ื นแนะนาํ

ครัง้ ทแี่ รกทีไ่ ปพบกไ็ ปอยางนนั้ ไปแบบเสียไมได (เพอ่ื นขอรอ ง) ไมไดคดิ จะรักษา
แตอ ยา งใด เพราะรกั ษาใจตวั เองให “ยอมรับ เรยี นรู อยกู ับโรคไดม าตง้ั หลายปแลว ”
ในใจก็คดิ เพียงแควา หมอจะชว ยอะไรเราได คงเหมือนทกุ คร้งั ทเ่ี คยผานมา ไดแ ตสง่ั ๆ
หามกินโนน นี่ นัน่ หามทาํ โนน น่ีนั่น ทาํ ไมไมรกั ตัวเอง ทาํ ไมไมมาตามหมอนดั
(กห็ มอนัดวนั ทฉี่ ันไมวาง แลว ฉนั จะไปพบหมอไดไหมละ ) ไมถ ามเหตผุ ล และความจาํ เปน
ของฉนั เลย แลวธุระสําคัญก็ดนั เปนวันท่ีหมอนดั ตลอดเลย (ไมไดต ้งั ใจนะแตเ จตนา 555)

“นายแพทยธ รี ยทุ ธ หยกอบุ ล” เปน หมอคนแรก ทท่ี าํ ให “ฉนั ไมเ คยผิดนัด
Follow up” ตั้งแตเรม่ิ การรักษาในป พ.ศ. 2550 จนถงึ ปจ จบุ ัน (อาจมเี ลอ่ื นบา งตาม
ความจาํ เปน .. อันน้ีเหตุผลจรงิ ๆ นะ ไมใชข ออางเหมือนท่ีผา นมา) เพราะอะไร ?
เปนคําถามที่คนรอบขางหลายคนสงสัย และคงอยากไดคําตอบ เหตุผลมีอยูขอเดียวเอง
งา ย ๆ ไมมอี ะไรซับซอ นเลยสักนิด << การรกั ษาจะประสบความสาํ เรจ็ ไมใ ชว า

“หมอเกง ” หรอื “ยาด”ี เพียงแค “คนไขก บั หมอเขาใจกันในเร่อื งรักษา” เพยี งแคน ้ี
การรกั ษากเ็ ปน ไปดว ยดี จบลงอยา งสันติ >>

ในการพบกนั แตล ะครง้ั “คนไข” คยุ อะไรกับ “หมอ” หลายคร้งั ที่ญาตคิ นไข
ตอ งรอ ง เอะ !! ...นีม่ นั ...คืออะไร ? มนั ...ใชก ารรกั ษาโรคหรอื ไม ? แลว หมอ...ดแู ลคนไข
อยา งไร ? ไมเห็นมีคําอธิบายใด ๆ ในการดูแลตวั เอง ผล lab สงู ขนาดนีท้ ําไมไมมีประโยค
คาํ สั่งวา “หามกิน” “หามทํา” โนน นี่ น่นั “ตองทาํ ...แบบนี้ แบบโนน แบบนั้น”
(หมอคงคิดวา “สงั่ ไป หา มไปคนไขอยางฉันกไ็ มทาํ ถาหมอคิดแบบนั้น หมอคดิ ถูกแลว
เพราะนสิ ยั แมว...บอกใหเดินหนา มันจะถอยหลัง บอกใหไ ปซายมนั จะไปขวา …555)
นั่นสิแลว หมอคุยอะไรกบั คนไขตลอดระยะเวลา 8 ป ท่ผี า นมา “อ. ธรี ยุทธ” ไดส อนให
คนไขดอ้ื ๆ อยา งฉันให ...
.
ยอมรับ ในสงิ่ ท่ีเกดิ ขึน้ จากการใชชวี ติ แบบไมมสี ตขิ องตวั เอง ... ดวยตวั ของตวั เอง
ยอมรบั ในการตดั สนิ ใจเลอื กวธิ กี ารรกั ษา ... ดว ยตัวของตัวเอง
ยอมรบั ผลอนั เกดิ จากการกระทาํ ของตวั เอง ... ดว ยตัวของตัวเอง

เรยี นรู “โรคไต” ... ดว ยตวั ของตัวเอง
เรยี นรู การใชย าเพอ่ื ระงบั อาการและการดาํ เนนิ ไปของโรค ... ดว ยตวั ของตัวเอง
เรยี นรู การปรับตวั ใหอยกู ับอาการและการดาํ เนนิ ไปของโรค ... ดวยตวั ของตัวเอง

ประโยคสนทนาระหวา ง “หมอ” กบั “คนไข” มนี อ ยมากทจี่ ะพดู เรือ่ งโรค ไมใช
“หมอ” จะไมไดสนใจไมดูแลคนไข เพราะการรกั ษาจะประสบผลสาํ เร็จหรือไม อยทู ่ตี ัว
“คนไข” เองท้งั สนิ้

หมอไมเ คยถามวา “กินยาตามทห่ี มอสั่งใหไปหรือเปลา ” แตห มอจะถามวา “ยาท่ี
หมอใหไ ปเหลือก่ีเมด็ ... ยาตัวนท้ี ใี่ หไปกินอยา งไรนะ ... แคนี้ กจ็ บขา ว” วาคนไขว า
นอนสอนงา ยอยา งฉนั กนิ หรอื ไมก นิ

หมอไมเคยสั่งให “นอนโรงพยาบาล” แตห มอจะบอกวา “มคี วามจําเปน ท่จี ะตอ ง
นอนโรงพยาบาล”

หมอไมเคยสั่งให “ไปใหย าเพอ่ื ลดคา K” (ที่สูงมากกวาคนปกติท่วั ไปหลายเทา
บางเดอื นขน้ึ ไป 7-8) แตห มอจะบอกวา “ใหคดิ วาคงไมไ ดก ลับบานไปตอนน้ี มีธรุ ะอะไร
ก็เลื่อนไปไดเลย ตองไปใหย ากอ นจึงจะกลบั บานได”

หมอไมเคยบอกวา “คณุ จะตอ งฟอกเลอื ดนะ เพราะคา การทาํ งานของไตมนั
เหลือนอ ยเตม็ ที” แตบอกจะถามอยูเ สมอวา “แมวพรอมทีจ่ ะฟอกเลอื ดหรือยงั ถายังก็
เตรียมทําใจไวน ะเพราะมันถงึ เวลาแลว ”

ทุกครง้ั ในการ Follow up บทสนทนาระหวา งหมอกบั คนไขจึงมีแตเรื่อง
การทอ งเทย่ี วการทต่ี า ง ๆ ทง้ั ในและนอกประเทศ สถานการณบ า นเมอื ง ดนิ ฟา อากาศ
ความรูท ัว่ ไป เรอ่ื งรอบ ๆ ตวั การถายภาพ สง่ิ เหลา น้ลี ว นเปนสงิ่ ทสี่ ุนทรยี ในชีวติ เมือ่ ได
รับรรู ับฟง ใจเรากร็ ื่นรมย ความสขุ จงึ เกิดข้ึนไมยาก ความทกุ ขจากผลการตรวจรกั ษากไ็ มม ี
อาการของโรคกไ็ มกาํ เริบ คนไขอยา งฉนั กใ็ ชชีวิตไดอ ยางเชนคนปกตทิ ด่ี าํ เนนิ ชีวิตไปไดใ น
แตละวัน การนัดพบกนั จงึ เหมอื นไมใชการรักษาโรค แตเ หมือนเปนการพบกันเพ่ือพดู คยุ
ถามไถสารทุกขส ุกดิบกันมากกวา เปน การแลกเปลี่ยนทรรศนะในเรือ่ งราวตาง ๆ
ไดความรเู รือ่ ง “โรค” และ “โลก”

ประโยคคําถามหนึ่งที่หมอถาม “คนไขอ ยา งฉนั ” ที่ไดฟงแลวตองเกบ็ เอามาคดิ
อยนู านสองนานเลย หมอถามวา “แมวคิดแลวหรอื ยงั วา จะตายแบบไหน ? ผมคิดไว
แลววาจะตายแบบไหน ? หลงั จากท่ไี ดฟง คาํ ถามนี้ เวลาผานไปเกือบสองสัปดาห ทาํ ให
ฉันไดค ําตอบใหก บั ตัวเองวา “ฉนั จะตายแบบไหน ... ฉนั จะขอตายอยางมีศักด์ศิ ร”ี
(คาํ ตอบของการตายอยา งมศี ักดิศ์ รอี ยูใ นบทสดุ ทา ยของหนงั สอื เลมน้ี)

ขอบคณุ “นายแพทยธ รี ยทุ ธ หยกอบุ ล” ที่ใหการดูแลรักษามาตลอดระยะเวลา
8 ปเต็ม ไมวาในวันพรงุ น้จี ะไมไดม ีโอกาสเขา รับการรักษาในการดแู ลจากอาจารยอ ีก
หรือไม แตอ ยากใหอ าจารยรวู า “อาจารยเปนสว นหนง่ึ ในการสอนการใชชีวิตใหอยกู ับ
โรคไตใหม ีความสขุ ไดอยา งไร” ทุกการเรยี นรเู กยี่ วกับโรคทไ่ี ดร ับ คนไขอยา งแมวจะ
ศกึ ษา “โรค” ไปพรอ มกับเผชิญ “โลก” ใบนต้ี อไปดว ย “หวั ใจท่เี ปนสุข”

ก า ว ข า ม ผ า น คํา ว า ต า ย

ก า ร เ รี ย น รู อ ยู กั บ คาํ ว า “ ผู ป ว ย ไ ต ว า ย เ ร้ื อ รั ง”

สบิ กวา ป ทีฉ่ นั ใชช ีวิตอยูรวมกับโรคไตวายเรอ้ื รงั ฉันไดเ รยี นรกู ับความเจบ็ ปวด

ความทกุ ขท รมาน ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในรา งกายของฉนั อยา งแสนสาหสั ความเจบ็ ปวด ความทกุ ข
ทรมานที่เกิดขน้ึ ในแตล ะสว นของรางกายทเี่ ปนไปตามอาการของโรค การสูญเสีย
การทาํ งานของไตเพยี งอยา งเดยี ว สง ผลใหก ารทาํ งานในระบบอน่ื ๆ ของรา งกายเสยี
สมดลุ ไปอกี หลายระบบ

ทุก ๆ วนั ตอ งเผชิญกับความเจบ็ ปวดในทุกสว นของรา งกายต้งั แตหวั

จรดเทา ไมม เี วลาไหนเลยทไ่ี มเ จบ็ ปวด (เขาใจเลยวา “ปวดจนชนิ ” มนั เปน อยา งไร)
ความสุขสบายใจในชวี ติ เปน อยางไรไมร ูจัก รจู ักแตคําวา “อดทน” คาํ ที่พอ แมส อนมา
ตัง้ แตครั้งยังเปนเดก็ นอ ย (ขอบคณุ พอ แมอยางที่สุด ทสี่ อนใหลูกรูจักคาํ ๆ น)ี้

ทุกความเจ็บปวดสอนใหเราเขา ใจชีวติ ไมยดึ ติดกบั ส่ิงใด พยายามบอก

ตวั เองเสมอวา “ความเจบ็ ปวดท่ีเกิดข้นึ มนั กแ็ คเสี้ยววินาที ความเจ็บปวดนีผ้ า นไป
ความเจบ็ ปวดใหมก ็เขา มา” พยายามใชจติ พจิ ารณารับรูไ วว ามันแคปวด เดีย๋ วมนั ก็
ผานไป พอมันผานไปมันเราก็แคร ูสึกวา เราเคยเจ็บ เราเคยปวด ถามวา เราจําความรูส ึกนน้ั
ไดไ หม...เราก็จาํ ได แตเ จบ็ แคไ หน...เราจาํ ไมไดหรอก บอกตวั เองอยตู ลอดเวลาวา
“จงเตรยี มตวั รับกับความเจบ็ ปวดใหมท จี่ ะเขา มาตอไป และเรยี นรูทจี่ ะอยกู บั ความ
เจบ็ ปวดน้ันใหไ ด” ใชเ วลาทม่ี ที กุ วินาที ทําในสิง่ ที่อยากทํา ไปในทที่ อ่ี ยากไป ใหคมุ คา
มากทสี่ ดุ พอ การไดเรียนรอู ยกู ับโรคอยางกัลยาณมติ ร ทําใหฉ นั ยอมรบั ในทกุ สิ่งท่ีเกิดขน้ึ
ไปทีละนอย จนในท่สี ุดใจเรากย็ อมรับไดไ มว า สิง่ ใดจะเกดิ ขน้ึ เขาใจถึงสจั ธรรมในทุกส่ิงวา
มีเกิดตอ งมดี ับ มพี บกันก็ตอ งมพี ราก ตอ งมกี ารจากกันไมวา จะชา หรือเรว็ ไมว า จะเปน
การจากเปน หรอื จากตาย “โรคไต” ทาํ ใหไดเ รยี นรูการสรา งความหมายใหแ กชวี ิตดว ย

“การทําความดีในทกุ ๆ วัน เตรยี มตัวและเตรยี มใจทพี่ รอมจะจากโลกน้ีไปในทุกเวลา
ดวย...สติ”

เมือ่ รวู า ชีวติ คนเรา สั้นกวา คนอื่น ๆ ในทกุ ๆ วัน ฉันจะตง้ั เปาหมายและ

เดินทางไปตามหาฝนพรอมกบั โรคไตวายเร้อื รังระยะสดุ ทา ย วนั นี้ฉันเดนิ ไปถงึ เสน ชัยใน
ทุกฝนทวี่ างไว ชวงเวลาที่เหลอื คอื “กาํ ไรชวี ติ ” ไมว า จะเกิดอะไรข้ึนตอจากนีไ้ ป “ฉนั ก็
พรอมทีจ่ ะจากโลกใบนีไ้ ปดว ยใจท่ีเปน สุข ความตายไมไดมคี วามหมาย หรือ
ความสําคญั กับชวี ิตของฉนั ” เพราะทกุ ๆ วนั ฉันไดท ําในทกุ ส่ิงท่ีใจปรารถนา เกบ็ เก่ยี ว
ท้งั ความสขุ และความทุกขไ วเปนประสบการณท ี่ดี ๆ ใหแกช ีวิต ไมวาฟาจะลขิ ิต หรอื
ชะตากรรมของชวี ิตทีจ่ ะเกิดขน้ึ หลังจากน้ี ฉนั ยินดียิม้ รับและพรอมจะเผชญิ กับสิง่ เหลา นั้น
ตลอดเวลา เมอื่ เรากา วขามผา นคาํ วา “ตาย” ได ชีวิตเราจะไมมีอะไรท่นี ากลวั อีก
ตอ ไป ทกุ สิ่งท่เี ขา มาในชวี ติ เราจะกา วขา มผา นไปไดอ ยา งงา ยได

“อยากลัวในสง่ิ ทยี่ งั ไมเ กดิ แตจงเตรยี มตัวใหพรอ มตลอดเวลาท่ีจะเผชญิ กบั
สิ่งตาง ๆ ทกี่ าํ ลังจะเกิด ทัง้ ในดานดี และดา นราย ” ขอใหเ ช่ือมั่นในตัวของตวั เองวา
เราทาํ ได เราสามารถเผชิญกบั ทกุ ๆ สง่ิ ที่เกิดขึ้นได ดว ยการฝกใจของเราเอง สราง
ภูมคิ ุม กันใหก ับจติ ใจ ไมวา ภัยรา ยใด ๆ ก็ไมสามารถทํารายตวั เราได

“กางรม ในจิตใจ ไมว า มรสมุ ใด ๆ ฝนจะตกหนกั แคไหน ใจเรากจ็ ะไมมีวันเปย ก”

“ความตาย ไมใ ชส ิ่งที่นา กลวั แตสงิ่ ที่นากลวั ” คอื “การมชี ีวติ อยูโดยท่ีไมได

ทําอะไรตามความฝนของตวั เองกอนตาย” เพราะการมีชีวิตอยูโดยปราศจากความหวัง
และความฝน เทา กบั เราไดต ายไปแลว จากโลกน้ี จงกา วขา มผา นคาํ วา “ตาย” แลว สรา ง
ความหมายใหชวี ติ ดวยการสรางฝน และเดินตามหาฝน ใหส ําเรจ็ ไปทีละฝนตอไป

ก า ร สู ญ เ สี ย ที่ ไ ม เ สี ย ศู น ย

แ ค ศู น ย เ สี ย ก า ร ทํา ง า น ข อ ง ไ ต

ไมวาจะเปนโชคชะตาฟาลิขิต หรอื เปนกรรมในชีวิตทีเ่ คยทํามา ทาํ ใหฉันตอง
เผชิญชวี ิตอยูกบั การเปน “ผูปว ยไตวายเรอ้ื รงั ระยะสดุ ทา ย” (แตชวี ติ มันไมจ บงายๆ)
และนี่เปนจุดเริม่ ตนของการสูญเสียอะไรอีกมากมาย
จากนกั กีฬาท่ีแขง็ แกรง ทัง้ กายและใจ เหรียญทองและใบประกาศนบั รอยใบท่ีได
รบั มาจากชยั ชนะในสนามแขง ขนั มากมายทว่ั ประเทศ ความภาคภมู ใิ จเหลา นน้ั เปน เพยี ง
แคภ าพความหลังทเี่ คยรสู กึ “ลวู งิ่ สนามแขง ขัน ความเร็ว สถติ ิทีเ่ คยสรางเคยทาํ มา
กลายเปน แคค วามภาคภมู ใิ จ และภาพความหลัง” “ขาทเี่ คยแข็งแกรง แรงท่เี คยมี
วนั นไ้ี มมอี ะไรหลงเหลอื อีกเลย มสี ิ่งเดยี วท่ยี ังเหลอื อยู คือ หวั ใจดวงเดมิ ท่ีตอ งเติมพลงั
ใหแข็งแกรง อยูท กุ ๆ วนั ”

การสญู เสยี การทาํ งานของไตเพยี งแคอยา งเดยี ว ไมน าเชอื่ วา จะเปลี่ยนชวี ิต

คน ๆ หนง่ึ ไดม ากมายขนาดน้ี ทาํ ใหต อ งเสยี สมดลุ ในรา งกายเกอื บทกุ ระบบ การทาํ งาน
ของอวยั วะสว นตา ง ๆ ในรางกายเส่อื มถอยลงเรือ่ ย ๆ ผลท่เี กดิ คือ “ความเจบ็ ปวดใน
รางกายทุกสวนตั้งแตห ัวจรดเทา ทกุ เวลา ทกุ วัน” จนความเจบ็ ปวดเหลา นน้ั กลายเปน
ความเคยชนิ เปน สว นหนง่ึ ในชวี ิต กวา สิบปที่ตองเผชิญกับอาการเหลาน้ี จนปจ จุบนั ไม
เคยรูเลยวาความรสู ึกของคนทอี่ ยอู ยา งสขุ สบายในชวี ิตน้นั เปน เชน ไร

บอกตวั เองทุกวันวา “เราสญู เสยี แคก ารทาํ งานของไต แตเ รายงั มสี มอง และ

หวั ใจท่ยี ังเตน อยู เพราะฉะน้นั เราอยาหยดุ ฝน แมเ ราอาจจะเดนิ ทางไปสูเ สนชัยแหง
ฝน ชา กวาเดิม หรือชากวา คนอ่ืน แตส ดุ ทายเรากถ็ ึงเสนชยั เหมอื นกัน”

แมจ ะมี กาํ ลังใจในชวี ติ มากมายเทาไร แตแลวโชคชะตา หรือกรรมของเราเอง
ตองทาํ ใหเผชิญกับความโชครายในชวี ติ ท่ีตอ งแพส ารสกดั จากสมุนไพรจนแทบจะเอาชวี ิต
ไมร อด (เดือนสิงหาคม 2556) อาการที่เกิดขน้ึ คอื มีผืน่ คันขึน้ ทง้ั ตัวต้งั แตห ัวจรดเทา
ฤทธข์ิ องสารสกัดสมนุ ไพรดังกลาวทําลายเยือ่ บทุ กุ ชนดิ ในรา งกาย ทาํ ใหรมิ ฝป ากเนาเปอ ย

เย่อื บุในชอ งปากเปนแผลทัง้ ปากจนถงึ ลาํ คอ ไมสามารถแมแตจะกินนํ้าลงไปไดเ พราะ
ความเจ็บปวด และแสบไปท้ังปากและคอ เนื้อเยอื่ ในตาก็เนาตาบวมปรบิ (ตอ งลอกออก
ทกุ ๆ วนั ) ผนื่ ท่ีขนึ้ หนาเปน แผล หลุดลอกออกเปน ช้นั ๆ ขุย ๆ เหมือนดักแดท่กี าํ ลงั
ลอกคราบ รอยแผลจากการแพย ายังไมทันหายสนทิ ฤทธิ์ของสารสกัดสมนุ ไพรก็สงผล
ทาํ ใหไตเสียการทํางานไปมากกวาเดมิ มีของเสยี ค่ังคา งอยใู นรา งกายเปน จํานวนมาก ผลท่ี
เกิด คอื ความเจ็บปวดท่แี สนทรมาน ปวดในกระดูกไปท้งั ตวั 3 เดอื นเตม็ ๆ ทีต่ อง
เผชิญกับสภาพความเจ็บปวดนั้น ทง้ั กลางวัน และกลางคนื แตละวันนอนหลบั ไดไมเ กนิ
วนั ละ 2 ช่ัวโมง ขาทัง้ สองขางไมมแี มแ ตแรงจะยกกาวเดนิ ไปขางหนา ระยะทาง 10
เมตรใชเวลาเดินเกือบ 10 นาที (อดีต 100 เมตร ใชเ วลาวง่ิ 14 วนิ าที .. ไมน า เชือ่ เลย
นีห่ รอื อดตี นกั วง่ิ เหรยี ญทอง) จะหายใจแตละทีกแ็ นนไปหมด หายใจแทบไมไ ด (หายใจยัง
เหนอ่ื ยเปน อยา งไรเขาใจดีทีส่ ดุ ) จะยกมอื ถอดเส้อื ผา กย็ งั แสนจะยากเย็น ดเู หมือนชีวิตฉนั
มันจะจบลงตรงนเ้ี องหรือ (สิง่ ท่ีฉันกลัวทสี่ ดุ ในชวี ิต..มนั กําลงั จะมาถงึ แลวใชไหม) ฉนั ไมไ ด
กลวั การรกั ษา (การบาํ บดั ไตทดแทนดวยวธิ ี ตา ง ๆ) แตฉ นั กลวั การเปน ภาระของคนใน
ครอบครวั ภาวะท่ตี อ งพง่ึ พาคนอืน่ ในการใชช วี ิต ภาวะที่ไมส ามารถทาํ ส่ิงตา ง ๆ ได
ดว ย ตัวของตวั เอง เปน เหตุผลใหฉ ันตัดสินใจไมอ ยากรบั การรกั ษาใด ๆ นอกจากการ
อยดู วย ตวั ของตัวเองมาโดยตลอด (เหตุผลท่แี พทยแ ละพยาบาลมองวา “ฉันเปน ผูปวย
โรคไตวายเรอ้ื รงั ทแี่ สนด้อื ”)

แตแลวก็มีเหตุการณบางอยางที่ทาํ ใหฉันเปลยี่ นความคดิ ท่ีจะ “หยดุ ชีวติ ” และ
นอ มรับ “ความตาย” ที่รออยตู รงหนา ดว ย อานภุ าพความรกั ของ “แม ” (ผูหญงิ ทีด่ ี
ท่ีสุดในชวี ติ ) “เวลาฉนั เจบ็ เวลาที่ฉนั ปวด แมกจ็ ะคอยบบี นวดใหอยตู ลอดเวลา ไมวา
จะเจ็บตรงไหน ปวดตรงไหนมอื แมไ มเคยหางจากตวั ฉันเลย ฉันต่นื แมกต็ ืน่ ฉนั ปวด
แมกน็ วด และในวนั ทฉี่ นั เจบ็ ปวดไปท่วั ทั้งตวั ในทกุ สวนของรางกาย มนั ทุกขทรมาน
อยางทส่ี ดุ ไมนาเชอ่ื เลยวา ...เพยี งแคแมเ อื้อมมือมาโอบกอดและรองไหท ีไ่ มสามารถ
ชว ยบรรเทาอาการปวดของลกู ได อาการปวดทม่ี ันเจบ็ ปวดทีม่ รมานแสนสาหสั นัน้
หายไปในชั่วพริบตา” เปนแบบน้ี 2-3 ครง้ั ทาํ ใหฉนั เปลย่ี นความคิด ยอมรบั การ

รกั ษาเพ่อื รักษาชวี ิต...เพอื่ “แม” และเพอ่ื รอการกลบั มาของ “ผูหญิงอกี คนทฉี่ ัน

รกั และมีความสาํ คัญมากในชีวติ ฉัน” (ผหู ญิงคนทร่ี วมทุกข รว มสขุ ดูแลกนั และ

กนั มาตลอดระยะเวลาเกอื บ 15 ป) ที่เดนิ ทางไปสหรัฐอเมรกิ าเพอื่ Develop Proposal

(อยางนอยท่สี ุดไดเหน็ หนา เธออีกสกั ครงั้ กอนจากไปก็ยงั ดี) หลานสาวทง้ั สองคน

ทเี่ ลย้ี งดมู าต้งั แตแบเบาะ ทรี่ อการดแู ลจากเราตอไป ทาํ ใหฉ นั ตัดสินใจรับ การรักษาดว ย
วิธบี าํ บดั ไตทดแทนดวยวธิ ลี างไตทางชองทอง (CAPD) เพือ่ รกั ษาชีวติ ของฉันใหยงั มี
ลมหายใจไดตอไป แคการตดั สนิ ใจรกั ษาเพียงอยางเดยี วมิใชเ หตุผลทจี่ ะเรม่ิ การรักษาได
ในทนั ที การรกั ษาจะเร่ิมขนึ้ ไดก ต็ อ เม่ือตองไดสมดุ ประจาํ ตัวผูปว ยไตวายเร้อื รังจาก
สาํ นกั งานประกนั สงั คม (เพราะใชส ทิ ธิการรกั ษา คือ ประกันสงั คม) ซ่ึงมกี ารระบุ
หลกั เกณฑของผูมสี ทิ ธยิ ่ืนขอรับบรกิ ารทางการแพทยโดยการบําบดั ทดแทนไต ไวม ากมาย
ไมวาจะเปน ในกรณีฟอกเลอื ดดวยเคร่ือง ไตเทียม หรือกรณีลางชอ งทอ งดวยนาํ้ ยาอยาง
ถาวร ตอ งใช สาํ เนาเวชระเบยี นและผลการตรวจพสิ จู น Serum BUN, Serum
Creatinine หรืออัตราการกรองของเสียของไต หรือ Creatinine Clearance และขนาด
ของไต พรอมกับ หนังสอื รบั รองการเจ็บปว ยเปน โรคไตวายเรื้อรงั ระยะสดุ ทา ยจาก
อายุรแพทยโรคไต หรืออายุรแพทยผ ูรกั ษา ซ่ึงเอกสารเหลา นฉี้ นั ไดย่ืนกอนลวงหนาไป
1 ปแ ลว แตเอกสารเกิดการสูญหายเนอ่ื งจากเปล่ียนเจาหนา ท่ีในการรบั ผิดชอบดแู ล
เรอื่ งน้ี (ดูเหมือนการรักษาชีวิตและลมหายใจของฉันมันยากเย็นเสียเหลือเกิน) ในวนั ทีฉ่ ัน
แทบหายใจเองไมไ ด การกา วเดนิ แตล ะกา วเปน ไปดว ยความยากลาํ บาก ตอ งเดนิ ทางไป
สาํ นักงานประกนั สงั คม จังหวดั พิษณโุ ลก เพื่อดาํ เนนิ การขอเอกสารดงั กลา ว จนแลวจน
เลา ฉนั กย็ งั มไิ ดสมุดประจําตัวผปู ว ยไตวายเรือ้ รังมา (ตอ งรอสมดุ เพียงเลมเดียว เพ่ือแรก
กับชีวติ คนหนงึ่ คน)

การอดทนตอ ความ เจบ็ ปวด จากอาการของโรคทยี่ งั คงดําเนินตอ ไปและเร่มิ

ทวคี วามรนุ แรงข้นึ เรอื่ ย ๆ (เรม่ิ มองไมเ ห็นทางท่ีจะรักษาลมหายใจของตวั เองไวไ ด ครั้งน้ดี ู

เหมอื นจะสาหสั กวาทุกครัง้ ท่ีเคยเปนมา ลมหายใจทีเ่ คยมมี ันเร่ิมรวยระรินลงทุกท)ี จนใน

ทีส่ ุด ไดร บั ความกรณุ าจากผบู ริหารของทที่ ํางาน (สถาบนั การเรยี นรเู พ่ือปวงชน)
คุณสุภาส จันทรห งษ และคุณทวีวรรณ ตนั วานิช ทใี่ หความกรณุ าในการชวยติดตอ
ประสานงานกบั สํานักงานประกนั สังคม จนไดร บั สมดุ ประจาํ ตวั ผปู ว ยโรคไตวายเร้ือรงั
มาเพ่อื รับการรักษาโดยวิธกี ารบาํ บดั ไตทดแทนดว ยการลา งไตทางชอ งทองดว ยนํ้ายาอยา ง

ถาวร (CAPD) และเขารับการผา ตัด ในวนั ที่ 7 กุมภาพันธ 2557 (1 วนั หลังจากไดรบั

สมดุ ประจําตัวผปู ว ยไตวายเรอื้ รัง) เปนความกรณุ าอยางทส่ี ุด (เหมือนไดชีวิตใหม)
อาการปวดที่แสนทรมานเหลา นั้นหายไปจนหมดสน้ิ แตส่ิงท่ีตองยอมรบั และเรียนรูใ นการ

ใชช วี ติ ท่ตี อ งอยรู วมกับวิธีการรักษาการลางไตทางชอ งทอง (เปนการเรม่ิ ตน ชวี ติ ใหมที่
ตอ งยอมรบั ใน สง่ิ ท่ีมแี ละสิ่งท่ีเปนใหไ ดต อ จากน้ี เพ่อื การรกั ษาชวี ิตและลมหายใจเพ่อื
คนทเ่ี รารกั และรกั เราตอ ไป) การเรยี นรวู ธิ กี ารรกั ษา การดูแลตนเอง มันไมง า ยเลย
สาํ หรับผูป ว ยไตวายเรอื้ รงั หัดใหม แตความนา รกั ของพยาบาลหนวยไตเทยี ม โรงพยาบาล
มหาวิทยาลยั นเรศวร ใหดแู ลและบรกิ ารไดอ ยา งดีเยยี่ ม ภาพทฉ่ี ันเหน็ สะทอ นใหฉนั ตอ ง
คดิ และทบทวนการใชช วี ติ ของตัวเองใหมอ กี ครัง้ พยาบาลซงึ่ เปนบุคคลอืน่ ยังดแู ลชีวิต
เราไดดีขนาดน้ี ใสใ จในทกุ ๆ เรื่องของการรักษา แลว ตวั ของเราเองซ่งึ เปนเจาของ
ชวี ิตทําไมเราไมด แู ลตัวเราเองใหเหมอื นทพี่ ยาบาลดแู ลเรา (ขอบคุณพยาบาลทุกคนที่
เปนแรงผลักดนั ใหฉันไดคดิ ใหมทําใหมในเรอ่ื งการดแู ลสขุ ภาพ)

การรักษาผานพน ไปดวยดี ตามอตั ภาพ แขน ขา ทเ่ี คยแขง็ แกรง ยืน เดนิ วิ่ง

ไดต ามความตอ งการ ตอนนท้ี าํ งานไดน อ ยลงเกอื บ 50 % ที่เคยทําได พยายามบอกตัวเอง
เสมอวา “แมม ันจะออ นลา หรือออนแรง แตมนั กย็ งั พาเราลุกข้นึ ยนื และกาวเดนิ ตอไป
ขา งหนา ได ชาหนอย เหนื่อยหนอ ย เจ็บบางปวดบา ง ก็ยังดี” อยางนอยท่สี ดุ เราก็ไดใช
ชวี ติ ชา ลง ไดม เี วลาอยกู ับตวั เอง อยูกบั ส่ิงทีเ่ ราทาํ อยา งมสี ติ กา วทกุ กาวท่เี ดนิ ไป เรายังมี
เวลาพจิ ารณาอยางถถ่ี วน วา จะลงน้าํ หนกั เทาอยางไรไมใ หเ จ็บ ไมใหปวด กาวทกุ กาวที่ลง
บนั ไดจะทาํ อยา งไรไมใหลม ลง เมอื่ เรามองเห็นดานทีด่ ี ๆ ชีวติ แคน ้ีชวี ติ เราก็สุขขึ้น
ไมเรา รอน ไมกงั วล ไมส บั สน ไมวุน วาย เพียงแค “ยอมรับ เรียนรู อยกู ับสง่ิ ทม่ี ”ี แคน ้ี
ชีวิตก็หาความสุขไดไ มย าก

เวลาผา นไป 4 ป ดูเหมอื นชีวิตกับการอยูก ับโรคไตวายเรอ้ื รังระยะสดุ ทา ย

จะลงตัว การเรยี นรอู ยูกับอาการ และการรกั ษาตาง ๆ กําลงั ดาํ เนินไปดวยดี และ สง่ิ ท่ี
ไมคาดคดิ กเ็ กิดข้นึ เขา มาเปล่ยี นชวี ิตฉันอีกครง้ั การเปล่ียนแปลงครงั้ น้ีทาํ ใหฉ ันตอง
สญู เสยี อวยั วะ ทีพ่ อ แมใหม า (ครบ 32 ตั้งแตเ กิด) “ตน เหตุเพียงแคเดนิ ไปถายรูปผเี สื้อ
แลว เตะ << หนามไมยราบ >>” สาํ หรบั คนทวั่ ไปมันอาจจะไมม อี ะไรเกดิ ขน้ึ เลย แต
สําหรบั ฉนั ..ตอ งสูญเสยี น้วิ โปง ไปหนึง่ น้ิว เพราะเหตุจากฟอสเฟตในเลือดสูงเกินคาปกติ
สงผลใหตอมพาราไทรอยดผ ลิตฮอรโ มนพาราไทรอยดมากเกินคา ปกติ (คา ปกติไมเ กนิ 65)

แตข องฉันสงู เกอื บ 3,000 (กี่เทา ของคา ปกติลองคํานวณดู) เม่อื ฮอรโ มนพาราไทรอยดสงู ก็
ไปดึงแคลเซียมในกระดกู ออกมาเกาะตามเสนเลือดตาง ๆ ทวั่ รางกายท่ี โชครา ยที่สุด คอื
ไปเกาะเสน เลือดท่ีไปเลย้ี งนว้ิ โปงขา งขวา ขา งทเี่ ตะหนามไมยราบ แผลเล็ก ๆ
กลายเปน แผลใหญข ึน้ เร่อื ย ๆ จนติดเชอื้ ในกระดกู การรกั ษาดว ยยาไมต อบสนองตอ
การรักษา สุดทายกต็ องตัดนิ้วโปง เทา ขางขวาออกถงึ โคนนิ้ว เมื่อวนั ที่ 12 มกราคม
2558

จากการสูญเสยี นิว้ โปงเทา สง ผลตอการทรงตวั การยนื การเดนิ เปนอยางย่ิง

จากขาทไ่ี มค อยมแี รง และตอ งสญู เสียการทรงตัว คงไมต องบรรายายถงึ สภาพการเดนิ
คงเปน ภาพทไ่ี มนา พิศวงสาํ หรบั คนทั่วไปทีม่ องเราสักเทาไร แตน ่ันก็ไมใ ชปญหาในการใช
ชีวิตสาํ หรบั ฉนั ณ เวลาน้ี ขอแค “ฉันมีลมหายใจไดท ําตามฝนก็เพียงพอแลว ” การใช
ชีวติ ในแตล ะวัน การเดนิ ทางขามจงั หวดั (สมทุ รสงคราม-พษิ ณโุ ลก เกอื บ 500 กิโลเมตร)
เพ่อื รับการรักษาตวั อยางตอ เนื่อง เปน ไปดวยความยากลําบาก เพราะไมส ามารถขบั รถได
ดว ยขาทงั้ สองขา งของตวั เองไดเ หมอื นในอดตี ในความโชครายในชีวิตยังมีส่งิ ทดี่ ี ๆ ใหเรา
พบเจออยเู สมอ “กลั ยาณมิตรในท่ที าํ งาน คือ ความโชคดีท่ีสุดของฉัน” ทุกการ
เดินทางมีพีส่ าวทแ่ี สนดี (พอี่ ว น สุภา ดานเจริญจิต) นองสาวทีน่ ารกั (นองใหม
นรนิ ทรธ ร ชวนใช) และนอ งชาย (อาลี มฮู ําหมดั ) ผลัดเปลี่ยนกนั เปนคนขับรถพาฉนั
เดนิ ทางไป-กลบั สมทุ รสงคราม-พิษณโุ ลก เพื่อพบแพทยตามนัด ครง้ั แลว ครัง้ เลา
นบั เปน เวลาหลายป (ขอบคุณในน้ําใจอันงดงามของพ่ี ๆ นอง ๆ ทุกคน) กาํ ลงั ใจจาก
พอ แม ญาติพน่ี อ ง เพ่อื น ๆ และเพอ่ื นรว มงาน เปน เหมอื นดังหยาดนํ้าทิพยช ะโลมใจ
ใหฉ ันไดม ีแรงและกาํ ลังใจในการตอสูก ับโรค และมีความหวังทจี่ ะรักษาลมหายใจ
เพื่อท่จี ะไดมีโอกาสสรางสรรค สงิ่ ที่ดี ๆ ตอบแทนสังคมตอ ไป

ดูเหมอื นวาการมชี วี ิตของฉนั มนั ไมง า ยเหมือนคนอน่ื ทั่วไป การสญู เสยี
การทํางานของรางกายเกอื บทุกระบบ การสญู เสยี นว้ิ โปงเทา ยงั คงไมพอ ผลจากการท่ี
แคลเซยี มไปเกาะตามอวัยวะและเสนเลือดตาง ๆ ในรางกาย ทาํ ใหตอ งเขา รบั การผาตดั

นิว้ มอื (น้วิ นางขา งขวา กบั นิ้วกอ ยขา งซาย) เพ่อื เอากอ นแคลเซยี มทม่ี ีขนาดใหญกวา ท่ี
อ่นื ๆ ซง่ึ สงผลกระทบตอการใชช วี ิตประจําวันอยา งมากออก ในวนั ท่ี 9 กรกฎาคม 2558

หลงั จากน้นั เมอ่ื วนั ที่ 3 กนั ยายน 2558 ไดเ ขา รบั การตดั ตอ มพาราไทรอยด

ออก เพอื่ เปน การแกปญหาทีส่ าเหตอุ ันกอ ใหเ กิดผลเสียตาง ๆ มากมายตามมา
การสญู เสียคร้ังนีไ้ มเหมือนกบั ทุกครง้ั เปนการสูญเสียท่นี ําเอาความเจบ็ ปวดตามรา งกาย
จากไปดวย แตต อ งกนิ ยามากมายหลายขนาน เพ่อื ควบคุมสมดลุ ของเกลือแรต า ง ๆ ใน
รา งกายใหอยใู นระดับทปี่ กติ และชวี ติ กต็ องเริม่ เรยี นรูอ าการทเ่ี กิดขึน้ ใหมอีกครง้ั
ตองปรับตัวเพ่อื ใหอ ยกู ับส่งิ ท่มี ี และเหลอื อยูใหไดอ ยางมคี วามสุข ไมใหเสยี สมดุลในชีวติ
แตด เู หมือนชะตากรรมชวี ิตยังตองมีบทพ่ีสจู นความอดทนในชวี ิตตลอดเวลา คาการ
ทาํ งานของตอ มพาราไทรอยดล ดลงอยใู นคา ปกติ ( 65) เพียงแค 3 เดอื น หลงั จากน้นั คา
การทาํ งานของตอมพาราไทรอยดก ็ขึน้ สูงถงึ 2,200 และ 1,800 แพทยจึงแนะนําใหผา ตัด
เอาตอ มพาราไทรอยดทเ่ี หลือเพยี งแค ¼ ของ 1 ตอ มออก (ตอ มพาราไทรอยดม ที งั้ หมด
4 ตอม ในการผา ตดั ครง้ั แรกผาออกไป 3 กบั ¾ ตอ ม และนําสว นท่เี หลอื ¼ ตอ มไปฝง ไว
ทก่ี ลามเน้ือแขน) เปนนวตกรรมใหมในการรกั ษา และตองภมู ใิ จทีส่ ุดเพราะเราเปน Case
แรกของโรงพยาบาลมหาวทิ ยาลยั นเรศวร ที่ไดร ับการรักษาดว ยวิธนี ี้ ทกุ สง่ิ ทเ่ี กิดข้ึนกับ
ชีวิตลว นเปนชะตากรรมทฉี่ ันตอ งเผชญิ และตอ งกาวเดนิ ตอไปขา งหนา ดวยหวั ใจท่ี
แข็งแกรง และในทส่ี ุดฉันก็ตองเขารับการผา ตัดตอมพาราไทรอยดที่เหลือ ¼ ตอ มไปฝง ไว
ทีก่ ลามเนือ้ แขนออก ในวันที่ 10 กมุ ภาพนั ธ 2559 (หลังจากนี้หวังวาคงจบสิน้ กันเสยี ที)
หลงั จากตดั ตอ มพาราไทรอยดอ อกหมด ปญ หาท่ีตามมา คือ ภาวะแคลเซียมในเลอื ดตํ่า
กวาปกตอิ ยมู าก แพทยตอ งปรับทง้ั ยา และนํา้ ยาลางไต เพือ่ รกั ษาสมดลุ ของระดบั
Electrolyte ในรา งกาย ปอ งกนั ภาวะการเปน ตะครวิ และการชกั

7 วันผานไป ถงึ วนั ทแี่ พทยน ดั ตดั ไหม ดูเหมอื นทกุ อยา งกําลงั จะดาํ เนนิ ไปดว ยดี
แตแ ลวกมเี หตุการณ (เคราะหซํ้ากรรมซดั เกิดข้ึนอกี กับชวี ติ ) แผลมนี าํ้ ไหลออกมา
ตลอดเวลา ไมสามารถตดั ไหมได แพทยไดแกไ ขในเบือ้ งตน คอื ทาํ แผลทุกวันโดยการใช
ผากอตยัดลงไปในแผลจนกวาแผลจะต้ืนขึ้น และอีกหนุง สปั ดาหหลงั จากน้ัน แพทยก็ได

นัดเพือ่ ดแู ผลอีกคร้งั (ตามหลักการปฎบิ ัตโิ ดยท่วั ไปแผลนาจะดขี นึ้ ) แตสาํ หรบั ฉันแผลไมดี

ขึน้ เลยเปน เหตใุ หต อ งเขา รบั การผา ตดั เปน ครง้ั ที่ 2 ในแผลเดิม เพ่ือเอาถงุ นา้ํ ในแผลออก

(ครั้งนแี้ พทยใชการฝง สายยางไปในแผลแทน) หลังจากน้ันอีกหนง่ึ สัปดาหแ พทยไดนดั ตัด

ไหมอกี ครง้ั ครงั้ น้ีนับวาโชคดมี ากท่ีแผลเริ่มแหง
ความดีใจยังไมทันส้ินสดุ (ไมร วู า เปน เพราะชะตากรรมชวี ิต หรือฟาลขิ ติ ใหช วี ิต

ฉันตองมบี ททดสอบกบั ความอดทนในการเผชิญกับความเจบ็ ปวดอยูไดต ลอดเวลา) ใน
ระหวางทีแ่ ผลจากการผาตัดตอ มพาราไทรอยดดขี น้ึ ตาขวาฉนั กับเร่มิ พลามวั มองเหน็
ไมชัด และเริม่ เปนมากขึ้นเรื่อย ๆ (ความรสู กึ ในตอนนน้ั คงไมต อ งพดู อะไรมากนอกจาก
คาํ วา “ฉันตองผานมนั ไปใหไ ดไมว าจะเกดิ อะไรขึน้ ” แพทยวินจิ ฉัยวา เสน เลอื ดในตา
อุดตัน ตองเขารับการฉดี ยาเขา ในลูกตาทงั้ หมด 6 เดือน ผลการรักษากแคเ พียงบรรเทามิ

ใหอ าการกําเรบิ มากข้ึนไปกวาเดิม สดุ ทายฉนั ก็สญู เสยี การมองเห็นจากตาขางขวาไปกวา

50%
ในระหวา งท่รี ักษาดวงตา ฉนั กต็ องเขารบั การผา ตดั นว้ิ ชเี้ ทาดา นขวา ออก

ดวยเหตุที่วา เปน แผลแลว เลือดไมไปเล้ยี งปลายเทา ไมต องถามวา จะรสู ึกเชน ไร (ตอบได
เพยี งแตวา “ไมร ูสึกอะไรแลว เพราะเราดแู ลแผลนนั้ ดที ี่สุดตามความสามารถทเ่ี ราจะทาํ
ได ทมี่ ันไมหายเปนเพราะสภาพรางกายและการทาํ งานของเสน เลอื ด สิง่ ใดท่มี ันไมด ีสราง
ความเจ็บปวดใหเ รา เราก็ควรตดั มันทง้ิ ไป)

ตน ป 2561 ฉันเขา ออกโรงพยาบาลบอ ยมาก หนักสดุ คือ ตองใชเ ครือ่ งชว ย

หายใจ เน่ืองจากนํา้ ทวมปอด และหวั ใจ จากการรกั ษาครงั้ นนั้ พบวา ฉันเปนโรคหวั ใจ
ลนิ้ หัวใจขางซายหองลา งร่ัว การทํางานของหัวใจเหลือเพยี งแค 30% (ดใี จจงั ไดเพ่ือน
เพมิ่ ) แตส ง่ิ ที่เกิดข้นึ มันไมไ ดบนั่ ทอนกําลังใจในการใชชวี ติ เพยี งแคเ รยี นรู และปรบั ตัวให
อยูกบั เพอ่ื นใหมอ ยา งกลั ญาณมติ รเทา นั้นเรากม็ ีความสขุ ในทุก ๆ วนั จากท่ีเราเคยเดิน
ไกล ๆ ทํางานหนกั ไดบา งบางอยา ง แตตอนนี้เดินไดไ มกี่กา ว (ก็ยังดีทย่ี งั เดินได สะสมวนั
ละนิดละหนอยก็มากไปเอง คงเปนเพราะฟาเห็นวาเราลําบากมาเยอะเลยใหหยุดความ
ลาํ บาก จะไปไหนกน็ ั่งรถเข็นไป สบายดีออกเนอะ มคี นเขน็ ใหน ่ังดวย งานหนกั ก็ไมต อ งทาํ
นอนพกั ยาวไป จนใคร ๆ ตอ งอจิ ฉา)

ตน ป 2562 ฉนั กไ็ ดเ พอื่ เพ่มิ อกี ตรวจพบวา เสน เลือดขาตบี ทงั้ สองขา ง เปน
เหตใุ หแผลท่ีขาซายเปนไมหายลุกลามมากขน้ึ เรอ่ื ย ๆ หมอแนะนาํ ใหทําบอลลูนใสขดลวด
เพอ่ื ไปถา งใหเลอื ดไปเลี้ยงแผลไดดีขน้ึ หลังจากทาํ บอลลูนเพียงหนงึ่ เดอื นแผลหายสนทิ
และใน

เดือนพฤษภาคมตอ งเขา รบั การผา ตดั ใสเ หล็กที่น้ิวชีม้ ือขวา เนือ่ งจากกระดกู
นวิ้ ขอสดุ ทา ยหกั สงผลใหปลายน้วิ ช้ไี มส ามารถงอได โชคดที ไ่ี มตองตัด การจะหยบิ จับสง่ิ
ตา ง ๆ ก็มีขอ จาํ กัดมากขึ้น แตก ไ็ มไ ดสง ผลกระทบตอ ชวี ิตฉันสักเทาไร ฉนั ยงั สามารถกาว
เดินตอ ไปขา งหนา และทําส่งิ ตาง ๆ ไดอกี มากมาย

เดือนกรกฏาคม ตรวจพบวากระดูกขอสะโพกตาย ตองเขารับการผาตัดในเดือน
กนั ยายน
ถึงแมวาตอจากน้ไี ปฉันตองสูญเสยี อะไรมากกวา นี้ ฉนั กพ็ รอ มจะสงคนื ทกุ สวน
ในรางกายใหห มดไปพรอมกบั วาระกรรมทเ่ี คยทํามา ความตาย ไมใชสงิ่ ที่นากลัวสําหรบั
ชวี ิตฉัน แตส ง่ิ ทนี่ ากลวั มากทส่ี ดุ ในชีวติ คอื ภาวะการพ่ึงพา ฉนั จะรสู กึ ไมดที ่ีไมส ามารถ
ชว ยเหลอื ตวั เองได และทาํ ใหค นรอบขางเหน่อื ยไปกบั ฉนั (แตก็ขอบคุณแมมากท่ที ําทุก ๆ
อยา งใหฉ ันตลอดมา ส่งิ ใดทล่ี ูกลว งเกินแมด วยกายกรรม วจกี รรม มโนกรรม ลูกขอ
อโหสกิ รรมไว ณ ที่นี)้

มหี ลายคนมกั ถามฉนั วา “หวั ใจทําดวยอะไร” ถงึ ไดอ ดทนไดม ากขนาดน้ี จะ
ตอบไงดลี ะ ? หวั ใจฉนั มี 4 หอง หองที่ 1 ยอมรับสงิ่ ตา ง ๆ ทเ่ี กิดข้ึน หองท่ี 2 เรียนรูท ่ี
จะอยกู บั มัน หอ งที่ 3 ปลอยวางทุกส่ิงทที่ าํ ใหใจเปนทุกข หอ งที่ 4 กาวเดินตอไปดวย
หวั ใจที่ต้งั มนั่ เพยี งแคน เ้ี ราก็จะสรา งเกราะ และความแขงแกรง ใหหวั ใจ แมการทํางานจะ
เหลือเพียงแค 30 % (เปนเรื่องของทางการแพทย) ตราบใดท่ียงั หายใจอยู ฉันยงั คงมองวา
หวั ใจของฉนั ทาํ งานได 100 % ยงั คงมคี วามสามารถในการทาํ สง่ิ ตา ง ๆ ตามทใ่ี จปรารถนา
สงิ่ ท่สี าํ คญั คอื เราตองสรางกําลังใจใหก บั ตัวเอง บอกตัวเองทุกวนั วา พรุงนี้เราตอง
ดีกวา วันนี้ บอกเพื่อเติมกาํ ลังใจใหก บั ตวั เอง เดีย๋ วมันกผ็ า นไปอกี วนั อกี เดือน อกี ป ฉนั ไม
เคยคาดหวังวาพรุงนจี้ ะตองปนอยางไร รอเพยี งแควาวันพรุงต่นื มาแลว จะเปนอยา งไร
แลว ก็ปรบั ตัวอยกู ับสง่ิ ทเ่ี กดิ ขึน้ ในชวี ิตเรา

การสญู เสยี การทาํ งานของรา งกาย ยอ มมกี ารเสอ่ื มถอยไปตามการใชง าน และ
วาระกรรม ซ่งึ มนั หลีกหนีไมพ น เม่ือมันเกิดขึ้นแลว เราไมส ามารถเรยี กกลับคนื ได หากเรา
ทกุ ขอ ยูกับการสญู เสียนนั้ เทา กับเราสญู เสียเวลาของความสขุ ไปดว ย เก็บเอาความ
สูญเสยี นนั้ ไวเ ปนบทเรียนสอนชีวิต เพอ่ื ไมใหเกดิ การสูญเสยี กบั สวนอื่น ๆ ในรา งกาย

ไมม ีการสญู เสยี ใดท่ไี มม คี ณุ คา เพราะถา เรามองเห็นถงึ ผลดีของการสูญเสีย เรา
จะเขาใจวา ทุกส่ิงมีส่ิงดี ๆ ซอ นไวเ สมอ คนไหนหาเจอเร็วกท็ กุ ขนอยหนอ ย คนไหนหาเจอ
ชา กท็ กุ ขน านหนอ ย “สุข ทกุ ข อยทู ใี่ จ” ของเราเอง ไมมีใครชวยใหเราหาทุกขได หาก
เรามชิ ว ยตวั เอง

“ไมว า จะสญู เสยี อีกสกั กี่ครัง้ ฉนั กพ็ รอ มทจี่ ะยอมรับ เรียนรู และอยูกับสิง่ ท่ีเหลืออยู
ดวยหัวใจท่แี ขง็ แกรงดวงนี้ และหวังอยเู สมอวาชีวติ จะยังมชี ว งเวลาท่ดี ี ๆ
ใหฉนั ไดสมั ผสั สิ่งตาง ๆ ตอ ไป”

เ ต รี ย ม ตั ว เ ผ ชิ ญ ค ว า ม ต า ย อ ย า ง มี ศั ก ดิ์ ศ รี

การตายอยางโดดเดี่ยว (kodokushi หรอื lonely dead) เกดิ มากขึน้ ในสังคม
เนอ่ื งจากเทคโนโลยีและวิทยาการทางการแพทยถ ูกพฒั นาข้นึ เพ่อื ยือ้ ชีวิตผูปวยใหอยูได
นานที่สดุ เทา ทที่ าํ ได เพ่อื สง่ิ ใดตัวเรากต็ อบไมไ ด หากเพียงเพ่ือประคบั ประคองจิตใจญาติ
ใหไ ดอ ยกู บั ผปู วยไดน านที่สุด แลวเคยมใี ครถามผปู ว ยไหมวารสู กึ เชน ไร ? มนั เจบ็ ปวดมาก
เวลาใสทอชวยหายใจ (endotracheal intubation) เวลาถกู Suction แตละทมี ันกโ็ ครต
เจบ็ เวลาใสส าย NG tupe คดิ ดกู วา จะผา นจมกู คอหอย หลอดอาหาร จนถงึ กระเพาะ
อาหาร พยาบาลก็บอกใหก ลนื มันเจบ็ จนกลืนไมล ง แลว มนั จะกลืนไปไดอยางไร
นอกจากน้ียงั มีสารพดั จากหตั ถการทางการแพทย สารพัดเขม็ ท่ฝี งอยูใ นเนื้อเราเพื่อใหส าร
นาํ้ ทางหลอดเลอื ดดาํ ( peripheral venous cannulation) และใหย าตา ง ๆ ตาม
แผนการรกั ษา

ทกุ ครงั้ ทีต่ วั เองเขา ไปนอนท่ี โรงพยาบาล ภาพที่เหน็ มากมาย คอื ผูป ว ยเร้ืองรงั
ผสู ูงอายุท่ีนอนรักษาตวั อยูด วยเครอื่ งพันธนาการทางการแพทย บางคนนอนอยอู ยาง
โดดเดย่ี ว ไรผูด ูแล มีเพยี งแตท ีมบุคลากรทางแพทยใหการรกั ษาตามขอ วนิ จิ ฉัยทาง
การแพทย เปนภาพทสี่ ะเทอื นใจตัวเองมาก และพยายามบอกตัวเองวา สง่ิ เหลา น้จี ะ
ไมเ กิดขึ้นกบั ตัวเองเดด็ ขาด เพราะในวาระสดุ ทายของชีวิตขอจากไป โดยปราศจาก
เคร่อื งพันธนาการทางแพทย อยูกับคนทร่ี ักเพยี งแคน ้ี กพ็ รอมจะจากไปอยางสงบ

สาํ หรบั ตวั ฉันขอจากไปดวยแผนการรกั ษาชวี ิต ดวยของตวั เอง คอื ดูแลใจใหมี
ความสุข ปลอยความเสื่อมถอยของรา งกายใหเ ปนไปตามธรรมชาติ เมอ่ื ถึงวันท่ี
รา งกายไปสามารถทาํ งานได กต็ อ งยอมรบั และจากไปพรอ มกบั ใจ

<< ข อ บ คุ ณ โ ร ค ไ ต >>

ทีใ่ หป ระสบการณช วี ติ และ สตใิ นการใชช วี ติ
สอนใหฉันไดเ รยี นรูจ ัก และเขาใจกับคําวา

"การปรับตวั " อยา งทอ งแท
สอนฉนั ใหอ ดทนกบั “ความเจบ็ ปวด ความทุกขทรมาน”

ทาํ ใหฉ นั เดนิ ทางมาพบกบั “กลั ยาณมติ รมากมาย”
ทาํ ให “ฉนั รกั ตัวเอง” และ “แมผหู ญิงทีด่ ที ส่ี ุดในชวี ติ ” มากข้ึน

จากน้ีไปทุกลมหายใจทีเ่ หลอื อยจู ะ “ทาํ ความดี”
เพ่ือตอบแทนความรกั ความหวงใย ความหวังดี

ทีไ่ ดจ ากครอบครัว กัลยาณมติ ร
และจะใชป ญ ญา กาํ ลงั กาย กาํ ลงั ใจ
เพอื่ สรางประโยชนใ หสังคมตอไป
วนั นี้ “ฉนั พรอ มแลวที่จะจากโลกนีไ้ ปดวยใจทส่ี งบสขุ ”

... ทกุ สง่ิ ทผี่ า นเขา มาในชีวิต ….
สอนใหฉ นั ... ไดเ ขา ใจความจรงิ ในชีวิต
สอนใหฉ ันได ... มองโลกในดา นดี ๆ จากความโชครา ย
สอนใหฉันได ... ใชเ วลาทกุ วนิ าทอี ยา งคุมคา
สอนใหฉ ันได ... รูว า ไมมีส่งิ ใดที่เปนของเรา

และจะอยกู บั เราไดตลอดไป
... จากนีต้ อไป ...

จะขอใชเ วลาที่มสี รา งสรรคสิ่งท่ดี งี ามใหกบั สงั คมตอไป
จนกวาจะหมดลมหายใจในวาระสุดทา ยของชีวิต

นา้ํ ตาหยดสุดทา ย

18 ตลุ าคม 2562

กลั ยาณมติ รผูท่เี ปนกําลงั ใจในการตอสกู ับชวี ติ

“นอ งแมว” ทีพ่ ี่รจู ัก เขาเปน คน “คิดเรว็ ทาํ เร็ว และก็ทําไดดี มคี วามอดทน
เปน เลศิ ” เดินทางมาเรยี นหนงั สอื ระยะทางไมใชปญ หาสําหรับ “เธอผูน้ีมจี ิตใจทีม่ ุงม่ัน
พรอมท่ีจะเรยี นรู เปน ผูท่มี นี ้าํ ใจงดงาม ยนิ ดที ี่จะชวยเหลือทกุ คนโดยไมเคยคิดที่จะปฎิ
เสธ” แตส่ิงหนึ่งทน่ี องสาวคนนมี้ คี วามอดทนเปน เลศิ นั่นกค็ ือ “เปนผทู ่กี าํ ลังใจตอ สูกบั
โรคทเี่ ปนอย”ู ไมเ คยไดย นิ คาํ บนวา การเปน โรคจะเปนอปุ สรรคตอทกุ สง่ิ ทกุ อยาง ไมวา
จะเปนเรอ่ื งการเดินทาง การทาํ งาน ทกุ อยา งจะตองเรยี นรทู ่จี ะมชี วี ิตกบั โรคท่เี กิดขึ้น ทํา
อยา งไรจะดาํ เนินชวี ิตใหเหมือนคนปกติทวั่ ไป ไมเ คยทอแท เขาผนู ล้ี ะ คอื สุดยอด “นอง
แมว”

ชมุ ภู เมอื งคล่ี (พภี่ ู)
1 พฤศจกิ ายน 2558

หาก “ตวั อยางท่ีดี มคี ามากกวา คาํ สอน”บศุ รา โมลา คือ อีกหน่ึงตวั อยา งในดาน
ของการใชช วี ิตท่คี มุ คา เธอเปนผมู ีความมานะ อดทน เขม แข็ง และยอมรบั สงิ่ ทเี่ กิดข้นึ กับ
ตัวเธอแตการยอมรับนั้นไมใ ชย อมแพห รอื ยอมจาํ นน แตเธอ “เรยี นรโู รค...และยอมรบั ที่
จะอยูรวมกนั อยางสนั ต”ิ กําลงั ใจจากคนรอบขางเปน ส่ิงชว ยปลอบประโลมใหแ กเ ธอไดด ี
ย่งิ แตก าํ ลงั ใจทดี่ ที ่ีสดุ ในชวี ติ น้ัน มาจากตวั ของเธอเอง ซ่งึ เธอสรางมนั ไดจากการมองสิง่
รอบขางในดานดี ๆ ปญ หาทกุ ปญหาท่ผี านเขา มาในชวี ติ เธอพรอ มทีจ่ ะเผชญิ และพรอม
ทจ่ี ะกา วผา นมันไปดว ยความหวัง “การยอมรับ เรยี นรู ทจี่ ะอยกู ับโรคทีเ่ ปน กายใจจงึ
เปน สุข”

"นํ้าตาหยดสดุ ทา ย" เจา ของนามปากกานี้ ทคี่ รัง้ หนึง่ เธอเคยเปนขวัญใจของ
อาจารยผสู อนทุกทา นตลอดจนพี่ ๆ เพอื่ น ๆ นอ ง ๆ ปริญญาโท ชาวบรรณารักษศาสตร
มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง ดว ยบคุ ลกิ ทีไ่ มเหมือนใครไฮเปอรส ดุ ๆ จติ ใจดี มีน้าํ ใจ เธอจะ
นกึ ถงึ ใสใจ และปราถนาดกี ับทุกคนทีอ่ ยรู อบตวั เธอ ในระหวา งเรยี นเธอจะเปน ผู
สรา งสรรคและทาํ กิจกรรมดี ๆ เพอ่ื สวนรวมและสังคมเสมอ ไมมีอะไรท่เี ธอคนน้ที ําไมไ ด
หากไดรูจักตวั ตนของเธอนอยคนนกั ที่จะไมรกั และเอ็นดเู ธอ “บศุ รา โมลา”

“โรคสอนชวี ิต” หนังสอื เลมน้ีเปนการบอกเลาเร่อื งราว และประสบการณสวน
หน่ึงในชวี ิตของผูเขยี นตงั้ แตวยั เดก็ จนถึงปจจบุ ันกับ “โรค” ทเี่ ธอบอกเสมอดว ยใจที่
ยอมรบั วา มนั เปนสวนหนึง่ ของชีวติ เธอ และอยรู วมกนั มาหลายป เปน หนังสอื ทีอ่ า น
งา ย มกี ารลาํ ดับเร่อื งราวที่นาตดิ ตาม ในแตละตอน เนอ้ื หามกี ารนาํ เสนอเรอ่ื งราวท่ี
นา สนใจ ดว ยภาษาทเ่ี ขา ใจงา ย ตอ งขอบคณุ ผเู ขียนท่เี ธอไมยอมปลอยใหเ หตกุ ารณ ตา ง ๆ
ผา นเลยไปเฉย ๆ แตก ลับหยิบเอามาเปนบทเรยี นและถายทอดออกมาผา นตวั หนังสอื เพ่ือ
สอนใหคนรูจ กั คิด และดําเนินชีวิตอยางมีสติ มองโลกตามความเปน จรงิ ทกุ อยางที่เกดิ ขึน้
มเี หตุและผลของมันเสมอ เธอมีมุมมองทน่ี า สนใจในการใชชวี ติ ในขณะท่อี า นกน็ กึ ชืน่ ชม
และศรัทธาในตวั ผเู ขยี นไปดวย

หวังวา หนังสือเลม นี้จะสรางแรงบันดาลใจใหก ับผอู านได เธอไดม กี ารสอดแทรก
คติสอนใจ ขอคดิ มมุ มองในการดาํ เนนิ ชีวิตของเธอท่เี หลืออยู และมีวิธกี ารคดิ และรับมอื
เมื่อมเี รอื่ งราวผานเขามาในชีวิต เราจะรวู าชีวิตไมไ ดแ ยอ ยา งทค่ี ดิ ขอใหท ําทกุ วันใหดที ่สี ดุ
และเวลาจะเปน ตวั ชว ยใหจิตใจเราแข็งแกรงขน้ึ ถาหากไมเ จอประสบการณท่ีเจบ็ ปวดเราก็
จะไมมวี ันเตบิ โต ชอบทเ่ี ธอบอกวา “ภมู คิ มุ กนั ท่ดี ที สี่ ุดในตัวเอง คือ จิตใจทีเ่ ขม แข็ง”

เยาวภานี รอดเพช็ ร
9 พฤศจกิ ายน 2558

"พี่แมว" บุศรา โมลา พีส่ าวที่แสนดี ทอี่ นั รูจักผา นสายสมั พนั ธ LISRU หลกั สตู ร
บรรณารักษศาสตรและสารนเิ ทศศาสตร มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง พแ่ี มวเปน บรรณารกั ษ
มากดว ยความสามารถ เปน นักวิชาการควบคูน กั กิจกรรมที่เรยี บงา ย ความคิดสรา งสรรค
เปนเลิศ มองโลกในแงด งี าม ตามความเปนจริง เปน กลั ยาณมติ รของพ่นี องผองเพื่อน
แกไขปญหาเฉพาะหนา ไดดี และทส่ี าํ คัญ “เรยี นรูอ ยกู ับปจ จุบันอยา งมสี ติ” จากการอา น
"โรค...สอนชวี ิต" ไดเ รยี นรชู วี ประวตั ใิ นแงม ุมตา ง ๆ ของผูเขียนท่มี กั บอกอยูเสมอวา
"รอู ยา งเปด" แตเ ปน การรทู ีน่ าศกึ ษา เอามาเปนแบบอยางทีด่ แี ละสามารถนําไป
ประยกุ ตใ ชใ นชวี ติ ประจําวันของตวั เองได จงลงมอื ทําความจริงใหถงึ ความฝน และสนุก
กบั การเรยี นรูใ นชวี ิตประจาํ วนั นะ

นิภานนั ท จฑู ะวนิช (นอ งอัน)
1 พฤศจกิ ายน 2558

งานเขยี นของบศุ รา โมลา เปน การถา ยทอดประสบการณก ารตอ สทู ผ่ี า นการ
เรยี นรูในทกุ กา วของชวี ิต สง่ิ ทหี่ ลอ หลอมวิธีคดิ ทศั นคตใิ นการดาํ เนินชวี ิต ความมุงมน่ั ใน
ความฝน และความอดทนนน้ั ลว นมาจากครอบครวั ของเธอ ความมอี สิ ระทางความคดิ
การเปน ผมู สี ิทธจิ ะเลอื กปนแตงชีวิตดวยตนเอง ภายใตความรบั ผดิ ชอบในส่ิงทตี่ นเองเลือก
“ความอดทน” เปน สิง่ ทไี่ ดรับการปลกู ฝง และไดมาซงึ่ ความสําเรจ็ ในชีวิตทีน่ า มหศั จรรย
ผูหญงิ คนนีม้ ีหวั ใจที่แขง็ แกรง ในวนั ท่ีเธอตองเผชญิ กบั การเปล่ียนแปลงท่พี ลกิ
ชวี ติ เธอ คลา ยกบั การโดนกระชากความฝน ลงมากระแทกใหแ ตกกระจายเปน เสย่ี ง ๆ การ
ตัง้ สติ พจิ ารณาความทุกขท ่ียากจะทําความเขา ใจ เพราะแคก ารเผชิญกับโรคทีท่ าํ ใหเ ธอ
เจบ็ ปวดทางกาย ทางใจกเ็ จบ็ ปวดไมแพกัน ความรักทย่ี ง่ิ ใหญกส็ รา งศรัทราในชวี ติ ใหเกดิ
กบั เธออกี ครง้ั เธอสามารถ “ขอบคุณ” โรคภยั ทพ่ี รอมจะพรากชีวิตเธอจากบุคคลท่เี ธอ
รกั และรกั เธอได ชะตากรรมทีพ่ บเจอกับกลายเปน สิง่ ล้ําคา และแสนวเิ ศษ ... ดงั คาํ กลา ว
ท่ีวา ความสุข จะสอนใหเ ราเชอ่ื ใน ความฝน ความทกุ ข จะสอนใหเรายอมรับ ความจรงิ
(-ธรรมทาน-)

“โรค” อาจสรางความทุกขกาย ทุกขใจ ความเจ็บปวด ความโศกศรา หรือ
ความตายสําหรับมนุษย แตจะวิเศษแคไหน ถาเราสามารถพลิกใหโรคที่เราเผชิญอยูโดย
มอิ าจหลกี หนีนั้น เปนครูสอนใหเ ราใชช ีวติ ในแตล ะวนั ใหม คี ุณคา ดังคํากลา วของ
มหาตมะ คานธี “จงใช ชีวิต ราวกบั วา คณุ จะตายในวันพรุงน้ี จง เรยี นรู ราวกบั วา …
คุณจะมีชวี ิตอยูต ลอดกาล”

อชั ญา รตั นตนุ (เกด)
31 ตลุ าคม 2558

ดฉิ ันรจู กั นองบศุ รา โมลา จากการไดไปศกึ ษาตอ ปรญิ ญาโทที่มหาวทิ ยาลยั
รามคําแหง เธอเปน รนุ นอ งของดิฉนั เอง การเจอนอ งครัง้ แรกดฉิ นั รูสึกประทบั ใจหลาย ๆ
อยางในตัวเธอ และตนเองก็แอบชืน่ ชมนองอยูในใจเสมอ ไมวา เธอจะทาํ อะไรดูตงั้ ใจและ
ใสใจมาก ๆ ในทุกเรอ่ื งท่ีรับผิดชอบ เมอื่ ทราบขาววาเธอปวยก็รสู กึ ใจหายสําหรับตนเอง
เพราะสาํ หรบั คนทเ่ี คยอยใู นฐานะเปน ผดู ูแลผปู วยมากอ น แตส าํ หรับนองถาดจู าก
รางกายภายนอกเธอไมเหมือนกับคนปว ย สภาพรางกายและจิตใจเปน คนที่เขมแข็งและสู
ในทุก ๆ เรือ่ ง

“โรคสอนชวี ิต” เปน หนังสอื ที่มคี ุณคา อีกเลม หน่ึง และอยากใหท กุ คนไดอ า น
เพราะทกุ ถอยคําทีบ่ ศุ ราไดถ ายถอดออกมาผานตวั หนังสอื ไมไ ดเ ปน เพียงการบอกเลา ถงึ
อาการของการเจ็บปว ย แตเ ปน ขอคดิ และปรชั ญาชีวติ ใหคนปวยและคนท่ียงั ไมป ว ยได
เรยี นรู และสะทอนใหเ หน็ ถงึ การใชชีวติ อยา งเขาใจ และยอมรบั กบั โรคภยั การท่ีคนเรา
เกิดความเจบ็ ปว ยไมว าจะรา ยแรง หรอื ไมรายแรง สาํ หรบั บางคนจะหมดกาํ ลงั ใจในการใช
ชวี ติ สนิ้ หวังไมคดิ ทจี่ ะตอสกู ับโรคภัยทต่ี นเองจะตองเผชิญ สําหรบั ผูอา นทกุ ทาน “โรค
สอนชีวติ ” เปน หนังสอื มที คี่ ุณคา อยา งยง่ิ ท่ีกล่ันกรองออกมาจากสวนลกึ ของหัวใจของคน
ท่ีมองชีวติ แบบคนท่ีเขาใจชวี ิต เห็นคุณคา ของทุกสิ่งทเี่ กดิ ข้นึ ไมว าในยามทุกขห รอื ยามสุข
ไมว าความสบาย หรือยามเจบ็ ปว ย อานหนังสอื ของบุศรา ไดเห็นขอ คิด และแนวคิดใน
การใชชวี ิต ทําใหรวู า คนที่ยอมรบั ชวี ติ ยอมรบั สิง่ ทเี่ กดิ ข้ึนกบั ตวั เองอยางเขาใจชวี ิต ความ
พรอ มทจ่ี ะมชี วี ติ อยู หรือพรอมที่จะจากไปตามท่ี และเมื่อรแู ลวจะตองทาํ อยา งไรตอไป
กับชีวิต

ภทั รภร ยวนพันธุ (พแี่ อด)
1 พฤศจกิ ายน 2558

รจู กั พแี่ มว มาประมาณ 8 ปแ ลว เรารจู ักกนั จากการทต่ี อ งมาเรียนรวมกัน ครัง้
แรกท่ีรจู กั นน้ั ไมร ูเลยวา ผหู ญงิ คนนี้ “ปวย” เพราะเธอใชชีวิตไดอึดมาก ดว ยการว่ิงลอ ง
พษิ ณุโลก-กรงุ เทพ เพอ่ื มาเรยี นในวนั เสาร-อาทติ ย ในขณะทค่ี นปกตอิ ยางเรา กลบั บน
เหนอื่ ยแลว เหน่อื ยอีก จากพท่ี เี่ รยี นดวยกัน ก็ไดมีโอกาสมาทํางานรวมกัน ไดร เู หน็ ความ
เปนไปมากขน้ึ เหน็ ซ่ึงความพยายามในการตอ สูก ับอาการปว ย ทั้งรางกายและจิตใจ

อยากจะใหนิยามกับผหู ญิงคนนี้ ดว ย “2 ก” คือ
“เกง ” ผูหญงิ คนน้ีเปนคนเกง เทาที่เคยรูจกั มาในชีวิตคนหนึ่งเลย การนั ตีไดจาก
ปรญิ ญาโท 2 ใบ เกงในการเรยี น วิชาการ เกงในการทาํ งาน มีมมุ มอง วธิ คี ิดทลี่ ้าํ ไปมาก
คดิ เร็ว ทําเร็ว เปน หวั หนาคนแรก ๆ ในชวี ติ การทํางานของเรา มีความรสู กึ วา โชคดีท่ไี ด
เจอหัวหนาแบบน้ี ชวยเปดโลกทัศนของเราใหก วางขน้ึ อยา งมาก
“แกรง ” คํานค้ี รอบคลุมทง้ั การเจบ็ ปวย และการใชช วี ิต อาการปวยที่ตอง
เผชิญ ไมใชเรอื่ งงายเลยทจี่ ะเขา ใจ รับมอื และอยูกบั มนั ใหไ ด จากคนที่เคยแขง็ แรงเปน
นกั กฬี า วันหนึ่งกลับตอ งมาปว ย ตลอดเวลาที่รจู กั กันมา แทบไมเคยไดยนิ ผหู ญงิ คนนี้

“บน ทอ ถอย หรอื หมดหวัง ในชีวิต ในทางตรงกนั ขา ม กลับมแี ตความเขาใจ และ
ยอมรบั ในส่ิงทีเ่ ปน ” ถา จะมคี าํ ไหนท่อี ธบิ ายความเปนตวั ตนไดด ีท่สี ดุ คงไมพน คําน้ี

ขอบคุณโชคชะตา ท่ที ําใหไ ดรูจกั พ่แี มว คนที่เปนทัง้ พี่ เพ่อื น ครู และแรง
บันดาลใจในการใชช ีวิต

สราลี สงคจาํ เรญิ (นองฟา )
1 พฤศจกิ ายน 2558

“นํ้าตาหยดุ สดุ ทาย” ..เห็นชอ่ื ครั้งแรกดเู ศราจัง เอะ...นี่ ภาพนองแมวดอู อก
หาว ๆ ชอื่ คงมีความหมายแฝงแนวเพอ่ื ชีวติ ซงึ่ เปนการพบกันทเี่ ปลยี่ นแปลงชวี ิตจริง ๆ
แมวเปน รนุ พ่ีเรยี นโท บรรณารักษฯ ท่ี ม. รามคําแหง ดว ยบคุ คลกิ ทีเ่ ปนกันเอง ทําใหเขา
กนั ไดง าย ไปรวมกิจกรรมคร้ังแรกทาํ ใหรูว า “ทําไมใคร ๆ ก็รักแมว” กิจกรรมตาง ๆ
ของทางสาขาจะมแี มว เปน แกนนาํ หลกั และคอยเปน ทมี งานชว ยนอ ง ทราบขา ววา นอ ง
ไมสบาย มโี รคประจําตัว เคยเห็นแมวเอายาใสกระบอกเก็บความเย็น มาใหพี่ที่เปน
พยาบาลฉีดให กย็ งั ไมร ูส กึ หว ง เพราะนอ งกย็ ังทาํ ทกุ อยา งเหมือนปรกติ คอยใหคาํ แนะนาํ
การทาํ วทิ ยานพิ นธ รวมพีร่ วมนอ งในสาขาในการทํากจิ กรรมเร่ือย ๆ มีอยคู รง้ั หนึ่งไดไ ป
คา งท่ีสถาบันการเรียนรเู พ่อื ปวงชน พบวา นอ งนอยนอ ยมาก ท่ัง ๆ ท่ีมอี าการเจบ็ ปว ย
นอ งจะขบั รถกลับพษิ ณุโลกเพ่ือพบแพทย และกลบั มาทํางาน เหน็ อยอู ยางนมี้ าหลายป
แตร ะหวา งทางนองไมเ คยเหน็ดเหน่ือย หรือทอแทเลย สังเกตไดจากเฟสบคุ ทจ่ี ะมภี าพวิว
สวย ๆ ตลอดการเดนิ ทางมาใหท กุ คนไดช น่ื ชมตลอดเวลา

ชีวติ หลงั การสญู เสยี นวิ้ เทา ของนอ งก็ยงั เหมอื นเดิม ยงั คงเปน สีชมพูอยางทีน่ าง
ชน่ื ชอบ “บางทีการอยูบนโลกใบนี้ มนั ไมใ ชแคเพ่อื ตนเองเลย แตอ าจอยูเ พอ่ื ใหอ ีกคน
ไดเ หน็ ไดศ ึกษาไดรูวา โรคภยั ไขเจบ็ มันอยูกับเราทกุ คน เราตองอยูกับมันใหเ ปน อยาง
ที่แมวเปน อยู” รกั และหวงนอ งเสมอ

เสาวภา สาระพมิ พ (พ่ตี ิ๊กกี้)
2 พฤศจกิ ายน 2558

“โรคสอนชีวิต”คอื “ลํานาํ ชวี ติ ของผหู ญิงคนหน่งึ ” ทที่ กุ คนควรเอามาเปน
แบบอยา ง ในการใชชวี ติ เพือ่ ที่จะเรียนรไู ปกบั โรคท่เี กดิ มาเปนคูกรรมของเรา เพราะมัน
เปนชีวติ ท่กี ลั่นมาจากเลอื ดเนื้อของเธอเจา ของนาม “นํา้ ตาหยดสุดทาย” ถา เธอไม
ถา ยทอดออกมาเปนตัวหนังสือแลว เราทุกคนทีเ่ ปนกลั ยาณมติ รจะทราบหรือไมว า เธอทน
ทกุ ขท รมานกับโรคนี้มากขนาดไหน และเธอไดใ ชชีวติ อยกู ับมนั อยา งเขาใจและคุมคาเพือ่
คนทเี่ ธอรักและคนท่รี กั เธอ กับอกี หน่ึงความฝน ท่ยี ิง่ ใหญไ ดอ ยา งไร ?

เธออยูไ ดอยางไร คือ คําถามท่ีมคี าํ ตอบแคเ สนบาง ๆ คือ “ปลอ ยวางอยา ง
เขา ใจชีวิต” หากใครกต็ ามที่ไดอ านหนงั สือเลมน้ี ในแตล ะเรือ่ งท่ีรอยเรียงอยูอยา งพินิจ
กจ็ ะพบวา “การใชชวี ิตน้นั ไมย ากหรอก” แตทยี่ าก คอื “ทาํ อยางไรใหเ รามีความสุข”
หากเราปรับความคิดและเปล่ียนมุมมองการใชช ีวิต เราจะพบวา ความสขุ อกี มากมายท่ใี ห
เราคน หาน้ันไมใชเ รื่องยากทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ได ปญหากค็ ือวา เราเปดโอกาสใหตัวเองไดมองหา
สิง่ ดี ๆ ในชวี ติ บาง หรือเปลา ในการยอบรบั เรียนรู ท่ีจะอยูกบั โรคทเ่ี ปน ไดอ ยางไร
กายใจเราจงึ จะเปน สขุ

ขอบคณุ (แมวเกาชวี ิต) ทสี่ อนใหรจู ักคําวา “กัลยาณมติ รทดี่ ีนัน้ เปนอยางไร ?
มติ รภาพเกดิ ขนึ้ ณ เวลาใดนัน้ ไมท ราบ แตม นั จะไมหมดไปพรอมการบอกลา”

วรศิ รา กาสา (ตน)
1 พฤศจกิ ายน 2558

การสนทนาระหวา งพน่ี อง-ผา นสื่อออนไลน
 นอ งแมว พี่อุม แมวเขยี นหนังสือเลมนึงรบกวนพีเ่ ขยี นคาํ นิยมใหหนอย“
หนงั สอื ”นะเรื่อง ”โรคสอนชีวิต“
 พ่ีอมุ “พี่จะเขียนเปน มย๊ั ” พรอ มกบั เสนอคนโนน คนนน้ั ใหน อ งเลอื ก
 นอ งแมว “เอาหมดทุกคน ท่ีเปน คนสําคญั กบั เรา”
“คนทีส่ ําคัญ” มันเปนขอความท่ีสะกดิ ใจจัง ในชีวิตไมเคยเขยี นคํานิยมใหใคร
เลย เขียนแบบไหน ? ยงั ไงดนี ะ ? เริ่มหาขอ มลู และลองอา นหนังสอื ทนี่ องเขยี น “โรค
สอนชวี ติ ” จากชีวติ จริงของนอง รบั รไู ดดว ยใจ ความเจ็บปวด ความอดทน ความสญู เสีย
และการตอสู กบั โรคทเี่ กิดขึ้นกับนอ ง ถา เปน พบ่ี อกเลยไมไหวแลว
ยอนอดีตนดิ หนอย พีอ่ มุ กบั นอ งแมว ไดเ ริ่มรจู ักกนั เพราะเราเลอื กเรียนสาขา
วชิ าชพี เดยี วกนั ในระดบั ปรญิ ญาโท สาขาวชิ าบรรณารกั ษศาสตรแ ละสารนเิ ทศศาสตร

จากรว้ั มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง ในฐานะรนุ พ่ี-รุนนอง ไดรจู ัก และเรม่ิ คนุ เคย เพราะมี
โอกาสทาํ กิจกรรมรว มกนั เที่ยวดว ยกันบาง นองแมว รปู รางผอม แตด ูแข็งแรง มีพลงั
เปนผนู ําทํากิจกรรมเกง มีแนวคดิ ท่ดี ี มานาํ เสนอพ่ี ๆ เพือ่ น ๆ นอ ง ๆ แตส่ิงทีไ่ มน า เช่อื ที่
แอบซอ นอยูภายในรางกายทด่ี แู ขง็ แกรง คือ โรคไต นอ งเลาถงึ โรคท่เี ปน อยู อาการ การ
รักษา การเดนิ ทางเพ่ือไปรกั ษาจากกรุงเทพไปจังหวัดพษิ ณุโลกไดฟง แลว รสู กึ ทึ่งในตัว
นอ งคนนีม้ าก ถาเปน เราคงทอสุด ๆ ทําไมเธอถงึ อดทนไดส ุดยอดมนุษย ตลอดระยะเวลา
ทไ่ี ดร จู ัก ติดตาม และมโี อกาสไปเย่ยี มเยยี นบา งจนถงึ ทุกวนั นี้ เกอื บ 10 ป นอ งยงั คง
สามารถสูกับโรคและอยกู บั มันได เพราะนอ งมีกําลงั ใจทีด่ ีเลศิ มคี วามรกั และไดรับความ
รกั ทเ่ี ตม็ เปย มจากครอบครัว และคนทีร่ กั นอ งอยางจริงใจ

พีเ่ ชอ่ื วาหนังสือ “โรคสอนชีวิต” จะเปนกําลงั ใจท่ีดแี กผทู ไ่ี ดอ า นแนน อน ขอคดิ
ดี ๆ ท่นี องไดเ ลา และเรียบเรยี งไว จะเปนประโยชนสาํ หรับผทู กี่ ําลังทอ กาํ ลงั ตอ สูกับโรค
รา ย อยกู บั โรคทเี่ ปนไดอ ยางเขา ใจ และใชชีวติ ใหม ีความสุขในทุกชว งเวลา ชวี ิตตอ งสู
และ สูไ ดเสมอ สําหรบั เธอ “บศุ รา โมลา”

พรทพิ ย แยงคํา (พีอ่ มุ )
2 พฤศจกิ ายน 2558

จากที่ไดร จู ัก “แมว” หรอื ทไี่ ดยินบอ ย ๆ คอื “พีแ่ มว” เปนชอ่ื ท่ีคนุ หขู องนิสติ
ระดับปริญญาโท หลักสูตรบรรณารักษศาสตรและสารนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัย
รามคาํ แหง นบั จากรนุ 13 – 22 นอยคนนกั ท่ีจะไมร ูจกั “แมว” เนื่องดวยอธั ยาศยั
สว นตวั ที่เปนคนชอบชว ยเหลือทาํ ใหแ มวเปน ทีร่ กั ของครู อาจารย และรุน พ่ี รุนนอ งใน
ชว งเวลาเกอื บ 1 ทศวรรษของ LISRU แมวคนนม้ี กั เขารวมกจิ กรรมเสมอ ไมว าจะเปน
กิจกรรมท่ใี หค วามรทู างวิชาการตามหลกั วชิ าชพี หรอื กจิ กรรมสานสมั พนั ธหลาย ๆ งาน
เกิดขน้ึ และสาํ เรจ็ ได ดวยแรงพลักดนั ของแมว เปน ประสบการณด ี ๆ ท่ีพวกเราไดมี
รว มกนั และเปนความทรงจาํ ทีย่ งั รําลกึ ถงึ เสมอ

ตลอดระยะเวลาท่ีรจู ักกันมาสงิ่ ท่ีพีเ่ ห็นไดชดั เจนจากแมว คือ “ความพยายาม
มงุ มน่ั มุมานะ มอี ุดมการณ รกั ในสิง่ ท่ที ํา” ความสาํ เร็จของแมว จึงเกดิ ขนึ้ จากการทุม เท
อยางหนัก ทั้งแรงใจและแรงกาย ไมแ ปลกใจเลยวาทําไม แมวจะทาํ อะไรกป็ ระสบกับ
ความสาํ เรจ็ เสมออาจเปนเพราะแมวมวี ิธกี ารของตวั เองทีจ่ ะเดินไปสูเสน ทางฝน โดยไมยอ

ทอ และดวยกาํ ลงั ใจท่สี รา งขน้ึ ไดอยา งไมจาํ กดั คําวา “อปุ สรรค” จงึ เปนเพียงส่ิงทผี่ า น
มาชั่วครูเพยี งเพอ่ื พิสูจนบ างสงิ่ เทานน้ั เอง
หนังสือเลม น้ีเน้อื หาไดบอกความเปน ตวั ตนของแมวต้งั แตเด็กจนถงึ ปจจบุ ัน
หลาย ๆ ความรสู ึกไดถ ูกถา ยทอดออกมาใหผ คู นไดรบั รูถึงการเปน “คนมรี าก”
ประสบการณของแมวไดบ อกกับผอู า นวา อะไรบา งท่ีสําคัญตอ “ชวี ติ ของเรา” แมวทาํ ให
ใครบางคนไดฉุกคดิ ในสงิ่ ทีต่ ัวเองกระทาํ อยู และหากมองในมมุ ของความสุข ความทกุ ข
ของมนุษย แมวไดช้ีใหเ หน็ ถึง สัจธรรมของโลก ท่กี ฎแหง ไตรลกั ษณเ ปนความจรงิ ของชีวติ
“ทุกชีวติ ยอ มเกดิ ขึน้ ต้งั อยแู ละดับไปไมมีส่ิงใดท่ีไมเ ปลีย่ นแปลง” หนังสือเลม นม้ี ี
มมุ มอง และบทเรียนมากมาย ข้ึนอยกู ับแงคดิ ของแตล ะคน แตส ดุ ทายแลวชีวติ ของเราจะ
ไดม ีโอกาสทบทวนตัวเองเหมอื นทีแ่ มวไดมีโอกาส และไดใชโ อกาสนน้ั กอใหเ กิดประโยชน
ตอ ผอู ื่นอยา งน้ีหรอื ไม และนี่ คอื “ วิถแี หงบณั ฑิตนักปราญชอ ยางแทจ รงิ แมจะมี
ความสขุ หรือความทุกขกส็ ามารถถายทอดออกมาเปน องคความรูและใหประโยชนแ ก
ชีวิตผูอ่นื ได” เปน กาํ ลังใจซึง่ กันและกนั นะคะ

สไี พ ประดิษฐภูมิ (พ่ีไพ)
10 พฤศจกิ ายน 2558

พีแ่ มวเปน ทง้ั หวั หนางานและพสี่ าว ( ซง่ึ อาจจะไมส าวมาก ) แอลไดร บั ความรู
เร่ืองจากพ่ีแมวมากมาย พี่แมวเปนคนมีไอเดยี แปลกๆ มคี วามคิดริเริม่ สรางสรรค ชอบทาํ
โนน ทาํ นี่ ลกั ษณะการทาํ งานของพแ่ี มวจะไมเ หมอื นกนั คนทั่วไปเน่อื งดว ยโรคประจําตัวที่
พี่แมวเปน และโรคแทรกซอ นอนื่ ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ตลอดเวลา พ่ีแมวจะใชเ วลาในการทาํ งานทัง้
กลางวันและกลางคนื ในชวงเวลาทีต่ องลา งไต พแ่ี มวก็จะไมป ลอยเวลาวางใหเ ปลา
ประโยชน (บางทตี สี องยังสง เมลลง านมาใหลกู นองเลย) แตจ ากการทท่ี าํ งานรว มกับพแ่ี มว
แอลไมเ ห็นวาโรคตา งๆ ที่มนั รมุ เราพ่แี มวจะเปนอปุ สรรคในงานทํางานของพแ่ี มวเลย

จากการอา นหนงั สอื “โรค...สอนชีวติ ” ของพี่แมว ทําใหไดทราบถึงชีวติ ท่ีผาน
มาของพ่แี มวอยางละเอยี ด อยากใหท ุกคนทั้งที่รูจกั พแี่ มวและบุคคลท่ัวไปไดอานหนงั สือ
เลมนเี้ ชนกัน ซึ่งหลังจากที่ทุกทานอานหนงั สอื เลม น้จี บจะทําใหมกี าํ ลงั ใจในการใชชวี ิต
อยา งแนน อน

อมรพรรณ บญั ฑติ ย (แอล)
20 กรกฎาคม 2562

หนังสือ “โ ร ค ”...ส อ น ชี วิ ต ของนอ งแมว นามปากกา “นาํ้ ตาหยด
สุดทาย” เปนเรอ่ื งราวของเดก็ ผหู ญงิ คนหนงึ่ ท่ี เขม แขง็ แขง็ แกรง อดทน สชู ีวิตผาน
เรื่องราวทยี่ ากลาํ บากมากเกนิ กวา ทคี่ ิดวา ผูห ญิงตวั เลก็ ๆ จะสามารถกาวผานมาไดอยาง
เขม แขง็ แขง็ แกรง อดทน เรอ่ื งราวใน “โ ร ค”...ส อ น ชี วิ ต ยงั สรางกําลังใจใหก บั
คนท่ที อแท ใหกลับมาเขม แขง็ ได “เมือ่ ใจเราสจู ะไมมีคาํ วาแพ และไมมสี งิ่ ใดในโลกใบนี้
ทีเ่ ราจะทาํ ไมไดหากเราตองการจะทํา” มีอีกหน่ึงส่ิงทเ่ี รารับรูไดจากหนังสอื “โ ร ค”...
ส อ น ชี วิ ต จะเหน็ ไดวา มีความรกั อนั บรสิ ทุ ธิข์ อง พอกับแม นั้นมใี หกับลกู เสมอ ความ
รกั ของทา นทั้งสองไมเคยหมด "ไมว าชวี ิตจะเกิดอะไรข้นึ ฉันจะกาวผานมันไปดวยหนึง่
รอยยิ้มกบั สองความรกั " ทานท้งั สองจะอยูเคียงขางเราเสมอ “Supermom”

“โ ร ค” ไมไดท าํ ใหน อ งสาวของพี่หมดความเปนตัวตนของนอ งพ่ี ท่เี ปน นักกฬี า
(เขม แขง็ แขง็ แกรง อดทน) มคี วามสามารถรอบดา น ทง้ั ความคดิ ความสรา งสรรค
(จากการเขยี น Blog และการเขยี น Facebook) อา นแลวทาํ ใหพ ี่คนน้ี มีกาํ ลังใจ
เขมแข็ง สามารถเดินตอไปไดบ นหนทางที่ยากลําบากของชวี ิต ดว ยกําลังใจจากคนท่ีเรารัก
และรกั เราอยางไมมีเงอ่ื นไข และสิง่ ทีพ่ ่ีพบเปนสง่ิ ท่ีสอนใหพ ่ีคนนป้ี รบั ตัวเขาสิ่งตา งได
ดวยสติ...พคี่ นนมี้ ีความรกั และกําลงั ใจใหน อ งของพ่ี เขม แขง็ เสมอ

จฑุ ามาศ คมั ภรี พงษ (พี่ตน)
6 กรกฎาคม 2562

“อโรคยา ปรมา ลาภา” การไมม โี รคเปน ลาภอนั ประเสรฐิ ดังพระพุทธวจนที่
ไดตรัส ใหค วามสําคัญกับการดูแลกายและใจใหสัมพันธสมบูรณแข็งแรงเพอ่ื ปฏิบัติภารกิจ
ของการเปนมนษุ ยไดเ ตม็ เปย ม แตสําหรับแมว “โรค และความเจบ็ ปวด ” กไ็ มส ามารถ
บน่ั ทอนจติ ใจของแมวไดเ ลยเพราะแมวมี “เลอื ดนกั สู มคี วามอดทนสูง ” กอ นหนา น้ี คิด
และสงสยั อยูเสมอวา ใจของแมวทําดวยอะไร จึงชางมีท้งั ความเขมแข็ง ความอดทน มใี จ
สูอยูตลอดเวลา แมนในยามปว ยไข แทนทแ่ี มวจะพักผอน แมวกลับหอบงานไวก บั ตวั และ
ทาํ งานใหแกสถาบนั อยา งตอเนือ่ ง ไมเ คยเอาความเจบ็ ปวยเปน ขอ อา ง แมวใชเตยี งคนไข
เปนทที่ าํ งาน โดยไมเกรงใจคุณหมอเลย แมวมีความรบั ผิดชอบที่สงู มาก

หลงั จาก ไดอ า นหนงั สือ โ ร ค ...ส อ น ชี วิ ต <<อยูก บั โรคอยางไรใหกาย
ใจเปนสุข >> By @ นา้ํ ตาหยดสดุ ทาย @ และจากการไดม โี อกาสรจู กั และคลกุ คลีกัน ก็
ไดร บั คาํ ตอบอยางชัดแจง วา สาเหตทุ ่ีแมวมีจิตใจท่แี ขง็ แกรง มคี วามอดทนสูง มีใจสู และมี
นา้ํ ใจ กเ็ พราะแมวโชคดี ทมี่ โี อกาสไดองิ แอบผหู ญิงคนหนง่ึ (ที่มีใจแขง็ อยา งเพชร) อยู
ตลอดเวลา ไมวาจะสุขหรอื ทุกข ผหู ญงิ ทานนั้นกค็ ือ คุณแมของแมวนน่ั เอง คณุ แมบ ุญสง
โมลา (หรือแมหมว ยของพวกเรา) แมผ ซู ง่ึ ไมเ คยทอดทงิ้ แมวเลย

ดว ยรักและผูกพัน
ทววี รรณ ตนั วานิช (พี่แอะ )

7 พฤศจกิ ายน 2558

ไดมโี อกาสรวมทํางานกับ”พแ่ี มว” บุศรา โมลา คร้ังแรกเมอ่ื วนั ที่ 5 พฤษภาคม
2555 ตลอดระยะเวลาการทาํ งานรว มกนั พ่แี มวเปน ทงั้ หัวหนา อาจารย และพที่ ่ีคอย
ดแู ล ใหความชวยเหลือ สอนใหค ิดเปน ทํางานเปน โดยระหวางทางใหเก็บเกี่ยว
ประสบการณ เรือ่ งราว และเรียนรู เพื่อนําไปสเู ปา หมายชีวติ
ส่งิ หนึ่งที่รบั รแู ละสมั ผสั ไดจากพีแ่ มว คอื ความแขง็ แกรง ทางใจ คดิ และลงมอื
ทาํ ราวกบั วาจะไมมีวนั พรุงนี้ ความมงุ มน่ั และตงั้ ใจจรงิ การจัดการเวลา และมีแผน
ชวี ิต การดูแลรักษาโรคไตทมี่ วี ธิ คี ดิ วธิ ีปฏบิ ัติ และวธิ ใี หคณุ คา ในบางครง้ั ไดเ ห็นถงึ ความ
เจบ็ ปวดทางกาย แตจ ติ ใจเขมแขง็ ยง่ิ นัก ทําใหผมไดเรยี นรจู ากการใชชีวิตของพแ่ี มว ที่
ใหค วามสาํ คญั ของชว งเวลาชวี ิตทีด่ ที ี่สุด ทกุ วนิ าทมี ีคุณคา ที่จะทําส่งิ ดๆี ใหก ับทัง้
ตนเอง ครอบครัว และคนรอบขา งไดเ ปนอยางมาก เปนบทเรยี นชีวิตทต่ี อ งเรยี นรทู ัง้
ชวี ติ
หนงั สือ “โรคสอนชีวติ ” สะทอ นถงึ สัจธรรมของชีวติ ทีด่ าํ รงตนอยูดวยการมี
สติ ความหวงั ความศรัทธา ใหคุณคาการดูแลรักษาโรคไตใหคงมีชวี ิตอยเู พือ่ ประกอบ
สงิ่ หรือเรอ่ื งราวดๆี ใหก ับใครหลายๆ คนไดเปนอยางดี การทําใจยอมรบั กับสงิ่ ท่ี
เกิดขน้ึ หรือเหนอื การควบคมุ การเผชิญหนา กับความตายอยา งมสี ติ

อานหนงั สอื เลม นแ้ี ลว จะทําใหเ ห็นคณุ คาของตนเอง ครอบครัว และคนรอบ
ขา ง ในขณะทีย่ งั มลี มหายใจอยู คิดและทําสิ่งดี ๆ เพอื่ ที่จะไมตอ งนึกเสียใจภายหลังทไ่ี ม
คิดทํา และขอขอบคณุ พ่ีแมวผเู ปนแบบอยางชวี ิตในการเรยี นรูและอยกู บั โรคไตและเปน
พลังทางใจในการกาวเดินสูจดุ หมายชีวติ ทวี่ าดฝน ไว

วเิ ชยี ร วชริ เสรชี ยั
17 กรกฎาคม 2562

ประวัตผิ ูเขยี น

นางสาว บุศรา โมลา

วันเดอื นปเ กิด 18 ตลุ าคม 2520

การศึกษา
- ประถมศกึ ษา โรงเรียนบานแมระหนั

- มัธยมศึกษา โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี
- ระดับปริญญาตรี

2543 สาขาบรรณารักษศาสตรและ
สารนเิ ทศศาสตรส ถาบนั ราชภฎั พบิ ลู สงคราม
- ระดับปริญญาโท

2547 สาขาเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการ
ศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร

2552 สาขาบรรณารักษศาสตรและ
สารนิเทศศาสตรมหาวิทยาลัยรามคําแหง

การทาํ งาน
2543-2551 หองสมุดคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

2551- ปจจุบนั สถาบันการเรียนรูเพือ่ ปวงชน




Click to View FlipBook Version