The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โรค...สอนชีวิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นัชชาพร ชวนใช้, 2020-02-18 04:11:52

บุศรา โมลา

โรค...สอนชีวิต

“โ ร ค”...ส อ น ชี วิ ต
<<อยกู ับโรคอยา งไรใหก ายใจเปนสุข >>

By @ นาํ้ ตาหยดสดุ ทา ย @

คํานิยม
ภาษติ ฝรง่ั บอกวา Not how long you live, but how you live ! แปลวา ชวี ติ
จะยืนยาวเทา ไรไมสําคัญเทา กบั วาคุณมีชีวติ อยางไร
ผมโชคดีท่ีไดรจู กั กบั ผูห ญงิ หลายคน ลว นอายุยงั นอย แตใหบ ทเรยี นชีวติ ทป่ี ระมาณ
คามไิ ดใ หผมและผูคนในสังคมไทย
สุภาพร พงศพฤกษ เรียนจบธรรมศาสตร ผมชวนไปทํางานดวยที่องคกรพฒั นา
เอกชนเม่อื ป 2523 ทาํ งานอยหู ลายปกอนทีเ่ ธอจะลาออก วนั หน่ึงไดขา ววา เธอเปนมะเร็ง
ตัดสินใจไมผาตัด หาทางดูแลสขุ ภาพของตนเอง เธอเขียนหนังสือ ท่ี ”เมอ่ื ดฉิ นั เปนมะเร็ง“
แพรห ลายขายดี
สุภาพรมชี วี ิตยนื ยาวอกี หลายป กลายเปน วทิ ยากรไปใหกําลงั ใจผปู วยมะเร็งจํานวน
มากทัว่ ประเทศ แตสุดทา ย เธอกเ็ สียชวี ิตดวยมะเร็ง แตเ ปน บ้นั ปลายชวี ิตท่งี ดงาม มีคณุ คา
อยา งยิ่ง มกี ารสรุปบทเรยี นการจากไปของเธออยา งยิ่งใหญท ่ีมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตรแ ละ
เวทีอ่นื ๆ ท้ังชวี ิตและความตายของเธอมคี ณุ คา สาํ หรบั ทุกคน ไมวาเจบ็ ปว ยหรอื ไม ไมวาเปน
มะเรง็ หรอื ไมกต็ าม
พมิ ใจ อินทะมลู เปน สาวชาวแมร มิ จงั หวัดเชียงใหม ทตี่ ดิ เชือ้ เอชไอวีจาก
สามตี ้งั แตอ ายุยังนอ ย เธอขอบคุณเอดสที่ทาํ ใหเธอไดเ ขา ใจชีวิต ไดรูจักผูคน รูจ ักโลก
อยางทีเ่ ธอคงไมมีโอกาสไดรจู ักถา หากไมเ ปนเอดส เธอดูแลสขุ ภาพตนเองอยางดีจนมี
ชีวติ ยืนยาวมาจนถงึ วนั นี้ หลงั จากติดเชือ้ มาเกือบ 30 ปแลว
พมิ ใจขอบคณุ ทีท่ ําใหเธอไดเ รียนรูวาตนเองแมอ าจจะถูกคนมองวาเป น
เหมือน “ขยะ” ที่ลอยตามนํ้า แตเ ปนขยะท่ีอยางนอยก็ยงั นํามาเปน ปยุ ได
เธอเลาวา กอ นติดเช้อื เธอกม็ สี ุขภาพที่ออ นแออยแู ลว ยิ่งติดเชือ้ ยิ่งหนักเขา ไป
อีก แตเ มื่อเธอลกุ ขึ้นมาดแู ลสขุ ภาพของตนเอง ชวยเหลอื ชมุ ชน ทกุ คน ไมว า ติดเชอ้ื ไม
ตดิ เชอื้ ทาํ ใหเธอลืมความทกุ ข ความเจบ็ ปว ยของตนเอง เธอมองวา เธอนา จะตายไป
ตง้ั แต 30 ปท่แี ลว อยูมาถงึ ทุกวันนจ้ี งึ ถอื เปนกําไรชีวิต
นอกจากพิมใจ ผมยงั ไดท าํ งานรว มกบั ผูชดิ เช้อื อีกหลายคน ทงั้ หญิงและชาย
หลายคนยงั มีชวี ติ อยู พวกเขาไดเรียนรใู นการมชี วี ิตท่ีดีเพ่อื คนอนื่ จนลืมความเจบ็ ปวด
ความทกุ ขและปญ หาของตนเอง ติดเช้ือมาเกอื บ 30 ปยังมชี ีวติ อยูแ บบท่ีมองภายนอก
ไมรูวาพวกเขาติดเช้ือเอชไอวี
บุศรา โมลา เปน ผูหญงิ อีกคนหน่งึ ท่อี ยใู นกลุม คนทีผ่ มช่นื ชมยกยอง คนที่กา วขา ม
ความเจบ็ ปวย ความทกุ ขทรมานทางรางกายทีห่ าคาํ อธบิ ายไมไ ด ยอมรบั และเรยี นรทู ีจ่ ะอยู

กบั โรคน้ี เปน นักเรยี นรูที่ไมไ ดข งั ตวั เองอยูแตในมุมมดื ของชวี ิต แตออกไปสูอกี มมุ หนงึ่ ที่
สวางไสว ปลดปลอยตนเองจากขอจํากดั ของรางกาย ที่ไมอ าจปดก้ันการกา วขามไปสู
การปลดปลอยและอิสรภาพ

”โรคสอนชวี ิต“ เปน ”พินัยกรรม“ สาํ หรับผอู า นทกุ คน เปน ”มรดก“ มคี ณุ คา
ใหญยงิ่ ทีก่ ล่ันกรองออกมาจากสวนลึกของหวั ใจของคนท่มี องชีวิตในอดตี แบบนกั เรียนรู
ผเู หน็ คุณคาของทกุ ส่งิ ท่ีเกิดขน้ึ ไมวา ทกุ ขห รอื สุข ไมวาความสบายหรือความเจบ็ ไขไดป ว ย

ขอ เขยี นของบุศราเปนปรชั ญาชวี ติ เปนการคิดคาํ นงึ ถึงเหตกุ ารณตา ง ๆ ท่เี กิดขน้ึ
สะทอ นการมองโลกมองชีวิตดว ยสายตาของคนที่เขา ใจ ยอมรบั แตไ มใ ชก ารยอมจาํ นน หรือ
หมดอาลยั และก็ไมใชการตอสปู ระหนึ่งโรครา ย คอื ศัตรู แต คอื ส่งิ ที่หน่งึ เกิดขนึ้ มาจาก
ธรรมชาติ ทีอ่ าจจะยังหาคาํ ตอบไมไ ด

แตชวี ติ กเ็ ปนเชน น้ี มีมากมายหลายอยางทอ่ี ธบิ ายไมไ ด เรามีชวี ติ อยูดวยศรัทธา
มากกวา เหตุผล อยดู ว ยความไมรมู ากกวาความรู อานขอเขียนของบุศราจงึ รูสึกถึงความออ น
นอ มถอมตนของคนที่ยอมรับชีวติ ยอมรบั สิง่ ที่เกดิ ขึน้ ไมมคี วามอหังการท่ีพยายามหาคําตอบ
ของทกุ สง่ิ มีแตค วามพรอ มที่จะอยู พรอ มที่จะไป ตามวิถที ีธ่ รรมชาติกาํ หนด

อา นแลว รสู กึ ถงึ คําสอนท่ไี ดยนิ พระบางรูปท่ีสอนให หมายถงึ ให ”ปลง อโหสิ แผ“
ปลอยวาง ใหอโหสใิ หคนอื่นและขออโหสกิ รรมใหต นเอง พรอ มกบั แผเมตตาใหค นอนื่ และ
สรรพสง่ิ คนท่คี ดิ ไดเชน นเี้ ปน คนโชคดี เพราะชีวติ กับความตายไมใชอ ะไรที่แยกจากกันเปน
เพียงคนละดา นของเหรยี ญเดยี ว เปนสจั จธรรมที่ทาํ ใหเ รากา วพน จากความทุกขที่มาจากการ
แบง แยก คลา ยกับทท่ี า นพทุ ทาสสอนวา "Die before dying fore immortality” ตายกอ น
ตาย เพ่อื จะไดไ มม วี ันตาย

รองศาสตราจารย ดร. เสรี พงศพิศ
28 ตลุ าคม 2558

คาํ นิยม

หากเรานัง่ มองสายน้ําที่กาํ ลังไหลผานไปอยา งพนิ จิ พิเคราะห เราอาจสงั เกตไดว า
กระแสนาํ้ น้ีกอ กําเนดิ มาจากลาํ ธารเล็กๆ ไหลรนิ ลงมาจนเปน แมน้ําใหญ หยดนํ้าทุกหยดผา น
เร่ืองราวมามากมาย หนนุ เนอื่ งจากอดีตจนถึงปจจบุ นั และคงไหลตอ ไปในอนาคต

ชวี ติ ของเราแตล ะคนเปรียบเสมอื นแมน ํ้าทัง้ สาย เน้ือหาของชีวิตสัมพันธก ันต้งั แต
ตนธารจนถงึ หว งมหาสมุทร ในวิถีทางทด่ี ําเนินไปนี้ลวนมรี ายละเอียดหลากหลายที่ทกุ คน
จะตอ งไดป ระสบ เรียนรู สุข หรือ ทุกข คละเคลา กันไป จนกวาสายธารแหง ชีวติ จะหยดุ ไหล
รนิ ... ชวี ติ ของ แมว บุศรา ก็เปน อกี หน่งึ สายนา้ํ ทีเ่ ดนิ ทางผานเสนทางของกาลเวลาโดยมี
ภาวะความเจบ็ ปว ยดว ยโรคไต เปน สิง่ ท่ีดําเนินควบคมู ากับชวี ติ อยา งยาวนาน โรคภยั ไขเจบ็ นี้
กค็ ลา ย ๆ กบั คนทเี่ ดนิ ทางดวยกัน ไมนานเรากจ็ ะเรียนรจู ากเพือ่ นรวมทางทลี ะนอ ยทลี ะนอย
จนสามารถเดินทางไปดวยกนั ไดอ ยา งกลมกลืน หนาทข่ี องผม ซึง่ เปนอายรุ แพทยโรคไตไมไ ดมี
สงิ่ ใดสลกั สาํ คญั มากไปกวา การเปน เพอ่ื นอกี คนหน่ึง ที่ไดม ารวมการเดินทางครัง้ น้ี ในชว งเวลา
ใดเวลาหนึ่ง สิง่ ที่เราพอจะทําไดก ็ คือ การเกอ้ื กลู อดุ หนนุ ประคบั ประคองใหก ารเดนิ ทาง
เปน ไปอยางปลอดภยั ราบรืน่ และมีอุปสรรคนอ ยทสี่ ดุ ไมใชเพียงแคม ชี ีวิตอยู แตยังตองอยู
อยา งมชี วี ติ อกี ดว ย แลว ผูป วย โรคของไต และ หมอ กเ็ ดนิ รวมทางกันตอ ไป ...

ชีวิตก็เทา นี้ ... ในวันขา งหนา เสน ทางชีวิตหรอื สายน้ําของแมว มีความเปนไปไดไ ม
นอยท่จี ะไดร บั การรกั ษาดว ยการปลกู ถายไต เมอื่ ถึงวันนั้นสขุ ภาพตา ง ๆ ของรางกายก็จะ
กลับมาสมบรู ณ และการเจ็บปวยในอดีตทเ่ี คยประสบกจ็ ะเปนเพยี งความทรงจาํ อันมคี ณุ คา
ประดบั ไวใ นชวี ติ " มนุษยเ ปน สัตวโลกเพยี งชนดิ เดยี วที่มชี ีวิตอยูรอดมาถึงทุกวันนี้ก็เพราะ
มคี วามหวงั ความฝน ใฝอดีตอาจเคยพบอปุ สรรคหรอื ความทกุ ขจ นคิดวาไมอาจทานทน
ตอไปแตม นุษยก ส็ ามารถมชี ีวิตรอดตอมาไดและพรอมทจี่ ะสรางความหวังขนึ้ มาอีกคร้ัง "

... สายนาํ้ ยงั คงไหลไป…

นายแพทย ธีระยุทธ หยกอบุ ล
21 มนี าคม 2559

คาํ นิยม
ขอบคณุ บศุ รา โมลา ท่ีตดั สินใจมาเปนลกู ศิษย ในรว้ั พอ ขุนเมื่อป 2550 ทําใหครมู โี อกาส
ไดรูจ ักและเห็นความสามารถของลกู ศิษยคนนี้ จําไดว าบศุ รามีแตค วาม ย้ิมแยม แจมใส ราเรงิ โดยครู
ไมร ูเลยวาเธอมีโรคประจาํ ตวั ไมว าตองอานหนงั สอื ตาํ ราประจาํ วชิ าทีเ่ ปน ภาษาอังกฤษที่แสนยาก
หรอื ตอ งสอนแนะเพ่ือนและครู ในการเรียนรวู ิธสี รางหนาเว็บประจาํ รนุ เพือ่ นาํ เอาความรทู ี่เราคนควา
มาขน้ึ หนา เว็บใหเ พ่ือน ๆ และนอ งรนุ ตอ ๆ มาไดฝกฝน การใชเทคโนโลยีเพ่ือจดั เก็บและคนคืนขอมูล
บุศราทําไดอยางดี อธิบายใหเพอ่ื นเขาใจไดโดยไมเ ห็นเธอจะกังวลหรือมีโมโหเลย ทงั้ น้ีเพราะเราหลาย
คนตองการคาํ แนะนาํ อยางใกลชิดมาก ๆ (หมายถึงเราไมค อยถนดั เรอ่ื งเทคโนโลยี มีคําถาม และ
ตองการตวั ชวยกนั เกอื บทุกคน) ในชวงทบี่ ศุ ราทาํ วทิ ยานพิ นธน น้ั เธอคงหนกั ใจมิใชนอ ย แตเ มอื่ ใดที่มี
เสยี งรองขอความชวยเหลอื จากครูและเพ่ือน บศุ รารีบเดินทางมาทันที แมใ นเวลาที่เธอไดท ํางานที่
สถาบนั การเรยี นรูเพ่อื ปวงชนแลว ก็ไมเคยทจ่ี ะปฏเิ สธคาํ ขอของครแู ละเพ่อื น ท้งั งานวชิ าการ งานรบั
นอ ง งานวชิ าการทีค่ รูขอใหชว ย
ผหู ญิงตวั เล็ก ๆ ทแี่ ขง็ แกรงคนน้ี ชางมศี กั ยภาพ และมีหัวใจของการใหต ลอดมา ครูไมเคย
ไดยินเสียงบนคราํ่ ครวญในความเจ็บไขข องเธอเลย ไมร ูดว ยซาํ้ วาเธอตอ งทนทุกขท รมานตอความ
เจบ็ ปวดมาหลายป
เมอ่ื ไดอานหนงั สอื ทีเ่ ธอเขียนเลาเรือ่ งความยากลําบากยามเดก็ เมื่อเธอตองเดนิ ทางเขา
เมืองเพอื่ ใหไดเ รยี นหนังสอื นนั้ ทาํ ใหครตู อ งนํ้าตาไหล เธอชางเปนคนใฝรจู ริง ๆ ไมมคี าํ วา ยอ ทอ เลยใน
ผหู ญงิ ตัวเล็ก ๆ คนนี้ เรือ่ งโรคภัยทเ่ี ขามาทาํ ใหเ ธอตอ งเจ็บปวดทกุ ขท รมานนชี้ างโหดรายเสยี จริง ๆ
แมร า งกายของเธอตอ งทนทกุ ข แตเ ธอไดใชช ีวิตอยางมคี ณุ ภาพจรงิ ๆ โดยเฉพาะเธอนกึ ถงึ ประโยชน
ของผอู ่นื และสังคมกอนตัวเองเสมอมา ความเจบ็ ปว ยสอนเธอใหใชช วี ิตทมี่ เี ปาหมาย ทําประโยชน
ตลอดเวลา ใชช ีวิตใหม ีความสุข ความเจบ็ ปวดมไิ ดท ําใหเ ธอยอ ทอ เธอเปน ตัวอยา งที่หายากย่ิง เธอรู
คณุ คา ของการมชี ีวติ และรูอยูใ หม ีคณุ คา ตลอดเวลา เธอมคี ุณแมที่เขม แขง็ ใหกาํ ลงั ใจและดูแลใกลชดิ
นน่ั คือ เธอเกดิ มาเพอ่ื ตระหนกั ถงึ คําสอนของพระพทุ ธองค ไดฝก การมีสติ การมสี มาธเิ อาชนะความ
เจบ็ ปวด การมปี ญญาใชช ีวติ ดวยการคดิ บวก แมแ ตความเจ็บปวดจากโรคภัยกไ็ มยอมใหมันมามี
อาํ นาจเหนอื ความรสู ึกของเธอได ขอยกยอ งผูหญิงคนน้ี ชีวติ เปนเชน นั้นเอง ขอใหบศุ รามคี วาม
เจบ็ ปวดนอ ยลง และใหคณุ พระศรรี ัตนไตรคมุ ครองใหบุศรามีชีวติ ยนื ยาวตอไปอกี นาน ๆ
ทายนี้ขอใหผ ทู ่ไี ดอานหนังสือเลม น้ี จงรักชวี ติ ของตนเอง มเี มตตาทําประโยชน ใหผอู น่ื
บา งกอ นทีเ่ ราจะไมมโี อกาส ปญหาทเ่ี ราพบเปน เร่ืองเล็กนอ ย เมอ่ื เทยี บกบั ความเจ็บปวดจากโรคภยั
ของบุศรา โมลา

รองศาสตราจารย ดร. พมิ ลพรรณ ประเสรฐิ วงษ เรพเพอร
12 ธนั วาคม 2558

คํานยิ ม
ความเจ็บปว ยเปน เร่ืองทที่ ุกคนตอ งประสบในชวี ติ โดยไมจ าํ กดั เพศ วยั บางคน
โชคดมี สี ขุ ภาพแขง็ แรง แตอยาชะลาใจ ภัยเงียบมาไดท กุ เวลา บางคนเปนโรคเรื้อรงั จะอยู
อยางไรกบั โรคอยางสนั ติ และสามารถใชช วี ิตประจาํ วันไดเปน ปกติ มคี วามสขุ ตามอัตภาพ
หนงั สือ “โรคสอนชีวติ ” เปน หนังสือท่ีมคี ุณคา เหมาะสาํ หรบั ผูอ า นทกุ คน เปน
อทุ าหรณส าํ หรบั คนมสี ุขภาพดใี หด แู ลตนเอง และอยา ละเลยตอเสียงเรยี กรอ งของรางกาย
เปน กําลังใจใหสําหรบั ผูป วยโรคเรอื้ รงั ใหอ ยกู บั โรคไดอ ยางสันติสุข ใชชวี ิตไดตามปกติ โดยหัน
มาเอาใจใส ดแู ล และใหเ วลากับตัวเองมากข้ึน เขาทํานองทวี่ า “ปวยกายแตอยา ปวยใจ”
บศุ รา โมลา เปนบุคคลทีม่ ีความอดทนยอดเย่ยี ม เธอตองตอ สูก บั ความเจ็บปวดครัง้
แลว คร้งั เลา กับโรคไตทเี่ ปน มานาน และโรคแทรกซอนตาง ๆ และโรคไตยังอยกู ับเธอตลอด
ชวี ติ การรกั ษาใจใหค ดิ บวก ใหเวลากับตวั เองมากขึน้ เอาใจใสด ูแลรางกาย เรยี นรู ท่จี ะ
ยอมรบั และเปนกําลงั ใจใหก ับตนเองน้ัน ทาํ ใหเธอเปนคนทเี่ ขมแขง็ มีจิตใจที่แข็งแกรง และ
รูจักใชช ีวิตอยางมคี ุณคา ทกุ วนั นถ้ี งึ เธอจะปว ยก็เพียงรางกาย เธอยังคงทําประโยชนต อ สงั คม
ทาํ หนา ทใ่ี หค วามรูแ กผูอนื่ ซึง่ เปน แบบอยางท่ีนายกยอ ง ขอใหเธอจงมสี ุขภาพแขง็ แรง รกั ษา
กาย รกั ษาใจ ใหม คี วามสขุ ไดท าํ ในสง่ิ ทต่ี นเองปรารถนาเทอญ

รองศาสตราจารย ดร. สนุ ีย กาศจํารูญ
11 พฤศจิกายน 2558

คาํ นิยม
ไดรบั รเู รอ่ื งราวของนอ งแมว ผานทางลกู ศิษยผ ูชว ยศาสตราจารย ดร. เชาวนี
ลอ งชผู ล ผเู ปน เพ่อื นของนองแมว แมว า จะไมไดพบนองแมวบอย ๆ แตก็ไดติดตาม
อาการของนอ งแมวมาโดยตลอด เม่ือไดต อบรับคําขอของนอ งแมว ใหเ ขียนคาํ นิยม
สําหรบั หนังสอื “โรคสอนชีวิต” กเ็ รม่ิ อา นหนงั สอื และอา นจบในเวลาไมน าน แตพ บวา
การเขยี นคาํ นยิ มใหห นงั สอื เลมนไ้ี มงายเลย จงึ เขียนดวยใจจรงิ ๆ
หนงั สอื เลมนีเ้ ปนเหมือนครูผูใชช ีวิตของตนเองสอนผอู านแบบกัลยาณมิตร
ผทู ่หี ยบิ ไปอาน ถือไดวา เปน ผูม ีบุญ หากมองเหน็ แลว ผานเลยไป ไมหยิบมาอานก็ถอื ได
วาพลาดการเรยี นรทู ด่ี ที ีส่ ดุ ไป และผมู บี ุญทไ่ี ดอานหนงั สอื เลมนแ้ี ลวเอาไปคดิ และเลอื ก
ปฏิบตั ใิ หเหมาะสมกบั ตนเอง ถือไดว าเปน ผมู ีบญุ มากท่ีสดุ เพราะหนังสือประเภทนี้
ไมไ ดห าอา นงา ย ๆ เปนการเขียนจากชวี ิตของผูเขียนท่ีจะเปน ประโยชนต อ ผูอานอยา ง
ทสี่ ุด เพราะทกุ คนไมสามารถหลีกพน ความเจบ็ และความตายได ในชวี ติ ของนองแมว
ตอ งเคยทําบญุ มามากมาย แตหนังสอื เลมน้ี ถอื ไดวา เปนการสรางบญุ อีกแบบหนึง่
เพราะจะเปน ครชู วี ติ ใหก ับผูอา น เพ่ือใหใ ชช วี ิตไดอ ยา งสมดลุ ระหวา งกายกบั จติ และใช
จติ นาํ กายไดอ ยา งสงา งาม

ขอแสดงความชน่ื ชมอยา งสงู
ศาสตราจารย ดร. ดาราวรรณ ตะ ปน ตา

20 กรกฏาคม 2562

คาํ นิยม
ต้ังแตรูจ ักกนั เมอ่ื ประมาณ 20 ปกอน แมวเปน ผหู ญิงทคี่ ลองแคลว วอ งไว คดิ เร็ว
ทาํ เร็ว เต็มไปดวยพลงั ถา ไมน ับการเจอกนั ครัง้ แรกทโ่ี รงพยาบาล ในฐานะพยาบาลก็แอบ
คดิ วา “ปวยแบบน้ี แตเ ธอยังบอกไดว า สบาย ๆ” .... เวลาผา นไป มิตรภาพทด่ี มี ีใหก นั
ตลอดมา เราชวนกนั เรียน ชวนกนั ทําวิจัย พัฒนางาน และส่ิงทบ่ี อกกบั แมวมาเสมอ คือ ดแู ล
ตวั เองดว ยนะ ฟง เสยี งของรา งกายดว ย เธอจะตอบมาเสมอวา “แมวมีเกาชีวติ ”
เมอ่ื กาลเวลาผานไป บทสนทนาระหวา งจึงเปล่ียนเปน “แมวเกา ชวี ิต ใชไปแลว กี่
ชวี ิต” ดวยความเปนเจา แมข อ มลู การดูแลตวั เองในฐานะผเู ชยี่ วชาญดานโรคไต (ประสบการณ
ตรง) ทําใหบทสนทนา แผนการรกั ษา และการดูแลตนเอง ระหวา งผปู วยโรคไตดีกรปี ริญญาโท
2 ใบ (แมว) และพยาบาลจติ เวช (แอน) เปน คนละมมุ มอง แตก ็เปนการมองคนละมุมอยาง
เขา ใจ และเคารพในการตัดสินใจของผปู ว ย ไมม น่ั ใจวา การสนทนาในระยะเวลาทผ่ี า นมา
โดยทีพ่ ยาบาลจติ เวช อยากใหผ ูปว ยอยกู บั โรคอยา งเขา ใจ (แอบใช CBT มาตลอด) จะชว ยให
ผปู ว ยมคี วามสขุ ทางใจ สามารถอดทนตอ ความเจบ็ ปวด และความเสอ่ื มของรา งกายตาม
กาลเวลาที่ตองเผชิญอยใู นทุก ๆ วนั ไดม ากนอยเพียงใด
ความหวงั ของพยาบาลจติ เวช คอื (1) ทุกขได (รูจักทกุ ขท ้ังกายและใจ มนั ผา นเขา
มาเดีย๋ วมันกจ็ ากเราไป รเู ทาทันความทุกขทางใจจากความคดิ ของเราเอง ถามตัวเองวาสิ่งที่
เราคิดวามันทุกขจรงิ มากนอ ยแคไ หน : Validating Negative Automatic Thoughts
คิดเปนอยา งอนื่ ไดห รอื เปลา : Variety และมปี ระโยชนท ีเ่ ราจะคิดใหทุกขหรือเปลา : Utility
(2) ปลอ ยบา ง (บางเร่อื งไมไ ดมีสาเหตมุ าจากเรา ขอแคใหร ับรูไมตองเก็บเอามาใหท กุ ขมาก
เกินไปจนใจจะทนไมไหว) (3) วางเปน (บางเหตเุ รากย็ ากทจ่ี ะหาคาํ ตอบ แมเ ราจะถาม
โชคชะตา จะโทษดนิ โทษฟา แตเ ม่ือเราพิจารณาจากตน เหตุของปญหา และเขาในในทุกส่ิงที่
เกิดอยา งเขา ใจ เรากต็ อ งรจู กั วางใหเ ปน ... ใคร วางไดก อ นก็จะพน ทกุ ขนัน้ ไดกอ น)
ยงั คงเปน กําลงั ใจดี ๆ เสมอ ใหเ ธอคนนี้ไดเดินบนเสนทางชีวิตทเ่ี ธอเลอื กเอง
คอยดแู ลประคบั ประคองสุขภาพกายและใจ ไมใหท กุ ขม าก เพราะทุกขกายตอ งเผชิญอยู
ทกุ วัน บางครัง้ เขาใจวา ทุกขมาก เจ็บปวดมาก ในใจก็บอกวา “เธอตอ งสู” (แตกไ็ มร ูวา จะให
เธอสกู บั อะไร ?) .... จะบอกวา “ขอใหดีข้ึน” (กร็ ูวาตามพยาธิสภาพของโรคมันตองดาํ เนินไป
ซง่ึ เปน คําตอบทีย่ ากเย็น สงิ่ ทีบ่ อกมาเสมอ คอื “สเู ทา ท่ีไหว” ไมทุกขกายทุกขใจมากจนเกิน
ทน ปลอ ยบา ง วางบา ง”

เพราะสุดทา ยของทุกคน คอื ทเ่ี ดียวกนั บทพสิ ูจนข องชวี ิต คือ เราทกุ คนตอ งพบ
กบั ความเจบ็ ปวย ความแกชรา และการจากลา เพียงแคเ ราไดเตรยี มตัว และใจของเรา
ไดม ากนอยแคไหน ? การตายดี ตายอยา งสมศักดิศ์ รีความเปน มนุษย และการจากไปไดท้ิง
อะไรดี ๆ ไวใหค นขา งหลังไดจดจาํ มากนอยแคไหน

ผชู ว ยศาสตราจารย ดร. เชาวนี ลอ งชผู ล
9 กรกฏาคม 2562

คาํ นยิ ม
นาํ้ ตาหยดสดุ ทา ย เจา ของงานเขยี น “โรคสอนชีวิต” << อยกู ับโรคอยา งไรใหกาย
ใจเปน สขุ >> เด็กหญงิ บุศรา โมลา “นองแมว” ลกู สาวคนเดยี วของคณุ พอ อาพร โมลา และ
คุณแมบ ุญสง โมลา ครูเริ่มรจู ักเดก็ หญงิ ไวผ มเปย 2 ขา ง ท่ีเขา มาเรยี นโรงเรียนบา นแมระหนั
พรอมพี่ ๆ ซ่ึงมีแตเด็กผชู าย ฉะนั้นไมแปลกใจเลยวา ทาํ ไมเดก็ หญงิ บุศรา จงึ มนี สิ ัยคลาย
เด็กผชู าย ซ่งึ เปน เดก็ ที่เขม แขง็ และอดทนมาก เปนเด็กที่มคี วามซนในระดบั ตน ๆ ของ
โรงเรียน มีเหตุใหต อ งเจบ็ ตวั ไดไ มเวนแตล ะวนั
จากลูกชาวนาที่เขา มาเรียนในชน้ั ประถมศกึ ษา จนจบระดบั ชั้น ป.6 และเขา ไป
สอบแขง ขนั เรยี นตอในโรงเรยี นสตรปี ระจาํ จงั หวัด (โรงเรยี นเฉลมิ ขวญั สตรี) ขณะทศี่ ึกษาตอ
ทน่ี ี่ ไดเ ปน ตวั แทนของโรงเรียน จงั หวัด และเขตการศึกษา ในการแขง ขนั กรฑี า จนไดร ับ
รางวลั พรอ มใบประกาศมากมาย ซง่ึ ตลอดระยะเวลาทผ่ี า นครเู ฝา ถาม ขา วคราวจากแม และ
เพ่อื น ๆ ติดตามความกาวหนาของลูกศษิ ย ทายทีส่ ดุ ครูและลกู ศษิ ย ก็จบการศึกษาระดบั
ปรญิ ญาโทสถาบนั เดยี วกัน คอื มหาวิทยาลัยนเรศวร และในขณะเดยี วกันครูกท็ ราบขา ววา
ลูกศษิ ยครูคนน้ี บศุ รา โมลา ปวยเปนโรคไตวายเรื้อรังระยะสดุ ทาย ถึงข้นั ตองลา งไตทาง
ชองทอง นัน่ คือ บทพิสูจนใหเ หน็ ถึงความอดทน และเขมแขง็ อยเู พอื่ “แม” .... ทร่ี ักเธอ
ยา งสุดหวั ใจ ครขู อเปน กําลงั ใจใหล กู ศิษยม ีความเขม แขง็ และอดทน อยูก บั “โรค” บน
“โลก” ใบน้ใี หไดน านที่สุดเทา ทจ่ี ะนานได เพื่อคนรอบขา งท่ีเธอรกั และเธอรกั สุดชีวิต
ขอใหห นงั สือทเ่ี ธอผูน้ีไดเขยี น เปนครูสําหรับผูปวยโรคตา ง ๆ ใหมีความอดทน และ
ไมดือ้ กบั คณุ หมอ ใหปฎบิ ตั ติ ัวตามคาํ แนะนาํ ของคุณหมอ และอยูบนโลกใบน้อี ยางมีสติ

ครอู ํานวย ปานสมบตั ิ
11 กรกฏาคม 2562

คาํ นิยม
คุณคาของงานเขียนน้ี มไิ ดอ ยทู ่คี วามหนา หรอื หมึกท่อี ยบู นกระดาษ แตเปน
คณุ คา ของ “การเรียนรูอนั ยิง่ ใหญจากประสบการณด ูแลตัวเองอยางเขาใจชวี ิตของ
ผเู ขียน” ซ่งึ ตองเปนผูปว ยโรคเรอ้ื รัง้ ตงั้ แตอ ายุยังนอย เปน ภาพสะทอ นของการเขา ถงึ
บรกิ ารทย่ี งั มชี อ งโหว ความอดทนกบั การดาํ เนนิ ของโรค การทาํ ความเขา ใจ การ
ปรบั ตัว ปรบั ใจกบั ความเจบ็ ปว ย อีกทงั้ ฉายภาพ ความรกั หลากหลายรปู แบบบนโลก
ใบน้ี ท่ีเปน แรงผลักดนั และกาํ ลังใจใหก าวขามผานชว งเวลาทย่ี ากลําบากคร้งั แลว ครัง้
เลา ประสบการณชีวติ และการเผชิญหนากบั ชดุ ความเจ็บปว ย ถกู ถา ยทอดอยา งเปน
ธรรมชาติ ทง้ั การอยูกบั โรคอยางเขาใจ คดิ บวก จนกลายเปน “โรคสอนชีวติ อยูกบั โรค
อยา งไรใหกายใจเปนสขุ ” ส่ิงสาํ คัญทีส่ ุดไมใ ชก ารหาคาํ ตอบวา งานเขียนน้พี ดู ถงึ
อะไรบา ง แตสาํ คัญทคี่ ณุ ไดอะไรหลงั จากอา นจบ... เปนกาํ ลังใจเสมอคะ

ผูชวยศาสตราจารย ดร. ภทั รมนัส มณจี ริ ะประการ
2 พฤศจิกายน 2558

คาํ นาํ

“เมอ่ื ทกุ ชวี ิตเมือ่ ลมื ตามาดูโลกตา งตอ งด้นิ รนเพือ่ ความอยรู อด ตอ งตอ สู
เผชญิ กบั ปญ หา และอปุ สรรคตา ง ๆ กาลเวลา มกั จะมาพรอมกบั ความเปลีย่ นแปลงใน
ชวี ิต” คนเราเกดิ มาบนโลกใบน้ี ...เพอ่ื อะไร ? เปน คาํ ถามงา ย ๆ แตไ ด ...มมุ มองและ
แงคิด

บางคน...เกิดมาเพ่อื ...หาความสุขใหชวี ิต
บางคน...เกดิ มาเพื่อ...อุทิศสรางกุศล
บางคน...เกดิ มาเพอื่ ...ขอแคไดเ ปน คน
บางคน...เกดิ มาเพอื่ ..หลดุ พน ไปนพิ พาน
บางคน...เกิดมาเพื่อ...สานฝน สรา งผลงาน
บางคน....เกดิ มาเพ่อื ...เปน อนั ธพาลมถี มไป
แลว ตําตอบทจี่ ริง...อยทู ไ่ี หน ?
ไมมีใครตอบได นอกจาก “ตวั ...ของตวั เอง”

สําหรับ “ฉนั ” เกิดมาเพือ่ << ชดใชก รรมอนั เกดิ จากการกระทาํ ของชวี ติ

เรยี นรถู ูกผิด และทาํ ชีวิตใหมคี ุณคาอยา งมสี ติในทุก ๆ วนิ าที >> ไมป ระมาทในชวี ติ
กับวนั เวลาท่ียังเหลืออยู เพราะทุก ๆ วินาทขี องชวี ติ อาจเปน การหายใจครงั้ สุดทา ยใน
ชวี ิตของเราก็เปน ได หากเราไดเรียนรูภายในจิตใจของตนเอง ไดวา “สขุ และทุกขเ ปน
เชน ไร ?” เรากจ็ ะสามารถปลอ ยวางทุก ๆ สิ่งท่เี กดิ ขน้ึ ในชวี ติ เราได เมอื่ เราวางไดใจเรา
ก็จะมีพืน้ ท่ีวางเพอ่ื รบั “สุขและทกุ ขใ หม” ทจ่ี ะผา นเขา มาในชวี ติ เราได ในทุก ๆ วนั
ไมม ีส่ิงใดท่ีเปนของเรา และไมม สี งิ่ ใดทีจ่ ะอยูก บั เราไดต ลอดไป แมแ ตร างกายของเรา
เพราะสดุ ทา ยของทกุ ชวี ิต คงหนีไมพ น “ความตาย” ทเ่ี ปน จดุ จบของทุกชีวติ

หลายชีวิตถอื กาํ เนิด และเตบิ โตมาบนเสน ทางชวี ติ ทส่ี วยสดงดงาม ทา มกลาง
ความพรอ มทางครอบครวั และสงั คม ไมต องด้ินรนฟน ฝา ไขวค วา กไ็ ดม าซึ่งความสขุ
และสิง่ ที่ตนเองตอ งการ และอกี หลาย ๆ ชวี ิตทถ่ี ือกาํ เนิด และเตบิ โตมาบนเสน ทางชวี ติ
ทแ่ี สนลาํ บาก ยากเข็ญ ตองตอสดู ิ้นรนฟนฝา ไขวค วา ใหไ ดม า ซง่ึ ความสขุ และสงิ่ ท่ี
ตนเองตองการ และน่คี อื ...ความแตกตา งในชวี ติ ท่ที กุ ชีวติ ตอ งยอมรับ เรยี นรู และอยู

กับส่ิงท่ี มีและเปน ใหไ ด เสน ทางเดนิ ชวี ิตของคนแตล ะคน ไมเ หมอื นและไมเ ทา กนั
แตท ุกคนเกิดมายอมมเี สนทางฝน ของตวั เอง อาจมีเปาหมาย และฝน เดียวกนั แตว ธิ ีการ
เดนิ ทางไปสเู สน ทางแหง ความฝน น้ันแตกตางกัน บางคนอาจเดนิ ทางไปสทู างสายฝน
อนั รวดเรว็ แตบ างคนอาจเดนิ หลงทางครั้งแลวครัง้ เลา กวา จะไปถึงปลายทางฝน นัน้

“ฉนั ” ก็เปนหนึ่งในหลายคน ๆ ที่เกิดมาทามการเสน ทางชวี ติ ท่ี แสนลาํ บาก

ยากเขญ็ ตอ งตอ สดู น้ิ รนฟน ฝา ไขวค วา ใหไ ดม า ซ่งึ ความสุขและส่ิงทีต่ นเองตองการ
มีความฝน และมคี วามพยายามท่ีจะเดนิ ตามเสนทางฝน แตการเดนิ ทางของชีวิต ก็มกั มี
ชุดเหตกุ ารณตา ง ๆ ทีเ่ กดิ ขึน้ ทาํ ใหไ มส ามารถเดนิ ทางไปสูค วามฝนของตัวเองได แตก ็
ไมไดทําใหชวี ติ เราหมดเสน ทางเดินไปสูค วามฝน เม่ือไปสฝู น ทีห่ นง่ึ ไมได ก็ตอ งยอมรบั
ความจรงิ ท่ีเกดิ ข้นึ ในชีวติ ใหได และมองหาเสนทางฝน ใหมต อ ไป ทผ่ี า นมาฉนั อาจใช
ชวี ติ ดว ยความประมาท ไมเคยสนใจถึงการมีชีวิตอยู หรอื คุณคา ของการใชชีวิตของ
ตวั เอง เดนิ ตามหาฝน แบบไรท ศิ ทาง อยไู ปวนั ๆ ทําทุกสง่ิ เพ่อื ตอบสนองความตอ งการ
จติ ใจตัวเอง ทําแตในสง่ิ ทต่ี วั เองตอ งการ ไมสนใจวาใครจะคิดอยางไร คดิ แคเพยี งวาสิ่ง
ทที่ าํ ไมไดสรา งความเดือดรอ นใหใ ครแคนัน้ พอ มุงหนา เดนิ ไปตามทางฝน ของตัวเอง
เพียงอยางเดียว จนทําใหเกดิ จุดเปล่ียนในชวี ติ มากมาย

42 ป ในการใชช วี ิตของฉัน มีเร่อื งราวเหตกุ ารณม ากมายทผี่ านมาในชีวิต

“ท้งั สขุ และทกุ ข- ผานความเปน ความตาย” คร้ังแลว ครง้ั เลา “ทุกความเจ็บปวด
ทกุ ความทรมาน” ท่ีเกดิ ขึ้น เปน “ครูทีด่ ีท่สี ุดทส่ี อนเรอ่ื งการใชชวี ติ ในทกุ ๆ วัน”
หนังสือเลม น้ีเขยี นขนึ้ จากประสบการณในการตอสูและใชช ีวติ ของผูหญิง

คนหนึ่งทีเ่ กดิ มาในครอบครัวเล็ก ๆ ของ “ลูกชาวนา” ท่ีดิน้ รน ตอสู และฟน ฝา กบั

ทกุ ปญหาที่ผานเขา มา เพ่อื รกั ษาลมหายใจและชีวิต อาจทําใหเกดิ แงค ิดและกาํ ลงั ใจ
ในการใชช วี ติ ใหแ กห ลาย ๆ คน

“น้าํ ตาหยดสุดทาย”
18 ตลุ าคม 2560

สารบัญ

ย อ น อ ดี ต

จุ ด เ ป ลี่ ย น ข อ ง ชี วิ ต

ทม่ี าของนามปากกา “นํา้ ตาหยดสดุ ทาย”
บทพิสจู น...ความอดทน
ยิ้มใหต วั เอง...ในวนั ท่ีใจมนั ออนลา
หวั ใจทีแ่ ขง็ แกรงทําใหฉนั มีแรงกา วเดินตอไป
อยกู ับความทกุ ขใหมสี ขุ ไดอ ยางไร
โลกสดใสในทกุ ๆ วนั <<ชวี ติ ใหม...กบั วนั ใหม>>
ความเจบ็ ปว ย...คอื ..ลาภอันประเสริฐ
ชวี ติ ..ทกุ ขได ก็ตอ งทนได ตองเขมแข็งใหไ ด
ทุกขห รือสขุ ..อยูที่ใจของเราเอง
เม่อื รูจกั วาง...ก็จะเพิ่มท่ีวา งใหช ีวติ
ความในใจของผูปวยโรคไตวายเร้ือรงั ทแ่ี สนด้ือ
อยูกบั โรคดวยกัลยาณมติ ร

ก า ว ข า ม ผ า น คาํ ว า ต า ย

ก า ร สู ญ เ สี ย ท่ี ไ ม เ สี ย ศู น ย

เ ต รี ย ม ตั ว เ ผ ชิ ญ ค ว า ม ต า ย อ ย า ง มี ศั ก ด์ิ ศ รี

ย อ น อ ดี ต

ร า ก เ ห ง า...ลู ก ช า ว น า

วันองั คารท่ี 18 ตลุ าคม 2520 เปนวันทีผ่ ูหญงิ อายุวยั 25 ป คนหนึง่ กําลังนอน
เจบ็ ปวด ทกุ ขท รมาน อยา งแสนเสาหสั อยบู นเตยี งนอนของโรงพยาบาล เฝา แตถ าม
ตวั เองตลอดเวลาวา “เมอ่ื ใดเลาฉันจะพนผา นความเจบ็ ปวดน้ไี ปเสียที” จนกระทง่ั เวลา
11.44 น. เสยี งรอ งของเด็กหญงิ คนหนึง่ ก็ดังข้นึ มา ความเจบ็ ปวด ความทกุ ขทรมาน
อยา งแสนสาหัสก็จบสน้ิ ลงในทันที จากนัน้ พยาบาลกอ็ มุ เดก็ นอ ยตวั เหยี่ ว ๆ หนงั ยน ๆ
คนหนง่ึ (คงจะนาเกลียดพอสมควรเนอะ...อันนี้ตองถามแมวา มนั นาเกลยี ดแคไหน..ตอบ
เองไมไ ด) ความเหี่ยว ๆ ยน ๆ นี่เองเปน ทมี่ าของชือ่ เดก็ นอยคนนี้ “เด็กหญิง แมว” หรอื
“นอ งแมว” ของบรรดาพี่ชายทง้ั 3 คน

เดก็ นอ ย คอย ๆ หดั คว่ํา หัด คลาน หัดเดิน หดั วิ่ง หัดพดู เริม่ เรียนรสู ิ่งตา ง ๆ

ท่ีอยรู อบตัว เตบิ โตมาทามกลางธรรมชาตทิ ่ีเปนทอ งทงุ นา อนั เขียวขจี มบี อ น้ํา คลอง
และบึง ไวใหกินใหใช (นา้ํ ประปา คอื อะไรไมร จู ัก) มีกุง หอย ปู ปลา เต็มไปหมด
ชางนา อศั จรรยเสยี จรงิ ๆ แคอยากกินปลาก็เหน็ พอ กบั แมเ อาตาขายไปวางในนาํ้ ก็มปี ลา
ตดิ มาเตม็ เลย อยากกินหอยพอแมก ไ็ ปงม ๆ ในนาํ้ ก็ไดห อยมากนิ อยากกินปูกนิ กงุ พอกบั
แมกเ็ อาลอบเอาไทรไปดักก็ไดป ไู ดกุงมากิน พืชผกั นานาพันธุหาเกบ็ กนิ ไดรอบรั้วบาน

แตละวนั เดก็ นอยก็จะเห็นวิถีชวี ติ ความเรยี บงา ยของคนในครอบครัว ทีต่ ื่นมา

ตั้งแตไ กโ ห (พูดกันจังคําน้ี เดก็ นอย ก็งง ๆ วา ไอไ กโ หเน่ียมันเปนอยา งไร แตก ช็ างเถอะไก
โหก ป็ ลอยใหม นั โหไป) วา แตพ อ กบั แมจ ะตน่ื มาทาํ ไมนะกไ็ มรสู นิ ะ พอเดก็ นอยลืมตามาก็
เหน็ แตแ สงอะไรไมร ูม าทม้ิ ตา แสบตาเสียจริง ไมอ ยากลมื ตาเลย พอลืมตาเสร็จแมก บั
ยายก็มาอมุ ไปปอนขาว ปอ นนํา้ (ชวี ติ ดด๊ี .ี ..สบายทส่ี ดุ ลมื ตามากม็ คี นเอาขา วเอานาํ้ ใสป าก
ใหไ มรกู นิ อะไรไปบา งแตก ค็ งอรอ ยเนอะถงึ ไดโ ตมาขนาดน้ี

ทกุ ๆ วนั กจ็ ะเหน็ พอ กบั แมเดนิ ไปกลางทงุ มคี นั ก้ันเปนชวง ๆ เปน ตาราง ๆ

ในตารางมีนาํ้ ดว ย เด็กนอยก็สงสยั วาท่ีเหน็ เขาเรียกอะไร “พอกับแมก็บอกวา เรยี กวา
“นา” คันทกี่ ัน้ เรียกวา “คันนา” ที่อยูตรงกลางตามคันนากั้น เรียกวา “บิ้งนา” แลว สงิ่ ท่ี
พอ กบั แมก าํ ลังทํา เรียกกนั วา “ทาํ นา” (เด็กนอยทาํ หนา เหมอื นเขา ใจ แตม ันเปน อยา งไร
ก็ไมร สู ินะ “นา” มันเยอะแทอ ะไรไมร ู พอ แมว า ไงก็ตามนั้นละ)

วันหนึ่ง...เด็กนอ ยเห็น พอกบั แมใชอ ะไรไมรูเสียงมันดัง๊ ดัง มีสายยาว ๆ

ตอมากับอะไรอีกกไ็ มรู มีนํา้ ออกมาดวย แตจะเปน อะไรก็ชา งเถอะ ทีร่ ู ๆ คอื นํา้ ทไ่ี หล
ออกมาใสมาก (นกึ ในใจ...เสร็จฉันละ ) เดก็ นอยไมรอรีรีบลงไปเกลอื กกล้งิ นอนเลนใน
รอ งนา้ํ ทม่ี ีนา้ํ ไหลออกมาในทันที (ชวี ติ สนุกสนานดแี ทน้าํ มาจากไหนเนี่ย เย็นจรงิ ๆ ชื่นใจ
ท่สี ุด) เลนนํา้ เสร็จกว็ งิ่ เลนไปตามคนั นา แตเอะ !! เม่ือวานทเี่ ราเหน็ ท่ีพอ กบั แมบอกวามนั
เปน “บง้ิ นา” มีนาํ้ ขังเต็มเลย มนั มาจากไหน ความเปนเด็กชา งสงั เกต (ไมไดอยากรอู ยาก
เหน็ นะ) กเ็ ดนิ สาํ รวจไปตามคนั นา กพ็ บวา นน่ั แนม นั มาจากรอ งนาํ้ นเ่ี อง กเ็ ดนิ ตามรอ งไป
เรอ่ื ย ๆ ก็ถึงบางออวาน้ําทีข่ ังในบ้ิงนา มันมากจากน้าํ ที่เราเลน น้ีเอง เด็กนอยกโ็ ลดแลน
ดว ยความเรว็ ไปตามคันนาเพอื่ ถามพอกับแมว า ทีท่ าํ อยูพ อกบั แมท าํ อะไร ? พอกับแมก็
ตอบวา “วิดนาํ้ เขา นา” (โอว !! ศัพทใ หม ไมเ ปนไร อยา งไรกล็ งทา ยดว ย...นา) ไมร อชา
มนั คางคาในใจ เดก็ นอ ยรีบถามพอ กับแมท นั ทีวา ไอท่ีมันเสียงดงั ๆ มีสายยาว ๆ ตอกับ
อะไรสกั อยา ง และมนี ้าํ ไหลออกมามันคอื อะไร ? พอ กับแมก ็บอกวา นน่ั คอื “รถไถนา”
สายยาว ๆ เรียกวา “สายพาน” ทย่ี าว ๆ มนี ้าํ ไหลออกมา เรียกวา “ทอ” (วนั นี้เลน เอา
เด็กนอยงงไปเลย เจอศัพทใหมเยอะจริง) แลวเด็กนอยกเ็ ริงรา ทาแดดทา ลมบนคันนาอัน
กวา งใหญตอไป

วันถดั มา ...เด็กนอ ยกอ็ อกสาํ รวจผนื นาตามพอ กับแมเปน ปกติเชน ทุกวนั

แต เอะ !! วนั น้ีทาํ ไมพอกับแมเอารถไถนาลงไปทาํ อะไรในบิ้งนาละเนี่ย ? (งงแฮะ) กถ็ าม
วา พอกับแมท ําอะไร พอ กับแมก็ตอบวา “ไถนา” โดยใช “ผาน” ไถนาเสร็จกจ็ ะตอง
“คราดนา” โดยเปลย่ี นจากผานเปน “คราด” คราดเสร็จก็จะ “รดู เทอื กนา” โดยใช
“ไมแ ปร” เลน เอาเด็กนอ ยมนึ เลยทเี ดยี ว พอ กบั แมก ็เลา วิธีการทาํ นาใหเ ดก็ นอ ยฟงวา
หลังจากรูดเทอื กเสรจ็ ก็ตองเอาเมลด็ ขา วไปแชน ้ํา แลว เอาขึ้นมาเพาะใหเ มล็ดมันงอก
สกั 2-3 วนั หลงั จากนน้ั กเ็ อามาใส “กระบงุ ” หวา นไปในบง้ิ นา หลงั จากนน้ั ใช “ไห”
ชกั รอ งนํ้าในบิง้ นาแตล ะบิ้ง เพ่อื เอาไวระบายน้ําออกจากบิง้ นา (พอกบั แมท ําอะไรกันเนีย่
ยุงยากแท) ตน ขา วก็จะคอย ๆ โตข้นึ เร่ือย ๆ เราก็ตอ งดแู ละไมใ ห “หนอน /
เพล้ยี ” หรอื แมลงตา ง ๆ มาเกาะกนิ ตน ขา ว (วันน้เี ลนเอาเดก็ นอยเพลียกับกรรมวิธกี าร
ทาํ นาของพอ กบั แม)

วันเวลาผา นไป... ตน ขาวก็เรม่ิ เตบิ โต (ไมน าเชือ่ จากเมลด็ ขาวเปลือกเมล็ด

เลก็ ๆ เหลอื ง ๆ มันจะกลายเปนสีเขยี วได (โอว !! พอกบั แมฉ นั เกงทส่ี ุดเลย) สขุ ใดไหนจะ
เทาไดโ ลดแรนทามกลางทุงนาอนั เขียวขจที ่ีพอ กบั แมฉ นั สรางมา 2 เดือนกวา ๆ ผานไป
ตนขา วอันเขยี วขจี ก็มีอะไรไมรแู ตกออกมาจากปลายยอดตนขา ว เดก็ นอ ยไมร อชารีบถาม
พอกบั แมในทนั ที นีอ่ ะไร ? พอ กับแมก ็ตอบวา “รวงขา ว” ขาวออกรวงแลวรอมันแกเปน
สเี หลอื งทองเม่ือไร เราจะได “เกีย่ วขาว” แลว (เด็กนอยใจพองโต อยากเห็นเสียจริงวา
ขา วเปนสเี หลืองทองเนย่ี มันเปนอยาง จะสวยสูสีเขียวขจีที่เด็กนอยเหน็ อยหู รอื เปลา)

แลว วนั ทเ่ี ดก็ นอ ยรอคอย ...กม็ าถึง วนั ทีท่ ัง้ ทอ งทงุ ผนื นาของพอ กบั แมม ี

เมล็ดขา วทีอ่ วบเตงมสี เี หลืองทองอรา ม งามตายงิ่ นัก (สเี หลอื งทองมนั เปน แบบน้นี เ่ี อง)
พอกับแมก ็อธิบายวา หลงั จากน้ีเราจะ “เกย่ี วขาว” โดยการเอา “เคยี ว” มาเกย่ี วตนขาว
แลว เอามาวางเปน “ตบั ” ตากแดดไว 1-2 วนั เมอ่ื ขาวทีเ่ กย่ี วแหง กต็ อ ง “หอบขาว”
โดยการใช “ตอก” มัดเปน “ฝอ น” หลงั จากนน้ั เอา “ไมค นั หลาว” (ไมไ ผย าวสกั
ประมาณ 2 เมตร ท่มี ีปลายแหลมท้งั 2 ดา น) เสียบไปท่ฝี อ นขา วดา นละฝอน แลวหาบไป
กองตามจดุ ตางใน บิ้งนา หลงั จากน้ันกใ็ ช “รถสขี า ว” แยกตน ขา ว เรยี กวา “ฟางขา ว”
ออกจากเมลด็ ขา ว เรยี กวา “ขาวเปลอื ก” แลว เอาขาวเปลอื กไปขายจึงจะไดเ งินมาใช
(เด็กนอยคิดในใจมันยุงยากลําบากจงั กวาพอ กับแมจ ะไดเงินมาใหเรากินขนม)

สิ่งทีเ่ ดก็ นอยเหน็ สง่ิ ท่ีเดก็ นอ ยสมั ผัสต้ังแตเ ปนเดก็ นอยในชวี ิต “ครอบครวั

ชาวนา” มนั เปนวถิ ีชวี ิตที่เรยี บงาย มคี วามสขุ ในผืนแผน ดินเกดิ ผนื แผนดนิ ทพี่ อ กับหกั
รางถางพง จนกลายเปนผืนนาทก่ี วางใหญ ขาวทกุ ตน ขา วทุกเมลด็ ทพี่ อแมปลกู มนั แลก
มาดวย หยาดเหงือ่ แรงใจของพอ แม ผลผลติ ท่ีไดเ พียงแคแ ลกมาซง่ึ เงินตรา เอามาเลี้ยงดู
ครอบครัว เพื่อความสุขสบาย อนาคตของลูก ๆ

ภาพทุกภาพ เหตุการณท ุกเหตกุ ารณใ นแตล ะวนั ทเ่ี กดิ ขึ้น มันตราตรงึ อยใู นใจ
ของเดก็ นอ ยอยตู ลอดเวลา ความสุขทบ่ี รสิ ทุ ธิ์ ความสุขที่หาไดร อบ ๆ ตัว มันชางแสนมี
คณุ คา มากมายนกั การเรียนรูจ ากชวี ติ จริงมนั เปน สมบตั ิอนั เลอคาทพ่ี อแมใ หมาโดย
ไมรตู วั

“ความสุขในชวี ติ หาไดรอบ ๆ ตัว ถา เราเขาใจในสิง่ ท่เี ปน ”

ย อ น อ ดี ต

ค ว า ม สุ ข จ า ก ผื น น า

ทุกวัน เดก็ นอ ยก็จะเรงิ รา ว่งิ ทา ลม ฝา แดด ตามพ่ี ๆ และผูเปน บิดรและมารดา

ออกไปกลางทงุ นาอนั เขยี วขจี สสี นั ของตน ขา วเปน ภาพวาดอนั สวยสดงดงาม ตระการตา
ย่ิงนักสําหรับเดก็ นอ ย สายลมทีพ่ ดั ผานกลางทงุ นา ฝูงนกท่ีโบยบนิ หากินตามยอดหญา
และยอดขา วมนั เปน ภาพความทรงจาํ อนั งดงาม

“ นา” คอื แหลง เรียนรชู วี ติ หลอหลอมความคิด จติ ใจของเดก็ นอ ย เธอจะมี

ความสขุ ทกุ ครงั้ ที่ไดอ อกไปสาํ รวจผืนนาของพอ แม ทุกกิจกรรมทีพ่ อแมทํา มนั ทําใหเดก็
นอ ยตื่นเตน อยตู ลอดเวลา ในบงิ้ นาของพอแมมีทั้งขา ว มที ้ังกงุ หอย ปู ปลา นานาชนดิ
อยากกินอะไรกห็ าจบั ไดต ามรองนํ้ารอบ ๆ ทุงนา อยากกินผัก ก็มผี ักใหเ ก็บกนิ รอบทุง
เงนิ คือ อะไรเด็กนอยไมรูจกั ความสุขการดําเนนิ ชวี ิตในแตล ะวนั ไมตองแลกมาดวย
เงินตรา แตไดมาจากธรรมชาตทิ ่ีอยูรอบตวั ของเลน ไดม าจากตน ไม ตน หญา กองฟาง
และดนิ เหนยี ว อยากไดอ ะไรกป็ น เอา แลว กต็ ากแดดรอจนหวา จะแหง กเ็ อามาเลน อยาก
เลนสไลดเ ดอรก ป็ นไปบนยอดกองฟางแลว กท็ ้ิงตวั ลงมา แคนีก้ ท็ ําใหส นกุ เพลดิ เพลนิ กันได
ท้งั วนั อยากวา ยน้ําก็กระโดดคลองขางบา น (บอน้าํ ของฉนั กวางใหญเหลือเกิน)

วิถีชวี ติ ท่ีอยกู ับธรรมชาติ เปนแหลงเรยี นรชู วี ติ อันกวางใหญไพศาลให เดก็

นอ ยไดเรียนรูมิรจู บ พ้นื ทท่ี ุกตารางเมตรบรเิ วณรอบบา น และอาณาเขตใกลเ คยี งไมม ี
ตารางเมตรไหนเลย ท่เี ด็กนอ ยไมเคยวง่ิ ออกไปสัมผสั มัน ตน ไม ดอกไม ยอดหญา ผีเส้ือ
แมงปอ คอื เพ่อื นเลนท่ีดีท่สี ดุ ของเธอ และส่งิ ทเ่ี ด็กนอยโปรดปรานมากทีส่ ดุ ในบรรดาของ
เลน เหลา นี้ คงจะเปน อะไรไปไมได ถาไมใช ตน ไม อนั สงู ใหญน านาพนั ธุ เพราะเธอมี
ความสามารถทโ่ี ดดเดน ในเรอ่ื งของการ “ปน ตนไม” แมจ ะตองหลน ตอ งตกลงมาหลาย
ครัง้ หลายคราก็ไมไดทาํ ใหเธอเกิดความกลัวเลยแมแ ตนอย ดวยทกั ษะการเคลอ่ื นไหวตวั ท่ี
รวดเร็ว (แบบหาตัวจับยาก) ไมคอยจะอยนู ิ่งสักเทาไร (คนอน่ื ชอบมกั บอกวา “ซน”)

ย อ น อ ดี ต

วี ร ก ร ร ม ข อ ง เ ด็ ก ห ญิ ง บุ ศ ร า

เดก็ นอย พยายามบอกกบั ใคร ๆ วา “เธอไมไ ดซ น แคไมชอบอยูน่งิ ๆ เธอ

ไมไ ดซ ุม ซาม แตข องมนั วางขวางทางว่ิงเธอเอง” ก็ดูเหมือนจะไมม ีใครเชอ่ื เลย เด็กนอ ย
กไ็ ดแ ตถ อนหายใจแลว พูดคําวา “เฮย !!...มันยากจังเนอะไมเขา ใจกันบา งเลย” ทาํ ไงได
“เพราะชีวติ มนั คอื การเรยี นรู” ในแตล ะวันเดก็ นอ ยก็จะออกสํารวจตน ขา ว ตนไม
ใบหญา ในพ้นื ท่แี ปลงนา อาณาจักรอันกวา งใหญข องเธอ วนั หน่งึ เธอกว็ ิ่งตามพ่ี ๆ ไปเลน
กลางทุงนา เหน็ พี่ ๆ ปน ขนึ้ ไปบนยอดตนกระทมุ ตน ใหญท ีข่ นึ้ อยกู ลางทงุ นา ขนึ้ -ลง ๆ กนั
หลายหนและบอกวา “มีลูกนกเอี้ยงดว ย” ในใจกค็ ดิ วา “ลกู นกเอย้ี งหนาตามันเปน
อยา งไรละ ” ก็ถามพ่ี ๆ กไ็ มไดค าํ ตอบ << ดวยความเปน เดก็ ทีอ่ ยากรตู องหาคาํ ตอบ >>
ก็คิดวธิ ีวา จะทาํ อยางไรจะไดเห็นหนาลกู นกเอยี้ งบา ง เด็กนอยก็เรมิ่ สาํ รวจที่โคนตน
กระทุม และเรมิ่ หาทางมงุ ไปสเู ปาหมาย คือ รังของนกเอ้ยี งรงั นน้ั ทอ่ี ยูบนยอดตนกระทมุ
ทนั ทที ี่พ่ี ๆ เผลอเดก็ นอ ยก็เร่มิ ปนข้นึ ตน กระทมุ จนไดเห็นลกู นกเอย้ี ง พิจารณาหนา ตาเจา
นอยนกจนสมใจ ถงึ คราวทจี่ ะลงจากยอดตนกระทมุ (เอาละ สิ...งานเขา ละ คราวน้ี ดแู ต
ตอนพี่ ๆ ปนขึน้ แตไมไ ดดูตอนพีป่ น ลง ทําไงดี ?) จะเรยี กพ่ีก็กลวั พจ่ี ะตที ีแ่ อบปน ข้นึ ไป
เธอกโ็ รยตัวลงมาจากยอดกระทุมทันทีท่ลี งมาถึงพ้นื เธอก็แหกปากรอ งลั่นทุงเพราะโดน
หนอนลา น โดนกิ่งไมข ว น เปน เหตุใหพชี่ ายทงั้ 3 ตอ งเดินเรียงแถวถกู ไมเรยี วตาม ๆ กัน

วีรกรรมบนยอดไม ยังไมห มด วันหนงึ่ ณ บานปา เด็กนอยวง่ิ เลน อยกู ับบรรดา

พี่ชายทงั้ 3 ตามกจิ วัตรประจาํ วัน เมอ่ื เหนอ่ื ยจากการเลน กเ็ ริม่ หวิ พวกเรากเ็ ริ่มสํารวจ
บริเวณบา นปา วา มอี ะไรกนิ ไดบ า ง ? ทันใดนน้ั ...พี่ชายคนโตก็เหลือบไปเห็นตนมะละกอ
ตน สูงใหญพอ ๆ กับหลงั คาของยุงเกบ็ ขาว มนั มีมะละกอสกุ ดวย ตา งก็พากันไปหาไมมา
สอย แตก็ไมส ามารถสอยมนั ไดเพราะมนั อยูส งู มาก แลวจะทาํ อยา งจะไดก นิ ก็นง่ั คิดกนั
4 คน พี่นอง “พ่ี ๆ ลงมตเิ ปนเอกฉันทวา ใหนอ งเลก็ คนสุดทอง ปนข้นึ ไปเกบ็ ลงมา พี่ ๆ
จะใชก ระสอบปานรองอยขู า งลา ง” (ออิ ิ...สนกุ ฉันละ เดก็ นอ ยนึกในใจ เร่ืองปน ๆ ปาย ๆ
ของหมู ๆ) ดวยความสามารถของเธอเปาหมายคร้ังน้ีจึงไมใ ชเ รอื่ งยาก เธอปนขน้ึ ไปจน
เด็ดมะละกอสุกโยนมาใหพ ่ี ๆ ไดตามแผนทวี่ างไวท กุ ประการ มะละกอตกลงบนกระสอบ
ปา นไมมีชาํ้ เลยสกั นดิ “เย !! สาํ เรจ็ แลว” พ่ี ๆ ไดมะละกอแลวก็แยกยา ยเตรียมจะเอาไป

กนิ แต เด็กนอยตองถงึ กับจะรอ งไห เอาอกี แลว จะลงยงั ไงอะ (ทกั ษะการปนขึน้ เนี่ยหาใคร
เทียบเทียมยาก) ทกั ษะการลงเน่ียไมม เี ลย พ่ี ๆ กไ็ มม ีใครชวยอะไรได ตะโกนบอกเพยี งแค
ลงมาเลย เดี๋ยวปามาจะโดนตี คราวนี้ละดวยความกลัวก็โรยตัวลงมาเหมือนเดิม เพราะ
เปน ทักษะเดียวทีม่ ี พอลงมาถึงพื้นไมตองพดู เลย แหกปากรอ งเหมอื นเดินดวยความเจบ็
เพราะต้ังแตหนา อกลงมาถงึ ทอ งเปนแผลถลอก เลือดไหลซบิ ๆ เลยทีเดยี ว สรุปวา
มะละกอสกุ ก็ไมไ ดกนิ แถมเจบ็ ตวั อกี ตา งหาก พอปากลบั มาเหน็ หลานสาวเจบ็ ตวั พีช่ าย
ทง้ั 3 ก็ โดนไมเรียวไปตาม ๆ กันดังเชนเคย (ออิ ิ...สมนาํ้ หนา กินกนั อิม่ แตเ ราอด)

ทุกวัน เดก็ นอยจะสรา งวรี กรรมเดด็ ๆ ไมมีหยดุ หยอน (ความสามารถพเิ ศษ

ของเธอเยอะเกนิ เดก็ ธรรมดาทว่ั ไปในวยั เดยี วกนั ) เธอมสี ามารถในการปน ปา ยขน้ึ บน
จกั รยานที่แมถบี โดยทีแ่ มไมต อ งจอด ตน ไมท กุ ตน ท่ีมีในบรเิ วณบา น และทงุ นา ไมมีตน
ไหนเลยที่เธอไมเคยขึ้นเปนสํารวจ (เปนนักสํารวจตัวนอยประจาํ บาน) สิง่ ใดท่ีพอกับแม
บอกวา อยาทาํ นะลูก อยาไปนะลกู เดก็ นอยผนู ี้เปน คนวานอ ยสอนไงงาย ก็ตกปากรับคํา
วา “จะ” ทกุ ครง้ั ไปท่พี อและแมเ ตอื นและสอน แต ทนั ทที ผ่ี ูเปนพอ และแมห ันหลังให
เธอก็จะลงมือปฏบิ ัตทิ ันที ถาบอกใหเดนิ ไปซายเธอก็ไปเดนิ ไปทางขวา ถา บอกใหเ ธอ
เดนิ หนาเธอกจ็ ะถอยหลัง ถาบอกใหเดินชา ๆ เธอกจ็ ะวงิ่ ทันที สงิ่ ใดทไ่ี มใหท ําเธอก็จะทํา
โดยเร็ว (ไมไ ดด ้ือนะ...แตม ีความคดิ เปนของตัวเองมาแตเ ล็กแตน อ ย) สรปุ วาถา เธอไมเ จ็บ
ตัวเธอจะไมม ที างหยดุ ทําในสิ่งท่ีเธอตอ งการทาํ

เม่อื ถึงวยั ..เขา โรงเรยี นอนบุ าล ไปเรยี นได 3 วัน เด็กนอยผูมคี วามคลองแคลว

วอ งไว ในการเคล่อื นไหวมากกวาคนปกติทมี่ ี ออกมาวิ่งเลน ตอนพักกลางวันกับเพอ่ื น ๆ
วง่ิ ไปวง่ิ มาดว ยความสนกุ สนาน เอะ ... !! เงาอะไรดาํ ๆ อยูตรงหนา เงยหนา มาเอามอื ไป
จบั เฮย !! … นม่ี นั เลอื ดนน่ี า ใครเอาเสาอาคารเรยี นมาขวางทางวง่ิ ของเราเนย่ี ? ทาํ ไงได
มันหลบไมท ันแลว จะรองกร็ อ งไมไ ดก ลวั ครูตี ตองเกบ็ นา้ํ ตาเอาไวอยาใหใ ครเห็น สรปุ โดน
จัดไป 4 เขม็ แคน ัน้ เอง จบ๊ิ จบ๊ิ แผลทก่ี ลางหนา ผากจากการวง่ิ ชน มมุ เสาอาคารเรยี น
ยังมิไดต ัดไหมออก เด็กนอยกแ็ สดงความสามารถพิเศษของเธอดงั เชน เคย ตามแมไ ปซ้ือ
ของ (แม...ตะโกนบอกวา “อยา ลงมานะนง่ั รอทา ยรถนน่ั ละ ” เดก็ นอยไดย ินกต็ อบวา “จะ
แม” ) ทันทที ่ีแมห นั หลังจะเดินไปซอ้ื ของกไ็ ดยินเสียง “โผะ !!” จงึ หนั หลงั กลับมาดู ภาพท่ี
แมเห็น คอื เดก็ นอ ยผวู านอนสอนงา ยกระโดดลงจากทา ยรถ หัวไปกระแทกกอ นหินเลอื ด
ไหลนองหนา คราวนแ้ี ค 2 เขม็ สบายใจไป

น่ีเปนแควีรกรรมเดด็ ๆ บางสวนทีส่ รา งรอยแผลเปนใหก บั เดก็ นอย ไมร วมกับ
วีรกรรมเลก็ ๆ นอ ย ๆ อันนบั ไมถวนทสี่ รา งไว แต “ทุกส่ิงที่เกิดขึน้ ในชวี ิตของเด็กนอย
คนหนึง่ มันเปนประสบการณ เปน จดุ เรม่ิ ตนของการเรยี นรใู นการใชช ีวิต การปรับตวั
และการเอาตวั รอด (แกปญ หา) ทจี่ ะเติบโตกา วไปสสู ังคมอื่นตอ ไป นอกจากสงั คมใน
ครอบครวั ”
“การสงั เกต การลงมอื ปฏบิ ตั ิ การแกป ญหา ” ถูกหลอหลอมมาจากได
การเรยี นรูธรรมชาตริ อบ ๆ ตัว ซงึ่ เปน ครทู ีส่ อนเราตลอดเวลา ตลอดชีวติ จนนํามาสู
“ประสบการณชีวิต ” ทีม่ ีทั้งรา ยและดี ประสบการณท เี่ ลวรา ย ความผดิ พลาดใน
การคิดและตัดสนิ ใจลงมอื ทําในส่ิงตา ง ๆ ทผี่ า นมาในชวี ิต เปนเครอ่ื งเตือนสตขิ องเราได
เปนอยา งดีวา “เม่ือเราเดินทางผิดเราก็ไมควรเดนิ ทางนนั้ ซา้ํ อีก ยังมเี สนทางอีกหลายรอย
หลายพนั หลายหมน่ื หลานแสน หลายลา นทางใหเ ราเลอื กเดนิ หากเสน ทางใดทเ่ี ราเดนิ
แลว เรามีความสุข เรากใ็ ชเ สนทางเดนิ เดิมเดินตอ ไปและพยายามมองหาเสนทางใหมเดนิ
ตอไปเพื่อใหถงึ ฝง ฝน ของตวั เอง
“การมอี ิสระทางความคิด เรียนรูถกู ผิดจากการปฏิบัติ” แมบ างครงั้ ตอ ง
เจ็บตวั บางครัง้ ตองเลือดตกยางออกบางก็ตองยอม เพื่อแลกกบั คาํ วา “ประสบการณ”
เพราะ ถาไมเ จบ็ ไมปวด เราจะไมร วู าคําวา “เจบ็ ” “ปวด” เปน อยา งไร ถา ไมม ี
เลอื ดออก เราก็จะไมร ูเลยวา “เลอื ด” สอี ะไร ทุกสง่ิ ทุกเหตกุ ารณท ่เี กดิ ขึน้ ทผ่ี า นเขามา
ในชีวติ ผา นเขา มาเพื่อใหเ ดก็ ผูห ญิงคนหนงึ่ ไดเรียนรชู วี ติ เรียนรูจ กั การปรบั ตัว และเรียนรู
ที่จะแกปญหา เพอ่ื ใหสามารถเอาตัวรอดตามวถิ ชี วี ิตทีเ่ ปน อยู ทุกวรี กรรมที่เกิดข้นึ
อาจเกิดจากความตั้งใจบา ง ไมไดต ้งั ใจบาง ก็ทําใหเ ดก็ นอ ยคนนี้มี “ความมานะ
ความพยายาม และความอดทน มคี วามมงุ มนั่ ทีจ่ ะกา วเดนิ ไปขางหนา เพอ่ื เผชิญกับ
โชคชะตาทีล่ ิขติ มาจากฟา และชะตาชีวติ ของตวั เอง” การเขาสูรัว้ การศึกษา คอื การ
เปลยี่ นวิถชี ีวิตครงั้ ใหญใ นชีวติ เดก็ นอย จากออ มกอดของพอแม ท่ีมีใหเดก็ นอ ยออดออน
ในทกุ ๆ วนั จากอสิ ระในการโลดแลน ตามทอ งทงุ และคนั นา จากสนามเดก็ เลน อนั กวา ง
ใหญท ่เี ต็มไปดวยตน ขาว กงุ หอย ปู ปลา และตนไมอ ันเปนที่ โปรดปรานยงิ่ นกั ตอ จาก
น้ไี มมแี ลว ทําใหเ ด็กนอ ยตอ งปรับตัว เรยี นรู อยกู ับส่งิ แวดลอมใหมเ ปน ครงั้ แรกในชีวติ

ย อ น อ ดี ต

มุ ง สู ก า ร ศึ ก ษ า ... ส ม บั ติ เ ล อ ค า ... ที่ พ อ แ ม ใ ห

เมอื่ ตองกา วเขาสูร้ัวการศกึ ษา จากทเ่ี คยว่ิงเริงรา ไปตามทองทุง ตามประสา

เด็กนอ ย ตองเขา มาน่ังอยใู นหอ งสเ่ี หลย่ี ม มโี ตะ เกาอี้มากมาย วางเรียงกันเปน แถว ๆ
อยางเปนระเบียบ (นี่มันอะไรกนั เตม็ หองเลย แลว เราจะเอาพืน้ ท่ีทีไ่ หนวง่ิ เลนละ เน่ีย ?)
แลวคุณครกู ็เรียกใหไ ปนัง่ เกา อีป้ ระจําตาํ แหนง คงไมต อ งบอกวาเธอจะรูส กึ อยา งไร
คุณครกู ล็ อหลอกสารพัดท่จี ะทําใหเ ด็ก ๆ ในหอ งสงบนิง่ และพรอ มทจี่ ะทาํ กจิ กรรมกบั
ครแู ละเพือ่ น ๆ กวา เด็กนอ ยจะปรบั ตัวไดก็ใชเ วลานานพอสมควร การไปโรงเรยี นของ
เดก็ นอ ยกเ็ หมอื นคนอืน่ ท่วั ไป คือ เดินไปโรงเรยี น เพราะโรงเรยี นในหมบู านอยไู มไ กลจาก
บา นมากนกั เนือ่ งจากเปนหมบู า นเล็ก ๆ ทอี่ ยใู นเขตอําเภอเมอื ง (แตเ หมือนจะอยไู กล
เมอื งมาก) ดานสาธารณูปโภค ไมมไี ฟฟา ไมม นี าํ้ ประปาใช มเี พียง “ตะเกยี งเจา พายุ”
และ “นาํ้ ในหนอง คลองบงึ ” เทานน้ั ทีน่ ํามาใชด ่ืมกิน

สังคมใหม ที่เรยี กวา “โรงเรยี น” ไดสอนใหเ ดก็ นอ ยรจู ักอาน เขยี น เรยี นรู

หลกั วิชาการ แมจ ะเปน โรงเรียนเล็ก ๆ ในชุมชนชนบททีห่ างไกลความเจรญิ ยงั มี “คร”ู
จาํ นวนหนง่ึ ท่เี สียสละตนเองมาเพื่อสอนหนังสอื ใหก ับเด็กหลายสิบ หลายรอ ยคน จากรุน
สรู ุน มาเปนระยะเวลาหลายสบิ ป ครูสอนทั้งวิชาการ สอนทงั้ การใชช วี ิต และสอนใหรจู ัก
กับคาํ วา “ถูกผดิ ” ในการกาวเดนิ และเผชญิ ชวี ิต

7 ป ณ โรงเรยี นแหงน้ี (โรงเรยี นบานแมระหัน) ชวี ติ ของเดก็ นักเรียนในชนบท
เมื่อ 30 กวา ปที่แลว ชางมีความสุขเหลอื เกิน ไปเรยี นเรากเ็ ดนิ ไปโรงเรียน หอ ขาวใสปนโต
ไปน่ังกินรวมกันกับเพื่อน ๆ (นาํ้ ไปกินทโี่ รงเรียน เพราะโรงเรียนมนี ้ําใหกินฟรี ทางรฐั บาล
สรา งถงั นา้ํ เกบ็ น้าํ ฝนขนาดใหญไวใ หพวกเรา) ในฤดูน้าํ ทวม เรากจ็ ะมยี านพาหนะเฉพาะ
คอื “เรอื ” ทุกคนจะตองพายเรอื ไปเรยี นกันทุกคน รําใหญบ างเล็กบา งแลวแตจาํ นวน
ผูรว มทาง เน่ืองจากน้ําจะทว มทงั้ หมูบา นทุกป ถนนหนทางตาง ๆ ไมมีใหเราเดนิ สญั จร มี
เพียงทอ งทงุ ทีเ่ ตม็ ไปดวยนํา้ และระลอกคลืน่ (ทะเลบา นเรา) ยง่ิ ในยามฝนตกลงมา สาย
ลมพดั โชย หยดนาํ้ ฝนตกลงกระทบลงบนผวิ นาํ้ เปน ภาพทส่ี วยงามยง่ิ นกั การเดนิ ทางไป

เรียนในแตละวนั เราก็จะสลบั ผลัดเปลยี่ นกันน่งั ตวั เปย กเรียนกนั (สาเหตเุ นอ่ื งมาจาก
ระหวา งการเดนิ ทางมาโรงเรยี น “เรอื ” ที่เราพายมาโรงเรียนเกิดอบุ ตั เิ หตลุ ม ระหวางทาง
หนังสือและสมดุ จะเปย กนาํ้ (บวมและอวบมาก...ความรูเลยฟูตามหนงั สือ) ปน โตขาว
จมนาํ้ (อาหารกลางวันหายไปในพรบิ ตา ครั้งแรกก็นกึ อยใู นใจทาํ ไงดี วนั นี้อดขา วแน ๆ
เพราะท่ี โรงเรยี นไมม อี าหารกลางวนั ขาย) แตพอถึงเวลาพักกลางวันเพอ่ื น ๆ ก็จะแบงปน
อาหารกลางวนั ใหเ รากนิ เรากแ็ บงกนั กนิ อมิ่ บา งไมอ มิ่ บา ง แตพ วกเรามีรอยย้มิ แหง
ความสขุ ไปดว ยกนั พวกเราเรยี นเลน กนั ดว ยความรกั ความผกู พนั เปน เวลา 6-7 ปเ ต็ม ๆ
และแลวพวกเรากเ็ รียนจนจบประถมศกึ ษาปท ี่ 6 (กําลงั จะเกิดการเปลย่ี นแปลงในชีวติ
คร้ังใหญ อกี ครั้ง) สมัยนั้นการศกึ ษาเปนเรือ่ งหางไกลมากสาํ หรบั คนในชุมชนท่ีเด็กนอย
อาศยั อยู คนท่จี ะไดเ รยี นตอในระดับมัธยมศกึ ษาสวนใหญจ ะเปนเดก็ ผชู าย (โรงเรียน
มธั ยมจะอยใู นตัวเมอื ง และหมูบานทีเ่ ดก็ นอยอาศยั อยไู กลเมืองมาก อกี ท้ังถนนหนทางก็
ยากลาํ บากมเี พยี งถนนทเ่ี ปน ดนิ เหนยี วความกวา งประมาณ 3 เมตร ระยะทางประมาณ 8
กโิ ลเมตร ท่เี ช่ือมจากตัวหมบู า นเขา ตาํ บล) การเดินทางเขาตวั เมอื งตอ งใชร ถจักรยาน ข่ีไป
และไปข้ึนรถสองแถวประจําทางตอ

หลังจากจบการศกึ ษาช้นั ประถมศึกษาปที่ 6 พอ กบั แมก ็บอกเดก็ นอยวาไมต อง
เรยี นตอ แลว เนาะใหอ ยบู า นกบั พอ แม คอยกวาดบา น ถบู า น ลา งจาน ทาํ งานบา นก็
พอแลว ไปเรียนมนั ลาํ บาก แตด ว ยความทีเ่ ปน คนชอบเรยี นรู ในใจกค็ ิดวาถาเอาเวลาที่
เหลอื อีกคอ นชีวติ ทาํ แคน ีค้ งไมด ีแน ๆ เลยเกิดการตอรองวา “ขอไปสอบกอน ถาไมไดก็
จะไมเ รียน จะทาํ ตามทพ่ี อแมบอก”

เมอื่ มีโอกาส กท็ าํ ใหเ ตม็ ท่ี เพราะโอกาสไมไ ดเขามาในชีวิตเราบอยนัก ในทีส่ ดุ

ความพยายามในการอานหนงั สอื ความมุง ม่ัน ความต้งั ใจกส็ าํ เร็จผล เดก็ นอ ยสอบเขา
เรียนในระดับชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี 1 ของโรงเรยี นเฉลมิ ขวัญสตรี ซึ่งเปน โรงเรยี นหญิงลวน
ประจําจังหวดั ได และน่ีคือ “จุดเปลย่ี นชวี ิต” ครัง้ สําคญั ของเด็กบานนอกคนหน่ึง ทก่ี ําลัง
จะเขาไปเผชิญชะตากรรมในตวั เมืองเปน ครง้ั แรกในชวี ิต ตองพบเจอกบั คนมากมาย
หลายพันคนท้ังครูและนักเรียน ตองใชช ีวิตอยูกบั คนแปลกหนาทไี่ มเคยรูจ ัก การปรบั ตวั
เปนเร่ืองที่สําคัญและยากลาํ บากมาก แตเ ดก็ บา นนอกคนนกี้ ็จะสไู มยอมแพ

จากสงั คมลกู ชาวนา สูสงั คมลกู ขา ราชการ คําถามท่มี ักจะถูกครูและ

เพอื่ น ๆ ในชนั้ เรยี นถาม คือ “พอ แมท าํ งานอะไร ?” 80% ในหองเรยี นก็จะตอบวา
“พอแมร บั ราชการ” อกี 19% ตอบวา “พอแมค าขาย/มธี ุรกจิ สว นตวั ” สว นอกี 1%
ตอบวา “พอแมทาํ นา” ทนั ทเี มือ่ สิ้นเสยี งตอบทกุ สายตาในหอ งเรยี นก็จะหันมามองหนา
“ลูกชาวนา” ฉนั ไมร ูหรอกวา เพ่อื น ๆ จะหนั มามองเพราะอะไร ? หรือแปลความวา
ลกู ชาวนาเปน อยา งไร ? ฉนั รเู พยี งแคว า “ลกู ชาวนาคนน้”ี สามารถมานง่ั และยนื อยตู รง
น้ีในที่ ทีล่ กู ขาราชการ พอ คา แมค าเขาอยกู ันไดก ็พอละ ฉนั ไมเ คยอายทเ่ี ปน ลกู ชาวนา
แตก ลบั ภูมใิ จในความเปน ลกู ชาวนา และมแี รงผลกั ดนั ที่จะกาวเดนิ ตอ ไปในร้วั การศกึ ษา
แหงนี้ ภาพทุกภาพที่ฉนั เหน็ มาตั้งแตเปน เด็กนอย หยาดเหงือ่ ทุกหยดของพอแม เปน
เครือ่ งเตอื นสติฉนั ไดเปนอยางดี คอยสอนและกระตุนเตือนใหฉนั ตง้ั ใจเรยี น ขวนขวายหา
ความรใู หส มกบั สงิ่ ทพ่ี อ แมตอ งเหน็ดเหนื่อยเพอ่ื ฉัน

ปด เทอมเพ่ือนก็จะไปเท่ยี ว ทะเล นํ้าตก ฯลฯ แตเราลูกชาวนาตองไปชว ยพอ
แมร ับจา งเกี่ยวขา ว เพ่ือหาเงินมาซ้ือชดุ นักเรียน รองเทา นกั เรียน และอปุ กรณก ารเรียน
สว นเงินคาเทอม และคาหนงั สอื พอแมออกให เพราะถาเราไมชวยพอ แมพ วกเราทัง้ 4 คน
กจ็ ะไมไดเรยี นตอ ชีวติ เปนเชน นี้ตลอดระยะเวลา 6 ป ทเี่ รยี นในระดบั มัธยมศึกษา

หกปก บั การศึกษาเรียนรู ในร้ัวโรงเรยี นเฉลิมขวัญสตรี ฉันไดอ ะไรมากมาย

ทั้งความรูวชิ าการ และความรใู นการใชช ีวติ จากการเลนกีฬา ซง่ึ เปนชว งเวลาท่ดี ีทส่ี ดุ
ชวงหนงึ่ ในชวี ติ ไดพบเจอและรจู ักเพอื่ นมากมาย ซึ่งลวนเปนเพือ่ นทีด่ ี และเปน
กลั ยาณมติ รเสมอมา “หกปก บั ความยากลาํ บาก” ในการเดนิ ทางไปเรยี นของเดก็
บา นนอกทตี่ อ งเขาไปเรียนในตวั เมอื ง ตอ งตนื่ ตั้งแตต ี 5 เตรียมตัวไปโรงเรียนกับ
แสงตะเกียงดวงนอ ย ๆ ทสี่ องแสงราํ ไร พอใหเ ห็นชุดนักเรยี นและอุปกรณตา ง ๆ น่ังกนิ
ขา ว (ไขเจียวสุดแสนอรอ ยจากฝมือแมเ ปนอาหารทดี่ ีที่สุดสาํ หรับครอบครวั เรา หมู ไก
เปนไงไมรจู กั หรอกนาน ๆ จึงจะไดล ้มิ รส) รอจนกวา พระอาทติ ยจ ะโผลข น้ึ มาจากขอบฟา
เพือ่ สอ งนาํ ทางใหข่จี กั รยาน โลดแลนไปบนถนนดนิ เหนียวเขาสตู วั ตําบล แลวขน้ึ รถ
โดยสารเขา ตัวเมือง กวาจะถึงโรงเรยี นก็เกือบแปดโมงพอดี เลิกเรียนกต็ องรีบวิ่งมาขน้ึ รถ
โดยสารเพ่อื แยงทีน่ ัง่ กบั นกั เรยี นมากมายอกี หลายโรงเรยี น กวา จะถงึ บานกพ็ ระอาทิตย
เกอื บจะลาลบั ขอบฟาไปแลว วันไหนโชคดีชวี ติ กจ็ ะเปน แบบน้ไี มล าํ บากมากเทา ไร มเี พียง
ความหวิ (เพราะต้งั แตอาหารกลางวนั ก็ไมม อี ะไรตกถงึ ทองอกี เลย) สิ่งที่พวกเราทาํ ได คอื
แวะขา งทางกนิ “ตะขบ ฝรง่ั ข้นี ก มะมวง” ทข่ี ้ึนขางทาง ปะทงั ความหวิ จนกวาจะปน

จกั รยานไปถงึ บา น แตถ า วนั ไหนโชครา ย “ฝนตกตอนเชา ” ถือวา เปน วกิ ฤตชีวิตท่ีสุด (วดั
ใจกนั เลยกว็ าได ถา ใจไมมคี วามมงุ มนั่ พยายามจริง ๆ คงตอ งนอนอยบู า นแน) แตด ว ย
ความต้งั ใจที่จะไปเรยี นก็ตอ งพบั ชุดนักเรยี น รองเทา ใสถงุ พลาสตกิ มัด หอ ยหนา
รถจักรยาน ใสเสอ้ื กนั ฝน (ดว ยความเปนลกู ชาวนาเสือ้ กันฝนไมต อ งซอ้ื พอ แมต ัดใหเ อง
... โดยการใชถ ุงพลาสติกทใ่ี สปุย เอามาลางใหส ะอาด ตัดตรงกลางใหสวมหัวได ตัดมุมถุง
ใหใ สแขนได แคนก้ี ็เปนเส้อื กันฝนอยางดสี ําหรบั พวกเรา) หลงั จากนน้ั กข็ ่ีจักรยานฝาลม
ฝา ฝน บนถนนดินเหนยี วทท่ี ้งั ล่นื ทั้งเปนโคลน ขี่ ๆ ไปดินเหนยี วกเ็ ขา ไปตดิ ทีบ่ ังโคลนรถ
ตองมีไมไผตดิ ตัวไวหนึ่งอนั ไวคอยแคะดินเหนียวออก ข่จี ักรยานไปรอ งไหไ ป ทั้งหนาว
ท้ังกลัว แตก ็ตอ งบอกตัวเองวา “ตองอดทน” เพื่ออนาคต ขี่จักรยานไปจนถงึ ตวั ตาํ บล
(กอนถึงตวั ตําบลจะมีคลองน้าํ ชลประทานและแองน้ําขา ง ๆ ซง่ึ เปนสถานทีล่ า งคราบดนิ
โคลนทีเ่ ปอนจากการขีจ่ กั รยาน และขี่ตอ ไปเพือ่ เอาจกั รยานไปฝากไวกบั คนรจู กั แลว
เปลี่ยนเสอ้ื ผา นัง่ รถโดยสารเขา เมอื งเพอื่ ไปโรงเรียน

แคการข่ฝี า ฝน ฝา ลม ไปเรยี นใน “ฤดูฝน” ยงั ไมล าํ บากเทา ใน “ฤดนู ํ้าทว ม”

(เปนฤดเู ฉพาะสําหรบั หมบู า นเรา จะยาวนานแคไหนข้นึ อยูก บั “ฝน” ทต่ี กลงมาสว นใหญ
จะทว มประมาณ เดอื นสงิ หาคม ถึง เดอื นพฤศจกิ ายน) ฤดนู ี้ตอ งมีพาหนะเพ่มิ ขึ้นใน
การเดนิ ทาง คอื “เรอื ” เพราะนาํ้ จะทว มทง้ั หมบู า นความลกึ จากพน้ื นา ประมาณ 1-2
เมตร พอกบั แมต อ งเอาจักรยานใสเรือแลวพายมาสง ตรงบรเิ วณถนนที่นา้ํ ทว มไมถึง
ระยะทาง ประมาณ 2 กโิ ลเมตร ตอนเยน็ กต็ องพายเรอื มารบั กลบั (เหตุนี้นีเ่ องทีพ่ อ แม
บอกวา ไมต อ งเรยี นอยบู า นทาํ งานบา นเถอะ) ภาพท่เี ราเห็นมนั สะทอ นใหเราตระหนักอยู
เสมอวา พอแมมี “ความรกั ความหวงั ดี ความมานะ พยายาม และอดทน” มากมาย
นักนอกจากจะทํางานเพ่ือหาเงินมาเลีย้ งครอบครวั สงเสียลกู ๆ เรียนหนงั สือ แลว ยงั ตอ ง
พายเรอื รับสง ลูกเพ่ือไปโรงเรียน เพือ่ แลกกับความรใู หแ กล กู ๆ ส่งิ เหลานจ้ี ึงยิง่ เปนแรง
พลักดันใหเ ราตอ ง “ตง้ั ใจ ตอ งอดทน มคี วามมานะ พยายามในการศกึ ษาเลา เรยี น”
และทําทุกอยางใหไดค ร่ึงหนงึ่ ของท่ีพอแมทาํ และทมุ เทเพ่ือเรา

หกปเ ต็มกบั ความอดทน ความพยายาม เพื่อใหไ ดมา คือ การศกึ ษา เปนหกป

ท่ีสอนการใชชวี ิต และไดประสบการณมากมาย และเปน หกปเ ต็มกบั การโลดแลน บน
ลวู ิง่ เสนทางนกั กรีฑา จากตัวแทนของโรงเรียน ไปสูต วั แทนของจงั หวัด ตวั แทนเขต
จนเขาไปแขง ในระดับประเทศ เหรียญรางวัล ใบประกาศหลายรอ ยใบทไ่ี ดม า ตางลว น
ไดม าจากความมานะ อดทน และฝกฝน เปนประสบการณท ด่ี ใี นชีวติ เพราะกวา จะไดม า

ซ่งึ คาํ วา “ชยั ชนะ” ทใ่ี ชเ วลาในการแขง ขนั เพยี งแคไมกี่ “วนิ าที” สอนใหฉ นั ไดเ รียนรวู า
เวลาเพยี งเสี้ยววินาที ทําใหเ ราสามารถไปสเู สน ชยั หรือเปาหมายในชวี ติ ไดก อ น และหลงั
คนอ่นื การทุม เทแรงกาย แรงใจในการฝก ซอมบนลูว ่ิง สอนชวี ติ เรามากมาย สอนใหฉ ันได
เรียนรูว า สง่ิ ทสี่ าํ คญั ทส่ี ุดในการทาํ ส่งิ ตาง ๆ คอื “การมวี นิ ยั ” เมอื่ มวี นิ ัยในตวั เองแลว
สงิ่ อืน่ ๆ จะตามมา การแขงขันสอนใหเรารจู กั คุณคาของ “เวลา” เพราะเวลาเพียงแค
เสยี้ ววินาที ถาเรากาวชา กวาคนอ่ืน และไมส ามารถรักษาระยะหาง หรือความเรว็ ได เราก็
ไมส ามารถท่ีจะเขา ถงึ เสนชยั กอ นคนอืน่ ไดเ ลย

สงิ่ สาํ คัญทสี่ ุดทีไ่ ดจ ากลูวง่ิ คอื “คณุ คา ของเวลา ความอดทน พยายาม และ
กาํ ลงั ใจ” เมอ่ื เราอยูหลงั คตู อ สู หากเรามีความพยายาม อดทน และมีกําลังใจ เรากจ็ ะมี
พลงั ใจการกาวแซงคแู ขงได แตถา เมือ่ ใดท่ีเราบอกวา ไมเอาแลว เหน่อื ยแลว เราจะไมม ี
ทางวิ่งเขา เสน ชยั กอนคแู ขง ไดเลย

กาวเขา สูรั้ว “สถาบนั ราชภฎั พบิ ลู สงคราม” หลงั จากจบการศกึ ษาชน้ั

มธั ยมศกึ ษาปที่ 6 เพื่อน ๆ ตา งก็สอบ Entrance กันหมด มีเพียงแตเรา เพราะในใจคิด
แลว วา พอแมเราคงไมสามารถหาเงินมาสง เราเรียนตอได เราจึงตดั สนิ ใจจะไปสมคั รเปน
พลรม หญงิ ทล่ี พบรุ ี แตแลว ความฝนกพ็ งั ทลาย เพราะแมไมใหไป ตอนน้ีใจสลาย ผดิ หวัง
(มันเหมอื นดวงเทยี นทก่ี ําลังสองสวาง วูบดับลง เหลือแตความมึดมดิ ในหวั ใจ) เสียใจอยู
หนึง่ สปั ดาหตั้งสตวิ า จะทําอยา งไรกบั ชีวิต บอกตัวเองวา “ความฝน หน่ึงจบลง เราตอง
สรา งความฝนใหม” เมอื่ ตง้ั สติไดจึงไปสมคั รสอบเขา ศกึ ษาตอทส่ี ถาบันราชภัฎพบิ ุล
สงคราม และสอบติดสาขาบรรณารักษศาสตร และสารนิเทศศาสตร (ทีแรกก็ไมเขา ใจวา
สาขานเ้ี ขาเรยี นอะไรกนั ) ตอนแรกต้ังใจเลอื กเรยี นสาขาพัฒนาสงั คม แตสถาบันไมเ ปด
การเรยี นการสอนในปน น้ั จงึ ตดั สนิ ใจเลอื กเรยี นสาขาบรรณารกั ษศาสตร และสารนเิ ทศ
ศาสตร เพราะช่ือยาวดี 555 ) และแลว ก็เหมือนฟา ผา ลงตรงกลางหวั ใจ นา สาวบอกวาพอ
แมเราจะสงไหวหรอื ใหออกไปเรยี นผูชว ยพยาบาล 1 ป กห็ าเงนิ ไดแลว (นกึ ในใจใหใ ช
ชีวติ ทัง้ ชวี ิตอยกู ับสิง่ ทเ่ี ราไมชอบ ชีวติ เราคงหาความสขุ ไมไดแ น) จงึ เกดิ การตอ รองขึ้นอกี
ครัง้ กับพอแมวา จะเอาใบปรญิ ญามาใหพอ แม พรอมกบั เกยี รตินิยม ซง่ึ มันเปน ความ
ลาํ บากมากในการปรับตวั กบั ระบบการศกึ ษาจากมัธยมมาเปน อดุ มศึกษา แตส่งิ ท่ีมอี ยูใน
หัวใจอยูตลอดเวลา คือ เราตอ งสู ตองอดทน ตอ งเพียรพยายามทาํ มันใหได และในทีส่ ดุ
เรากท็ าํ ไดด ว ยการควา เอา เกยี รตินยิ มอนั ดบั สอง มาใหพ อ แม

หลังจากจบการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี กส็ อบเขาทํางานทห่ี องสมดุ คณะ
เภสชั ศาสตรศาสตร มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ในระหวา งการทาํ งาน ป 2457 ก็ศกึ ษาตอ
ระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยแี ละส่ือสารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ซึง่ ได
ความรู และประสบการณต า ง ๆ มากมาย ไดพ บกบั กลั ยาณมติ รหลากหลายสาขา และใน
ป 2550 ไดต ดั สนิ ใจเขา ศกึ ษาตอ ในสาขาบรรณารกั ษศาสตร และสารนเิ ทศศาสตร
มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง (กรงุ เทพ ฯ) หลังจากที่เราตัดสินใจจะไปศึกษาตอในวนั
เสาร- อาทิตย ซง่ึ ตอ งน่ังรถไปกลบั พิษณุโลก-กรงุ เทพ ฯ เกดิ การคดั คา น และคาํ ถาม
ตามมาจากบคุ คลรอบตวั ปว ยแบบนวี้ าจะเดนิ ทางไหวหรือ ? คนดี ๆ เขายงั ไมท าํ กนั
(เราเปน คนท่ยี อมรบั และเคารพในการตดั สินใจของตัวเอง ถกู ผิด เรากจ็ ะยอมรับผลของ
การตดั สินใจน้ัน) เรากต็ อบไปเพียงแคว า ทําไดเทาที่ทําได สวนจุดจบจะเปน เชนไรก็ชา ง
ขอเพยี งแคไดเรยี นรู ในระหวางการเดนิ ทางนนั้ กพ็ อ (สําหรับฉันมองเปา หมาย คอื กาํ ไร
ชีวติ สง่ิ ที่สาํ คญั คอื ระหวา งทางเดนิ เราไดอ ะไรมากกวา ) 1 ปเตม็ ๆ กบั การเดินทางไป
เรียน ม. รามคําแหง กับระยะหลายหมน่ื กโิ ลเมตร เรากต็ ัดสนิ ใจเปลี่ยนท่ีทํางานไปทาํ ที่
สถาบันการเรยี นรเู พ่ือปวงชน อยูท่จี งั หวดั สมุทรสงคราม และศึกษาตอ จนจบในป 2552

“เมอื่ ใจเราสูจ ะไมมีคาํ วา แพ และไมมสี ่ิงใดในโลกใบนีท้ ี่เราจะทาํ ไมไ ดห าก
เราตอ งการจะทาํ ”

ย อ น อ ดี ต

คาํ ส อ น ข อ ง “พ อ แ ม ”

การเดนิ ตามรอยเทา “ พอ แม” มาตง้ั แตเปนเด็กนอยในทงุ นาอันกวา งใหญ
นบั เปน “การเรยี นรคู รงั้ แรกในชวี ิต อิสระทางความคิด อสิ ระในการปฏิบัต”ิ ทพ่ี อ แม
ปลอย ใหเ ราไดค ดิ ไดทาํ ในส่งิ ท่ีเราตองการ และเรียนรูท่ีจะแกไ ขปญ หาตาง ๆ ดว ยตนเอง

คอย ๆ หลอ หลอมเกดิ ขน้ึ มาในชวี ิตโดยทีเ่ ราไมร ูต ัว ซง่ึ เปนการสอนท่ีมีคา ท่ีสดุ ในชีวิต

ประโยคทลี่ ูก ๆ จะไดยินบอ ย ๆ จากพอและแมทีพ่ ร่ําสอนลูก ๆ มีเพยี งไมก ่ี
ประโยค
“ตงั้ ใจเรียนนะ โตข้ึนจะไดไมต องลําบากเหมอื นพอกบั แม”
“พอกับแมไ มม ีสมบตั ิอะไรให มีแตก ารศึกษา เพราะการศกึ ษาจะทําใหลกู หา
เล้ียงตวั เองได”
“อดทน...นะ ความเหนื่อยไมเคยทําใหคนตาย”

แตส ิ่งทีแ่ มสอนจากการปฏบิ ัติมนั มากมายนัก แมจ ะพาไปกลางนาตั้งแตย ัง

เดก็ ๆ และแมจ ะถามวา “รอ นไหม” เรากต็ อบวา “รอ น” แมก จ็ ะพดู ตามมาวา “ถารอ น

ตองต้ังใจเรียน” เรากต็ อบวา “จะ ” (ตอนนนั้ ไมร ูหรอกกจ็ ะ ๆ ไปอยางงัน้ ) ชวี ติ ลกู ชาวนา

มันยอ มแตกตางจากเพอื่ น ๆ ท่ีเปนลกู ขาราชการ พอ คา แมคา อยากไดอะไรกต็ อ งเก็บเงิน

หาเงินซื้อเอง เสาร-อาทิตย ปด เทอม ตองตามพอ แมไ ปรับจา งเก่ียวขา ว เพ่อื ใหไ ดเ งินมา

เพือ่ ซ้ือชดุ นกั เรียน คา เทอม หนงั สือ (พนี่ อง 4 คน เรียนมัธยมพรอมกันหมด) แมจ ะถาม

ลกู ๆ วา “เหนอ่ื ยไหม” เรากจ็ ะตอบวา “เหนือ่ ย” แมก็จะพดู ตามมาวา “ถา เหนือ่ ยตอง
ต้ังใจเรยี น” พอเกย่ี วขา วโดน “เคยี วเกีย่ วขา วบาดมือ” แมจ ะถามวา “เจ็บไหม” เราก็
ตอบวา “เจบ็ ” และทนั ทีแมกพ็ ดู ประโยคเดิมวา “ถา เจ็บก็ตองใจเรียน” ตอนเราเปนเด็ก
ไมเขาใจในความหมายท่ีแมพูดหรอก คิดเพยี งแควา ถาไมอยากรอ น ไมอ ยากเหน่ือย

ไมอยากเจ็บตวั กต็ องต้ังใจเรยี น แตสงิ่ ทแ่ี มต องการบอกลกู ๆ คือ การเปน ชาวนามนั

ยากลาํ บาก กวา จะไดมาซ่ึงขาวเปลอื กสักเมด็ มันตอ งใชท ั้งแรงกาย แรงใจ และตอ ง

พง่ึ พาดนิ ฟา อากาศ ถา ฝนไมต กขา วกต็ าย ถา ฝนตกมากนาํ้ ทว มนา ขา วกเ็ สยี หาย เปน หน้ี
เปน สนิ กวา จะไดเ งนิ มาแตล ะบาทแตล ะสตางคม นั แสนยากเขญ็ การศกึ ษาจะทาํ ใหล กู มี

อาวธุ หรอื เครื่องมอื ในการไปหาเลี้ยงชพี ได โดยไมลาํ บากเหมือนพอ แม

เมื่อลกู ๆ เร่ิมโตขึ้น รายไดจากการทํานาเพียงอยางเดียวไมพอกบั คาใชจา ยท่ี

ตองใชใ นการดําเนนิ ชวี ิตในแตละวันของครอบครวั ภาระหนส้ี ินที่เกดิ จากนาํ้ ทว มนา และ
คาใชจายในการสงลกู ๆ เรียนหนงั สอื ทําใหพ อกับแมต องไปทาํ งานกอสรางเพอื่ หารายได
เพม่ิ และในทุกวนั เสาร-อาทติ ย พอกบั แมจ ะพาฉนั ไปดว ย (ตอนนน้ั คิดแคว า ทําไมชวี ิตเรา
ไมสุขสบายเหมอื นเพอ่ื น ๆ หวิ้ ปูนมนั ท้งั หนักทั้งเหนือ่ ย รอ นก็รอ น ทาํ ไมพอแมไ มร กั เรา
หรอื อยา งไร ทาํ ไมพาเรามาลาํ บากแบบน้ี) ส่งิ ที่พอ แมทาํ เพยี งเพอ่ื ใหฉนั ไดเรยี นรูวา การ
เปน กรรมกรทํางานกอ สรางมนั ลําบาก มนั เหน่ือยอยางไร ตอ งหิ้วปนู กีก่ ระถัง ตองยกอิฐ
ก่ีกอน กวา จะไดเงนิ มา 100 บาท ใหเ รียนรวู าถาเปน ชางท่ีมฝี มือมคี วามรู เขาทาํ อะไรกนั
บาง คา แรง เขาถงึ ได 300-500 บาท การเปน ผรู บั เหมาเขา ทาํ อะไรบา ง เขาจงึ มรี าย
หลักพนั หลกั หมนื่ หลักแสน หลักลาน

พอแมสอนใหดกู ารปฏบิ ตั ขิ องคนเปน ตัวอยา งในการใชชวี ติ สอนใหรูจักทัง้ คนดี
และคนไมด ี สอนใหเ หน็ ผลจากการกระทาํ ของคนเหลา นน้ั มากกวา การสอนใหเ ปน แบบ
นัน้ ใหเ ปน แบบนี้ เมอื่ ลกู ๆ ทาํ อะไรก็ทาํ แตตอ งยอมรบั ผลของการกระทําของตัวเองให

ได ไมวาจะดหี รือราย เพราะนนั่ คอื “สิง่ ทลี่ ูกเลอื กทําเอง”

ทุกคร้งั ทเี่ หนอ่ื ยและทอ แมจ ะบอกกบั เราเสมอ วา “ลูกแมทาํ ได” แคไดย นิ
คาํ ๆ น้ี เพยี งคาํ เดียว พลังใจก็มา อปุ สรรคใด ๆ ท่อี ยูตรงหนามันดูเลก็ ลงไปในทนั ที

การสอนของพอกับแม ลว นแตเปนการสอนใหป ฏิบัติ สอนใหชว ยเหลอื ตัวเอง

สอนใหค ดิ เอง ตดั สนิ ใจเอง วาชีวิตและอนาคตเราเลือกทีจ่ ะทําอะไร เลือกทีจ่ ะเปน อะไร
ตนแบบของความเสียสละ ตน แบบของความทดทนท่ีลกู ๆ ไดจากพอและแม เปน เครอื่ ง
เตอื นสติ และเปน แนวทางในการกา วเดนิ บนถนนสายชวี ติ ของลกู ๆ ไดเ ปน อยา งดี

ตั ว อ ย า ง ท่ี ดี มี ค า ม า ก ก ว า “คาํ สอน”

จุ ด เ ป ลี่ ย น ชี วิ ต
ที่ มา ข อ ง น า ม ป า ก ก า “น้ํา ต า ห ย ด สุ ด ท า ย”

“ชวี ิตทกุ ชวี ิตเมือ่ ลืมตามาดูโลกตา งตองดิ้นรนเพ่อื ความอยูรอด
ตองตอ สเู ผชญิ กบั ปญ หา และอุปสรรคตา ง ๆ

กาลเวลามกั จะมาพรอ มกบั ความเปลีย่ นแปลงในชวี ิต”
“เพราะชวี ติ คอื ชวี ติ ไมมอี ะไรแนน อน มจี ุดสูงสุด-ต่าํ สดุ มที ง้ั ดแี ละราย”
จากเดก็ ผหู ญงิ ท่ีแข็งแรงคนหนงึ่ โตขึน้ มาเปนนกั กรีฑาระดบั เขต ระดับประเทศ ใชช วี ติ มา
ดวยความสุข สดใส วันหนึง่ ชีวิตตองมาพบกบั จุดเปลีย่ นแปลงครง้ั ยิง่ ใหญในชีวติ
"สงิ่ ท่เี ราไมเ คยคิดมากอนในชวี ติ ....วา มนั จะเกิดข้ึนกบั เรา และกไ็ มเ คยคดิ
เลยวาวนั น้ีเราตอ งมาเผชญิ กบั โรคราย ทีเ่ ขา มาเปลย่ี นชวี ติ ท้ังชวี ิตท่เี หลอื อยู"
ประมาณปลายป 2543 อยดู ี ๆ กม็ อี าการปวดทอ งมากจนทําใหต อง admit อยู
หลายวนั ทแี รกกค็ ดิ วา กระเพาะอาหารอักเสบธรรมดา ซึ่งหมอฉีดยาใหก็คงหาย แตเวลา
ผา นไป 3 วนั กบั การรกั ษา พยาบาล ทกุ อยา งดูเหมอื นมนั จะรนุ แรงข้ึนเรื่อย ๆ จากแค
ปวดทอ งเรากลบั เร่มิ มีอาการปวดหวั บวม ปส สาวะไมอ อก ความดนั โลหิตเร่มิ สูงข้นึ
เรื่อย ๆ จนทาํ ใหหมอตอ งสง่ั ตรวจวินจิ ฉยั เพมิ่ มากมาย ทั้งการเจาะเลือด สอ งกระเพาะ
อาหาร อลุ ตรา ซาวน กลนื แปง สวนแปง การนอนโรงพยาบาลครง้ั นน้ั ยอมรบั วา สาหสั
มากสําหรับเรา เพราะในชวี ติ ต้ังแตเ ด็กจนโต ไมเคยเจบ็ ปว ยอะไรขนาดน้มี ากอน
แมกระท่ังไขหวัดกแ็ ทบจะนับครัง้ ได และในท่สี ุดหมอกว็ นิ ิจฉัยวา “ไตอักเสบเฉียบพลนั ”
ตอนนน้ั มันเกดิ คาํ ถามมากมายกบั ตวั เอง วา เราเปน อะไร ทาํ ไมเรื่องแบบน้จี งึ ตอ งเกดิ กบั
เราและไมท ราบวา เปน โรคไตแลว มนั รา ยแรงอยา งไร รูเพียงแคว า เรารบั สภาพตัวเองท่ี
ตองเขาออกโรงพยาบาลบอย ๆ แบบนไี้ มได (เขา ออกโรงพยาบาลอาทติ ยเ วน อาทติ ย
เลย) ยอมรับวาปรบั สภาพรา งกายและจติ ใจของตวั เองไมไ ดเลยจรงิ ๆ
ดว ยความที่เราเปนคนท่มี ีสขุ ภาพแขง็ แรง เราเปน นกั กฬี าเร่ืองแบบนไี้ มน าเกดิ
กับเรา ยงิ่ คดิ ไมร นู า้ํ ตามนั มาจากไหน ตอนน้ันเสียใจมาก เครยี ด กงั วล และรูสกึ สบั สนใน
ชวี ติ ไมรวู าเราตองทาํ อยา งไรตอ ไปดี ในการนอนโรงพยาบาลครง้ั แลว ครง้ั เลา กค็ งหนไี ม

พน หัตถการทางการแพทย เข็มฉีดยา ยาเม็ด และ lab ตา ง ๆ ตามคําสงั่ ของหมอ ในเวลา
นน้ั การทาํ หตั ถการทางการแพทยทท่ี ําใหเ ราเจ็และไมเ คยลืมจนทุกวันนี้ คือ “การเจาะนาํ้
ไขสนั หลงั ” (ใหน อนขดตวั ทากุง แลว หมอใชเขม็ แทงเขา ไปในชอ งไขสนั หลงั เพอ่ื นํานํา้
ไขสันหลัง มาตรวจคนหาสาเหตุของการเกิดโรค) ทุกครงั้ ทต่ี องเขา โรงพยาบาล แลว ไดฟง
วา คุณตอง admit " น้ําตาก็เรมิ่ ซึม...พรอมกับคาํ ถามในใจของตัวเองวา .. นเ่ี ราเปน
อะไรกนั แน ... ทาํ ไม แคไ ตอกั เสบเราจงึ ตอ งเขา ออกโรงพยาบาลบอ ยขนาดนเ้ี ลย
หรอื ? คาํ ถามมากมายยังคงวนเวียนอยูในความคิดของเรา ความทอแท สิ้นหวัง เรมิ่
เขา มาในความรูสกึ อยา งตอ เนื่อง" แตทุกครง้ั ทม่ี องหนา แม (ซง่ึ ไมเ คยหนเี ราไมไ ปแมแ ต
วนั เดียว) ผูหญงิ ที่ดีท่ีสุดในชวี ติ แววตา สีหนาทหี่ ว งใยของผูห ญงิ คนน้ี ทําใหเรามี
รอยย้มิ มีกาํ ลงั ใจท่จี ะตอ สูก ับสิ่งท่เี กิดขนึ้

3 เดอื น หลงั จากการพยายามคน หาสาเหตขุ องอาการตาง ๆ ทเี่ กดิ ข้นึ แตก็ยงั ไม

พบสาเหตทุ ่แี ทจริง เราถกู สง ไปรกั ษาตอทโี่ รงพยาบาลศิริราช เพ่ือหาสาเหตทุ แ่ี ทจริงของ
อาการปว ยดังกลา ว ความรูสึกสบั สน ทอ แท สน้ิ หวงั เร่ิมกลับมาอีกครงั้ ความไมคุนเคย
ทําใหเ รารสู ึกกลวั แตล ะคนื ณ โรงพยาบาลศริ ริ าชชา งเปน ทค่ี นื แสนยาวนานเหลอื เกนิ
ในชวี ติ ในแตล ะ วนั ๆ ก็ไดแ ตน ัง่ มองแมน าํ้ เจา พระยา มองดเู รือทีล่ อง ลอยไปตามแมน าํ้
เพอ่ื คลายเหงา ตองน่งั มอง นอนมอง คนไขท ี่คอ ย ๆ จากไปทลี ะคนทลี ะคน จิตใจเร่มิ หดหู
ขึ้นเร่ือย ๆ 2 สัปดาหผ า นไปของการรักษา เรากย็ ังไมรวู าเปนอะไร ความดันโลหติ ก็ยงั คง
สงู ตอ เนอ่ื ง 200 กวา ตลอดเวลา ทาํ ให Order การรักษาเรม่ิ เกดิ ข้นึ อีกมากมาย เร่มิ จาก
การเจาะเลอื ด เกบ็ ปส สาวะ X-ray ทาํ Ultrasound ทํา EKG ทาํ MRI Order ยาวเปน
หางวา ว ตอนน้นั รสู ึกอยางเดียววาอยากรอ งไห แตกต็ องเก็บนาํ้ ตาเอาไวบ อกกับตวั เองวา
เราตอง “อดทน” (คาํ น้แี มสอนมาตั้งแตเ ปนเด็กนอย) เราตองไมรองไหก ับสิ่งท่ีกาํ ลังจะ
เกิดขน้ึ เรา “ตองสแู ละตองผานเวลานีไ้ ปใหได”

Order ที่ยาวเปน หาวา วก็ยงั ไมพ บสาเหตุของอาการทเี่ ปน หลังจากน้นั

หมอขอ “เจาะนาํ้ ไขสนั หลงั ” อีกคร้ัง ตอนนนั้ มันกเ็ กิดคําถามขึ้นมาอกี “เราเคยเจาะไป
แลวน้ี ทําไมเราตองทําอีก ” จะมีใครรไู หมวามันเจ็บและทรมานแคไหน สงิ่ เดยี วทที่ ําได
คอื ตองพยายามอดทน ไมแสดงความเจ็บปวดใด ๆ ใหแมเห็น เพราะทุกคร้ังทมี่ องหนา
แมก ร็ ูทันทวี า แมเจ็บปวดกวา เรามากมายนัก เราก็พยายามอดทนจนผา นมนั ไปไดอ กี คร้ัง
ผลการตรวจก็ยังคงไมพบสาเหตุของการเกิดอาการตาง ๆ เหมือนเชนเคย และอกี 7 วนั
ตอ มา หมอกข็ อ “ตัดชน้ิ เนอ้ื ไต” กพ็ ยายามบอกกบั ตวั เองวา “อยากลัว ในสิ่งทก่ี ําลังจะ

เกิดขน้ึ ” มันคงไมเ จ็บเพราะเราผา นส่ิงที่เจ็บปวดมาแลว ต้งั หลายครง้ั คร้งั นเ้ี รากต็ อ งผาน
มนั ไปได และแลว เม่อื ถงึ เวลาที่ตอ งตัดชนิ้ เนอื้ ไต สายตาเราก็เหลือบไปเห็น เข็มทีย่ าวมาก
ในชีวิตน้ีไมเคยเหน็ เข็มอะไรทยี่ าวขนาดน้มี ากอ น (อนั น้ีนีน่ ะหรือทีม่ ันจะตองมาเจาะตรงที่
หลังเราเพ่ือตัดเอาเนอ้ื ไตออกมาตรวจ ) คงไมต อ งบอกวารสู ึกอยา งไร วา มันเจ็บและ
ทรมานแคไ หน ยาชากย็ าชาเถอะคงไมช ว ยอะไรเราไดม ากนกั ตอนเจาะไมเ ทา ไรเพราะ
ฤทธ์ิของยาชา แตต อนตัดช้ินเนือ้ ทไ่ี ตนส้ี ิ “บอกไดค าํ เดยี ววา เจบ็ สุด ๆ” หลงั การตัดชิ้น
เนอ้ื ไต ตอ งนอนทบั หมอน ทราย อกี 8-12 ชม. น่ีคอื ส่ิงทที่ รมานกวา เพราะหมอหามลกุ
จากเตียง เนอ่ื งจากตอ งรอดูผลการตรวจปส สวะวามีเลอื ดออกมาหรอื ไม ผูปว ยคนอนื่ ๆ
เขาก็เริ่มทยอยก ลับ Ward ทีละคนสองคนจนหมด เหลือเราเพียงคนเดียวที่ปสส าวะ
ไมออก สรุปวา คืนน้ันเรานอนเฝาหนว ยไตอยูคนเดยี ว ความเจบ็ ทงั้ หมดท่มี หี ายไปสิ้น
เพราะ ความกลัวเริ่มเขามา แทนที่ ความเงียบสงบ และความมดื ของหนว ยไต มนั วงั เวง
ยิ่งนัก โดยเฉพาะยามดึก สงัด มันเงียบสงบมาก เหมือนไมม ใี ครอยูก ับเราเลยสักคน
มนั แสนจะทรมานใจเหลือเกิน คืนนั้นท้ังคนื แทบไมไ ดนอนเลย สายตาท้งั สองขา งจบั จอ ง
มองดแู ตน าฬกิ าวา เมอื่ ไรจะถึง 6 โมงเชา เสียที ย่งิ รอดูเหมือนวาเวลามนั ย่งิ เดินชา ลง
กวา จะผานไปแตละนาที แตละช่วั โมง มันยาวนานเสียเหลือเกิน

ผลการตรวจ ครั้งน้ัน ทําให พบสาเหตุทแี่ ทจริงของอาการตาง ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้

หมอวนิ จิ ฉยั วา กลมุ อาการตา ง ๆ นน้ั มาจากการเปน โรค IgA Nephopathy ตอนแรก
ก็ไมร ูห รอกวามัน คือ อะไร รูแคเพียงวา มนั เปน โรคท่ีเกิดจากการติดเช้ือไวรัส ท่ี Immune
ที่ไต ชนดิ A เชอ้ื ไวรสั ไดเขา ไปทาํ ลายเน้ือเยื่อทีไ่ ตท้งั 2 ขา ง สง ผลใหไ ต ฟอ ลงไปเรื่อย ๆ
และไตจะคอ ย ๆ สญู เสยี การทาํ งานจนในทสี่ ดุ จะเขาสูภาวะไตวายเรือ้ รัง หลงั จากนน้ั 2 ป
กวา ๆ ทีต่ อ งเดนิ ทางเพอ่ื รับการรกั ษาตอเนอื่ งท่ีศริ ิราชเดือนละ 2 ครง้ั “การเดนิ ทาง”
ทาํ ใหเ ราไดฝ ก ความอดทน และความแข็งแกรงของจติ ใจของเรา มากขึน้ เรื่อย ๆ “ความ
เจ็บปวด” “ความทกุ ขท รมาน” ตา ง ๆ จากโรคทีม่ ันเกดิ ขน้ึ เรม่ิ เปน สว นหนง่ึ ในชวี ิตเรา
ทีเ่ ราไมอาจจะหลีกเล่ยี งมนั ได และกเ็ ร่ิมบอกตวั เองวา “เราตอ งยอมรบั และเรยี นรทู จี่ ะ
อยูโรค รว มกนั อยางสันต”ิ ถา เราอยไู มไ ด โรคก็อยไู มไดเ ชน กัน

แมจ ะบอกตัวเองใหเข็มแข็ง บอกตวั เองใหสู เรียนรูอยูกับโรคใหไ ด แตห ลาย

ครงั้ หลายคราทม่ี ันเจบ็ ปวด ทกุ ขทรมานอยา งแสนสาหัส กวา จะผา นไปไดแตล ะวัน แตล ะ
เดือน แตละป มนั ยาวนานเหลือเกนิ จนบางครัง้ คดิ วาเราคงอดทนตอ สง่ิ เหลา น้ันตอ ไป
ไมไ ดอีกแลว การหันหาเขา ธรรมะ ปฏิบตั ธิ รรม อา นหนงั สือ เปนอกี หนทางหนึง่ ทท่ี ําให

ใจเราสงบลง เขา ใจชวี ติ มากขึน้ ยอมรับในสิง่ ทเ่ี กดิ ส่ิงท่เี ปน ไดอยางแทจริง “สง่ิ ทีเ่ กิด
ข้ึนกับเราไมตอ งถามหาคําตอบจากใครเลย ทุกสิ่งลวนมาจาก << กรรมของตวั เอง ...
อันเปน ผลทเ่ี กดิ จากการกระทาํ ของตวั เอง >> เม่อื คดิ ได ก็ไดคิด วา จะใชชีวติ อยูต อไป
ไดอ ยา งไร ใหท ัง้ กายใจเราไมท กุ ข ? “ความตาย” จงึ ไมใ ชส ่ิงท่มี ีความหมาย หรอื เปนสง่ิ ท่ี
เราจะตองกลวั อีกตอไป แตส ่งิ ทมี่ ีความหมายในชวี ิต คอื “การยอมรบั เรยี นรู ทจี่ ะอยกู บั
โรคท่เี ปนไดอ ยา งไร ? กายใจเราจึงจะเปนสุข”

จากนี้ตอ ไป คือ บทพิสูจนใ นการเดนิ ชวี ติ ของชวี ติ เราจะผานความทุกข ความ
เจ็บปวดท่จี ะเขามาในชวี ิตเราไดอ ยางไร ? เพอื่ ที่จะรกั ษาชวี ติ และลมหายใจของเราเอาไว
ทําในสงิ่ ทต่ี องการ ทาํ ในสง่ิ ท่ีเปน ประโยชนตอสังคม นบั จาก น้ีไปฉนั จะไมร อ งไห ใหก ับ
ความเจ็บปวดจากโรคนีอ้ กี แลว เพราะฉนั ทาํ ใจยอมรับส่งิ ทเ่ี กิดข้นึ กับตวั เราไดแ ลว นา้ํ ตา

ท่มี นั เคยไหลจะไมมอี กี แลว มันจะเปน "นํา้ ตาหยดสุดทาย" ทเ่ี ราจะรองไหเ พราะ

เจบ็ ปวดทรมานจากโรคไต “โรคไต เราและนายจะอยดู ว ยกนั ตอ ไป วนั ใดทเ่ี ราหมดลม
หายใจนายก็ตองหมดลมหายใจดว ยเชน กัน หากนายตองการมชี ีวติ อยูรว มกับเรานาย
กต็ อ งไมท ํารา ยเรา”

ขอบคุณ "โรคไตท่ที าํ ใหเรารจู กั คณุ คาของชวี ิต รจู กั การใชชวี ติ และท่ี

สําคัญทําใหเรารวู าชีวิตและเวลาทีเ่ ราเหลืออยูเ ราตองทาํ อะไร เพอ่ื ใคร"
29 มนี าคม 2546

จุ ด เ ป ลี่ ย น ชี วิ ต

บ ท พิ สู จ น ค ว า ม อ ด ท น

“ไมร ูวาเปนเพราะชะตาฟา ลขิ ิต...หรอื ...ชวี ติ ทีต่ ดิ กรรม
ที่ตอ งมีเรือ่ งราวและบทพิสูจนค วามอดทนใหชวี ิตอยา งตอ เน่อื ง”

หลงั จากการรกั ษา IgA Nephopathy เปน ไปไดดว ยดี การดําเนนิ ของโรค

เริม่ ชลอชาลงแตเรากลบั ประสบอบุ ัตเิ หตุในการแขง แชรบ อล ในงานกฬี าบุคลากร
มหาวทิ ยาลยั ...ตอนนั้นก็ไมไ ดม ีการอาการอะไรมากแคร ูสึกวาปวดหลัง และ อาการปวด
หลงั ก็เรม่ิ ทวีความรุนแรงและปวดมากข้ึนเรอ่ื ย ๆ จนทําใหต อ งไปพบแพทย X-ray
ปรากฏวา กระดกู สนั หลงั L4, L5 ราว และเคล่ือนมาทับเสน ประสาท เมอื่ ตอ งมีการรกั ษา
กระดูกหลังทร่ี า วและเคลอ่ื นเร่ิมข้นึ การรกั ษากส็ วนทางกบั อาการของ โรคไตที่เปน ยาแก
ปวดทกุ ชนิดกไ็ มส ามารถกนิ ได สงิ่ ท่ที าํ ได คอื ทายา ระงับความเจ็บปวด ซง่ึ ก็ไมไดช ว ยให
ความเจบ็ ปวดเหลา น้ันลดลงเลย ตอนนน้ั สิ่งทด่ี ที ่สี ุดท่ี ทาํ ได คือ “อดทน และกอ็ ดทน”
ไดแตบอกกบั ตวั เองวา “เดี๋ยวมนั กห็ าย” เวลาผา นไปอาการตา ง ๆ กเ็ รม่ิ ทวคี วามรนุ แรง
มากขน้ึ จนไมส ามารถขยบั ขาสว นลา งตง้ั แตเอวลงไปได จึงทําใหต ดั สินใจเขา รับการผา ตัด
ใสเ หลก็ และทาํ Bone Graft กอ นการผาตัดก็ตอ งพบกับ Lab ชดุ ใหญอ ีกตามเคย เรมิ่
จาก X-ray เจาะเลือด Ultrasound เพื่อฉีดสีดูรอยรา วท่กี ระดกู หลงั (การรกั ษาครั้งนีก้ ไ็ ด
เรียนรเู คร่อื งมือแพทยใหม ๆ อาการใหม ๆ ความเจ็บปวดแบบใหม ๆ ชีวติ ไดเ รียนรู
เพมิ่ ขน้ึ อีก ถา กระดูกไมร า วคงไมม ที างไดสัมผสั หรอื เรียนรูแ น ๆ)

การผาตดั เรม่ิ ข้นึ ในวนั ท่ี 5 ธนั วาคม 2546 เวลา 20.00 น. (ฤกษด มี าก ผา ตดั

วนั พอเลย) ใชเ วลาในการผา ตดั 4 ชม. เตม็ หลังจากนนั้ เราก็มเี หลก็ ยาว 7 นิ้วเปนของ
ตวั เอง พรอ มกบั ความเจบ็ ปวดทีแ่ สน จะทรมาน เพราะหลงั การผา ตดั หมอสง่ั ฉดี ยา
แกปวดไปหลายเขม็ ในขณะท่ีไตเรากเ็ ร่ิมแยล ง เพราะเสยี ทงั้ เลือดและไดท ้งั ยาแกปวด
2 วนั หลงั การผาตดั เริ่ม มอี าการ บวม คา Cr ก็เพ่มิ ข้นึ เร่อื ย ๆ ซึง่ หมอบอกวา ถา ไมล ดคง
ตองฟอกเลือด ทนั ทีที่ไดย ินทําใหเ ราตัดสินใจของดยาแกป วดทกุ ชนิด ทันที จะขอตอ สูกับ
ความเจบ็ ปวดดว ยใจของตวั เอง หลงั จากท่ีงดยาแกปวด 2 วนั หลงั จากนน้ั อาการบวมก็
ลดลง แตค วามเจบ็ ปวดมนั ไมไ ดล ดลงเลย 12 วนั กบั การอดทน ตอสูกบั ความเจบ็ ปวด
1 เดือนทตี่ อง นอนนง่ิ ๆ (เพราะหมอใหเ ดินใหนอยทสี่ ดุ เพ่ือปองกันไมใ หเ หล็กท่ดี าม

กระดูกเคลอ่ื น ) ในชีวติ ดเู หมอื นวา ครงั้ น้จี ะทาํ ใหชวี ิตเราสงบนง่ิ ไดนานท่ีสดุ เทา ที่เคย
เปน มา

การรกั ษาครั้งนี้ ใหบ ทเรยี นชวี ติ เพ่ิมข้นึ เปนผูมีประสบการณด านโรคเพ่มิ ข้ึน

อีกหนงึ่ โรค ใหบ ทเรียน และพิสจู นก าํ ลงั ใจ สอนใหร ูวา “ทกุ สิ่ง ทกุ ปญหา ทม่ี ันผา นเขา
มาในชวี ติ ถาเรามีความ ..อดทน.. และ ..มงุ มัน่ ..มันก็จะผานไปได ” และทกุ ความ
เจบ็ ปวด ความทรมาน ผานมาเพียงแคเ สี้ยววนิ าที แลวมนั ก็ผา นไปเหลือแคเ พยี งอดตี และ
ความทรงจาํ วันตอ ไปกต็ อ งพบกบั ความเจ็บปวดแบบใหมเขา มาใหเ ราเรียนรูที่จะกาวขาม
เดนิ ไปขา งหนา ตอ ไป

12 มกราคม 2547

จุ ด เ ป ลี่ ย น ชี วิ ต

“ ย้ิ ม ใ ห ตั ว เ อ ง...ใ น วั น ที่ ใ จ มั น อ อ น ล า ”

"เมอ่ื ชีวิตเดนิ ทางมาถึงจดุ ๆ หนง่ึ ที่ใจมันออ นลา หมดหวงั รูส กึ ทอ แท
สง่ิ เดยี วทีท่ าํ ได คอื ยิม้ ใหต ัวเองแลว บอกกับตวั เองวา ..

หนึง่ ชีวติ ท่เี ปน เรานัน้ ไมใชของเรา แตมาจากสองหัวใจแหง ความรัก ไมวา จะเกิดอะไร
ขนึ้ เราตอ งอดทนและฟน ฝาไปใหได เพอ่ื ตอบแทนหัวใจทงั้ สองดวง "

หลายครั้ง ทช่ี ีวติ พบกับปญหาตา ง ๆ ท่เี ขามารมุ เรา และทกุ คร้งั เราก็ได

กาํ ลังใจจากคนที่รักเรา ทําใหเรามแี รงและกําลงั ทีจ่ ะลุกขนึ้ สู กา วเดนิ ตอ ไป ยอมรับวาเคย
มหี ลายครง้ั เหมอื นกันท่ีคิดอยากหยุดทุกอยา ง อยา งหนปี ญหา ไมอ ยากเผชิญกบั ส่ิงท่ีมนั
เกดิ ขึ้นอีกแลว ซง่ึ ทกุ ครั้งท่ีเกิดความคดิ นี้ขึน้ มา มภี าพหน่งึ ทล่ี อยมาหาเรา คอื "พอกับ
แม" คนท่ใี หชวี ิตและลมหายใจเรา คนทร่ี กั เรามากกวาชวี ิตของตวั เอง เคยถามตัวเอง
เหมอื นกนั วาเราทาํ รายตัวเองไดไหม ?...คาํ ตอบ...คอื ...เราทาํ ได แลวเราจะทาํ รา ยหวั ใจ
ของพอกับแมไดไหม ? พอคําถามนม้ี ันเกดิ ข้ึน ความรสู ึกทอแท ส้ินหวงั และความรูสกึ
เหลานน้ั มนั จะหายไปในทนั ที เพราะเราคงทาํ อยา งนน้ั ไมไ ด หน่งึ ชีวติ ของเราเกิดมา
จากความรกั ของสองชีวิต หากเราทํารายหนึง่ ชีวติ คอื ตวั เรา เทา กบั เราทํารา ยชวี ติ
อกี สองชวี ติ

ทกุ ครัง้ ที่มองยอ นกลับไป เราดีใจที่เราผานความรูสกึ แบบนั้นมาได ดใี จทเี่ รามี

คนรอบขา งทดี่ ี คอยเปน กําลังใจใหเ ราอยตู ลอดเวลา ทกุ รอยยม้ิ ท่เี ราไดร บั มนั ทําใหมี
กําลงั ใจสูกบั สิง่ ท่ีเกดิ ขน้ึ มแี รงและมคี วามหวงั ในการใชชวี ิต มองเห็นวนั พรงุ น้ี เพราะที่
ผานมาเราเคยแตยิ้มใหคนอื่น แตเรากลับไมเคยยิ้มใหตัวเองเลย เราจงึ ไมเคยไดสัมผสั
ความสวยงาม และเสนหของรอยยิ้มเหลานั้นเลย

วันนี้ เราไดลองหดั ยมิ้ ใหตัวเองแลว มนั ทําใหไ ดรบั รูวา กาํ ลงั ใจทด่ี ีที่สดุ ในชีวิต

ตอ งมาจากตวั ของเราเอง เพียงแคเราลองยิ้มใหต ัวของตัวเอง เรากม็ ีแรงและกาํ ลงั ใจทีจ่ ะ
สรรคส รา งสิ่งตาง ๆ ไดอ กี มากมาย ปญหาทกุ ปญ หาที่ผา นเขา มาในชวี ิต เราก็พรอ มท่ีจะ
เผชญิ พรอมที่จะกา วผา นมนั ไปดวยความหวงั

"ไมวา ชีวติ จะเกิดอะไรขึ้น ฉนั จะกา วผานมนั ไปดวยหนึ่งรอยย้มิ กบั สองความรกั "
11 พฤษภาคม 2550

จุ ด เ ป ลี่ ย น ชี วิ ต

“หั ว ใจ ท่ี แ ข็ ง แ ก ร ง ทาํ ใ ห มี แ ร ง ก า ว เ ดิ น ตอ ไ ป”

“ภมู ิคมุ กนั ทดี่ ีทสี่ ดุ ในตวั เอง คอื จิ ต ใ จ ท่ี เ ข ม แ ข็ ง”

เมอ่ื เวลาผา นไป “ไต” ...กส็ ญู เสยี การทํางานไปทลี ะนอ ย ๆ จนในทีส่ ุด

อาการตา ง ๆ ก็เริ่มรนุ แรงขึ้นเรอ่ื ย ๆ จน กาวเขา สู ภาวะ “ไตวายเร้ือรังระยะสดุ ทา ย ”
(นี่ฉันกลายเปนผปู ว ยไตวายเร้ือรังระยะสุดทาย...แลว หรอื ? ) คําถามทีเ่ กิดขึน้ ไมไ ดเปน
คาํ ถามท่ีตอ งการคําตอบ แตเ ปนคําถามท่ถี ามตวั เองวา ? จากนต้ี อ ไปเราจะใชชีวติ อยู
อยา งไร ? ทุกสิ่งทเี่ กิดขึน้ ตลอดระยะเวลาผานมากับคาํ วา “ผูปวยโรคไต” ทาํ ใหเ ราได
เรยี นรจู ักพยาธิสภาพของโรคไต การดาํ เนนิ ของโรค อยา งทอ งแท และท่สี าํ คญั ที่สุด คอื
“การปรบั ตวั ” ทีจ่ ะเผชญิ และกา วขามผา นกลมุ อาการตาง ๆ เหลา นนั้ ของโรคไตทีเ่ กิดข้ึน
ในแตละวนั เพือ่ ใหชวี ิตมีความสุขทงั้ กายใจ ไมทกุ ข ทรมานกบั อาการตาง ๆ ที่เกิดข้นึ

“โรคไต” เปน ครสู อนประสบการณ ชวี ิตหลาย ๆ ดา น ทง้ั ประสบการณก ารใช

เคร่ืองมือทางการแพทย ประสบการณการใชยา และที่สําคญั คือ ประสบการณก ารใช
ชีวติ ในการเปนผูโ รคไต (รบั รองไดว า ใครไมเคยเปนไมม ีทางรไู ดเลย) การเจบ็ ปวยตา ง ๆ
มีดา นดี ๆ มากมายใหเ ราสมั ผัส อยูเราเลอื กท่ีจะมอง สําหรบั ฉัน “โรคไต” ใหอ ะไร
มากมายในชวี ติ

โรคไต... “สรา ง” ... ภมู ิคุมกนั ท่ีดที สี่ ดุ คือ “จติ ใจท่ีเขมแข็ง”
โรคไต... “สอน” ... ใหร วู า “เวลา” มีคุณคา และสาํ คัญมากเพยี งใด
โรคไต... “เสรมิ ” ... พลังและกาํ ลงั ใจในการเรยี นรตู อ สชู ีวิต
“การฝก จติ ใจใหเขมแข็ง เปน เหมอื นกําแพงก้ันปญ หา และอุปสรรคในชีวติ ชว ย
ใหเ รามีแรงและกําลังใจในการกาวเดนิ ตอ ไป” ความอดทนในการตอ สกู บั เหตกุ ารณต า ง ๆ
ทผ่ี า นเขา มาในชวี ิต การบอกตัวเองทกุ วนั วา “ตองส”ู และ “กาวเดนิ ตอ ไปใหไ ด ”
แมบ างครง้ั อาจเจ็บปวด ทุกข หรอื ผดิ หวงั เกดิ ความรสู กึ ทอแท และออนแอ แตเมอื่ ไดส ติ
ฉันก็จะลุกขึ้น กา วเดนิ ตอ ไปดวยความหวงั และกาํ ลงั ใจ บอกตวั เองอยเู สมอวา สกั วนั คงไป
ถงึ เสน ชัยในชวี ิต

20 พฤศจิกายน 2550

จุ ด เ ป ลี่ ย น ชี วิ ต

“อ ยู กั บ ค ว า ม ทุ ก ข ใ ห มี ค ว า ม สุ ข ไ ด อ ย า ง ไ ร”

“วนั ท่ีเรามคี วามทุกขม ากทสี่ ดุ วนั นัน้ กจ็ ะเปนวนั ที่เราเขมแขง็ มากทสี่ ดุ เชน เดยี วกนั ”

จะกค่ี ร้งั ท่ี ทอแท และส้ินหวงั ส่งิ เดียวทที่ ําใหมแี รงลุกข้ึน และกา วตอ ไป

ขางหนาได คือ “ความหวัง” และ “กาํ ลงั ใจ ” อยางนอยมุมหนึ่งของความเสียใจ ความ
ผดิ หวงั มันก็ทาํ ใหเราเรยี นรแู ละเขาใจโลกมากยิง่ ขึน้ ทกุ ยางกาวทีเ่ รากา วเดนิ ไปจะทาํ ให
เราไดเรยี นรูคุณคา ของการมชี วี ติ และลมหายใจ แมห นทางในการดาํ เนนิ ของชวี ติ จะ
คดเคี้ยว และลาํ บากสกั เพยี งใด แมบางคร้ังจะเดินไปสทู างตนั ก็ตาม เสน ทางที่คดเคยี้ ว จะ
สอนใหเ ราสามารถประคองตวั รกั ษาสมดลุ ชวี ติ ใหส ามารถเดนิ ทางไปตามความคดเคย้ี ว
น้ันได สอนใหเรารจู ักการออนนอมถอ มตน รูจกั การปรบั ตวั ในการดาํ เนนิ ชีวิต ลาํ บากมาก
บางนอ ยบางก็ขนึ้ อยูกับเสน ทางทเี่ รากา วเดนิ ไป เมอ่ื เราเดนิ ทางไปสทู างตนั (เสน ทางผดิ )
การเดินทางเหลา นั้นก็จะสอนใหเ ราใหเ รยี นรู ทบทวนในสิ่งที่เราคิดเราทาํ ใหมอกี คร้ัง
สอนใหเ ราเอาขอ ผดิ พลาดพลาดในการเดนิ ทางครง้ั แรก มาพจิ ารณาหาสาเหตเุ พอ่ื แกไ ข
และกา วเดนิ ตอ ไปดว ยสตใิ นเสนทางใหมอ กี ครัง้ จะก่ีรอ ยกี่พันเสนทางเดนิ ในชวี ติ จะก่ี
รอยกี่พนั ครัง้ ในการกาวเดินที่ผดิ พลาด ไมใ ชจ ดุ จบสุดทา ยในการใชช วี ิต แตท กุ รอ ยทุกพัน
ครัง้ ท่กี าวเดินผิด คือ “ประสบการณใ นการใชช วี ติ ” ย่ิงกา วผิดพลาดมากเทาไร ยิ่งได
เรยี นรู มปี ระสบการณใ นการแกไขส่ิงตาง ๆ มากเทา น้ัน

ในชีวิตเราทกุ คน คงไมมใี ครกาวเดินบนถนนสายชวี ติ ดวยเสน ทางท่โี รยดวย

กลีบกหุ ลาบ คงไมม ใี ครทไี่ มเ คยกาวพลาดสักครง้ั สกั ครา มีแตวา จะผิดพลาดมากนอ ย
แคไ หนเทา นน้ั เอง คนเราเกดิ มาบนโลกใบในเวลาทต่ี า งกนั (แมแตคูแ ฝดยงั คลอดออกมา
ไมพ รอ มกนั ) จงึ ไมตองแปลกใจเลยวา “ทําไมคนเราจึงไมเ หมอื นกัน”

“หนา ตา”...เหมือนกนั ...นสิ ัยตา งกัน
“พอ แม”...เดยี วกนั ...เพศ อายุ หนา ตา นสิ ยั อาชพี ...ไมเ หมอื นกนั
“ครอบครัว”...เดยี วกนั ...เพศ อายุ หนา ตา นิสยั อาชพี ไมเ หมือนกนั

“ชมุ ชน”...เดยี วกนั เพศ อายุ หนา ตา นสิ ยั อาชพี วฒั นธรรมในครอบครวั ไม
เหมือนกัน

ธรรมชาติ สรางทกุ ส่งิ บนโลกใบนใี้ หเ กิดความแตกตาง เพ่อื ใหทุกชีวติ ท่ีเกดิ มา

ไดเ รยี นรทู ่จี ะอยกู ับความแตกตาง คนทเ่ี รยี นรูและปรบั ตัวกบั ความแตกตา งไดม ากทส่ี ุด
คอื “คนทม่ี ีความสขุ มากท่สี ดุ ” คนที่ไมส ามารถเรียนรูแ ละปรับตวั เขา กับความแตกตา ง
ไดนอยทีส่ ุด คอื “คนท่มี ีความทุกขมากที่สุด” หลกั งาย ๆ ในการใชชีวิตทจ่ี ะอยูก ับความ
แตกตา งบนโลกใบน้ี คือ “การยอมรับ เรยี นรู อยก บั สงิ่ นั้น ๆ ” ยอมรับในที่มี ยอมรับใน
ส่งิ ท่ีเปน ทงั้ ในธรรมชาติสภาพแวดลอ ม เหตกุ ารณตา ง ๆ ตวั ตนของตนเองและตัวตนของ
คนอ่ืน เพ่อื ที่จะเรียนรูปรบั ตัวใหสามารถอยรู วมกบั ธรรมชาตสิ ภาพแวดลอ ม เหตุการณ
และสังคมได เพียงเทาน้เี ราก็สามารถใชช ีวิตอยบู นโลกของความแตกตา งไดอ ยา งมี
ความสขุ

“หากตวั เรายงั คงมคี วามหวงั มแี รง และพลงั ” สักวนั เราคงเดนิ ไปถึงเสน ชัย
ในชวี ติ วนั วาน และวันน้ที ําใหเ ราไดบ ทเรียนชวี ติ ทม่ี คี ามากท่สี ุด ทาํ ใหรูวาโลกน้ยี งั มี
อะไรอีกมากมาย ทั้งที่ดแี ละเลวรา ยทีเ่ ราไมเคยสมั ผัส สงิ่ ราย ๆ ท่ีเราพบมันคงเปนเพียง
แคเสี้ยวหนึ่งในชีวิตแคน้ันเอง วนั พรงุ น้ยี ังมีสงิ่ ดี ๆ อกี มากมายทร่ี อใหเราเอือ้ มมือไป
สมั ผสั มนั มองทกุ สิง่ ทผ่ี านเขามาในชวี ติ “ใหเปนบทเรียนทมี่ คี า ยิง่ ” ทเ่ี ราไมส ามารถหา
อา นไดจ ากหนงั สอื หรือตําราเลมไหน ๆ ที่สดุ ของความทุกขใ นทุก ๆ เรอื่ งน้นั มีขอบเขต
มวี งจํากัดของความทุกขน้ัน เพยี งแคเ รามคี วามอดทน อดกลนั้ ตอ สงิ่ เหลาน้ัน และกาว
ผา นชว งเวลานน้ั ไปใหไ ด เวลาจะเปนผูที่คอยเยียวยา รักษาความเจ็บปวดทั้งหลายให
หายไป เวลาจะเปน ตวั ชว ยใหจ ิตใจเราแขง็ แกรงข้ึน

ถา เรามสี ติ อยกู บั ปจจุบนั ทเ่ี ราเปน ไมกงั วลและคดิ ถึงวันวานและอนาคต
มากนกั จะทาํ ใหเ ราสามารถตอ สู หรือแกไ ขกับ ความทกุ ขท ่ีเกิดขึ้นกับเราในปจจุบนั ได
อยา งงา ยดาย ลมื อดตี ทม่ี ันเลวราย รวบรวมแรงและกําลงั ใจแกไขสิ่งทเ่ี ปน ปจ จบุ ัน
ตง้ั มัน่ จติ ใจใหแ นว แน เพือ่ หาแนวทางแกไข เรยี นรแู ละเขา ใจธรรมชาตขิ องความ
ทกุ ข จะทําใหเราไดสัมผสั สง่ิ ท่ีดี ๆ กลบั มาเสมอ

“วนั ทเ่ี รามี ความทกุ ข มากที่สุด วันนั้นก็จะเปนวันที่เรา เขม แข็ง มาก

ทส่ี ุด เชนเดยี วกัน”

วันนี้ ฉันสามารถใชชีวิตอยูรว มกบั ภาวะไตวายเรอื้ รังระยะสดุ ทา ยได อยา งมี

ความสขุ “ความเจ็บปวด ความทกุ ข ความกังวลในอดีตฉนั ลืมมนั ไป
หมดแลว พยายามอยกู ับปจจบุ ันใหมคี วามสุขมากที่สดุ ” ทําในส่ิงท่อี ยากทาํ และ
สามารถทาํ ได กลา ที่จะกาวเดนิ ในเสนทางท่ีเลอื กเอง และเดินไปดวยหวั ใจท่ีตง้ั ม่ัน ไมเ คย
คดิ หรือกงั วลกบั อนาคตที่มันจะเกดิ ข้นึ ในวนั พรงุ นี้ วาเสน ทางทเี่ ราเลือกเดนิ ไปนั้น เราจะ
พบกับความสาํ เรจ็ หรือไม จดุ จบจะเปน เชน ไร “เพยี งแคว ันน้ีไดล งมือทําในส่งิ ทอี่ ยากทาํ
แคน กี้ ส็ ขุ พอแลวกบั หน่ึงชวี ติ ทีเ่ หลืออย”ู

อยากขอบคณุ โรค และทุกปญหาและอุปสรรคในชีวติ ทท่ี ําใหวนั น้ีฉัน
สามารถท่จี ะยมิ้ ไดทัง้ นาํ้ ตา ทาํ ใหฉนั มคี วามอดทน และเขมแข็งท่จี ะยนื และ
กา วเดนิ ตอ ไปไดใ นโลกใบน้ีไดอยางมคี วามสุขในทกุ ๆ วัน

28 เมษายน 2551

จุ ด เ ป ลี่ ย น ชี วิ ต

โ ล ก ส ด ใ ส ใ น ทุ ก ๆ วั น “ ชี วิ ต ใ ห ม..กั บ วั น ใ ห ม ”

" บนเสนทางเดนิ ของชีวติ ...ยอ มมแี สงสวางใหเ รากา วเดนิ ไปอยูเ สมอ "
เม่อื พระอาทิตยกําลงั เคลื่อนพนจากขอบฟาเปน สัญญาณใหร วู ากําลงั กาวเขาสู

“วันใหม”
อดีต...คือ...บทเรยี นชวี ติ ทนี่ าจดจํา และเปน ประสบการณทด่ี ี
ปจจุบัน...คอื ...ชวงเวลาทีด่ ีที่สุดทเี่ ราสามารถลขิ ติ ได
อนาคต...คือ...ความหวังและความฝน ท่ีเปนแรงบันดาลใจ

ไมว าจะวันไหน ๆ จะเปน วันท่ีดที ่สี ุดในชีวิ ต เมอ่ื ใดทเี่ รารสู กึ วา ตัวเองกาํ ลัง
“ทอ ..กําลังสิน้ หวงั ” อยาปลอ ยใหค วามทอ แทส นิ้ หวังน้นั มนั กอ ตัวขึน้ ในใจเรา นาน ใหส ิ่ง
เหลา น้ันมนั เปนแคเพียงความรสู กึ พยายามลบมนั ออกจากใจใหเ รว็ ท่ีสุด และพยายามลุก
ขน้ึ กาวเดนิ ตอ ไป เพราะหนทางขา งหนา ยงั มีสิง่ ใหม ๆ รอใหเราเรยี นรูอกี มากมาย

ความทุกขใ จ เศราใจ ความผิดหวงั ทงั้ หลายทผ่ี า นเขามาในชีวติ เปน

ประสบการณทีด่ ี ท่ีทาํ ใหเ ราเขม แขง็ และอดทน ทาํ ใหเ ราสามารถเผชญิ กบั ส่ิงเลวรา ย
ที่จะเกดิ ขึน้ ในวันน้แี ละอนาคตไดอ ยา งไมม ีขอ แม ทกุ ส่ิงในชีวติ แมวาจะเร่ิมตนไมส วยงาม

แตก็สามารถจบลง ดวยความงดงามไดดวย “สองมือ สองเทา และ หน่งึ หวั ใจ ” ที่

กลา แกรง เมื่อทกุ ขเ กา ผา นไป ทกุ ขใหมกจ็ ะเขา มาแทน เมื่อความสขุ เกาผา นไป ความสุข
ใหมก็จะเขา มาแทน ในชีวิตเราก็มเี พียงเทาน้ี จะอยูก บั เราชา หรือเร็วนน้ั อยูท ี่ตวั เราเองวา
จะเกบ็ “ทกุ ข และสขุ ” นนั้ ไวกบั เรานานเทาไรแคนั้นเอง วนั น้ีสขุ -ทกุ ขผ านเขา มาเพือ่ ให
เราไดสมั ผัส แกไข จดจาํ อยา ไดย ดึ ตดิ กบั สงิ่ เหลา น้นั เมอ่ื สมั ผสั แลววานั่น คอื ความสขุ
น่ัน คอื ความทุกข กจ็ งวางส่งิ เหลาน้ันลง เตรยี มกําลงั ใจเพอ่ื รอรับทุกข-สุขในวนั พรุงนี้
ตอไป วันเวลาผานมาแลว กผ็ า นไป ชีวิตเรามีวนั ใหม ๆ ไวร อใหเ ราสมั ผสั และกา วขา ม
ชว งเวลาเหลา นนั้ ตลอดเวลา ทุกสิง่ ทุกเหตกุ ารณท ่ีเกดิ มันเกิดข้นึ เพียงแคเสย้ี ววินาที
ไมม เี หตกุ ารณใ ดเกดิ ขน้ึ นานกวา วนิ าที แตล ะเหตกุ ารณน น้ั อาจตอ เนอ่ื งยาวนานมากนอ ย
ข้ึนอยูกับชดุ เหตกุ ารณน ้นั ๆ

ชวี ิตที่เหนอื่ ยนนั้ เปน เรื่องธรรมดา ถาชวี ิตใครไมเคยเหนื่อยลา นั่นสแิ ปลกเพราะ
คน ๆ น้ันคงไมเ คยตอ สแู ละดนิ้ รน “เม่ือทกุ ขไมเกิด...กาํ ลังใจก็ไมเ กดิ ” ทกุ ยา งกา วของ
การตอ ส.ู ..คือ...วนั พรุง น้ที ่ดี ีกวา หากวันนเ้ี รามวั แตทอ แทสน้ิ หวงั หยดุ ทุกส่ิงทุกอยางลง
วนั พรงุ นค้ี งไมตองพูดถงึ เราคงไมม ีแมแตแ รงทีจ่ ะประคองรา งของเราใหย นื อยู

ทุก ๆ วนั พยายามบอกตวั เองวา "วนั นเ้ี ปนวนั ท่ฉี ันมคี วามสขุ มากทีส่ ดุ

ความทุกขลวนเปน บทพสิ ูจนค วามสามารถ และกาํ ลงั ใจของฉนั ไมว า หนทางขา งหนา
จะยาวไกลสกั เพยี งใด ฉันจะกา วไปขา งหนา ดว ยหัวใจท่ีตงั้ ม่ัน ไมมีสิง่ ใดท่ีฉนั ปรารถนา
จะทาํ แลว ทําไมได " เพยี งแคน ี้ ทกุ ส่งิ ทเี่ ราตองการจะไขวค วาคงไมไ กลเกิน
เออ้ื ม

“ขอใหว ันนีเ้ ปนทุก ๆ วันใหมข องชวี ติ ...ทกุ ๆ เร่อื งทเี่ ลวรายนน้ั จะ
กลายเปน ดา นทด่ี ี ๆ ของชวี ติ เพยี งแคเรารจู ักที่จะมองหาดา นดี ๆ ของสง่ิ
เหลา นน้ั ความสขุ ความสมหวงั มมี ากเกนิ ไปจะทําใหเราออนแอ ไมม ีภมู ิ
ตา นทานใด ๆ เลย ตรงกนั ขา มยง่ิ เราทุกขม าก ผิดหวงั มากจะทําไหเ ราได
เรียนรูการใชช วี ติ และสามารถเผชญิ กบั วนั พรุงนไ้ี ดอยา งมีความสขุ ”

ตราบใดทเี่ รายงั รสู ึกวาเรามที ุกข เราเศรา ใจ แสดงวาเรายังมลี มหายใจ ยังมี
โอกาสไดเ รียนรทู จ่ี ะแกป ญหา "ทกุ อยา งทผ่ี า นเขา มาในชีวิต..คอื ..ประสบการณท ่ีดี
ทีส่ ดุ "

“อยาเพียงแคคิดวาเราจะเดนิ ...แตข อใหเราเรม่ิ ตนทจ่ี ะกาวเดนิ ไป
ขา งหนา ...แลวเสนชัยในชวี ติ จะเปนของเรา”

3 มกราคม 2552

จุ ด เ ป ลี่ ย น ชี วิ ต

“ ค ว า ม เ จ็ บ ป ว ย...คอื ...ล า ภ อั น ป ร ะ เ ส ริ ฐ ”

"เพียงแคเราเขาใจชีวิต ทุกสงิ่ ท่วี นเวียนเขา มาในชวี ติ ก็จะเปนแคเรื่องงา ย ๆ
และเปน ประสบการณท ่ดี ี ๆ ใหชีวติ "

สิบกวาปม าแลว ....ท่ีฉนั ไดร ว มทุกขร ว มสขุ มากบั เพอื่ นรัก “โรคไต” ทีใ่ คร ๆ ก็

ไมต องการใหมนั เกดิ ข้นึ กบั ตัวเอง แตใ นเมอ่ื มันเกดิ ขน้ึ แลว เราก็ตองอยูกบั มันตอ ไป

วันแรกทีเ่ ราพบกนั ยอมรบั วาทกุ ข ทอแท และสน้ิ หวัง จนหวั ใจมนั ออ นลา

เหมอื นกบั โลกนีม้ ันมึดมนไปทุกทิศ ทาง อนาคตท่ี วาดหวงั ไว เสน ทางเดนิ ชวี ติ ที่ คดิ วาจะ
สดใส มันมดึ ดบั ลงในทันที วินาทนี น้ั แทบจะไมม ีอะไรใหหวั ใจดวงน้ไี ดหวงั อกี ตอไป

วันแลววนั เลาฉันกไ็ ดแ ตเฝาถามตวั เองวา ทาํ ไม ? และทาํ ไม ? ชีวิตฉันถึงได

โชครา ยขนาดน้ี ทาํ ไม? ชวี ติ ฉันจะตอ งมาเจบ็ ปว ยดว ยโรคอะไรแบบน้ี คําถามเหลานี้มนั
วนเวียนอยูในความคิดตลอดเวลา ยิ่งคดิ ใจยง่ิ ทอ ยง่ิ คดิ ยิง่ สิ้นหวงั และวันหน่ึงฉันกไ็ ดค ดิ
วา ทุกอยางทีเ่ ราประสบลว นมาจากการกระทําของตัวเองทัง้ สิ้น แลวเราจะเฝา ตัง้ คาํ ถาม
วา ทาํ ไม ? ตอไปอีกเพอ่ื อะไร เพราะในความโชครายมนั มีส่งิ ดี ๆ ซอ นไวเ สมอ อยา งนอ ย
ในทกุ ๆ ความเจบ็ ปวด เรากไ็ ดฝ ก ความอดทนมากขน้ึ ไดเ รยี นรอู าการ และพยาธสิ ภาพ
ของโรค

“โรคเปน ครสู อนใหเ ราไดเ รยี นรกู ารปรบั ตวั และพฤตกิ รรมไดเ ปน อยา งดใี น
แตละวันเราไดเ รยี นรูอาการมากมายทม่ี นั กําลังจะเกดิ ขึ้น และสิง่ เหลานีจ้ ะสอนใหเ รา
เปน คนที่รูจ ักสงั เกต และสามารถแกปญหาในส่ิงท่ีเราเผชญิ อยไู ดเ ปน อยา งดี และสอน
ใหเ รารวู า เราตองปฏิบตั ติ นอยา งไรจึงจะอยรู วมกับโรคไดอ ยา งมีความสขุ ”

ทุกยางกา วที่เรากาวเดนิ ตอ จากน้ีเราก็จะกาวเดินตอไปดว ยสติ เวลาทุก

วินาทีทีก่ ําลงั จะผานเขามาในชีวิตเราจะใชม นั คมุ คามากทสี่ ดุ

วันนฉ้ี ันดีใจและขอบคุณเพือ่ นอยา งนายมาก “โรคไต ” ทท่ี ําใหฉ นั ไดพ บกบั
(แอน) ผูหญงิ ทีด่ ที ่สี ุดในชวี ิตอีกหน่งึ ทคี่ อยเปน แรงผลกั ดนั เปน กําลงั ใจใหฉ ันกลา ทีจ่ ะ
กา วขามผานความทกุ ขทเี่ กดิ ขนึ้ ในชีวิต โรคไตยังทําใหฉ ันไดพ บกับกลั ญาณมิตรมากมาย
ทง้ั ในรว้ั สถานศกึ ษา และสถานทท่ี าํ งาน แมว าวันน้ีคา การทาํ งานของไตจะลดลงมาก
เพยี งใด ฉันจะอดทนและตอสตู อ ไป ไมว าพรงุ นจี้ ะเกดิ อะไรขนึ้ ฉันจะไมเสยี ใจเลย เพราะ
วนั นี้ฉันทาํ ดที สี่ ดุ แลว

อนาคตนาย (โรคไต) จะพาฉันไปอยทู ่ไี หน ฉนั พรอมทจี่ ะไปพรอมนาย แตว ันนี้
ฉนั ยงั สามารถเอาชนะนายไดอ ยนู ายจะตอ งไปพรอ มฉนั แลว ฉนั จะพานายไปตามหาดา น
ดี ๆ ใหชีวิตดวยกัน บางทีนายอาจจะติดใจแลว อยกู บั ฉันตลอดไปก็ไดใครจะรู วันนี้ฉัน
ขอบใจนาย (โรคไต) มากท่ีทําใหฉ นั ไดเรียนรวู า การใชช ีวติ มันมีคา มากมายแคไ หน

ขอบคุณ “สองหัวใจ สองความรกั ” ที่มอบหวั ใจที่แข็งแกรง ดวงนม้ี าเรียนรู
ชวี ิตในโลกใบน้ี จะใชช วงเวลาดี ๆ ท่เี หลืออยูตามหาดานดี ๆ ของชีวติ ตอ ไป

1 กนั ยายน 2552

จุ ด เ ป ลี่ ย น ชี วิ ต

“ ชี วิ ต..ทุ ก ข ไ ด ก็ ต อ ง ท น ไ ด ต อ ง เ ข ม แ ข็ ง ใ ห ไ ด ”

"ขอบคุณ โรค ท่ีทาํ ใหไดเรยี นรู และประสบการณช ีวติ ไดสัมผสั กับความรูสึกตาง ๆ
มากมายทง้ั ความเจบ็ ปวด ทรมาน และรวู า ความอดทนเปน อยา งไร"

มีหลายคนเคยบอกฉันวา “ดูไมเหมือนคนปวยเลย ” ทกุ คร้ังที่ไดย นิ คําน้ี ทําให
หวั ใจฉนั ชมุ ชื่นอยตู ลอดเวลา มแี รงและกาํ ลังใจการกาวเดินบนถนนสายฝน ทุก ๆ เสนที่
เลือกเดินตลอดมา

แตเมือ่ เวลามนั ผา นไป เรากต็ อ งยอมรบั ในพยาธสิ ภาพของรา งกาย วา มนั ยอ ม

เสื่อมไปตามกาลเวลาและการดาํ เนินของโรค แมท่ีผานมาตองสรา งภมู ิคุมกันใหต วั เอง
สรา งกาํ ลงั ใจใหต วั เองใหม แี รงและพลงั ในการตามใหด า นดี ๆ ใหกบั ชีวิต แตค วามรูส ึกของ
ผปู วยเรือ้ รังระยะสดุ ทา ยทกุ คน คงปฏิเสธไมไ ด ณ จดุ หน่งึ ท่ีรูสึกสับสน วนุ วาย วาตอจาก
นีไ้ ปเราจะใชชวี ิตอยา งไร ท่จี ะทําใหคนรอบขา งทเี่ รารัก และรักเราเปน ภาระหรอื
เดอื ดรอ นนอ ยท่ีสุดจากการเจบ็ ปว ยของเรา

ทกุ วนั นี้พยายามบอกตัวเองอยตู ลอดเวลาวา “เราตอ งเดนิ ตอ ไปขางหนา ได
ดวยตัวของตัวเอง ถาเราอดทน ” ไมวา พรงุ นจ้ี ะเปนอยา งไร ขอแคว ันน้ีไดทาํ ในสงิ่ ทด่ี ี ๆ
เพ่ือตัวเองและคนรอบขางก็พอ ฝง ฝน จะจบลงท่ตี รงไหนกค็ งตอ งยอมรับมนั

ขอบคณุ “โรค” ทท่ี ําใหไดเ รียนรูจ กั กับคาํ วา “เจบ็ ปวด ” “อดทน ” และ
“เขม แขง็ ”

ขอบคณุ “โรค” ทีท่ ําใหฉันไดเรียนรวู า “ชีวิตน้ีมันมคี า มากเพยี งใด”
ขอบคณุ “โรค” ทที่ าํ ใหฉ นั ไดใ ช “ชวงเวลาทเี่ หลืออยูอ ยา งมคี ุณคา มากทสี่ ดุ ”
ขอบคณุ “โรค” ท่ีทําใหฉ ันได “เรยี นรวู า ชวงเวลาของการเปนผูปว ยเรือ้ รัง
ระยะสุดทายมันเปน อยางไร”

จากวันน้ีไปฉนั จะกา วเดนิ ผานทุกส่งิ ท่ีกําลงั จะเกิดข้นึ ดวยสติ และหวังวา

โรคเรือ้ รงั ท่อี าศยั อยูในตัวฉัน จะใหป ระสบการณท ด่ี ีในการใชช ีวิต และเรยี นรูก นั และกนั
ตอไปอกี นาน ๆ เพราะชวี ิตยงั มดี า นดี ๆ ใหต ามหาอีกมากมาย หวังแคเพยี งวนั นี้เราจะอยู
รวมกันและตอ สไู ปดว ยกนั อยา งมคี วามสขุ ก็พอ จะขอใชช ว งเวลาท้ังหมดทเี่ หลอื ทมี่ ี
สรา งสรรคส งิ่ ดี ๆ เพื่อสงั คมตอ ไป

18 พฤษภาคม 2553

จุ ด เ ป ลี่ ย น ชี วิ ต

“ ทุ ก ข ห รื อ สุ ข..อ ยู ที่ ใ จ ข อ ง เ ร า เ อ ง ”

“ส่ิงท่มี ีคาทส่ี ุดในชีวติ คอื การไดมชี ีวติ และลมหายใจ การไดมีโอกาสตอสูแ ละกา วเดิน
ตอ ไปขา งหนา ชวี ิตทุกชวี ติ ยอ มมีทัง้ เร่ืองราวดี ๆ และเลวรายทหี่ มุนเวยี น เปลี่ยนผันเขา
มาในชวี ติ จะมีสักกีค่ นในโลกใบน้ที ่เี กิดมาเพยี บพรอ มทุกอยา ง โดยท่ีไมเคยพบกบั ปญหา

และเรอ่ื งราวเลวรายใด ๆ เลยในชีวติ ”

ตราบใดที่เรายงั คงเปน มนุษยท่ยี ังคงเวยี นวา ยตายเกดิ ในโลกใบน้ี เรายอ มเจอทั้ง
ปญ หาและอปุ สรรคนานาชนดิ ทเ่ี ขา มาใหเ ราพสิ จู นค วามอดทน ชวี ติ เรายง่ิ เจอปญ หามาก
เทาไร ย่งิ ทาํ ใหเรามปี ระสบการณม ากขึน้ เทาน้นั

ทกุ ๆ ปญหาทผ่ี านเขามาในชีวติ จะเปนแบบฝก หดั ที่แสนวเิ ศษท่ีสุดที่ใหเ ราได
ฝกคดิ ไตรตรอง ดว ยเหตผุ ล ยงิ่ เราไดเจอปญ หาทีห่ นกั มากเทา ไร ทาํ ใหเ ราไดใช
วจิ ารณาญาณ และความคดิ มากขึน้ เทานน้ั เคยมีความรูส กึ แบบนไี้ หม ?...วา …

ทาํ ไมนะ...ชวี ติ เราถงึ โชครา ยไดม ากมายขนาดน้ี ?
ทาํ ไมนะ...เราถึงไดเ จอแตป ญ หาเดมิ ๆ แบบซ้าํ ซากอยูร่ําไป ?
ทาํ ไมนะ...เราถงึ พบเจอแตเ รอื่ งราวเลวรา ยอยูไดต ลอดเวลา ?
ทาํ ไมนะ...เราถงึ ไมไ ดม ีไมไดเปน อยางทเี่ ราคิด ?
ทาํ ไมนะ...เราทําสิ่งใดไมเคยประสบความสําเร็จเลยสักที ?
ในชวี ิตจรงิ ๆ แลว เราเคยหาคําตอบเหลา น้ีใหก ับตวั เองไหมวา “คาํ ถามเหลา น้ี ”
มนั เกดิ ขน้ึ มาจากอะไรกนั แน ?
“มนั เกิดขึ้นมาจากปญ หาที่ผานเขามาในชวี ติ เรา ” หรอื วา “มันเกดิ ข้ึนจากใจ
ของเราเอง” ถา เราพิจารณาใหดโี ดยการใชสตเิ ราจะเหน็ ไดว า “ปญหาทุกปญ หาที่ผา น
เขา มาในชีวิตเรานน้ั ที่เราทกุ ข เราเศรา เราทอ แท ผิดหวงั เบอื่ หนา ย มันเกิดมาจาก
ใจของเราเองทง้ั สน้ิ ” มนั ไมไดเกิดมาจากตวั ปญหาเหลา นัน้ เลย

เคยลองคิดเลน ๆ ไหมวา ...ทาํ ไม...มเี หตกุ ารณ ๆ เดยี วกนั เกดิ ข้ึนระหวา งคน
สองคน ทาํ ไมคนหนึ่งถงึ ไดท กุ ขใจไดอยา งแสนสาหัส...แตอ กี คนหนง่ึ กบั นัง่ หวั เราะและย้มิ
ไดอ ยา งมคี วามสุข สิง่ เหลานี้ไมใชเร่อื งแปลก เพราะวา “ความทกุ ข” กบั “ความสขุ ” คือ
เรือ่ งเดียวกัน แตใ จเราตางหากท่ที าํ ให “ความทกุ ข” กบั “ความสขุ ” เปน คนละเร่อื งกนั

หากเรามองในดานดี ๆ ของส่ิงทเ่ี กดิ ขึน้ เราก็จะพบแต “ความสขุ ” หากเรามอง
แตในดา นรา ย ๆ ของส่ิงน้นั เราก็จะพบแต “ความทกุ ข ” จะเห็นไดวา จะสุขหรอื จะทกุ ข
อยทู ีใ่ จของเราเองท้ังสนิ้

ทกุ ๆ ครั้งท่เี รามปี ญหาวนเวยี นเขามาในชวี ิต หากเรามองอกี มมุ หนึ่งในดานทเ่ี รา
ไมเคยมอง เราจะพบวา ทุก ๆ ปญ หาทีเ่ ขามา ลว นแตมีสิ่งดี ๆ แฝงอยใู นตวั ของมันเอง
อยา งนอ ยทีส่ ุดเราก็รูส ึกมีคณุ คา ในตวั เอง วาเราสามารถกาวขา มผานมันมาได
เกดิ ประสบการณด ี ๆ ในการตอสูและดน้ิ รน ซึ่งความรูสึกและสิ่งเหลาน้ีเราไมสามารถหา
ซ้ือหรือขอมาจากใครไดเ ลย ยิ่งเราเจอปญหามากเรากจ็ ะมีประสบการณม ากขนึ้ เร่อื ย ๆ
จนในทสี่ ุดเราก็จะมองเหน็ สิ่งเหลานี้วามนั ไมใชป ญหา เพราะเราไดเรยี นรแู ละศึกษา อยา ง
ถอ งแท ไดสัมผสั ในทกุ ความเปน ไปของส่ิงท่เี กดิ ข้ึนเปน อยา งดี

ชีวิตเราเกิดมาพรอ มกบั “หวั ใจหนงึ่ ดวง ” ทม่ี าจากความรักของสองชวี ติ

เพราะฉะนน้ั เทา กบั เรา “หนึง่ ชวี ิต” มหี วั ใจทผี่ กู พันกันอยู “สามดวง” ในเมื่อเรามหี วั ใจ
อยใู นตัวของเราเองต้ังสามดวง เราก็ตอ งมแี รงและกาํ ลงั ใจในการตอสแู ละกาวเดนิ ตอ ไป
ขา งหนา ไมวา จะเกิดสง่ิ รา ย ๆ ใด ๆ ผานเขามาในชีวิตเราตอ งกา วผา นมนั ไปใหไ ด และ
เกบ็ เกี่ยวสิ่งที่ดเี หลา นี้เอาไวในภาพความทรงจาํ ของเราใหไ ดมากท่สี ุดเทา ท่ีเราจะทําได

ทุกคร้ังท่ีเกดิ ปญหาและเรือ่ งราวรา ยใด ๆ จงบอกกบั ตัวเองวา “ขอบคณุ ทกุ ๆ
ปญหาทผี่ านเขา มาในชีวิต และทาํ ใหฉ ันไดฝ กความอดทนและความเขมแขง็ ” แลว เรากจ็ ะ
ยิ้มไดกบั เร่อื งราวตา ง ๆ ท่ีผา นเขามาในชวี ิต

“ขอเปน กําลงั ใจใหกบั หวั ใจทุกๆดวงในการกา วเดินอยูบนถนนชีวติ สายน”้ี

28 กุมภาพนั ธ 2554

จุ ด เ ป ลี่ ย น ชี วิ ต

เ มื่ อ “รู จั ก ว า ง ก็ จ ะ เ พิ่ ม ที่ ว า ง ใ ห ชี วิ ต”

เม่ือรูตน เหตุแหงทุกข "ใจ...ของเราจะสขุ เอง “การมสี ติ สมาธิ และปญ ญา ”

จะทําใหเราสามารถตอ สูและกา วขา มผา นกับตน เหตแุ หง ทกุ ขน น้ั ๆ ได
ทผ่ี านมาฉันใชชีวติ จมอยกู บั ความทกุ ข ยอมใหความเจ็บปวด และความเศรา

ความทอแท ส้นิ หวัง วนเวยี นอยูในหวงความรูสึก ฉันปลอ ยใหใ จของตวั เองจมอยกู บั
ความทุกข ไมเคยมองเหน็ ส่ิงทีด่ ี ๆ ของมันเลย ในแตล ะวนั ไดแ ตถ ามตวั เองวา “ทาํ ไม
โชคชะตาไมเคยเขาขางเราเลย ? ทาํ ไมชีวติ เราจึงเจอแตป ญ หา ? ทาํ ไมชีวติ เราจงึ เจอแต
เหตกุ ารณทเี่ ลวราย ? ทาํ ไมชวี ติ เราไมป ระสบความสําเร็จเหมือนคนอืน่ ? มีแตคาํ ถามวา
ทาํ ไม ? ทาํ ไม ? และทาํ ไม ? ทีม่ าพรอ มกบั มรสมุ ครง้ั แลวคร้งั เลาในชีวิต ” ความรูสกึ ทม่ี นั
ปวดรา วในหวั ใจ กบั คาํ ถามวา ทาํ ไม ? ไมไ ดช ว ยใหช วี ติ ของฉันดีข้นึ มาเลย ความปวดรา วที่
มันเกาะกินในหัวใจมันมากเกนิ กวา ใจจะรับได มันกท็ ําใหฉนั ตอ งถามตวั เองใหมวา “จะ
ยอมใหค วามปวดรา วนน้ั มนั เกาะกนิ ใจเราไปอกี นานแคไ หน ?” ลองเปลย่ี นคาํ ถาม ถาม
ตัวเองใหมสิวา “เพราะอะไร....เราจงึ ทกุ ข ? เพราะอะไร...ชวี ติ เราจงึ เจอแตปญ หา ?
เพราะอะไร...เราจงึ เจอแตเหตกุ ารณทเี่ ลวรา ย ? เพราะอะไรชวี ติ เราจงึ ไมป ระสบ
ความสําเร็จ ? แปลกเนอะ...แคเ ปลย่ี นคาํ ถามจากคาํ วา “ทาํ ไม” มาเปน “เพราะอะไร”
ประโยคคําถามสน้ั ๆ ทเี่ ราใชม นั ต้ังแตวนั ท่เี ราเรม่ิ หดั พดู เมอ่ื คร้ังเรายงั เปนเดก็ นอ ย <<
แม. ..นน่ั อะไร ? แม. ..ทําไมมันเปนแบบนน้ั ? แม. ..เพราะอะไรมันจึงเปน แบบน้ี ? >>
มันเปลย่ี นความคดิ เราในทนั ที ใจที่มนั เจ็บ ใจท่มี ันทุกข ใจทม่ี นั ทอ กลบั มีพลังเกดิ ขน้ึ
ในทนั ที

สต.ิ .. ทมี่ นั ลอยเควง ควาง หายไปจากตวั เรา มันเรม่ิ กลับเขามา จากใจที่
กระสับกระสายไรสมาธิ

สมาธิ... กเ็ ริ่มหยุดนง่ิ พิจารณาตนเหตุแหงทกุ ขว า “เพราะอะไรเราจงึ ทุกข ?”
เม่ือเรารูตนเหตแุ หงทกุ ขเ ราก็เกดิ ปญ ญา

ปญญา...ท่จี ะแกทกุ ขเหลาน้นั ได
วนั น้ีฉันกส็ ามารถหาคาํ ตอบใหกบั ตัวเองไดแ ลว วา “เพราะอะไรฉันจึงตอ งเปน
ทุกข” คาํ ตอบทีไ่ ด คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง (กเิ ลส) ในตัวของเราเองท่ีเกบ็

มนั สะสมเอาไวในใจ จนวนั หน่ึงมนั เพิม่ มากข้ึนเรื่อย ๆ จนมนั ลน ออกมา ไมส ามารถเติม
อะไรเขาไปไดอีกแลว ทําใหหาความพอดีใหกบั ชวี ิตตวั เองไมได เวลานฉ้ี นั สามารถเรยี นรู
และทาํ ความเขา ใจ “จิตใจ” ของตวั เองไดแลว ฉนั กค็ อยเรมิ่ “วาง” (วางในทนี่ ้ี หมายถึง
การวางเฉย และปลดปลอยทุกขทีละทกุ ข ทุกขใดท่ีเกดิ จากตวั เองก็หาวิธกี ารแกทุกขเทา ที่
เราจะทาํ ได ทกุ ขใดทเ่ี กิดจากคนอื่นท่เี ราไมส ามารถแกไ ด เราก็แครบั รูและกป็ ลอ ยใหม นั
ผา นไป โดยไมเ อาใจเราไปผกู ตดิ กบั ทกุ ขน นั้ ) เม่อื เรา “วาง” ทกุ ขท่ผี านเขา มาได ใจเรา
ก็จะเบาและมี “พ้นื ทวี่ าง” ท่ีจะรับทุกขใหมท ่ผี านเขา มาในชวี ิตที่เหลอื อยูท ้งั ชีวิตดวย
หัวใจทีเ่ ปน สุข ฉนั สามารถที่จะอยรู ว มกบั ทกุ ขน นั้ ไดอยา งเปนสุข โดยการพยายามเรียนรู
และมองเห็น “ขอ ด”ี ของทกุ ขน้นั ๆ แมจะเปนเพยี งขอ ดีเพียงนอยนดิ ก็ตาม ซึ่งทาํ ให
ฉนั เปนทุกขน อ ยกวา ทีเ่ คยเปน พยายามคน หาดา นดใี นเชงิ บวกของสถานการณ
ตา ง ๆ ทเี่ ลวราย ท่ีผานเขามาในชีวติ จะทาํ ใหเ รามคี วามหวงั และกําลังใจ สามารถตอสู
กับสิ่งเหลา นนั้ ได และการไมยึดติดกับความทกุ ขม ากเกนิ ไป จะทําใหเ รามองเห็นสวนดี
จากดา นตา ง ๆ ของชวี ิตที่เหลอื อยู ความทกุ ข และปญหาท่ผี านเขา มาในชีวติ เรา จะทาํ ให
เราเขา ใจชวี ิตมากขน้ึ

ฉนั เขาใจแลววา “การมสี ติ สมาธิ และปญ ญา...อนั นาํ ไปสกู ารวางเฉย ” จะ
ทาํ ใหเราสามารถตอ สูก ับตนเหตแุ หง ทกุ ขน ั้น ๆ ได ถา เราคดิ วา “ความสุข ” นน้ั เปนส่งิ ท่ี
หาไดยาก ชวี ิตเราก็จะมี “ความสขุ ” ไดย าก ทงั้ ๆ ท่คี วามเปน จรงิ แลว ความสุขมีอยู
รอบ ๆ ตัวเรา ถา เรามัวหมกมนุ อยูกับความทุกข ความเศรา เรากจ็ ะมองไมเ หน็ ความสขุ
เหลา นน้ั เลย การเปดโอกาสใหตัวเองมองสงิ่ รอบขางในแงมุมอน่ื บา ง โดยเฉพาะในแงมุม
ทด่ี ีตอชวี ิต พยายาม มองดา นดี ๆ ของส่ิงตาง ๆ จะทาํ ใหเราพบกับความสขุ ไดอ ยา ง
งา ยดาย ในโลกใบน้ยี งั มีส่งิ สวยงามรอใหเ ราสมั ผสั อกี มากมาย หากเราปรับความคิด
เปลีย่ นมมุ มองของการใชช วี ติ เราจะพบวามีความสุขอกี มากมายท่รี อใหเ ราคนพบ อยาปด
กน้ั ตวั เองใหจมอยูก ับความทุกข จงวางทุกขน้ันแลวหันกลบั มาเตมิ ความสุขใหกับชีวิต
กนั ดกี วา

"ใชชีวติ และเวลาท่ีเหลืออยูใหคมุ คา และเกดิ ประโยชนม ากทีส่ ุด คงเพียงพอแลว
สําหรับหน่งึ ชวี ติ "
25 มถิ นุ ายน 2550


Click to View FlipBook Version