The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดการเรียนรู้วิชาช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by adisak ngum, 2019-12-19 10:03:17

ชุดการเรียนรู้วิชาช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย

ชุดการเรียนรู้วิชาช่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้

สาระการประกอบอาชีพ
รายวชิ า ชอ่ งทางการขยายอาชพี (อช31003)

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

โดย
นางสาวปรารถนา ชีโพธ์ิ

ครชู านาญการ

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอโนนสงู
สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั นครราชสมี า

สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธกิ า





คำแนะนำกำรใช้เอกสำรสรปุ เนอ้ื หำทตี่ อ้ งรู้
หนงั สอื สรุปเนอื้ หาที่ตอ้ งรหู้ นังสอื เรียนรายวิชา ช่องทางการขยายอาชีพ เล่มน้ีเป็นการสรุปเนื้อหาจาก
หนังสือเรยี นรายวิชาบังคับ สาระการประกอบอาชพี รายวิชา ชอ่ งทางการขยายอาชีพ อช31001 ระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั
ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) เพ่อื ให้นักศกึ ษาได้เรียนรู้และทาความเขา้ ใจในเนือ้ หาสาระของรายวิชาช่องทางการ
ขยายอาชีพ อช31001 ท่สี าคญั ๆได้สะดวกและสามารถเข้าใจยงิ่ ขน้ึ ในการศึกษาหนังสือสรุปเน้ือหาที่ต้องรู้
หนงั สอื เรียนรายวชิ าชอ่ งทางการขยายอาชีพ เลม่ น้ี นักศกึ ษาควรปฏบิ ัติ ดังนี้
1. ศกึ ษาหนังสือเรยี นรายวิชา ชอ่ งทางการขยายอาชพี อช31001 สาระการประกอบอาชีพ
หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554)
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ให้เขา้ ใจก่อน
2. ศึกษาเน้อื หาสาระของหนังสอื สรปุ เน้อื หาท่ตี ้องรู้หนังสือเรียนรายวชิ า ช่องทางการขยายอาชพี อช
31001 ใหเ้ ข้าใจอยา่ งถอ่ งแท้ พร้อมทงั้ ทาแบบฝึกหดั ท้ายบททีละบท และตรวจคาตอบจากเฉลยแบบฝกึ หดั
ทา้ ยเลม่ ให้ครบ 3 บท
3. หากนกั ศกึ ษาตอ้ งการศึกษารายละเอียดเนื้อหาสาระรายวชิ า ช่องทางการขยายอาชีพ อช31001
เพ่มิ เติมสามารถศกึ ษาค้นคว้าได้จากส่ืออ่ืน ๆ ในห้องสมดุ ประชาชนอนิ เทอรเ์ นต็ หรอื ครูผู้สอน



สำรบัญ

หนำ้

สำรบญั

คำแนะนำกำรใชเ้ อกสำรสรปุ เน้อื หำท่ตี อ้ งรู้



บทท่ี 1 ชอ่ งทำงกำรเข้ำสู่อำชพี

เรอ่ื งท่ี 1 ความสาคัญและความจาเปน็ ในการขยายอาชีพ 1

เรอ่ื งที่ 2 การขยายอาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ และภมู ิภาค 5 ทวีป 1

เร่ืองท่ี 3 การขยายกระบวนการจดั การงานอาชพี ในชุมชน สังคม ประเทศ และภมู ภิ าค 5 ทวปี 2

เรอ่ื งที่ 4 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 8

เรื่องท่ี 5 การอนรุ กั ษ์พลงั งานและส่งิ แวดลอ้ มในการขยายอาชีพในชมุ ชน สงั คมและภมู ิภาค 9

5 ทวปี

แบบฝกึ หัด 11

บทท่ี 2 ชอ่ งทำงกำรขยำยอำชีพ

เร่ืองท่ี 1 ความจาเป็นในการมองเห็นช่องทางการประกอบอาชีพ 12

เรอ่ื งที่ 2 ความจาเปน็ ไปไดข้ องการขยายอาชีพ 12

เร่อื งท่ี 3 การกาหนดวิธีการขั้นตอนการขยายอาชพี และเหตผุ ลของการขยายอาชพี 13

แบบฝกึ หดั 17

บทท่ี 3 กำรตัดสินใจเลอื กขยำยอำชีพ

เร่ืองที่ 1 ภารกจิ เพื่อความมัน่ คงในการทาธรุ กจิ 18

เรอ่ื งที่ 2 การวดั และประเมินผลความม่นั คงในอาชพี 19

เรอ่ื งที่ 3 การตัดสินใจขยายอาชีพดว้ ยการวิเคราะห์ศักยภาพ 19

แบบฝกึ หดั 21

เฉลยแบบฝกึ หดั 22

คณะผู้จดั ทำ



บทท่ี 1
ชอ่ งทางการเข้าสอู่ าชีพ
เร่ืองที่ 1 ความสาคญั และความจาเป็นในการขยายอาชีพ
การขยายขอบขา่ ยอาชีพ หมายถงึ กจิ กรรมอาชีพทมี่ ีอย่แู ล้ว และสามารถขยายกจิ กรรมที่เก่ยี วข้อง
และสมั พันธ์กบั อาชีพเดิมออกไปเปน็ อาชีพทส่ี ร้างรายได้เพิ่มขึน้ โดยใชท้ นุ ทรพั ยากรจากอาชพี หลกั ใหเ้ กดิ
คุณค่า และสร้างความเขม้ แข็งยง่ั ยนื ในอาชีพ เช่น
1. การขยายขอบข่ายอาชีพจากการหมุนเวียนเปลีย่ นรปู ผลิตภัณฑห์ รือผลพลอยได้ไปสู่กิจกรรมใหม่
เช่น
1.1 สรา้ งธุรกิจแปรรปู หมจู ากฟาร์มสุกรของตนเอง
1.2 สร้างธรุ กจิ ปยุ๋ หมักจากมูลสุกร
1.3 สร้างธรุ กิจขนมหวานเยลลี่จากหนงั สุกร
2. การขยายขอบข่ายอาชีพจากการสรา้ งและพฒั นาเครือข่ายจากอาชีพ เชน่
2.1 เฟรนไชส์ ชายส่บี ะหมเ่ี กี๊ยว
2.2 การสร้างเครอื ขา่ ยนาขา้ วอนิ ทรยี ์
3. การขยายขอบขา่ ยอาชพี จากการตลาด เชน่
3.1 สวนมะพร้าวนา้ หอมแม่ตมุ้ ศูนย์กลางรับซ้อื และขายส่งมะพร้าวน้าหอมภายใต้การ
ควบคมุ คุณภาพของตนเอง
4. การขยายขอบข่ายอาชพี จากการสง่ เสริมการท่องเท่ยี ว เช่น
4.1 จัดบรกิ ารท่องเทยี่ วพักผ่อน กินอาหารเกษตรอนิ ทรีย์ทีไ่ รส่ ุดปลายฟา้
4.2 ท่องเทยี่ วชิมผลไม้ ชมสวนชาวไร่จนั ทบรุ ี
5. การขยายขอบขา่ ยอาชพี กับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัย เช่น
5.1 การพกั ฟืน้ รบั ประทานอาหารธรรมชาตไิ รส้ ารพษิ ปฏิบัติธรรมกบั Home Stay
คลองรางจระเข้
6. การขยายขอบข่ายอาชพี กับการเรยี นรู้ เช่น
6.1 เรียนร้รู ะบบนเิ วศ ความพอเพียงที่ไร่นาสวนผสม
เรื่องท่ี 2 การขยายอาชีพในชมุ ชน สังคม ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวีป
การประกอบอาชพี ในปัจจุบนั ไดม้ กี ารกา้ หนดลักษณะอาชีพ แบ่งได้ 5 ลกั ษณะอาชีพดังนี้
2.1 งานอาชีพด้านเกษตรกรรม
กลมุ่ อาชีพดา้ นการเกษตร คือ การพฒั นาอาชพี ในด้านการเกษตรเก่ยี วกับการปลูกพืช
เลี้ยงสตั ว์ การประมง โดยนา้ องค์ความร้ใู หม่ เทคโนโลยี นวัตกรรม มาพัฒนาให้สอดคลอ้ งกับศกั ยภาพหลัก
ของพื้นท่ี เช่น เกษตรอนิ ทรีย์ เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ธุรกจิ การเกษตร เป็นตน้
2.2 งานอาชพี ดา้ นอุตสาหกรรม
กลุ่มอาชีพดา้ นอตุ สาหกรรม คอื การพัฒนาอาชีพที่อาศัยองคค์ วามรู้ เทคโนโลยนี วัตกรรม
ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดในประเทศและต่างประเทศและศักยภาพหลักของพ้ืนท่ี เช่น ผผู้ ลติ
ชนิ้ ส่วนอิเลก็ ทรอนกิ สเ์ คร่อื งใช้ไฟฟ้าหรอื อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ผปู้ ระกอบรถยนต์และยานยนตป์ ระเภทต่าง ๆ
ผผู้ ลติ ตวั แทนจ้าหนา่ ยหรือผู้ประกอบชิน้ ส่วนหรืออะไหล่รถยนต์ ผใู้ หบ้ รกิ ารซ่อมบ้ารุงรถยนต์ ผูจ้ ัดจา้ หน่าย
และศนู ยจ์ ้าหน่ายรถยนต์มือสองผู้ผลิตและจ้าหน่ายเครื่องจักรและเคร่ืองมอื ทกุ ชนิด ผลิตอุปกรณห์ รือ
สว่ นประกอบพน้ื ฐานของเครื่องใชไ้ ฟฟ้าต่าง ๆ เช่น สายไฟ หลอดไฟ ฉนวนไฟฟ้า การผลิตอลูมิเนียม ผลติ และ



ตวั แทนจา้ หนา่ ยผลิตภัณฑ์เหล็ก สแตนเลส ผู้ผลติ จ้าหน่ายวสั ดุก่อสรา้ ง วสั ดตุ กแต่ง สขุ ภณั ฑ์การกอ่ สรา้ ง
อาคารหรือท่ีอยอู่ าศัย

2.3 งานอาชพี ด้านพาณิชยกรรม
กลุม่ อาชีพดา้ นพาณชิ ยกรรม คือ การพัฒนาหรือขยายขอบขา่ ยอาชีพด้านพาณชิ ยกรรม เชน่

ผู้ให้ บรกิ ารจา้ หนา่ ยสินค้าทัง้ แบบค้าปลกี และค้าสง่ ให้แก่ผู้บรโิ ภคทง้ั มหี น้าร้านเป็นสถานทีจ่ ัดจ้าหนา่ ย เช่น
ห้างร้าน หา้ งสรรพสนิ ค้า ซุปเปอรส์ โตร์ รา้ นสะดวกซื้อ และการขายท่ีไม่มีหน้าร้าน เชน่ การขายผ่านส่อื
อิเลก็ ทรอนิกส์ (รา้ นคา้ ออนไลน์) ซึ่งปจั จุบนั มผี ปู้ ระกอบการธุรกิจลักษณะน้มี ากข้นึ เพราะมกี ารลงทุนนอ้ ย

2.4 งานอาชีพดา้ นความคิดสร้างสรรค์
กลุ่มอาชีพด้านความคิดสรา้ งสรรค์ เป็นอาชพี ท่ีอยบู่ นพืน้ ฐานของการใชอ้ งค์ความรกู้ ารศกึ ษา

การสรา้ งสรรค์ และการใชท้ รัพย์สนิ ทางปัญญา ท่ีเชอ่ื มโยงพื้นฐานทางวฒั นธรรมการสัง่ สมความรู้ของสงั คม
และเทคโนโลยนี วตั กรรมสมัยใหม่ ดงั นัน้ กลุม่ อาชพี ด้านความคดิ สรา้ งสรรค์ จงึ เป็นการต่อยอดหรือการพฒั นา
อาชพี ในกลุ่มอาชพี เดมิ ในกลุ่มอาชพี เกษตรกรรมกลุม่ อาชีพอตุ สาหกรรม กลมุ่ อาชีพพาณิชยกรรม กลุม่
อาชีพคหกรรม กลุ่มอาชีพหัตถกรรมและกลุม่ อาชีพศิลปกรรม ท้าใหเ้ กิดผลผลติ หรือผลิตภัณฑ์ท่ีทนั สมยั มากข้ึน
เชน่ แฟช่ันเสื้อผา้ เครื่องประดับ เครื่องส้าอาง ทรงผม สปาสมุนไพร การออกแบบสือ่ /ภาพยนตร์/โทรทศั น์
เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ เฟอร์นเิ จอร์ วสั ดุก่อสร้างแบบประหยดั พลงั งาน เซรามกิ ผ้าทอ จกั สานแกะสลกั รถยนต์
พลงั งานทางเลือก ขาเทยี มหุ่นยนต์เพื่อคนพิการ การท่องเท่ยี วเชิงวฒั นธรรมตลาดน้าอโยธยา เป็นต้น

2.5 งานอาชพี ด้านอานวยการและอาชีพเฉพาะทาง
กลุ่มอาชีพดา้ นอ้านวยการและอาชีพเฉพาะทาง เชน่ ธุรกิจบริการท่องเทย่ี ว ธรุ กจิ บรกิ าร

สุขภาพ ธุรกิจบรกิ าร โลจิสตกิ ส์ ธรุ กจิ ภาพยนตร์ ธรุ กจิ การจัดประชมุ และแสดงนทิ รรศการ บริการท่ปี รึกษา
ดา้ นอสงั หารมิ ทรพั ย์ ที่ปรึกษาทางธรุ กจิ โดยงานอาชพี ดา้ นอ้านวยการและอาชีพเฉพาะทาง ในอนาคตจะมีการ
เติบโตทางธุรกิจมากขน้ึ จึงมีความตอ้ งการเจา้ หนา้ ที่ บุคคล พนักงาน เพ่ือควบคมุ และปฏิบตั ิงานทีม่ ีความรู้
ความสามารถและทักษะฝมี ือเป็นจ้านวนมาก
เรอื่ งที่ 3 การขยายกระบวนการจดั การงานอาชีพในชุมชน สงั คม ประเทศ และภมู ิภาค 5 ทวปี

กระบวนการจัดการงานอาชพี มคี วามส้าคญั ต่อการดา้ เนนิ ธุรกจิ มรี ายละเอียดดังนี้
3.1 การจัดการการผลติ

กระบวนการของการจัดการการผลติ มีความสา้ คญั และจ้าเป็นท่ีจะต้องมีข้นั ตอนทีก่ า้ หนดไว้
ก่อนหลงั อยา่ งชดั เจน เพ่ือให้ผดู้ า้ เนินการสามารถปฏบิ ตั ติ ามได้อย่างถูกต้อง การก้าหนดกระบวนการผลิต
จา้ เป็นตอ้ งมีความเขา้ ใจและสามารถจดั ระบบการบริหารจดั การได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ เพราะเปน็ การก้าหนด
แนวทางการส่ือสาร การประกนั คณุ ภาพ การประเมนิ การควบคุม การติดตามตรวจสอบ การด้าเนนิ งาน การ
แกป้ ญั หา และเป็นเครื่องมือในการสร้างนวตั กรรม รวมถงึ การพยากรณ์สงิ่ ทเี่ กิดขึน้ ใหเ้ หมาะสมย่งิ ข้ึน
กระบวนการของการจัดการการผลติ เป็นการวเิ คราะหล์ ักษณะ ขอบขา่ ยทเี่ กยี่ วข้องกับการจดั การการผลิต
ประกอบดว้ ย

1. การวางแผน การวางแผนเปน็ จุดเร่มิ ตน้ ของการทา้ งานตามนโยบายเพ่ือบรรลุ
วัตถปุ ระสงค์ของธุรกิจ โดยกา้ หนดกจิ กรรมไว้ชดั เจนว่า จะให้ใครท้าอะไร ที่ไหนเม่อื ใด เพราะอะไร ด้วยวิธใี ด
เมอื่ พบปัญหาและอุปสรรคท่ีคาดวา่ จะมี จะเกดิ อย่างไรน้นั จะแก้ไขอย่างไร ในช่วงเวลาขา้ งหนา้ ของการ
ด้าเนินการภายใต้งบประมาณทต่ี ้ังไว้องคป์ ระกอบของการวางแผนงาน สรปุ ได้ดงั นี้



1. การวางแผนเปน็ จุดเร่ิมต้นของการลงมือทา้ งาน
2. แผนตอ้ งสอดคล้องกับนโยบาย ซง่ึ นโยบายสนองตอบวตั ถปุ ระสงค์
3. แผนงานประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ตามลา้ ดบั ความส้าคัญและวธิ ีการท้างาน
อย่างเปน็ ข้ันตอน
4. ทุกขัน้ ตอนแตล่ ะกิจกรรม ตอบค้าถามไดว้ า่ ใคร ทา้ อะไร เรอ่ื งอะไร ทา้ ทไี่ หนทา้
เม่อื ใด เพาะอะไร จะได้ผลอะไร ก้าหนดวธิ ีทา้ งานในแต่ละขน้ั ตอนแล้วจะเกิดอะไรขึ้น
5. ตอ้ งกา้ หนดชว่ งเวลาของแผน
6. ในทกุ กจิ กรรมตอ้ งใช้ทรัพยากรหรอื งบประมาณเท่าไร
ประเภทของแผนงาน มกี ารแบง่ ประเภทของแผนงาน ดังน้ี
1. การวางแผนตามระยะเวลา ดังนี้
1.1 แผนระยะส้นั
1.2 แผนระยะปานกลาง
1.3 แผนระยะยาว
2. การวางแผนตามขอบเขตของการวางแผน
2.1 แผนแม่บท
2.2 แผนกล่มุ หนา้ ที่หรือกลุ่มงาน เช่น แผนงานขาย แผนการเงิน แผนการ
ตลาด แผนการผลติ
2.3 โครงการ เชน่ โครงการสง่ เสริมการขาย โครงการจดั แสดงสนิ คา้
2.4 แผนสรปุ เชน่ แผนการศกึ ษา
2.5 แผนกิจกรรม
3. การวางแผนตามลกั ษณะของการใช้
3.1 แผนงานทใ่ี ชป้ ระจ้า
3.2 แผนงานทใ่ี ช้ครัง้ เดียว
4. การแบ่งการวางแผนตามขอบข่ายของการใช้แผน
4.1 แผนกลยุทธ์
4.2 แผนกลวธิ ี
ลกั ษณะของแผนทด่ี ี มีดังนี้
1. มีวัตถุประสงค์หรอื เป้าหมายท่ชี ัดเจน
2. ครอบคลุมรายละเอยี ดอย่างเพยี งพอทส่ี ามารถจะปฏิบัติใหส้ า้ เร็จได้ตามวตั ถุประสงค์
3. มีความยืดหยุ่นพอสมควรปรับใช้ไดก้ ับสถานการณท์ เี่ ปลีย่ นแปลง
4. มีระยะเวลาดา้ เนนิ การทแี่ น่นอน
5. มกี ารกา้ หนดบทบาหน้าท่ีของผปู้ ฏิบตั ติ ามแผนชดั เจน
6. ผ้เู กี่ยวข้องกับแผนมสี ว่ นร่วมในการวางแผนทช่ี ดั เจน
7. ใช้ขอ้ มลู เปน็ พน้ื ฐานในการตัดสนิ ใจทุกขั้นตอน



2. การจัดทาโครงการ
โครงการ หมายถึง งานทมี่ ีการดา้ เนินการในขอบเขตที่จา้ กัด โดยมุ่งหวังความส้าเรจ็ ของงาน

เป็นสา้ คัญความส้าคญั ของโครงการ การด้าเนนิ โครงการ มีการใชท้ รพั ยากรต่าง ๆ ขององค์กร ซ่งึ เกยี่ วพนั กับ
คา่ ใช้จา่ ยท่ีเกิดขนึ้ จากการใช้ทรพั ยากร การกา้ หนดโครงการมกี ารจัดทา้ งบประมาณท่ตี ้องใช้ตลอดโครงการ
และกา้ หนดระยะเวลาส้ินสดุ ของโครงการ หากการดา้ เนินโครงการเสรจ็ สิ้นตามระยะเวลาทก่ี ้าหนด จะมีการใช้
เงนิ ตามงบประมาณ แตห่ ากการดา้ เนินงานโครงการมีการเลื่อนก้าหนดเวลาออกไป จะมีผลท้าให้ต้องเพ่มิ
งบประมาณการด้าเนนิ โครงการตอ้ งมีการควบคุมเวลาให้แล้วเสรจ็ ตามระยะเวลาทีก่ ้าหนดเพอ่ื ควบคุม
ตน้ ทนุ คา่ ใช้จา่ ยและผลกระทบต่าง ๆ ทอ่ี าจเกิดขน้ึ ได้

ส่วนประกอบของโครงการ มีดงั น้ี
1. ช่ือโครงการ ควรตั้งชื่อโครงการอาชีพให้ส่อื ความหมายได้ชัดเจนครอบคลุมความหมาย

ของกิจกรรมอาชพี ทีท่ ้าให้ชัดเจนว่าท้าอะไร
2. ชอ่ื ผู้ด้าเนนิ โครงการหรือผู้จัดท้าโครงการ อาจจะเป็นบุคคลคนเดยี วหรอื เป็นกล่มุ บุคคลก็

ได้
3. หลกั การและเหตุผลหรอื ความส้าคญั ของโครงการหรอื ของงานนัน้ ๆ ว่ามีเหตุผลอะไร

มีความจ้าเปน็ มีคณุ ค่าและประโยชนม์ ากน้อยเพยี งใด
4. วตั ถุประสงค์ ระบุวา่ มุ่งที่จะใหเ้ กดิ ผลอะไร อยา่ งไร หรือแก่ใคร มีปริมาณและคุณภาพ

มากน้อยเพยี งใด
5. เป้าหมาย ก้าหนดเปา้ หมายของผลผลิตใหช้ ดั เจนคืออะไร มีปริมาณเทา่ ใดและคุณภาพ

เปน็ อยา่ งไร
6. ระยะเวลา กา้ หนดระยะเวลาต้ังแต่เร่ิมตน้ จนสน้ิ สดุ การด้าเนินโครงการ
7. งบประมาณ จดั ท้ารายละเอียดรายจา่ ยท่เี กิดข้ึนในการด้าเนินโครงการตั้งแตข่ ัน้ ตอนแรก

จนถงึ ขนั้ ตอนสดุ ท้าย
8. ขน้ั ตอนวธิ ดี า้ เนินงาน กา้ หนดรายละเอยี ดขัน้ ตอนของการท้างาน ตง้ั แตเ่ ร่ิมต้นจนส้นิ สดุ

โครงการ โดยเขียนเป็นแผนปฏิบัตงิ าน ซง่ึ ประกอบดว้ ยหัวขอ้ กิจกรรมระยะเวลา สถานท่ี ทรพั ยากร/ ปัจจยั
เปน็ ตน้

9. การติดตามและการประเมินผล ระบวุ ธิ ีการหรอื เทคนิคในการดแู ลและควบคมุ การ
ปฏบิ ัติงานใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ ทง้ั นตี้ ้องบอกใหช้ ัดเจนวา่ ก่อนเร่ิมทา้ โครงการระหว่างท้าโครงการและหลงั การ
ท้าโครงการจะมีการติดตามและประเมนิ ผลอย่างไร

10. ผลท่ีคาดวา่ จะได้รบั ใหร้ ะบผุ ลทีจ่ ะเกิดขน้ึ เมือ่ เสร็จสนิ้ โครงการ ผลทไี่ ดร้ ับโดยตรงและ
ผลพลอยได้หรือผลกระทบจากโครงการ ท่ีเป็นผลในด้านดีเปน็ อย่างไรสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์และเปา้ หมาย
อยา่ งไร



ตวั อยา่ งการเขยี นโครงการอาชพี
1. ชื่อโครงการ โครงการจา้ หนา่ ยอาหารสา้ เรจ็ รปู
2. ชื่อผ้ดู าเนินโครงการ

1. นางสาวอารยี า ศิริมาลา
2. นางสาวสรวงสดุ า วภิ าวรรณ
3. นางสาววภิ าวดี วเิ ชยี รสวุ รรณ
4. นางสาวอภิสมัย ศรีคมสัน
5. นายยรุ นนั ต์ ภมรศกั ด์ิ
3. ชือ่ อาจารย์ทีป่ รึกษาโครงการ
1. อาจารย์รอบรู้ สอนดี
2. อาจารยฉ์ ลาด ดพี ร้อม
4. หลักการและเหตผุ ล
อาหารเปน็ สง่ิ จา้ เป็นสา้ หรบั ทุกคน เราต้องรบั ประทานอาหารทกุ วัน คนในหม่บู ้านของ
กลมุ่ ผดู้ ้าเนินโครงการส่วนใหญ่ประกอบอาชพี นอกบา้ น มักไม่มเี วลาประกอบอาหารเอง ใกล้หมบู่ า้ นยงั มี
ส้านกั งานของเอกชนซ่งึ มพี นักงานจา้ นวนมาก แตใ่ นบรเิ วณนี้มีร้านจ้าหน่ายอาหารสา้ เร็จรูปน้อย คุณภาพ
อาหารและการบริการไม่ค่อยดี ไม่มีร้านจา้ หนา่ ยอาหารสา้ เร็จรูปที่มีคณุ ภาพดี และราคาปานกลาง สมาชกิ ของ
กลุ่มมีความสามารถในการประกอบอาหารไดด้ ี และบรเิ วณบา้ นของสมาชกิ มสี ถานทีก่ ว้างเหมาะทจี่ ะจดั เปน็
ร้าน จ้าหนา่ ยอาหาร จึงไดจ้ ัดท้าโครงการจา้ หน่ายอาหารส้าเร็จรูป
5. วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่อื ใหม้ ปี ระสบการณใ์ นการประกอบอาชพี จ้าหน่ายอาหารสา้ เรจ็ รปู
2. เห็นชอ่ งทางและมีความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพจ้าหนา่ ยอาหารสา้ เรจ็ รปู
3. สามารถนา้ ความร้ทู ี่ไดจ้ ากการเรียนและประสบการณ์การปฏิบัติโครงการอาชีพไปใช้
ประโยชน์ ในการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม
6. เป้าหมาย
ด้านปรมิ าณ ปรงุ และจา้ หนา่ ยอาหารส้าเร็จรูปในวนั เสาร์และวนั อาทิตย์ด้านคณุ ภาพ นกั เรียน
ทกุ คนในกลุ่มเหน็ ช่องทางในการประกอบอาชพี และพัฒนาการประกอบอาชพี ได้อย่างเหมาะสม
7. ระยะเวลาดาเนนิ โครงการตลอดโครงการ
ต้งั แต่เปดิ ภาคเรยี นจนถึงปิดภาคเรียน (20 พฤษภาคม - 30 กันยายน และ 1 พฤศจกิ ายน
– 15 มนี าคม)
8. สถานทป่ี ระกอบอาชีพ
บ้านของนางสาวอารยี า ศริ ิมาลา ในหม่บู ้านช่ืนใจ แขวงลาดยาว เขตลาดพร้าว
กรงุ เทพมหานคร
9. งบประมาณ
1. แหลง่ เงนิ ทนุ เงินสะสมของสมาชกิ กลมุ่ คนละ 1,000 บาท และเงินยืมจากผูป้ กครอง
ของ นางสาวอารยี า ศิรมิ าลา เป็นเงนิ 10,000 บาท รวมเป็นเงนิ 15,000 บาท
2. จ้านวนเงนิ ทุน เร่มิ โครงการ 15,000 บาท
3. ทรัพย์สินถาวร โตะ๊ เกา้ อ้ี ถ้วย ชาม ชอ้ น และเครื่องครัว สว่ นหน่งึ ยมื ใช้ชั่วคราว/ จดั ซอื้



4. ทรัพย์สนิ สน้ิ เปลือง อาหารสด ซ้ือเป็นรายวัน
5. เงินทนุ ขยายกิจการ หากกิจกรรมประสบความส้าเร็จกจ็ ะนา้ กา้ ไรมาขยายกิจการและขอ
ยืมเพม่ิ เติมจากผ้ปู กครอง
6. กา้ ไร (คาดการณ์) ในระยะเรมิ่ แรกมีก้าไรประมาณวันละ 300-500 บาท
10. ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน
10.1 การเตรยี มการ

- ศกึ ษาสา้ รวจข้อมูล
- เขยี นโครงการ
- ขออนุมัตโิ ครงการ
- เตรียมหาทุน
- ก้าหนดรายการอาหารที่จะปรุงจา้ หน่าย
- ประชาสัมพันธ์ให้ลูกค้าเป้าหมายทราบ
10.2 การเตรยี มสถานที่
- จดั ตกแตง่ สถานที่
- เตรยี มวสั ดุอุปกรณ์
10.3 ขั้นตอนการดา้ เนินงานอย่างละเอียด
- ศกึ ษาหาความรู้เบ้อื งต้นเกีย่ วกบั การปฏิบัตงิ านอาชีพ
- ศกึ ษาสา้ รวจข้อมูลต่าง ๆ เพือ่ สา้ รวจความสนใจประกอบการเลอื กอาชีพ
- วิเคราะหข์ อ้ มูล
- ตดั สินใจเลอื กอาชีพ
- ศกึ ษาวิธีเขียนโครงการอาชีพ
- ขออนุมตั ิโครงการอาชีพ
- ศึกษาคน้ คว้าหาความรู้เพ่ิมเติม
- ก้าหนดรายการอาหารทจี่ ะจ้าหน่าย
- ประชาสัมพนั ธ์บอกกลมุ่ ลูกคา้ เปา้ หมาย
- เตรยี มอุปกรณ์การปรุงอาหาร ภาชนะต่าง ๆ
- ตกแตง่ สถานท่ี
- ลงมือปรุงอาหารจ้าหนา่ ย โดยสับเปลี่ยนหมุนเวียนการปฏบิ ตั หิ น้าที่ดงั นี้
ซือ้ อาหารสด ตกแต่ง / ทา้ ความสะอาดรา้ น / ลา้ งภาชนะ บริการลกู คา้ เกบ็ เงิน – ทา้ บัญชี
- ประเมินการปฏบิ ัติงานเปน็ รายวนั / รายสปั ดาห์
- ประเมนิ สรปุ เมื่อปฏบิ ตั ิงานเสรจ็ สิน้
- เสนอแนะแนวทางการพฒั นาอาชีพ
11. ปัญหาและแนวทางแก้ไข
11.1 ปญั หาท่ีคาดว่าจะเกดิ ขึน้ ระหวา่ งปฏบิ ัติงาน
1) จา้ นวนลูกค้าไม่เป็นไปตามเปา้ หมาย
2) ประสบการณ์ในการจา้ หน่ายสนิ ค้าไม่เพยี งพอ
11.2 แนวทางแกไ้ ข
1) น้าอาหารส้าเรจ็ รูปใส่ถงุ ไปจ้าหน่ายตามบ้าน / ชมุ ชน



2) ขอค้าแนะน้าจากอาจารย์ทีป่ รกึ ษาเปน็ ระยะ
12. ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ

- ดา้ นความรูแ้ ละประสบการณ์ นักเรยี นทกุ คนมีประสบการณ์ในการประกอบอาชพี
เห็นชอ่ งทางใน การประอบอาชีพในอนาคต

- ด้านผลผลิต ทรัพย์สิน กา้ ไร นกั เรยี นมีรายไดร้ ะหวา่ งเรียน ทา้ ใหเ้ ห็นคณุ ค่าของการ
ประกอบอาชีพ แบง่ เบาภาระผู้ปกครอง

( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .) ลงชื่อผเู้ สนอโครงการ
(นางสาวอารยี า ศิรมิ าลา)
( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .)
(นางสาวอภิสมยั ศรคี มสัน)

( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .) ( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .)
(นางสาวสรวงสดุ า วภิ าวรรณ) (นางสาววภิ าวดี วิเชยี รสุวรรณ)

( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .)
(นายยรุ นนั ต์ ภมรศักด์ิ)

ลงชอ่ื อาจารยท์ ี่ปรึกษาโครงการ

( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .) ( . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .)
(นายรอบรู้ สอนดี) (นายฉลาด ดพี ร้อม)

3. การใช้วัสดอุ ุปกรณ์
วสั ดุ หมายถึง สง่ิ ท่ใี ช้แลว้ สิน้ เปลอื งและหมดไป อปุ กรณ์ หมายถงึ ส่งิ ทใ่ี ช้แล้วยังคงเหลือ

สามารถน้ากลบั มาใช้ได้อกี
4. การใช้แรงงาน
แรงงาน หมายถึง บุคคลทผ่ี ู้ประกอบการจา้ งมาให้ปฏิบัติงานตามความเหมาะสมของงาน

และความสามารถของแต่ละบุคคล ซึง่ มที ้ังแรงงานประเภทท่ีมีความชา้ นาญแรงงานท่ีมีฝีมอื แรงงานประเภทไร้
ฝมี ือทตี่ ้องใช้ก้าลังแบกหาม ดังนัน้ เจ้าของกิจการ หรือผปู้ ระกอบการจา้ เป็นจะต้องเลอื กบุคลากรทีม่ ีความรู้
ความสามารถท้างานตามความถนัดของแต่ละบคุ คลเพื่อประสทิ ธภิ าพของงาน



5. การใชส้ ถานท่ี
สถานท่ี หมายถึง อาคาร บรเิ วณทป่ี ระกอบอาชีพ ธรุ กิจ ของผ้ปู ระกอการ

6. การใชท้ นุ
ทุน หมายถึง ปจั จยั ในการผลิตท่ใี ช้ในการสร้างสินคา้ หรือบริการอ่นื ๆ

3.2 การจดั การการตลาด การจดั การการตลาด ประกอบด้วย
1. การก้าหนดทศิ ทางการตลาด เป็นการศึกษาตลาดจากปัจจยั ภายนอกและภายใน ทา้ ให้

ผ้ปู ระกอบการวางแผนการตลาดได้อย่างม่นั ใจ และสามารถบอกรายละเอียดในการด้าเนินงานได้อย่างชัดเจน
2. การหาความต้องการของตลาด
3. การขนส่ง
4. การขาย
5. การก้าหนดราคาขาย
6. การท้าบัญชีประเภทต่าง ๆ เปน็ การบันทึกรายรับ รายจา่ ย ท่เี กดิ ข้ึนจรงิ ในการใชจ้ า่ ย

ตา่ ง ๆ ของสถานประกอบการ
เรอ่ื งที่ 4 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม

ผู้ประกอบการจะตอ้ งมคี ุณธรรม จรยิ ธรรรม เก่ียวกับเร่อื งความรับผิดชอบในการผลิต
สินคา้ เช่น ความสะอาด ความประณีต ความซ่ือสตั ย์ โดยเฉพาะด้านความปลอดภยั ต่อสุขภาพของผบู้ รโิ ภค
หรอื การให้บริการทป่ี ลอดภยั แกผ่ ู้รบั บรกิ ารในส่วนตัวของผู้ประกอบอาชีพใหม้ ีความมัน่ คงนน้ั ต้องมี
คุณลักษณะเป็นคนขยันซอื่ สัตย์ รู้จักประหยดั อดออม มีความพากเพียร มีอุตสาหะ เพื่อความมน่ั คงในการ
พฒั นาอาชีพของตนเองให้มีความมนั่ คง

4.1 การพฒั นาตนเองตามแนวพระราชด้าริ
4.1.1 มีความรู้ ความสามารถ
4.1.2 รจู้ ักการประยุกตใ์ ช้
4.1.3 คดิ อยา่ งรอบคอบ
4.1.4 ใชป้ ัญญา
4.1.5 มสี ติและสงบสา้ รวม
4.1.6 มคี วามจรงิ ใจและมีสัจจะ
4.1.7 มวี นิ ัย
4.1.8 สรา้ งสรรค์และพัฒนา
4.1.9 วางแผนในการท้างาน

4.2 การพฒั นาตนเองตามแนวพทุ ธศาสนา
4.2.1 ทาน คอื การให้ เปน็ หลกั ปฏิบตั ิในการพฒั นาตนเองส้าหรับทจี่ ะใชใ้ นการ

เกือ้ หนนุ จนุ เจือซง่ึ กันและกนั
4.2.2 ศีล คอื การรักษา กาย วาจา ใจ ให้ตัง้ อยอู่ ย่างปกติ ไม่เบยี ดเบยี นกนั ความ

สงบสขุ ยอ่ มเกิดขนึ้
4.2.3 ปรจิ จาคะ คอื การสละสง่ิ ที่เป็นประโยชน์นอ้ ย เพื่อประโยชน์ที่มากกว่าการสละเพ่ือ

รกั ษาหน้าที่ รักษากิจที่พึงกระทา้ รักคุณความดี เพื่อความสขุ ความเจริญในการอยรู่ ว่ มกัน
4.2.4 อาชวะ คอื ความเป็นผซู้ อ่ื ตรงต่อตนเอง บุคคล องคก์ ร มิตรสหาย หน้าท่ีการงาน



4.2.5 มทั วะ คอื ความอ่อนโยน มอี ัธยาศยั ไมตรี อ่อนโยน มสี มั มาคารวะตอ่ ผู้ใหญ่
ไม่ดื้อดงึ ถือตนวางอ้านาจ

4.2.6 ตบะ คือ ความเพยี ร ผู้มีความเพยี รสามารถปฏบิ ตั หิ น้าทีใ่ หบ้ รรลลุ ่วงส้าเร็จได้ด้วยดี
มักเป็นผมู้ ีความอดทนสงู

4.2.7 อกั โกธะ คือ ความไมโ่ กรธ ตลอดจนไม่พยาบาทมงุ่ ท้ารา้ ยผอู้ ่ืน ความไม่โกรธมีข้ึนได้
เพราะความเมตตา หวังความสุขความเจริญซ่ึงกันและกนั

4.2.8 อหงิ สา คอื การหลกี เลีย่ งความรนุ แรงและไม่เบียดเบยี นหรอื เคารพในชวี ติ ของผู้อ่ืน
4.2.9 ขันติ คอื ความอดทน อดทนต่อการตรากตร้าประกอบการต่าง ๆ อดทนตอ่ ถอ้ ยค้าไม่
พงึ ประสงค์หรอื สง่ิ อนั ไม่ชอบใจต่าง ๆ ในการอยู่รวมกนั ของคนหมู่มาก
4.2.10 อวิโรธนะ คือ ความไมผ่ ดิ ผิดในทีน่ ี้ หมายถงึ ผดิ จากความถกู ต้อง ทุกอย่างท่ีคน
ท่ัวไปทา้ ผิด เพราะไม่รวู้ า่ ผดิ หรือร้วู ่าผิดแต่ยงั ดื้อดึงทา้ ทั้ง ๆ ท่ีรู้ ถ้าปล่อยเชน่ นไี้ ปเรื่อย ๆ กไ็ ม่รจู้ ัก ไม่อาจ
ปฏิบัติในส่งิ ทถ่ี ูกต้องได้เลย
เรือ่ งที่ 5 การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมในการขยายอาชีพในชุมชน สังคม และภมู ิภาค 5 ทวปี
ทรัพยากร เปน็ ปจั จัยที่ส้าคัญในการประกอบอาชีพ แบ่งเป็น 2 ประเภท คอื ทรัพยากรธรรมชาติ และ
ทรัพยากรในการประกอบการ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ต้องค้านึงถึงความหมดเปลือง และการใชท้ รัพยากร
อ่นื ทดแทน
5.1 ความหมายของทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สงิ่ ตา่ ง ๆ ทป่ี รากฏและเกดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษย์
สามารถนา้ มาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เชน่ อากาศ ดนิ นา้ ปา่ ไม้ สตั วป์ ่า แร่ธาตุ พลงั งานสิ่งแวดล้อม หมายถงึ ส่ิงตา่ ง
ๆ ท่อี ยรู่ อบตัวเรา ทัง้ สงิ่ มชี ีวติ และไม่มีชีวติ รวมทง้ั ส่ิงที่เกิดขึน้ ตามธรรมชาติ สง่ิ ท่ีมนุษย์สร้างขึ้น หรอื กล่าวได้
ว่า สิง่ แวดลอ้ มประกอบดว้ ยทรพั ยากรธรรมชาติและทรัพยากรมนษุ ยท์ ี่สรา้ งขึน้ ในชว่ งเวลาหนึง่ เพื่อสนองความ
ตอ้ งการของมนุษยน์ ัน่ เองประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ แบง่ ออกเปน็ 4 ประเภท คือ
1. ทรัพยากรธรรมชาติทใ่ี ชแ้ ล้วไมห่ มดสน้ิ เช่น น้า อากาศ พลังงานแสงอาทิตย์
2. ทรพั ยากรธรรมชาติท่ีใช้แล้วทดแทนได้ เช่น พชื ปา่ ไม้ สัตว์ปา่ มนษุ ย์
3. ทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่ใชแ้ ลว้ หมดส้ินไป ได้แก่ นา้ มนั ปิโตรเลยี ม กา๊ ซธรรมชาติถา่ นหิน
4. ทรพั ยากรธรรมชาตทิ สี่ ามารถนา้ มาใช้ใหมไ่ ด้ เชน่ แรโ่ ลหะ แรอ่ โลหะการอนรุ ักษ์พลงั งาน
หมายถงึ การใช้พลงั งานอย่างมปี ระสิทธภิ าพ และประหยดั การอนุรักษ์พลงั งานและสิง่ แวดล้อม นอกจากจะ
ชว่ ยลดปรมิ าณจากแหล่งที่ใชพ้ ลงั งาน ซง่ึ เปน็ การประหยัดค่าใช้จ่ายในกจิ กรรมแล้ว ยงั ชว่ ยลดปัญหา
สิ่งแวดล้อมทเี่ กดิ จากแหลง่ ท่ใี ชแ้ ละผลิตพลังงานดว้ ยการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง การใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างประหยัด ให้เกดิ คุณคา่ และประโยชนส์ ูงสุด รวมท้งั ปรับปรงุ หมนุ เวียนนา้ กลบั มาใช้
ใหม่ เพ่ือให้เกดิ การสญู เสยี น้อยที่สุด
การอนุรักษส์ ง่ิ แวดล้อม หมายถึง การใชส้ ง่ิ แวดล้อมไม่ใหเ้ กิดพิษภัยต่อสงั คมสว่ นรวม ด้ารงไว้
ซง่ึ สภาพเดิมของสิ่งแวดลอ้ มทางธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมท่มี นษุ ยส์ รา้ งขนึ้ รวมท้ังการก้าจดั และป้องกันมลพิษ
สิ่งแวดล้อมในการขยายขอบข่ายอาชีพ ผ้ปู ระกอบอาชีพจา้ เปน็ ตอ้ งค้านึงถึงผลกระทบทเ่ี กดิ จากการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน และส่ิงแวดล้อม เชน่ ป่าไม้ ดิน นา้ ทรพั ยากรมนษุ ยต์ ้นทุนการผลิตอยา่ งคุ้มค่า
และวิถชี ีวิตของคนในชุมชน สงั คมนน้ั ๆ

๑๐

5.2 แนวทางการอนรุ ักษ์พลังงาน มดี ังนี้
5.2.1 ใชพ้ ลังงานอย่างประหยดั และคุ้มคา่
5.2.3 ใชพ้ ลงั งานอยา่ งรู้คุณคา่ จะต้องมีการวางแผนใช้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด

ประโยชนส์ ูงสุด มีการลดการสญู เสียพลังงานทุกขั้นตอน
5.2.4 ใช้พลงั งานทดแทน โดยเฉพาะพลงั งานท่ีไดจ้ ากธรรมชาติ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์

พลังงานลม พลังงานน้า
5.2.5 เลอื กใชเ้ ครอื่ งมือและอุปกรณ์ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพสูง
5.2.6 เพิ่มประสทิ ธภิ าพเช้อื เพลงิ เช่น การเปล่ียนโครงสร้าง ทา้ ใหเ้ ชื้อเพลิงให้พลังงานมาก

ขน้ึ
5.2.7 หมุนเวียนกลบั มาใช้ใหม่ โดยการน้าวัสดุทชี่ า้ รดุ น้ามาใชใ้ หม่ การลดการท้ิงขยะท่ี

ไมจ่ า้ เปน็ หมนุ เวยี นกลบั มาผลิตใหม่
5.3 กิจกรรมทสี่ ่งผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อม มดี ังนี้
5.3.1 อตุ สาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมเหมืองแร่ เหมืองทองคา้
5.3.2 เกษตรกรรม เชน่ การใชส้ ารเคมี การใชย้ าฆ่าแมลง
5.3.3 กจิ กรรมการบรโิ ภคของมนุษย์ เชน่ การซ้ือสินค้า การใชน้ ้า

๑๑

แบบฝกึ หดั
ให้ผเู้ รียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. ให้ผเู้ รยี นอธบิ ายความสา้ คัญและความจา้ เปน็ ในการขยายอาชพี
.......................................................................................................................... ..................................................
................................................................................................................................. ...........................................
................................................................................................................ ............................................................
............................................................................................................................. ...............................................
2. ให้ผ้เู รยี นอธบิ ายลักษณะการขยายอาชีพดา้ นเกษตรกรรม พร้อมยกตวั อย่าง
.......................................................................................................................... ..................................................
................................................................................................................................. ...........................................
........................................................................................................................ ....................................................
............................................................................................................................. ...............................................
3. ให้ผูเ้ รยี นอธิบายลกั ษณะการขยายอาชีพดา้ นพาณชิ ยกรรม พร้อมยกตวั อย่าง
.......................................................................................................................... ..................................................
............................................ ..................................................................................... ...........................................
............................................................................................................................. ...............................................
............................................................................................................................. ...............................................
4. ใหผ้ ูเ้ รยี นบอกข้อดขี องการขยายอาชีพด้านความคดิ สร้างสรรค์
.......................................................................................................................... ..................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................................
............................................................................................................................. ...............................................
5. ให้ผเู้ รียนบอกคณุ ธรรมจริยธรรมในการประกอบอาชพี ตามแนวพระราชด้าริ มาอย่างน้อย 5 ข้อ
.......................................................................................................................... ..................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................................
............................................................................................................................. ...............................................
6. การซอื้ สนิ คา้ ผ่านระบบออนไลน์เปน็ การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรหรือไม่ อยา่ งไร
.......................................................................................................................... ..................................................
............................................................................................................................. ...............................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................................

๑๒

บทท่ี 2
ช่องทางการขยายอาชีพ
เรือ่ งที่ 1 ความจาเปน็ ในการมองเหน็ ช่องทางการประกอบอาชีพ
การมองเห็นช่องทางการประกอบอาชพี
โอกาสและความสามารถทีจ่ ะน้ามาประกอบอาชีพได้ก่อนผู้อื่น เปน็ หัวใจส้าคัญของการประกอบอาชีพ
หากผู้ประกอบอาชีพสามารถผลิตสินค้าหรอื บริการไดต้ ามท่ตี ลาดต้องการได้ก่อน และเป็นอาชีพทเี่ หมาะสมกบั
สถานการณ์ในขณะนน้ั ยอ่ มท้าใหม้ ีโอกาสประสบความส้าเร็จ สามารถพัฒนาตนเองให้มองเหน็ โอกาสในการ
ประกอบอาชีพได้
หลกั สาคญั ของช่องทางในการขยายอาชีพ มีดังน้ี
1. ความช้านาญจากงานท่ีท้าในปัจจบุ ัน มีส่วนชว่ ยใหม้ องเหน็ โอกาสในการประกอบอาชีพได้มาก เช่น
บางคนมีความชา้ นาญทางด้านการท้าอาหาร ตดั เย็บเสื้อผา้ ซ่อมเคร่ืองใช้ไฟฟ้าต่อท่อน้าประปา ชา่ งไม้ ช่างปู
กระเบ้ือง ชา่ งทาสี ฯลฯ ซึ่งสามารถน้าความช้านาญดงั กล่าวมาพัฒนาและประกอบอาชีพได้ บางคนท้างานที่
โรงงานตัดเยบ็ เสือ้ ผ้า เม่ือกลับมาภมู ลิ ้าเนาเดิมของตนเอง กน็ ้าความร้คู วามสามารถและความช้านาญมาใช้เป็น
ช่องทางการประกอบอาชีพของตนเองได้
2. ความชอบความสนใจส่วนตวั เปน็ อีกทางหน่ึงที่ชว่ ยให้มองเห็นชอ่ งทางโอกาสในการประกอบอาชีพ
บางคนชอบประดิษฐด์ อกไม้ บางคนชอบวาดรูป ท้าใหบ้ ุคคลเหล่าน้ีพัฒนางานที่ชอบ ซึ่งเปน็ งานอดเิ รก
กลายเปน็ อาชีพหลกั สร้างรายได้เปน็ อย่างดี
3. การฟงั ความคิดเหน็ จากแหลง่ ตา่ ง ๆ โดยการพดู คุยแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ กบั บุคคลผู้ทป่ี ระสบ
ความสา้ เรจ็ เปน็ การเรียนร้จู ากแหลง่ ความรู้และก่อใหเ้ กิดความคดิ รเิ ริ่มเปน็ อยา่ งดี ในบางคร้ังตัวเราเองอาจจะ
มีความคดิ แล้ว และได้พดู คุยกบั บุคคลตา่ ง ๆ จะชว่ ยใหก้ ารวเิ คราะหค์ วามคดิ มีความชดั เจนขนึ้ ชว่ ยให้มองไป
ข้างหน้าได้อย่างรอบคอบก่อนทจ่ี ะลงมือทา้ งานจริง
4. การศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ นิตยสาร หนงั สอื พิมพ์ เว็บไซต์ การดวู ดี ีทศั น์ ฟังวทิ ยดุ ูรายการ
โทรทศั น์ จะช่วยใหเ้ กดิ ความรู้และความคดิ ใหม่ ๆ
5. ขอ้ มลู สถติ ิ รายงาน ขา่ วสารจากหน่วยราชการและเอกชน รวมท้ังแผนพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศในการมองหาช่องทางในการประกอบอาชพี ผ้ทู ี่จะมองหาอาชพี พฒั นาอาชีพ ควรให้ความสนใจข้อมูล
ตา่ ง ๆ ในการติดตามเหตุการณ์ให้ทัน แล้วน้ามาพจิ ารณาประกอบการตัดสินใจประกอบอาชพี
เร่อื งที่ 2 ความเปน็ ไปไดข้ องการขยายอาชีพ
การประเมนิ ความเป็นไปไดใ้ นการน้ากรอบแนวคิดไปใชใ้ นการขยายอาชีพได้จริง

๑๓

จากแผนภูมิดงั กลา่ วแสดงให้เห็นกรอบแนวคิดในการประเมนิ ความเปน็ ไปได้ ท่ีมอี งคป์ ระกอบรว่ มกัน
5 องคป์ ระกอบ โดยในแตล่ ะองคป์ ระกอบมีตวั แปรดงั น้ี

1. รูปแบบการขยายอาชพี มีตวั แปรร่วม ดงั นี้
1.1 ผลผลิต เช่น การผลิตสินคา้ ได้ตรงตามความตอ้ งการของตลาด
1.2 กระบวนการผลติ เช่น การใชเ้ ทคโนโลยีทีท่ ันสมัยในการผลติ
1.3 ปัจจยั น้าเข้าการผลิต เชน่ วตั ถดุ บิ ในการผลติ

2. ความยากง่ายของการด้าเนินการจัดการ มตี ัวแปรร่วม ดงั น้ี
2.1 การบริหารจัดการ แรงงาน เงินทนุ เชน่ การบรหิ ารจดั การกระบวนการผลติ การขนสง่

ช่องทางการตลาด ช่องทางการหาแหล่งทุน
2.2 แผนธุรกิจ เชน่ มกี ารศกึ ษาชอ่ งทางการตลาด แผนงานการขยายช่องทางการตลาด

3. การรับได้ของลกู ค้า มตี วั แปรรว่ มดงั นี้
3.1 ผลผลิตอยใู่ นความนิยม เช่น มกี ารพฒั นา ปรบั ปรงุ สินคา้ ใหต้ รงตามความต้องการของ

ผู้บริโภค
3.2 เปน็ ส่ิงจ้าเป็นต่อชวี ิต เชน่ สินคา้ ที่เปน็ ท่ตี ้องการและใช้เป็นประจา้
3.3 ราคา เช่น การกา้ หนดราคาขายทเ่ี หมาะสมกบั สินค้า

4. การรบั ไดข้ องสังคมชมุ ชน มตี วั แปรรว่ ม ดงั นี้
4.1 สภาพแวดล้อม เชน่ สถานทีป่ ระกอบการไมส่ ่งผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อมของสงั คมชุมชน
4.2 วัฒนธรรมประเพณี เชน่ การขยายอาชพี ไมข่ ดั แย้งกับประเพณีวัฒนธรรมของสังคม

ชุมชน
5. ความเหมาะสมของเทคนคิ วิทยาการทใ่ี ช้ในการขยายอาชพี
5.1 เทคนิควทิ ยาการเพือ่ การลดต้นทุน เช่น นา้ เทคโนโลยีมาใชเ้ พื่อลดตน้ ทนุ ในการผลิต
5.2 เทคนคิ วิทยาการเพ่ือการลดของเสีย เช่น การนา้ วัสดุเหลือใชก้ ลับมาใชป้ ระโยชน์อกี
วิธีการวิเคราะห์
การวเิ คราะหเ์ พื่อการตดั สินใจมีความจา้ เปน็ ทเี่ จ้าของธุรกจิ จะตอ้ งประเมินตัดสินใจดว้ ยตนเองส้าหรบั

กรณที ่ีธุรกจิ มหี นุ้ ส่วนหรอื ผเู้ กี่ยวข้อง ควรจะใชว้ ิธีสนทนาเจาะลกึ และวธิ คี วามสัมพันธร์ ว่ มกนั โดยมวี ธิ ีการ
วิเคราะหค์ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งองคป์ ระกอบด้วยตนเอง ด้วยรายละเอียดและความเปน็ ไปได้ ความเป็น พวก
เดียวกนั โดยทบทวนหลาย ๆ ครัง้ จนมนั่ ใจแล้วจงึ ตัดสินใจ
เรอ่ื งท่ี 3 การกาหนดวธิ กี ารขั้นตอนการขยายอาชพี และเหตุผลของการขยายอาชพี

เปน็ ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติการในอาชพี ทจี่ ะต้องใช้องค์ความรูท้ ี่ยกระดบั คุณค่าเพื่อมาใช้ปฏบิ ัตกิ าร จึงเปน็
กระบวนการของการท้างานท่ีเริ่มจากการน้าองคค์ วามรู้ท่ีจัดทา้ ในรูปของคู่มือคุณภาพหรือเอกสารค่มู ือ
ด้าเนนิ งานมาศึกษาวิเคราะห์จดั ระบบปฏิบตั กิ าร จดั ปจั จัยนา้ เข้าดา้ เนินการ ทา้ งานตามขัน้ ตอนและการ
ควบคมุ ผลผลติ ใหม้ ีคุณภาพเปน็ ไปตามขอ้ กา้ หนดดา้ เนนิ การตรวจสอบหาขอ้ บกพร่องในการทา้ งาน ปฏิบตั ิ
แก้ไขข้อบกพร่องเป็นวงจรอย่างตอ่ เนื่อง และมกี ารปรับปรุงพัฒนาเอกสารคมู่ ือดา้ เนนิ งานไปเปน็ ระยะ ๆ กจ็ ะ
ท้าให้การปฏบิ ตั ิการในกิจกรรมอาชพี ประสบความสา้ เรจ็ สู่ความเข้มแขง็ ม่นั คง ยัง่ ยนื ตามกรอบความคดิ น้ี

๑๔

1. การปฏิบัติการใช้ความรู้ โดยใชว้ งจรเด็มม่งิ เปน็ กรอบการทา้ งาน
1.1 P- Plan ดว้ ยการจดั ท้าเอกสารคู่มอื ด้าเนนิ งาน โดยศึกษาวเิ คราะหจ์ ัดระบบปฏิบัติการ

ที่ประกอบด้วย กจิ กรรมข้ันตอน และผู้รบั ผดิ ชอบกา้ หนดระยะเวลาการท้างานกา้ หนดปัจจัยน้าเขา้ ด้าเนินงาน
ใหส้ ามารถทา้ งานได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

การจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการ (P) การจดั ท้าแผนปฏบิ ตั กิ ารทางอาชีพ เป็นการดา้ เนนิ การ
ท่มี ีองคป์ ระกอบรว่ มดังนี้

1. เหตุการณห์ รอื ขัน้ ตอนการทา้ งาน ซ่งึ จะบอกวา่ เหตกุ ารณ์ใดควรท้าพร้อม
กนั หรอื ควรทา้ ทีหลัง เปน็ การล้าดับขัน้ ตอนในแตล่ ะกิจกรรมใหเ้ ปน็ แผนการท้างาน

2. ระยะเวลาทก่ี า้ หนดวา่ ในแตล่ ะเหตุการณ์จะใชเ้ วลาไดไ้ มเ่ กินเท่าไรเพ่อื ออกแบบ
การใชป้ จั จัยด้าเนนิ งานใหส้ มั พนั ธ์กนั

3. ปัจจัยน้าเขา้ และแรงงาน เป็นการระบปุ จั จัยนา้ เขา้ และแรงงานในแต่ละเหตุการณ์
วา่ ควรใชเ้ ท่าไร การจดั ทา้ แผนปฏบิ ัตกิ ารทางอาชีพ มักจะนิยมใช้ผังการไหลของงานมาใชอ้ อกแบบการทา้ งาน
ให้มองเหน็ ความสมั พนั ธ์ร่วมระหว่างเหตุการณ์ ระยะเวลา ปจั จยั นา้ เขา้ และแรงงานจะชว่ ยใหผ้ ูป้ ฏิบตั ิงานและ
ผ้จู ดั การไดข้ ับเคลอื่ นการทา้ งานสู่ความสา้ เร็จไดด้ งั นั้น ในการออกแบบแผนปฏบิ ตั งิ าน จ้าเป็นต้องใช้องค์
ความร้ทู ส่ี รปุ ได้ในรปู ของเอกสารขัน้ ตอนการท้างานมาคดิ วิเคราะห์และสรา้ งสรรค์ใหเ้ กิดแผนปฏิบตั กิ าร

1.2 D-Do การปฏบิ ัติการทา้ งานตามระบบงานที่จัดไว้อย่างเคร่งครัด ควบคมุ การผลิตให้
เสียหายน้อยที่สดุ ไดผ้ ลผลติ ออกมามคี ุณภาพเปน็ ไปตามขอ้ ก้าหนด

การทางานตามแบบแผนปฏิบัติการ (D)
การทา้ งานตามแผนปฏบิ ัติการของผ้รู ับผิดชอบ ยังใชว้ งจรเด็มมงิ่ เชน่ เดยี วกันโดยเริ่มจาก
P : ศึกษาเอกสารแผนปฏบิ ัติการใหเ้ ข้าใจอยา่ งรอบคอบ
D : ท้าตามเอกสารขน้ั ตอนให้เป็นไปตามข้อก้าหนดทุกประการ
C : ขณะปฏบิ ตั กิ ารต้องมีการตรวจสอบทกุ ขนั้ ตอนให้เปน็ ไปตามข้อกา้ หนด
A : ถ้ามีการท้าผดิ ขอ้ กา้ หนด ตอ้ งปฏิบตั ิการแก้ไขให้เปน็ ไปตามข้อกา้ หนด

๑๕

1.3 C-Check การตรวจสอบหาขอ้ บกพร่องในการท้างานโดยผู้ปฏบิ ตั ิการหาเหตผุ ลของการ
เกิดข้อบกพรอ่ งและจดบนั ทึก

การตรวจสอบหาขอ้ บกพร่อง (C)
เป็นข้นั ตอนทีส่ ้าคญั ของการปฏิบตั กิ ารใช้ความรู้ สรา้ งความเขม้ แข็ง ยงั่ ยนื โดยมรี ูปแบบการ

ตรวจติดตามข้อบกพร่องดังนี้

1.4 A-Action การน้าข้อบกพรอ่ งทต่ี รวจพบของคณะผู้ปฏบิ ตั กิ ารมารว่ มกนั เรียนรู้
หาแนวทาง แก้ไขขอ้ บกพร่องจนสรุปได้ผลแลว้ นา้ ขอ้ มูลไปปรบั ปรงุ เอกสารคูม่ ือด้าเนนิ งานเป็นระยะ ๆ จะท้า
ให้ไดอ้ งคค์ วามร้สู ูงข้ึนโดยล้าดบั แล้วสง่ ผลตอ่ ประสทิ ธภิ าพของธรุ กิจ ประสบผลสา้ เร็จน้าไปสคู่ วามเขม้ แข็ง
ยง่ั ยนื

การปฏบิ ัตกิ ารแกไ้ ขและพัฒนา (A)
เป็นกจิ กรรมต่อเนื่องจากกิจกรรมการตรวจสอบหาข้อบกพรอ่ ง และก้าหนดแนวทางแก้ไข

ข้อบกพร่องโดยมกี ้าหนดระยะเวลา เมือ่ ถึงกา้ หนดเวลาจะตอ้ งมีการตดิ ตามผลวา่ ได้มีการปฏิบตั กิ ารแก้ไข
ข้อบกพร่องตามแนวทางที่ก้าหนดไวห้ รือไม่เกิดผลอย่างไร โดยมขี ั้นตอนการด้าเนนิ งานดังน้ี

1. ตรวจติดตามเอกสารสรปุ ประเมนิ ผลการศึกษา
2. เชญิ คณะผู้รับผิดชอบแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งมาประชมุ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ เสนอสภาพปญั หา
ข้อบกพร่อง ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความบกพรอ่ งและการแก้ไข
3. ผรู้ ับผิดชอบตรวจตดิ ตามและผู้รับผดิ ชอบแก้ไขข้อบกพร่องเข้าศึกษาสภาพจริงของการ
ดา้ เนินงาน แล้วสรปุ ปจั จัยทเี่ ปน็ เหตุและปัจจัยสนับสนนุ การแกไ้ ข
4. น้าข้อมูลทีไ่ ดน้ า้ สูก่ ารปรบั ปรงุ แก้ไขพัฒนาเอกสารองคค์ วามรู้ ให้มีประสิทธภิ าพสูงย่งิ ขึ้น
2. ทนุ ทางปญั ญา ผลจากการนา้ องค์ความรไู้ ปใช้ มกี ารตรวจสอบหาข้อบกพร่องและปฏิบัตกิ ารแก้ไข
ขอ้ บกพร่องเปน็ ระยะ ๆ อย่างต่อเนื่องทา้ ใหอ้ งค์ความรู้สูงข้นึ เป็นล้าดบั จนกลายเป็นทนุ ทางปัญญาของตนเอง
หรือของชมุ ชนท่จี ะเกิดผลต่อธุรกิจ ดงั นี้

๑๖

2.1 องค์ความรู้สามารถใชส้ ร้างผลผลติ ที่คนอ่ืนไมส่ ามารถเทียบเคียงได้ และไมส่ ามารถท้า
ตามได้ จงึ ได้เปรยี บทางการแข่งขนั

2.2 การเปล่ยี นแปลงยกระดับคุณภาพผลผลิตอย่างต่อเน่ือง ท้าใหล้ ูกค้าเชื่อมนั่ ต่อการท้า
ธรุ กจิ รว่ มกนั

2.3 เปน็ การสร้างทนุ ทางมนุษยผ์ ู้รว่ มงานไดเ้ รียนรบู้ ริหารระบบธุรกจิ ดว้ ยตนเองสามารถเกดิ
ภมู ปิ ัญญาในตวั บคุ คล ท้าให้ชุมชนพร้อมขยายขอบขา่ ยอาชีพออกสู่ความเปน็ สากล

3. ธุรกิจสู่ความเขม้ แข็งยั่งยืน การจดั การความร้ทู ้าให้องคค์ วามรู้สูงขน้ึ โดยล้าดับการขยายของอาชีพ
จึงเป็นการทา้ งานที่มีภูมิคุ้มกัน โอกาสของความเส่ียงในดา้ นต่าง ๆ ต่้าลงดงั นัน้ ความน่าจะเป็นในการขยาย
อาชีพจงึ ประสบความสา้ เรจ็ ค่อนข้างสงู เพราะมกี ารจดั การความรู้ ยกระดบั ความรนู้ ้าไปใชแ้ ละปรับปรุง แก้ไข
เปน็ ระยะ ๆ อย่างต่อเนือ่ ง จงึ สง่ ผลทา้ ให้ธุรกจิ เขม้ แข็ง ยั่งยืนได้ เพราะรู้จกั และเข้าใจตนเองตลอดเวลา

บทสรุป
การขยายขอบข่ายอาชีพเพ่ือสรา้ งความเข้มแข็งและยัง่ ยืนให้กับธุรกิจ จา้ เปน็ จะต้อง

ด้าเนินงานอย่างเป็นระบบ ไม่ใช่ท้าไปตามทีเ่ คยทา้ ดงั นนั้ การจัดการความรเู้ ปน็ เรื่องส้าคัญของทกุ คนที่
ประกอบอาชีพ จะขยายชอ่ งทางการประกอบอาชพี ออกไป จ้าเป็นตอ้ งมีคณุ สมบัตดิ ังนี้

1. เปน็ บคุ คลท่ที ้างานบนฐานขอ้ มูล ซ่งึ จะต้องใช้ความรู้ด้านต่าง ๆ เขา้ มาบรู ณาการ
ร่วมกนั ท้ังระบบของอาชพี

2. ต้องใช้กระบวนการวจิ ัยเป็นเครือ่ งมือ หมายถึง ผ้ปู ระกอบการต้องตระหนักและ
เหน็ ถึงปัญหาเพอื่ การจัดการความรูห้ รอื ใช้แกป้ ัญหา จดั การทดลอง สรุปองค์ความรู้ใหม้ ่นั ใจแล้วน้าไปขยาย
กจิ กรรมเขา้ สกู่ ารขยายขอบข่ายอาชีพออกไป

3. ต้องเปน็ บคุ คลท่ีมีความภมู ิใจในการถ่ายทอดประสบการณ์การเรียนรูแ้ ลกเปล่ยี น
เรยี นรู้ สรา้ งองค์ความรใู้ ห้สูงสง่ เป็นทุนทางปญั ญาของตนเอง ชุมชนได้

๑๗

แบบฝึกหดั
ให้ผู้เรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. ใหผ้ ้เู รยี นอธิบายความจ้าเปน็ และความเป็นไปได้ในการขยายอาชีพ พร้อมยกตัวอย่าง
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................................................................................
2. ใหผ้ ้เู รยี นยกตวั อย่างอาชีพและความเป็นไปไดต้ ามกรอบแนวคิดการขยายอาชีพ
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................................................................................

๑๘

บทท่ี 3
การตดั สินใจเลือกขยายอาชีพ
เรอ่ื งท่ี 1 ภารกิจเพอ่ื ความม่ันคงในการทาธุรกิจ
ความม่ันคงในอาชพี เป็นเรื่องที่ตอ้ งสร้างต้องทา้ ดว้ ยตนเอง สรา้ งองค์ความรู้ส้าหรับตนเองสู่การพ่ึงพา
ตนเองได้ และการทีจ่ ะสร้างความมน่ั คงอาชพี จา้ เป็นต้องมีภารกจิ เพื่อสร้างความยงั่ ยนื ในอาชพี อย่างน้อย 5
ภารกจิ ดงั นี้
1. บทบาทหน้าทเ่ี จ้าของธุรกิจ มหี นา้ ทตี่ ้องก้าหนดทศิ ทางธรุ กจิ ท่ีผูป้ ระกอบอาชพี จะต้องก้าหนด
ทิศทางของธุรกิจว่า จะดา้ เนนิ ไปทางไหนเพื่อให้สอดคล้องกับสภาวะทางเศรษฐกจิ สงั คมที่เป็นอยู่และจะ
เกิดขน้ึ ในอนาคต ตอ้ งทา้ 2 กิจกรรม ดงั นี้
1.1 การกา้ หนดวสิ ัยทศั น์ การก้าหนดทิศทางของอาชพี ที่จะเปน็ ไปหรือจะต้องการให้เกิดขึ้น
ในอนาคต 3-5 ปี ขา้ งหน้า ดว้ ยความรอบคอบและมีความเปน็ ไปไดจ้ นม่ันใจจงึ ก้าหนดเป็นข้อความเป็น
วสิ ยั ทัศนท์ ต่ี อ้ งการให้เกิดกับอาชีพต่อไป
1.2 การจดั ท้าแผนพัฒนาอาชพี เพือ่ ใช้ในการพฒั นาอาชพี ให้บรรลุวิสัยทัศน์ด้วยการก้าหนด
ภารกจิ วิเคราะหภ์ ารกจิ กา้ หนดกลยุทธ์สู่ความส้าเรจ็ วิเคราะหก์ ลยุทธ์ กา้ หนดตวั บ่งชค้ี วามสา้ เรจ็ และจดั ทา้
แผนปฏบิ ตั ิการ
2. การบรหิ ารทรพั ยากรด้าเนินการ เป็นการจดั การใหเ้ กิดระบบการควบคมุ การใชท้ รัพยากรให้เกิด
ความคุ้มคา่ มากทีส่ ดุ ประกอบด้วย
2.1 การวางแผนใช้แรงงานคนและจดั คนใหเ้ หมาะสมกบั งาน
2.2 ระบบการควบคุมวัสดุอุปกรณแ์ ละปัจจัยการผลิต
2.3 การควบคุมการเงนิ
3. การบริหารการผลิต เปน็ การควบคุมการด้าเนินงานใหเ้ กิดผล ซ่งึ เก่ยี วข้องกับกิจกรรมการบรหิ าร
อยา่ งน้อย 3 กจิ กรรม ดงั นี้ การควบคมุ คนท้างานใหเ้ ปน็ ไปตามข้ันตอนที่ก้าหนด การควบคมุ ระยะเวลา การ
ตรวจสอบคัดเลอื กผลติ ภัณฑใ์ หม้ คี ณุ ภาพ
4. การจัดการส่งมอบผลติ ภัณฑ์ ผ้ปู ระกอบการตอ้ งพฒั นาระบบการสง่ มอบผลผลิตใหถ้ งึ มือลกู ค้าได้
ตามข้อกา้ หนดในเร่อื งตา่ ง ๆ ดงั น้ี
4.1 การบรรจุภณั ฑ์เพ่ือการปกป้องผลผลติ ไม่ใหเ้ สยี หาย
4.2 การสง่ สินค้ามีหลายรปู แบบทีจ่ ะน้าสินค้าไปถึงลกู ค้าได้อย่างปลอดภยั สามารถเลือก
วิธกี ารทีเ่ อกชนและภาครฐั จดั บรกิ ารใหห้ รือจดั ส่งเอง
4.3 การจดั การเอกสารส่งมอบ ใช้เพ่อื ควบคุมให้ทราบถงึ ผลผลิตทีน่ า้ ออกไปมีปริมาณเท่าใด
ไปถึงลูกค้าด้วยวิธีใดและได้รับหรือไม่
5. การวจิ ัยและพัฒนา เปน็ การดา้ เนินงานให้ธุรกจิ ท่ีท้าอยู่ใหไ้ ดร้ บั ความนยิ มและก้าวทันต่อการ
เปลีย่ นแปลง ดงั น้ี
5.1 ติดตามข้อมลู กระแสความนยิ มในสินคา้
5.2 ติดตามประเมนิ เทยี บเคียงคณุ ภาพผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งและสภาวะของตลาด
5.3 ด้าเนินการวจิ ยั และพัฒนา ดว้ ยการค้นควา้ หาข้อมูล สรา้ งองค์ความรู้ พัฒนาผลผลิตให้
อยใู่ นกระแสความนิยมหรอื เปลยี่ นโฉมออกไปสตู่ ลาดจากสาระความเข้าใจภารกจิ เพื่อความมน่ั คงในอาชีพเปน็
การน้าเสนอแนวคิดทเ่ี ป็นธุรกิจคอ่ นขา้ งขนาดใหญ่ ดังนน้ั ผู้ประกอบการจึงจ้าเปน็ ตอ้ งคดิ สรา้ งสรรค์เพอื่ ตนเอง
ว่าธุรกิจท่ีด้าเนินการจะทา้ อะไร เท่าไรและอยา่ งไร

๑๙

เรอ่ื งที่ 2 การวัดและประเมินผลความมัน่ คงในอาชีพ
การประเมนิ ความมนั่ คงในอาชีพ ผรู้ ับผิดชอบในการวดั และประเมินผลที่ดีท่สี ดุ คือ ตวั ผูป้ ระกอบ

อาชพี เอง เพราะการวัดและประเมนิ ผลความมัน่ คงในอาชพี เป็นเรือ่ งทีบ่ ูรณาการสงิ่ ต่าง ๆ ในตวั ของ
ประกอบการอาชีพเอง ตง้ั แต่การเรียนร้วู า่ ตนเองจะท้าอย่างไร การคิดเหน็ คณุ ค่าของกจิ กรรมความมนั่ คง
ความจดจ้าในกจิ กรรมและความร้สู กึ พอใจต่อกจิ กรรมเปน็ เรอ่ื งภายในท้ังสน้ิ บุคคลอนื่ ไม่สามารถรู้เทา่ ตัวของผู้
ประกอบอาชีพ ดงั น้ัน ความม่ันคงในอาชพี ตวั แปรต้นเหตุที่ส้าคญั คอื ใจของผ้ปู ระกอบอาชีพ ซึ่งมีหลกั การ
ประเมินสภาวะของธุรกจิ ประกอบด้วย ตวั แปร 4 ตวั ดังนี้

1. การรับรู้ (วญิ ญาณ) วิธกี ารรับร้ทู ี่ใช้ศกึ ษาภารกิจสรา้ งความม่นั คง
2. ความคิด (สงั ขาร) ประเมินคณุ ค่าวา่ ดหี รือไมด่ ีของภารกจิ ความมนั่ คงทจี่ ะดา้ เนนิ การ
3. จา้ ได้ หมายรู้ (สัญญา) ประเมินความจา้ ว่าตนเองเอาใจใส่ตอ่ ภารกิจความมน่ั คงมากน้อยเพียงใด
4. ความรสู้ ึก (เวทนา) ประเมินความรูส้ ึกทีต่ นเองพงึ พอใจหรือชอบต่อภารกิจความมั่นคงแบบใด
วธิ กี ารวเิ คราะห์

การวิเคราะห์เพื่อการตัดสินใจ มีความจา้ เปน็ ที่เจ้าของธรุ กจิ จะตอ้ งประเมนิ ตดั สินใจ
ดว้ ยตนเองสา้ หรบั กรณที ่ีธุรกิจมีหุ้นส่วนหรอื ผู้เกีย่ วข้องควรจะใชว้ ธิ ีสนทนาเจาะลึกและวิธคี วามสมั พนั ธร์ ่วมกนั
โดยมวี ิธกี ารดังนี้

1. การวิเคราะห์ตดั สนิ ใจตัวบ่งชี้ความสมั พันธร์ ะหวา่ งองค์ประกอบทีละคู่ ด้วยการใช้
วิจารณญาณของตนเอง นึกคิดในรายละเอียดความสัมพนั ธ์ความไปกนั ได้ และความเปน็ พวกเดยี วกันวา่ หนักไป
ทางมคี วามสัมพันธ์

2. การใหค้ ะแนนโดยให้คอู่ งค์ประกอบที่มีความสมั พันธไ์ ด้คะแนน 1 คะแนน คทู่ ่ีไม่สมั พันธ์
ให้ 0 คะแนน

วธิ กี ารประเมนิ
การรวมคะแนนจากองค์ประกอบการประเมนิ แต่ละข้อ แลว้ ประเมนิ สรุปตามเกณฑ์

การประเมิน เชน่
1. แนวทางขยายอาชพี ของกลุ่มจกั สาน มคี คู่ วามสมั พันธ์ขององค์ประกอบการประเมินรวม

คะแนนได้ 9 คะแนน สามารถอธบิ ายไดว้ ่าแนวทางขยายอาชีพของกลุ่มจักสานมีความเป็นไปได้ในการนา้ ไปใช้
จริง

2. แนวทางขยายอาชีพของกล่มุ เลย้ี งปลา มคี ่คู วามสมั พันธ์ขององค์ประกอบการประเมนิ รวม
คะแนนได้ 3 คะแนน สามารถอธิบายได้วา่ แนวทางขยายอาชีพของกลมุ่ เลย้ี งปลาเปน็ รูปแบบทม่ี คี วามเปน็ ไปได้
ต่้ามากรูปแบบไมส่ ามารถนา้ ไปใชไ้ ด้

สรปุ
แนวทางประเมนิ ความเป็นไปได้ของการน้ารปู แบบขยายอาชพี ไปใชเ้ ป็นรปู แบบทเ่ี นน้ การใช้เหตุผล
เปน็ หลกั ไม่ใช่การหาความสัมพนั ธเ์ ชงิ คณติ ศาสตร์ เป็นการมองหาเหตผุ ลด้วยวิจารณญาณของตนเอง เพื่อ
รับผิดชอบตนเองและน้าตนเองได
เรอื่ งท่ี 3 การตดั สนิ ใจขยายอาชีพดว้ ยการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพ
การสร้างความม่ันคงยิง่ ขน้ึ ผู้ประกอบการควรพจิ ารณาวเิ คราะหศ์ ักยภาพในการขยายอาชีพ 5 ดา้ น
ดังนี้

1. ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาตใิ นแตล่ ะพ้นื ที่
2. ศกั ยภาพของพ้นื ทีต่ ามลักษณะภมู ิอากาศ

๒๐

3. ศกั ยภาพของภูมปิ ระเทศและท้าเลทีต่ ้งั ของแต่ละพน้ื ที่
4. ศักยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณแี ละวถิ ีชีวติ ของแตล่ ะพ้ืนท่ี
5. ศักยภาพของทรัพยากรมนุษยใ์ นแตล่ ะพน้ื ที่
1. ศักยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติในแต่ละพน้ื ท่ี
ทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึง่ มนษุ ยส์ ามารถน้าไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์
ตอ่ ชีวิตประจ้าวันและการประกอบอาชีพทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ ป่าไม้ แมน่ ้า ล้าคลอง อากาศ แร่ธาตุ
ตา่ ง ๆ ทรพั ยากรธรรมชาติบางชนิดที่ใชแ้ ล้วหมดไป เช่น แร่ธาตุต่าง ๆ บางชนิดมนษุ ยส์ ามารถสรา้ งทดแทนขึ้น
ใหม่ได้การขยายอาชีพต้องพิจารณาว่าทรพั ยากรท่ีจะตอ้ งน้ามาใชใ้ นการขยายอาชีพในพื้นท่มี ีหรอื ไม่มีเพียงพอ
หรือไม่ ถ้าไม่มผี ู้ประกอบการตอ้ งพิจารณาใหมว่ ่าจะขยายอาชพี ท่ตี ดั สนิ ใจเลือกไว้หรอื ไม่หรอื พอจะจัดหาไดใ้ น
พืน้ ทใี่ กล้เคยี ง ซ่งึ ผปู้ ระกอบการต้องเสยี ค่าขนสง่ คุ้มค่ากบั การลงทุนหรือไม่ เชน่ ตดั สินใจจะขยายอาชีพจาก
เดิมเลยี้ งสุกร 100 ตวั ต้องการเลีย้ งเพมิ่ เปน็ 200 ตวั ซง่ึ เพม่ิ อกี เท่าตวั จะต้องพิจารณาวา่ อาหารสุกรหาไดใ้ น
พน้ื ทีห่ รือไม่ เช่น รา้ ขา้ วในพื้นทม่ี ีพอเพียงทจ่ี ะเลี้ยงสุกรท่เี พ่มิ ขนึ้ หรือไม่
2. ศักยภาพของพ้ืนทต่ี ามลักษณะภมู ิอากาศ
แตล่ ะพ้นื ท่จี ะมลี ักษณะภมู ิอากาศแตกต่างกนั เชน่ ภาคกลางอากาศร้อน ภาคใต้ฝนตกเป็นเวลานาน
ภาคเหนอื มีอากาศเย็น โดยเฉพาะอาชพี เกษตรกรรมขน้ึ อยู่กบั สภาพภูมิอากาศเปน็ สว่ นใหญ่ เช่น ในพื้นทม่ี ีการ
ปลูกลิ้นจี่ ลา้ ไยอย่แู ลว้ และมผี ลผลิตออกมากในฤดูกาล ทา้ ใหร้ าคาตกต้า่ ต้องการแปรรปู ให้เป็นล้าไยตากแห้ง
เพอื่ ใหไ้ ด้ราคาดี ดังนน้ั ต้องพิจารณาวา่ ในชว่ งน้ันมแี สงแดดพอเพยี งทจี่ ะตากลา้ ไยไดห้ รือไม่
3. ศกั ยภาพของภูมิประเทศและทาเลท่ตี ้ังของแต่ละพื้นที่
สภาพภมู ปิ ระเทศและท้าเลที่ตัง้ ของแตล่ ะพ้ืนทจ่ี ะแตกตา่ งกนั เช่น เป็นภเู ขา เปน็ ทรี่ าบสูง ทร่ี าบลุ่ม
แต่ละพื้นที่ตอ้ งพจิ ารณาวา่ แหลง่ ทอ่ งเที่ยวแหง่ ใหมใ่ นภูมิประเทศนนั้ ๆ สามารถดงึ ดูดนักทอ่ งเที่ยวไดห้ รือไม่
หรือต้องการขยายสาขารา้ นกาแฟสดไปอีกสถานทหี่ นึ่งก็ต้องพจิ ารณาท้าเลท่ตี ัง้ แห่งใหม่ว่าจะขายกาแฟได้
หรือไม่
4. ศักยภาพของศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแตล่ ะพนื้ ที่
ประเทศไทยและตา่ งประเทศมีศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณีและวิถีชวี ติ ทแ่ี ตกต่างกันดังน้นั แต่ละพน้ื ท่ี
สามารถนา้ เอาสง่ิ เหล่านมี้ าใช้เป็นอาชพี ได้ เช่น เปน็ สถานที่ท่องเท่ยี วเข้าชมศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณีพนื้ บ้าน
หรือพาชมวิถชี ีวติ อาจจะขยายอาชพี โดยเพิ่มจ้านวนรอบท่ีเขา้ ชมให้พอเพียงกบั ตลาดเปา้ หมาย
5. ศกั ยภาพของทรพั ยากรมนุษยใ์ นแตล่ ะพน้ื ท่ี
ทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพ้ืนที่ หมายถงึ ความรู้ ความสามารถของมนุษย์ที่เปน็ ภูมิปญั ญาทง้ั ในอดีต
จนถงึ ปจั จุบัน ดา้ นการประกอบอาชีพต่าง ๆ ในพื้นทนี่ น้ั ๆ เมื่ออาชพี น้ันมีความม่นั คงในพนื้ ท่ีน้นั ๆ แล้ว
อาจจะขยายไปพื้นท่ีอนื่ ๆ การกระจายความสามารถของทรพั ยากรมนุษย์กส็ ามารถท้าไดโ้ ดยการอบรมผู้สนใจ
ในความรู้น้นั ๆ ให้สามารถนา้ ไปขยายยังพืน้ ที่อนื่ ๆ ได้

๒๑

แบบฝึกหดั
ใหผ้ ู้เรียนตอบคาถามต่อไปนี้
1. จากการทผี่ ้เู รียนได้ศกึ ษาบทที่ 3 การตดั สินใจขยายอาชีพควรมีองค์ประกอบในการตัดสินใจ
กี่องคป์ ระกอบ ผู้เรียนสามารถนา้ ไปใช้ตัดสนิ ใจได้อยา่ งไรจงอธบิ าย
...................................................................................................................... .....................................................
...................................................................................................................... .....................................................
.................................................................................... .......................................................................................
...................................................................................................................... .....................................................
...................................................................................................................... .....................................................
...........................................................................................................................................................................
...................................................................................................................... .....................................................
...................................................................................................................... .....................................................
...........................................................................................................................................................................
...................................................................................................................... .....................................................
2. เพอื่ เป็นการสรา้ งความมัน่ คงย่งิ ข้ึน ผู้ประกอบการควรพิจารณาการตดั สนิ ใจขยายอาชีพด้วยการวิเคราะห์
ศักยภาพในการขยายอาชีพก่ีด้าน จงอธบิ ายยกตัวอยา่ งการตดั สินใจขยายอาชพี ของทา่ นทสี่ อดคล้องมา
1 ตัวอย่าง
...........................................................................................................................................................................
...................................................................................................................... .....................................................
...................................................................................................................... .....................................................
...........................................................................................................................................................................
...................................................................................................................... .....................................................
...................................................................................................................... .....................................................
...........................................................................................................................................................................
...................................................................................................................... .....................................................
...................................................................................................................... .....................................................
...................................................................................................................... .....................................................
...................................................................................................................... .....................................................
...................................................................................................................... .....................................................
...................................................................................................................... .....................................................
................................................................................................................... ........................................................
...................................................................................................................... .....................................................
...................................................................................................................... .....................................................
............................................................................................................... ............................................................
...................................................................................................................... .....................................................
...................................................................................................................... .....................................................
........................................................................................................... ................................................................

๒๒

เฉลยแบบฝึกหดั

บทที่ 1

1. ใหผ้ ู้เรยี นอธิบายความสา้ คัญและความจ้าเปน็ ในการขยายอาชีพ

ความสา้ คญั และความจ้าเป็นในการขยายอาชพี เนื่องมาจากความเปลย่ี นแปลงท่ีเกดิ ข้นึ และสง่ ผล

กระทบตอ่ กนั ในด้านเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม และส่ิงแวดลอ้ ม สง่ ผลใหเ้ กิดอาชพี ใหม่ทสี่ รา้ งรายได้ และ

สร้างความเข้มแข็งในอาชีพได้

2. ใหผ้ ู้เรยี นอธิบายลกั ษณะการขยายอาชีพดา้ นเกษตรกรรม พรอ้ มยกตวั อย่าง

การขยายอาชีพดา้ นเกษตรกรรม เปน็ การน้าองค์ความรู้ใหม่ ๆ เทคโนโลยี นวัตกรรมพัฒนาให้

สอดคล้องกบั ทรัพยากรธรรมชาติ ทา้ เล ท่ตี ัง้ รวมถงึ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี วี ติ ในแต่ละพ้นื ที่ เช่น

อาชีพเกษตรอินทรยี ์ เกษตรผสมผสาน เป็นตน้

3. ใหผ้ เู้ รยี นอธบิ ายลกั ษณะการขยายอาชีพด้านพาณชิ ยกรรม พร้อมยกตัวอย่าง

การขยายอาชพี ด้านพาณิชยกรรม เป็นการนา้ วิธีการตา่ ง ๆ เพอื่ ตอบสนองความต้องการของผบู้ ริโภค

ในยุคปัจจุบัน เช่น การขายสินค้าในระบบออนไลน์ หนา้ เว็บไซต์ตา่ ง ๆ หน้าเฟซบุ๊ค หนา้ อินสตาร์แกรม

อินเทอร์เนต็ แบงคก์ ิง้

4. ใหผ้ ู้เรยี นบอกข้อดีของการขยายอาชีพดา้ นความคิดสรา้ งสรรค์

การขยายอาชีพดา้ นความคิดสรา้ งสรรคท์ ้าให้ผู้ผลติ เกิดการแข่งขนั ในดา้ นความคิดสติปัญญา ในการ

ผลิตสินคา้ ในดา้ นรปู ลกั ษณ์ ท้าใหส้ ินคา้ ดมู ีราคาน่าใช้ และผ้บู ริโภคมที างเลือกในการซื้อสินค้าไดม้ ากยิง่ ขน้ึ ตรง

ตามความต้องการ ในราคาท่ียตุ ธิ รรม

5. ใหผ้ ู้เรยี นบอกคุณธรรมจริยธรรมในการประกอบอาชพี ตามแนวพระราชดา้ ริ มาอย่างนอ้ ย 5 ขอ้

คณุ ธรรมจริยธรรมในการประกอบอาชีพ เชน่ การพัฒนาตนเองตามแนวพระราชด้าริ ดงั นี้

1. มีความรู้ ความสามารถ 6. มีความจริงใจและมีสัจจะ

2. รจู้ ักการประยุกต์ใช้ 7. มวี นิ ัย

3. คิดอยา่ งรอบคอบ 8. สร้างสรรค์และพฒั นา

4. ใชป้ ัญญา 9. วางแผนในการทา้ งานส้ารวม

5. มีสติและสงบ

6. การซือ้ สินคา้ ผ่านระบบออนไลนเ์ ป็นการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรหรือไม่ อย่างไร

การซ้ือสินคา้ ผา่ นระบบออนไลนเ์ ปน็ การอนรุ ักษท์ รัพยากร เนือ่ งจากเปน็ การประหยดั เวลาและ

ค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางของผู้ซื้อ ประหยดั ทรัพยากรในการดา้ เนนิ กจิ การของผู้ผลิต เช่น น้ามัน ไฟฟ้า น้า

กระดาษ เป็นต้น

๒๓

บทท่ี 2

1. ใหผ้ เู้ รียนอธิบายความจ้าเปน็ และความเปน็ ไปได้ในการขยายอาชีพ พร้อมยกตัวอย่าง
ในการประกอบอาชีพ การมองเหน็ ช่องทางการประกอบอาชพี กอ่ นคนอนื่ จะท้าให้ประสบความสา้ เร็จ

ไดก้ ่อน ประกอบดว้ ยสิง่ ตา่ ง ๆ ดังน้ี
1. ความชา้ นาญในงานท่ที า้
2. ความชอบ ความสนใจของตัวเอง
3. การฟังความคดิ เหน็ จากแหลง่ ตา่ ง ๆ แลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ กับบุคคลผทู้ ปี่ ระสบความสา้ เร็จ
4. การศึกษาคน้ ควา้ จากแหลง่ ตา่ ง ๆ เช่น สอื่ สิง่ พิมพ์ สอ่ื อิเล็กทรอนิกส์ ส่อื ออนไลน์
5. ข้อมูล สถิติ รายงาน ข่าวสารจากหน่วยราชการและเอกชน

ตวั อยา่ งการขยายอาชีพ
นางมาลี เป็นพนักงานตดั เยบ็ เส้ือผา้ ทโี่ รงงานเอ เปน็ เวลากวา่ 10 ปี จากประสบการณ์การเปน็

พนักงานตัดเยบ็ เส้อื ผา้ จึงได้ลาออกเพ่ือเปดิ รา้ นตดั เยบ็ เสอื้ ผา้ ของตนเอง ทบ่ี ้านเกิดของตนเอง
2. ใหผ้ ู้เรียนยกตวั อย่างอาชีพและความเป็นไปได้ตามกรอบแนวคิดการขยายอาชีพ

อาชพี รา้ นกาแฟเดลเิ วอรี่ อธิบายกรอบแนวคิดความเป็นไปได้ในการขยายอาชพี ดังน้ี
1. รูปแบบการขยายอาชพี การบรกิ ารส่งกาแฟเดลิเวอรี่ โดยผู้ซ้อื สามารถโทรศัพทส์ งั่ ซ้ือ หรอื

สงั่ ออนไลน์ ผ่านทางแอพพลเิ คช่ัน เชน่ เฟซบ๊กุ ไลน์ เปน็ ต้น
2. ความยากงา่ ยของการดา้ เนินการจัดการ เน่ืองจากปัจจุบันผ้บู รโิ ภคมคี วามนิยมดมื่ ชา

กาแฟ เปน็ จ้านวนมาก และร้านกาแฟกม็ ีจ้านวนมากเชน่ กัน วิธกี ารบรกิ ารเดลิเวอรี่ ส่งถึงทจ่ี ึงเปน็ ทางเลอื กทด่ี ี
ส้าหรับผู้บรโิ ภค โดยเฉพาะผู้ท่ีท้างานในสา้ นักงานต่างๆ ที่มปี รมิ าณการซ้ือจา้ นวนมาก จงึ เปน็ ชอ่ งทางในการ
จ้าหน่ายทดี่ ี กาแฟเดลเิ วอรี่ จัดสง่ เครื่องด่ืม ชา กาแฟ และเบเกอรี่ ให้กับลูกค้าถงึ ที่ โดยผู้ซื้อสามารถโทรศัพท์
สง่ั ซ้ือ หรือ สั่งซื้อออนไลน์ ผ่านทางแอพพลเิ คชนั่ เช่น เฟซบุก๊ ไลน์ เปน็ ต้น นอกจากนย้ี ังรบั จดั อาหารว่าง
ในการจดั ประชุมอีกดว้ ย

3. การรบั ได้ของลูกค้า ในปจั จุบันผบู้ ริโภคมคี วามนิยมดมื่ ชา กาแฟ เป็นจา้ นวนมาก
เคร่ืองดื่มบรกิ ารส่งถงึ ท่ี กาแฟเดลเิ วอรี่ จึงการตอบความต้องการของผู้บรโิ ภค เพราะไม่ต้องเสยี เวลามาทรี่ า้ น
กาแฟเอง ประหยดั เวลา ค่าใชจ้ ่ายในการเดินทาง ราคาทเี่ หมาะสมกบั สนิ ค้า

4. การรบั ได้ของสังคมชุมชน กาแฟเดลเิ วอรี่ ไม่ส่งผลกระทบตอ่ สังคมชุมชน และยังสรา้ ง
รายไดใ้ หแ้ ก่ชมุ ชน เช่น คนส่งกาแฟ คนทา้ ขนมเบเกอร่ี เป็นต้น

5. ความเหมาะสมของเทคนิควิทยาการทใี่ ชใ้ นการขยายอาชพี กาแฟเดลเิ วอรี่ มีการใชส้ ่อื
เทคโนโลยี โดยผซู้ ้ือสามารถโทรศัพท์สง่ั ซ้อื หรือ สัง่ ซือ้ ออนไลน์ ผา่ นทางแอพพลิเคช่ันเช่น เฟซบุ๊ก ไลน์ เปน็ ต้น
ดงั น้นั อาชพี กาแฟเดลเิ วอร่ี จึงเปน็ อาชีพทมี่ ีความเป็นไปได้ในการขยายอาชีพ เพราะมกี ารบริการทอี่ ้านวย
ความสะดวกให้แกผ่ ู้บริโภค เพือ่ ให้ผู้บริโภคเกิดความพึงพอใจในสินค้าและบริการ

๒๔

บทที่ 3

1. จากการท่ผี เู้ รยี นได้ศึกษาบทท่ี 3 การตดั สนิ ใจขยายอาชีพควรมีองค์ประกอบในการตัดสนิ ใจก่ีองคป์ ระกอบ
ผเู้ รยี นสามารถนา้ ไปใช้ตดั สินใจได้อยา่ งไรจงอธบิ ายการตดั สินใจเลือกขยายอาชีพควรมี 3 องค์ประกอบ ดังน้ี

1. ภารกิจเพือ่ ความมั่นคงในการท้าธรุ กจิ
2. การวดั ผลและประเมินผลความม่นั คงในอาชีพ
3. การตัดสนิ ใจขยายอาชีพด้วยการวิเคราะห์ศักยภาพ
2. เพอ่ื เปน็ การสรา้ งความมัน่ คงย่งิ ขนึ้ ผู้ประกอบการควรพิจารณาการตดั สินใจขยายอาชีพด้วยการวิเคราะห์
ศักยภาพในการขยายอาชีพกี่ดา้ น จงอธบิ ายยกตวั อย่างการตดั สินใจขยายอาชีพของท่านทีส่ อดคล้องมา 1
ตวั อยา่ งผปู้ ระกอบการควรพิจารณาการตัดสินใจขยายอาชีพดว้ ยการวเิ คราะหศ์ ักยภาพในการ
ขยายอาชีพ 5 ดา้ น ดงั น้ี
1. ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติแตล่ ะพื้นทก่ี ารขยายอาชพี ต้องพจิ ารณาว่าทรพั ยากรทจ่ี ะต้อง
น้ามาใช้ในการขยายอาชพี ในพื้นท่ีมีหรือไมม่ ีเพยี งพอหรือไม่ ถ้าไม่มผี ้ปู ระกอบการต้องพิจารณาใหมว่ ่าจะขยาย
อาชพี ที่ตัดสนิ ใจเลือกไว้หรือไมห่ รือพอจะจดั หาได้ในพน้ื ท่ีใกล้เคยี ง ซง่ึ ผู้ประกอบการต้องเสยี ค่าขนสง่ คุ้มคา่ กับ
การลงทุนหรอื ไม่ เชน่ ตัดสินใจจะขยายอาชีพจากเดิมเล้ยี งสกุ ร 100 ตวั ต้องการเล้ียงเพม่ิ เปน็ 200 ตวั
ซึ่งเพิม่ อีกเทา่ ตวั จะตอ้ งพจิ ารณาว่าอาหารสกุ รหาไดใ้ นพ้ืนทีห่ รอื ไม่ เช่น ร้าขา้ วในพืน้ ท่ีมีพอเพียงท่ีจะเลี้ยงสุกร
ทเี่ พมิ่ ข้นึ หรือไม่
2. ศกั ยภาพของพน้ื ท่ีตามลักษณะภมู ิอากาศ แต่ละพนื้ ทีจ่ ะมลี ักษณะภมู ิอากาศแตกต่างกัน เช่น ภาค
กลางอากาศร้อน ภาคใต้ฝนตกเป็นเวลานาน ภาคเหนอื มีอากาศเยน็ โดยเฉพาะอาชีพเกษตรกรรมข้ึนอยู่กบั
สภาพภูมอิ ากาศเปน็ สว่ นใหญ่ เช่น ในพ้นื ทีม่ กี ารปลูกล้นิ จี่ ลา้ ไยอยูแ่ ล้วและมผี ลผลิตออกมากในฤดูกาล ท้าให้
ราคาตกต้่าตอ้ งการแปรรปู ให้เปน็ ล้าไยตากแหง้ เพ่ือให้ไดร้ าคาดี ดงั น้ัน ตอ้ งพิจารณาวา่ ในชว่ งน้นั มีแสงแดด
พอเพยี งท่จี ะตากลา้ ไยไดห้ รือไม่
3. ศกั ยภาพของภมู ปิ ระเทศและท้าเลทต่ี ง้ั ของแตล่ ะพืน้ ทีส่ ภาพภูมปิ ระเทศและทา้ เลทีต่ ั้งของแตล่ ะ
พ้ืนท่จี ะแตกต่างกนั เช่น เปน็ ภเู ขา เปน็ ทรี่ าบสงู ทร่ี าบลุ่มแต่ละพื้นที่ต้องพจิ ารณาว่าแหล่งทอ่ งเท่ยี วแห่งใหม่ใน
ภมู ปิ ระเทศนนั้ ๆ สามารถดงึ ดูดนักท่องเทย่ี วไดห้ รือไม่ หรือต้องการขยายสาขากาแฟสดไปอีกสถานท่หี น่ึงก็
ต้องพิจารณาท้าเลทีต่ งั้ แห่งใหม่วา่ จะขายกาแฟไดห้ รือไม่
4. ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถชี ีวิตของแต่ละพนื้ ทีป่ ระเทศไทยและต่างประเทศมี
ศิลปวฒั นธรรม ประเพณีและวิถชี ีวิตทแี่ ตกต่างกันดังนั้น แตล่ ะพน้ื ทสี่ ามารถน้าเอาสง่ิ เหลา่ น้ีมาใช้เปน็ อาชีพได้
เช่น เปน็ สถานท่ที ่องเท่ียวเขา้ ชมศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณีพนื้ บ้านหรือพาชมวิถีชวี ติ อาจจะขยายอาชีพโดย
เพ่ิมจ้านวนรอบที่เขา้ ชมให้พอเพียงกบั ตลาดเป้าหมาย
5. ศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษยใ์ นแตล่ ะพ้นื ที่ทรพั ยากรมนษุ ยใ์ นแต่ละพื้นที่ หมายถงึ ความรู้
ความสามารถของมนษุ ย์ทเ่ี ป็นภมู ิปญั ญาทง้ั ในอดีตจนถงึ ปัจจุบนั ดา้ นการประกอบอาชีพต่าง ๆ ในพ้ืนทนี่ นั้ ๆ
เม่ืออาชีพนั้นมีความมั่นคงในพื้นทีน่ ั้น ๆ แลว้ อาจจะขยายไปพืน้ ท่ีอืน่ ๆ การกระจายความสามารถของ
ทรพั ยากรมนุษย์กส็ ามารถท้าได้โดยการอบรมผสู้ นใจ ในความรู้นน้ั ๆ ให้สามารถน้าไปขยายยงั พน้ื ท่ีอื่น ๆ ได้

๒๕

ท่ปี รกึ ษา คณะผ้จู ดั ทา
นางวไิ ลลกั ษณ์ โรจนาศรรี ัตน์
ผอ.กศน.อา้ เภอโนนสงู
ผใู้ หข้ ้อมูล
นางสาวศิวพร เพช็ รนลิ ครู กศน.ตา้ บลโนนสงู
นายวสันต์ เจโคกกรวด ครู กศน.ตา้ บลใหม่
นางสาววารุณี ยวงกลาง ครู กศน.ตา้ บลโตนด
นางกมลพชั ร หนานโพธ์ิ ครู กศน.ตา้ บลบิง
นายวชิ ิต ชูชวี า ครู กศน.ต้าบลดอนชมพู
นางสาวศิรวิ รรณ หรภูมิ ครู กศน.ตา้ บลธารปราสาท
นายเจษฎาภัทร ชุ่มกลาง ครู กศน.ต้าบลหลุมขา้ ว
นายชยั ภทั ร งมึ กระโทก ครู กศน.ตา้ บลมะคา่
นางชิดชนก เลิศวชิ ยั ครู กศน.ตา้ บลพลสงคราม
นางสาวภาตยิ า อารี ครู กศน.ต้าบลจันอดั
นางประไพ ปิยสันท์ ครู กศน.ตา้ บลขามเฒ่า
นางสาวนัฐพร พยัคฆพงษ์ ครู กศน.ตา้ บลด่านคล้า
นางประสงค์ ปลงั่ กลาง ครู กศน.ต้าบลลา้ คอหงษ์
นางสาวเสาวนีย์ พลกลาง ครู กศน.ต้าบลเมืองปราสาท
นายธนภัทร นาวา ครู กศน.ต้าบลดอนหวาย
นางสาวอรอินทุ์ สุขมิน ครู กศน.ตา้ บลล้ามูล
นางฐติ ิยาพรรณ ชา้ นาญโชติศิริ ครู ศรช.ตา้ บลโนนสูง
นางสาวสุธนี คชาศริ ิสกุล ครูผู้สอนคนพิการ
นางสาวณิภา จันทร์รัตนประภา ครูผสู้ อนคนพิการ
นางสาวจุฑารัตน์ บุญมามอญ ครู ศรช.ตา้ บลหลมุ ขา้ ว

ผูร้ า่ ง/ผเู้ รียบเรียง/ผ้พู ิมพ์ ครชู า้ นาญการ
นางสาวปรารถนา ชโี พธ์ิ


Click to View FlipBook Version