ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ (ชดุ ที่ 4) 15
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ชุดท่ี 4)
สาระการประกอบอาชีพ
รายวชิ า พัฒนาอาชพี ใหม้ คี วามมั่นคง (อช31003)
เรอ่ื ง การพฒั นาธรุ กิจเชงิ รุก
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
โดย
นางสาวปรารถนา ชโี พธิ์
ครูชานาญการ
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอโนนสงู
สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวดั นครราชสีมา
สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ (ชดุ ที่ 4) 16ก
คานา
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สาระการประกอบอาชีพ รายวชิ า พัฒนาอาชพี ให้มีความมน่ั คง
(อช31003) ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย เรื่อง การพฒั นาธรุ กจิ เชิงรกุ จดั ทาข้ึนเพอื่ เปน็ เครอื่ งมอื ในการ
พฒั นาการเรยี นรู้ของผ้เู รียนท่ีไม่มเี วลามาพบกลุ่ม โดยใหผ้ ูเ้ รียนได้ศึกษาเรียนรู้จากชุดกิจกรรมการเรยี นรู้
ทาแบบทดสอบก่อนศึกษาเรยี นรู้ ผเู้ รยี นศกึ ษาเรียนรู้ดว้ ยตนเองจากใบความรู้ และศึกษาเพิม่ เติมจากสอื่ ตา่ งๆ
ทาใบงาน และทาแบบทดสอบหลังศึกษาเรียนรู้ ซ่งึ ผูเ้ รียนสามารถวัดความกา้ วหน้าการเรยี นรขู้ องตนเองได้
ผจู้ ดั ทาหวงั เปน็ อยา่ งยิง่ ว่าชุดกจิ กรรมการเรียนร้จู ะเป็นประโยชน์ตอ่ ผเู้ รียน และครูผู้สอนที่นาไปใช้
ประกอบการเรียนการสอนได้เป็นอยา่ งดี
สารบญั ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ชดุ ท่ี 4) 17
คานา หนา้
คาแนะนาการใชช้ ุดกิจกรรมการเรียนรู้ ก
แบบทดสอบกอ่ นเรียนชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ 1
ใบความรู้ 2
4
เรอ่ื งท่ี 1 ความจาเป็นและคุณค่าของธุรกจิ เชงิ รุก 4
เรื่องที่ 2 การแทรกความนิยมเข้าสูค่ วามต้องการของผู้บริโภค 4
เร่อื งที่ 3 การสรา้ งรูปลักษณค์ ุณภาพสินคา้ ใหม่ 5
เรอื่ งที่ 4 การพฒั นาอาชีพใหม้ คี วามม่นั คง 6
ใบงานท่ี 4 10
แบบทดสอบหลงั เรยี นชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ (ชุดที่ 4) 1
คาแนะนาการใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้
กลุม่ สาระการประกอบอาชีพ รายวิชา พฒั นาอาชีพใหม้ คี วามม่ันคง
เร่อื ง การพัฒนาธรุ กิจเชิงรุก
สาหรับนักศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทผี่ เู้ รียนจะได้ศึกษาต่อไปน้ี เปน็ ชุดกิจกรรมการเรียนรทู้ ่ผี ู้เรียนต้องศึกษา
ค้นคว้าหาความร้ดู ว้ ยตนเอง โดยเนน้ การทาแบบทดสอบก่อนเรยี นชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ศกึ ษาเรยี นรเู้ พิ่มเตมิ
จากใบความรู้ และศึกษาเพิม่ เตมิ จากสือ่ ต่าง ๆ ฝึกปฏิบัตทิ าใบงานตามหวั ข้อที่กาหนดไว้ และทาแบบทดสอบ
หลังเรียนรูช้ ดุ กิจกรรมการเรยี นรู้เพอื่ ให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ ผ้เู รียนควรปฏิบัติตามขน้ั ตอนที่กาหนดไวใ้ นชุด
กิจกรรมการเรยี นรู้ตามลาดับดังน้ี
1. ผเู้ รียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้
2. ผู้เรียนศกึ ษาเรยี นรู้ดว้ ยตนเองจากใบความรู้ และศึกษาเพม่ิ เตมิ จาก ห้องสมุดประชาชน
กศน.ตาบล แหลง่ เรียนรู้ อนิ เทอรเ์ น็ต และส่ือต่าง ๆ
เรอ่ื งที่ 1 ความจาเปน็ และคุณคา่ ของธุรกิจเชิงรกุ
เรื่องท่ี 2 การแทรกความนิยมเขา้ ส่คู วามต้องการของผูบ้ ริโภค
เร่อื งท่ี 3 การสร้างรูปลกั ษณค์ ุณภาพสินคา้ ใหม่
เร่ืองที่ 4 การพฒั นาอาชพี ให้มคี วามมน่ั คง
3. ผเู้ รียนฝกึ ปฏบิ ัตทิ าใบงาน
4. ผูเ้ รียนทาแบบทดสอบหลังเรียนชุดกจิ กรรมการเรียนรู้
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ชดุ ท่ี 4) 2
แบบทดสอบกอ่ นเรยี นชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้
กลุ่มสาระการประกอบอาชีพ วชิ า พัฒนาอาชพี ให้มีความมน่ั คง
เรอ่ื ง การพัฒนาธุรกิจเชิงรกุ
สาหรบั นกั ศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
คาช้แี จง ข้อสอบเป็นแบบปรนยั เลือกตอบมีท้ังหมด 10 ข้อ
ให้ผเู้ รียนเลือกคาตอบท่ีถูกตอ้ งทีส่ ดุ เพียงคาตอบเดยี วและทาเครือ่ งหมาย
(X) ลงในกระดาษคาตอบ
จงบอกคาตอบทถี่ ูกต้องท่สี ดุ ในแต่ละข้อ จากคาถามต่อไปน้ี
1. เปา้ หมายสาคญั ของธรุ กิจเชงิ รุกควรเป็นอย่างไร
ก. ร้านเจริญดี โจมตีร้านคแู่ ข่ง
ข. รา้ นเจริญย่งิ คน้ หาจุดอ่อนร้านค่แู ข่ง
ค. ร้านเจรญิ ทรัพย์ ประเมินจุดแข็งรา้ นคู่แข่ง
ง. รา้ นเจริญจรงิ ชงิ ส่วนแบ่งทางการตลาดจากรา้ นคู่แข่งได้
2. ข้อใดต่อไปนจี้ ัดว่าเป็นการทาธรุ กจิ เชิงรุก ที่ประสบความสาเร็จมากที่สดุ
ก. รา้ นเซเวน่ อีเลฟเว่น
ข. หา้ งสรรพสนิ คา้ บ๊กิ ซี
ค. ร้านกาแฟในปมั้ น้ามนั
ง. รา้ นขายของโชห่วยในท้องถ่ิน
3. ถ้าทา่ นเป็นผู้ผลิตแซมพูสมุนไพรยหี่ ้อหน่งึ ท่านจะมีวิธีอยา่ งไร ทจ่ี ะทาใหผ้ ู้บริโภคเข้าถงึ และรบั รู้
รายละเอียดผลติ ภัณฑข์ องท่านไดม้ ากที่สุด
ก. การจัดแสดงสินค้า
ข. การโฆษณาทางวทิ ยุ
ค. การแจกเอกสารในปลิว
ง. การโฆษณาทางโทรศัพย์
4. ข้อใดต่อไปน้ี ควรดาเนินการก่อนท่จี ะนาสินค้าใหม่เขา้ สู่ตลาด
ก. การทดลองชายสินค้า
ข. การลด แลก แจก แถม
ค. การศึกษาความต้องการชองผู้ซ้ือ
ง. การทุ่มงบประมาณในการโฆษณา
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ (ชุดท่ี 4) 3
5. ขอ้ ใดเปน็ ปจั จัยสาคญั ในการลดความเส่ียงของการผลติ สนิ ค้า
ก. การสร้างความหลากหลายในตัวสินค้า
ข. การเพิม่ จานวนสาขาในการจาหนา่ ยสนิ คา้
ค. การเพิม่ สินค้าตามความต้องการของตลาด
ง. การหมุนเวียนเปลี่ยนสินค้าใหม่ ๆ เข้าสู่ตลาด
6. ข้อใดต่อไปนี้ที่แสดงใหเ้ หน็ วา่ อาชพี ยังขาดความมนั่ คง
ก. สนิ คา้ ไดร้ บั ความนิยมจากผู้ซอ้ื
ข. มสี นิ คา้ ท่หี ลากหลายและมีคณุ ภาพ
ค. มกี ารผลนิ สนิ ค้าออกสตู่ ลาดทห่ี ลากหลาย
ง. รายไดจ้ ากการประกอบอาชพี ข้ึนอยู่กบั ยอดชาย
7. หลกั ธรรมข้อใดทจ่ี าเป็นมากทสี่ ดุ ในการทาธุรกจิ เก่ียวกับการขายประกนั ชวี ติ
ก. ความมวี ินัย
ข. ความประหยดั
ค. ความซื่อสัตย์ สุจริต
ง. ความกตัญญู กตเวที
8. สมมตวิ ่าทา่ นมีอาชีพเกษตรกร ปลกู ผกั สง่ ขายใหก้ บั ตลาดในชมุ ชน ท่านจะมหี ลกั การอยา่ งไรในการพฒั นา
อาชพี ให้มีความมั่นคง
ก. หลักการปลกู พชื หมนุ เวียน
ข. หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ค. หลักการทาเกษตรตามทฤษฏีใหม่
ง. หลกั การทาการเกษตรแบบผสมผสาน
9. มาลเี ปดิ ร้านชายข้าวแกง กจิ การเจรญิ รงุ่ เร่ือง มาลีควรพัฒนากิจการอย่างไรจึงจะเหมาะสมทส่ี ุด
ก. ขายแฟรนไชน์
ข. รับพนกั งานเพม่ิ
ค. ขยายร้านสาขาเพ่ิมข้ึน
ง. เพ่มิ รายการอาหารให้มากข้นึ
10. ข้อใดเป็นวธิ กี ารที่จะพฒั นาอาชีพให้มีความมัน่ คง
ก. การเพิ่มกาลังการผลิต
ข. การเพ่มิ ต้นทุนการผลติ
ค. การควรคมุ คุณภาพผลผลิต
ง. การสง่ มอบผลผลติตามสะดวก
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ (ชดุ ท่ี 4) 4
ใบความรู้
เรอ่ื งที่ 1 ความจาเปน็ และคณุ ค่าของธรุ กจิ เชงิ รกุ
การพัฒนาธุรกจิ เชิงรุก เปน็ การกาหนดวิธีการหรอื แนวทางในการดาเนินงานและกจิ กรรมตา่ ง ๆ
ขององค์กรเพ่ือให้บรรลถุ ึงวัตถปุ ระสงค์ท่ีกาหนด การกาหนดแนวทางในการดาเนนิ งานน้ี ผู้ประกอบการต้อง
ทาการวเิ คราะห์และประเมนิ ปจั จัยต่าง ๆ ทง้ั ภายในและภายนอกองค์กร เพื่อคดิ หาแนวทางในการดาเนินงาน
ทเี่ หมาะสมท่สี ดุ ทา่ มกลางการเปล่ียนแปลงของปัจจัยต่าง ๆ นาไปสกู่ ารพฒั นาอาชพี ให้มีความมั่นคง เขม้ แขง็
ยั่งยนื คือ พออยู่พอกนิ มีรายได้ มกี ารออมและมีทนุ ในการขยายอาชพี
โลกของเราเผชญิ กับการเปล่ียนแปลงทร่ี วดเรว็ ทกุ ขณะทงั้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี
ฯลฯ ซึง่ สง่ ผลกระทบต่อสภาวะการแขง่ ขันระหว่างธรุ กจิ ตา่ ง ๆ ดงั นน้ั จงึ มคี วามจาเป็นท่ีตอ้ งใชธ้ รุ กจิ เชงิ รุก
เข้ามาใช้ในการพัฒนาอาชีพ ดงั น้ี คอื
1. การแขง่ ขันทไี่ รพ้ รมแดน
การแขง่ ขนั ท่ีไร้พรมแดนเป็นปรากฏการณ์ท่ีเกดิ ขึ้นเมื่อสินคา้ แรงงาน เทคโนโลยี ฯลฯ สามารถ
เคลือ่ นย้ายไปมาระหวา่ งประเทศได้อย่างเสรีมากข้ึนมีผลทาใหม้ กี ารแข่งขันทมี่ คี วามรนุ แรงมากข้ึน
2. การเปล่ยี นแปลงทางนวัตกรรม เทคโนโลยี
โลกยคุ ใหม่มีความกา้ วหนา้ ทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยมี ากขน้ึ อตั ราการเปล่ยี นแปลงและการใช้
เทคโนโลยีจะเพิม่ ขน้ึ ในอัตราทร่ี วดเร็วข้นึ ทาใหว้ งจรชวี ติ ของสินค้าและการบริการมรี ะยะเวลาสนั้ ลง
เทคโนโลยีใหม่ ๆ สามารถทดแทนเทคโนโลยเี ดิมไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ การปรับปรงุ สนิ คา้ ใหท้ ันสมยั เป็นทตี่ อ้ งการ
ของลกู ค้าตลอดเวลา เป็นปัจจยั ทาใหม้ กี ารแข่งขนั ตลอดเวลา ปัจจัยหรือความสาเร็จของธรุ กิจทมี่ มี าในอดีต
จะเริม่ เปลยี่ นแปลงไป จาเป็นต้องมีการทบทวนปรับปรงุ และพัฒนาตนเองอยตู่ ลอดเวลา แนวคิดหรือวิธีการ
ในการบริหารแบบเดิม ๆ ไมส่ ามารถนาองค์กรไปสู่ความสาเรจ็ ไดเ้ หมอื นในอดีต
เรอื่ งที่ 2 การแทรกความนยิ มเข้าสคู่ วามตอ้ งการของผูบ้ ริโภค
ความสาคัญและความตอ้ งการของผู้บริโภค
การวางแผนการขายสนิ ค้าหรือบริการใดๆ ผู้บริหารจะต้องมขี ้อมลู มาประกอบการตัดสินใจ ข้อมลู
เกยี่ วกบั ผูบ้ ริโภคจะถูกนามาใชเ้ ป็นข้อมลู ในการวิเคราะหแ์ ละการวางแผนการตลาดและนักการตลาด
จาเปน็ ต้องให้ความสนใจเกี่ยวกบั ผบู้ ริโภคและความต้องการของผบู้ ริโภค เพราะผผู้ ลิตส่วนใหญจ่ ะผลติ สนิ คา้
ที่คล้ายคลงึ กนั และขายให้กับผู้บริโภคกลมุ่ เดียวกนั การกาหนดรปู แบบผลิตภัณฑ์ตรายห่ี ้อ โดยยึดถือความ
ต้องการของผบู้ ริโภคจะเป็นเคร่ืองชว่ ยใหผ้ ้บู ริโภคตัดสินใจไดง้ า่ ยข้นึ นักการตลาดทราบกนั ดอี ย่แู ลว้ วา่ ผ้บู รโิ ภค
ทุกคนมีรสนยิ มไมเ่ หมอื นกันซึ่งมีความแตกต่างกันไปเหน็ ได้ชดั เจนในเรือ่ งความต้องการของผบู้ ริโภค นกั การ
ตลาดตอ้ งมีความเขา้ ใจถงึ ความต้องการของผู้บรโิ ภคซึ่งต้องชใ้ี ห้เหน็ วา่ ความต้องการเกดิ ข้ึนจากอะไร ความ
ตอ้ งการของผ้บู รโิ ภคแบ่งออกได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื
1. ความต้องการทางดา้ นรา่ งกาย คอื ความหวิ การนอน การพกั ผ่อน การอบอ่นุ
2. ความต้องการด้านอารมณ์หรือจติ วทิ ยา คือ ความปลอดภัย ความรัก การยอมรบั ความพอใจ
ความงาม ฉะนนั้ นักการตลาดจงึ ต้องเขา้ ใจลึกซึ้งถึงรายละเอยี ดของความตอ้ งการทั้งสองประเภทเพือ่ เอามา
เปน็ จุดขายสินคา้ และเปน็ สว่ นหนง่ึ ของกลยทุ ธ์ทางการตลาดด้านการโฆษณา
ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ (ชุดท่ี 4) 5
โดยปกตสิ นิ ค้าแต่ละชนิดจะมีเอกลกั ษณ์เฉพาะอยแู่ ล้ว เชน่ ความนิยมของอาหารไทยในต่างประเทศ
เป็นท่ีนยิ มแบบดาวรงุ่ พงุ่ แรงมาตลอดระยะเวลานาน ไม่เพียงแตใ่ นสหรัฐอเมริกาเท่านนั้ แตร่ วมทง้ั ในยโุ รป
ออสเตรเลีย ญป่ี ุ่น ตะวนั ออกกลางและอนิ เดยี อาจจะเป็นเพราะอาหารไทยมีเอกลักษณ์ทม่ี รี สชาตถิ กู ปาก
ได้รับการยอมรบั ดงั น้ี
1. เอกลกั ษณ์ดา้ นรสชาติ ทม่ี ีความกลมกล่อมท้งั 3 รส คือ เปร้ียว หวาน เผ็ด ได้อย่างลงตัวพอดี
โดยไม่เนน้ หนกั ไปในรสใดรสหนงึ่ สรา้ งความประทับใจให้กบั ผู้บริโภค ทาใหร้ สู้ ึกอยากกลับมาทานอีก อาหาร
บางชนดิ มเี อกลักษณ์ของกลน่ิ สมุนไพรท่เี ป็นพืชผกั ในเมืองไทย เครอื่ งเทศตา่ ง ๆที่ใชป้ รงุ อาหาร ถือว่าโดดเด่น
ไมฉ่ นุ เกนิ ไป แต่มกี ลิ่นหอมอ่อน ๆ ของเครื่องเทศทีส่ อดแทรก บางครัง้ มีการปรับรสชาติบา้ ง เพื่อใหต้ รงกับ
ผบู้ รโิ ภค เช่น ไม่เผด็ เกนิ ไป เพราะต่างชาตจิ ะไม่นิยมรับประทานอาหารรสจัด
2. ความหลากหลายของอาหารไทย อาหารไทยนั้นมที ้ังอาหารคาวหวาน สารพดั ชนิดที่สามารถเลือก
มานาเสนอไดไ้ ม่รจู้ บ มกี ารแข่งขนั กัน นอกจากจะรสชาตแิ ล้ว ยังมกี ารนาวัสดมุ าดัดแปลงให้เป็นประโยชน์
ใชแ้ ทนกันได้ หรอื การจดั ตกแตง่ อาหารกเ็ ป็นทีด่ งึ ดูดลูกคา้ ข้ึนอยกู่ บั การเขา้ ถงึ รสนิยมของผู้บริโภค
3. อาหารไทยไม่เลีย่ นและไม่อว้ น ท้งั น้เี พราะอาหารไทยมักมผี กั ปนอย่เู สมอ พร้อมกบั เครอ่ื งเคียงตา่ ง
ๆ จนเปน็ ทเี่ ลืองลือวา่ อาหารไทยเป็นอาหารสขุ ภาพ เช่น เมีย่ งคา น้าพรกิ กะปิ จึงเป็นอาหารที่เหมาะกบั ยุคนี้
และแนวโนม้ ของการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
4. การบริการทป่ี ระทับใจ ซ่ึงเป็นสว่ นเสริมท่ีสาคัญมากของธรุ กิจการเปดิ ร้านขายอาหารไทย จึงเป็น
อกี มิติหนงึ่ ท่ีมีภาพลกั ษณท์ ี่ดีใหก้ บั อาหารไทย ดว้ ยการบริการแบบมีมารยาทอันดีงามของคนไทย จึงเป็นการ
ช่วยสง่ เสรมิ ใหอ้ าหารไทยยังคงครองความนยิ มต่อไป
เรือ่ งที่ 3 การสร้างรปู ลกั ษณ์คณุ ภาพสนิ ค้าใหม่
William H.Davidow กลา่ วว่า “เครือ่ งมอื ทเ่ี ยี่ยมทสี่ ุด ประดิษฐ์มาจากห้องปฏิบตั กิ าร ผลติ ภณั ฑ์
ท่เี ยีย่ มทีส่ ดุ มาจากฝา่ ยการตลาด”
การทาธรุ กิจทุกขนาดจะต้องทาการแบ่งส่วนตลาดเป้าหมายได้ เมื่อถึงเวลาท่ีจะพฒั นาและนา
ผลติ ภณั ฑอ์ อกสู่ตลาด ฝ่ายการตลาดตอ้ งแสดงบทบาทสาคัญในกระบวนการนี้ ไม่ใช่ฝ่ายวจิ ยั และพฒั นาอยา่ ง
เดียวเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ใหม่ ซ่งึ ฝ่ายการตลาดมสี ่วนเก่ยี วข้องอยา่ งมาก ทุกขน้ั ตอนในการ
พัฒนาผลิตภณั ฑ์
ธรุ กจิ ทกุ ธรุ กจิ มีการพัฒนาผลิตภัณฑอ์ ยูต่ ลอดเวลา การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่แทนทผี่ ลติ ภณั ฑเ์ ดมิ
จะทาเพ่อื เพิ่มยอดขายในอนาคตและลูกค้าเองก็ต้องการผลิตภัณฑ์ใหม่ ซึง่ ธุรกจิ คู่แข่ง ก็ใชค้ วามพยายามทีจ่ ะ
ผลติ สินค้าท่ีตรงกบั ความต้องการของลกู ค้าออกจาหน่ายและจะออกผลติ ภัณฑ์ใหม่ได้จากการเข้าครอบครอง
สว่ นแบ่งตลาด จากการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ใหม่
- การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ หมายถึง ผลติ ภณั ฑใ์ หม่ในสายผลิตภณั ฑ์เดิมเป็นการนาผลิตภัณฑใ์ หม่
เขา้ มาแทนผลติ ภัณฑ์ในสายผลิตภัณฑ์เดมิ เชน่ เปลีย่ นขนาดบรรจุภณั ฑ์ เปล่ยี นรสชาติ
- การปรบั ปรุงผลติ ภัณฑเ์ ดมิ คอื การปรับปรุงผลติ ภัณฑ์เดิมให้เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ใหม่
- การวางตาแหน่งสนิ ค้าใหม่ เปน็ การนาผลติ ภัณฑ์เดิมท่ีมีอยอู่ อกขายใหล้ ูกค้าเป้าหมายกลุ่มใหม่
- การลดต้นทนุ คอื การทาผลิตภณั ฑใ์ หม่ท่มี ีคุณสมบัตเิ หมือนเดิมแต่ต้นทุนตา่ ลง
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ชดุ ท่ี 4) 6
ข้ันตอนการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ มี 8 ขัน้ ตอน
1. การสร้างความคดิ ใหม่
2. การเลือกความคิด
3. การทดสอบความคิด
4. การวางกลยุทธท์ างการตลาด
5. การวเิ คราะหธ์ ุรกจิ
6. การพฒั นาผลติ ภัณฑ์
7. การทดสอบตลาด
8. การนาผลิตภัณฑอ์ อกสูต่ ลาด
เรื่องที่ 4 การพัฒนาอาชีพให้ มคี วามมนั่ คง
ในชว่ งการดาเนินแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาตฉิ บับท่ี 7 – 8 แมจ้ ะปรากฏผลรูปธรรม ส่วน
หนง่ึ เปน็ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ที่ตรวจวดั ด้วยอัตราเพิ่มของผลผลติ มวลรวมภายในประเทศ (จดี ีพี) แต่ผล
รปู ธรรมอีกส่วนหน่งึ กลับเป็นความต่อเนื่องของสภาพปัญหาการกระจายรายได้ไมเ่ ทา่ เทียมกันระหว่างชนบท
กับเมือง และระหว่างผูผ้ ลติ ภาคเกษตรกรรม (ระดบั ครัวเรือนรายยอ่ ย) กบั ภาคอุตสาหกรรมและการบริการ
ผลรูปธรรมสว่ นหลังข้างตน้ ปรากฏสะสมปัญหา จนกลายเป็นอุปสรรคสาคัญของการพัฒนาประเทศ
ชัดเจนมากขน้ึ ตามลาดบั จนถูกระบเุ ป็นข้อสงั เกตเร่ือง “ความยากจน” ของประชากรสว่ นใหญ่ของประเทศ
ทีม่ ีสัดส่วนการถือครองทรัพย์สินรายไดต้ า่ สุด เม่ือเปรียบเทียบกบั สัดส่วนการถือครองของประชากรร่ารวย
จานวนนอ้ ยของประเทศ
รายงานของคณะกรรมการการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ (สภาพฒั น์) ยอมรบั ผลสรปุ ของ
การพัฒนาข้างต้น ไวใ้ นช่วงปลาย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 8 ด้วยเชน่ กัน ปัญหาความ
ยากจน (รายได้ไมเ่ พยี งพอต่อรายจา่ ย) แพรร่ ะบาดจากชนบท ชุมชนเกษตรกร เขา้ ส่สู ังคมเมืองมากข้ึน รวมท้ัง
แพรร่ ะบาดเข้าสแู่ วดวงอาชีพอนื่ ๆ นอกเหนอื จากเกษตรกรรายยอ่ ยมากข้นึ ตามลาดับในช่วงก่อนและหลงั
วิกฤตเิ ศรษฐกจิ 2540 โดยสภาพัฒน์ได้พยายามปรับกลยทุ ธ์การพฒั นา เชน่ การพฒั นาท่ีถือ “มนุษย์” เป็น
ศนู ย์กลางจนกระท้ังไดเ้ ร่ิมปรับและกาลงั จะปรบั ปรงุ ให้เกดิ กลยทุ ธก์ ารพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพยี งมากขน้ึ
ตามลาดับ โดยถือตามหลกั ปรัชญา แนวทฤษฎี และโครงการตน้ แบบตามแนวพระราชดาริท่ีได้รับการยอมรบั
นับถือจากองคก์ ารสหประชาชาติ ดังทม่ี ีรายงานขา่ วเผยแพรไ่ ปยังประชาคมโลกแลว้
เพราะเหตุทป่ี ระชาชนจานวนมากยังคงอยู่ในภาวะยากจนคือ รายได้ไม่พอเพยี งต่อการใช้จา่ ยเพือ่
ดารงชวี ติ ครอบครัว ในข้ันพืน้ ฐาน โดยเฉพาะอย่างย่งิ ชาวชนบทท่ดี ารงอาชีพเกษตรกร ดังนั้น การแก้ไขปัญหา
ความยากจนด้วยการยกระดับรายไดข้ องประชากรกลุ่มนี้ให้สงู ขึ้น สภู่ าวะพอเพียงจึงเป็นสว่ นสาคญั ของ
ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา แบบเศรษฐกจิ พอเพยี งในขั้นต้นสว่ นหนงึ่ โดยไมย่ ุตกิ ระบวนการทางเศรษฐกิจส่วนอืน่ ท่ี
จาเป็น เชน่ การแลกเปลีย่ นทางการคา้ ระหว่างประเทศ และการลงทุนทอ่ี ยู่ในขอบเขตเหมาะสมภายใตป้ รชั ญา
เศรษฐกิจพอเพียง ซ่งึ จาแนกขนั้ ตอนดาเนนิ การพัฒนาไวต้ ่อเนื่อง เปน็ ลาดับชดั เจน โดยไมป่ ดิ กน้ั ความสัมพันธ์
ระหวา่ งประเทศ และไม่มุ่งหมายจะใหเ้ กิดการหยุดชะงกั หรอื ถอยหลังเขา้ คลองทางเศรษฐกจิ รวมทง้ั มิได้มุ่ง
หมายใหป้ ระเทศมีแตก่ ารผลติ แบบเกษตรกรรมเพยี งส่วนเดียว
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (ชดุ ที่ 4) 7
โครงการตามแนวพระราชดารจิ านวนมาก ทส่ี ร้างความรู้ตามทฤษฎใี หมแ่ ละปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เปน็ โครงการท่ีมลี ักษณะผูกพันกบั วิถีชวี ติ ชมุ ชนของชาวชนบทในภาคเกษตรกรรม เนื่องจากตลอด 3 – 4
ทศวรรษทผ่ี ่านมา ชุมชนเกษตรกรรมโดยท่วั ไปในประเทศเผชิญกับปัญหารายได้ไมเ่ พยี งพอต่อรายจ่ายอย่าง
กว้างขวางรนุ่ แรง แตโ่ ครงการท่ีมลี ักษณะเป็นการพฒั นาผลผลิตทางการเกษตรจานวนมากเหล่านัน้ เช่น
โครงการหลวงดอยอา่ งขาง และโครงการหลวงดอยอินทนนท์ ฯลฯ มคี วามชดั เจนในแนวคดิ เรื่องการผลิตที่มี
คุณภาพเพยี งพอ สาหรับการชายออกส่ตู ลาดภายนอชุมชน เพื่อสร้างรายไดท้ ่ีเพยี งพอและยั่งยนื แทนการปลกู
ฝน่ิ ในอดีต
แนวคิดทช่ี ดั เจนเก่ียวกบั การผลิตทางการเกษตรทพี่ อเพียง สาหรบั การจัดจาหน่วยสตู่ ลาดภายนอก
ชมุ ชนดังกลา่ ว ทาให้เหน็ ว่าปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสง่ เสรมิ การแลกเปลย่ี นแบบเกื้อกลู กันทางเศรษฐกจิ
(ระหวา่ งเกษตรกร พอ่ คา้ และผู้บริโภค) ระหว่างประชาชนที่มีอาชีพต่าง ๆ กัน และไม่ใช่แนวคดิ ทป่ี ดิ กั้นไว้
เฉพาะชมุ ชนชนบท และแวดวงเกษตรกรตามลาพังตามทคี่ นในสงั คมเมืองทีม่ ใิ ชเ่ กษตรกรจานวนหน่ึงพากัน
วิตกกงั วลวา่ ตนเองจะไม่ไดร้ ับประโยชนจ์ ากการดาเนินชวี ิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นอกเหนือไปจาก
นนั้ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ หลกั ความคดิ ท่ีส่งเสริม “พลวัต” มากกวา่ แนะนาใหป้ ระชากรทางเศรษฐกิจ
ต้งั อยู่ในภาวะ “สถิต” หรอื หยุดนิ่ง อยกู่ บั สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจในขณะหนงึ่ ๆ แตก่ ารทป่ี ระชาชน
พึ่งตนเองได้จาเป็นตอ้ งปรับเปลย่ี นวิถกี ารดารงชวี ติ จากแผนการกินดี อยู่ดี เปน็ แผน อยู่พอดีกินพอดี ตามแนว
พระราชดาริ
“การปรบั เปลย่ี นแผนการผลิต” จากการผลิตเพื่อการพาณิชยม์ าเป็นการ “ผลิตเพ่ือยงั ชีพ” เนอื่ งจาก
การผลิตเพ่ือการพาณชิ ยท์ าให้ประชาชนต้องพ่งึ ระบบทุนนิยม ชะตาชวี ิตของประชาชน ขนึ้ อยกู่ ับกลไก ของ
ตลาดทาให้เกิดการเอารัดเอาเปรยี บประชาชน “เพื่อลดผลกระทบ” ทีเ่ กิดจากความผนั ผวนของตลาด
เป้าหมายการผลิตต้องปรับไปเปน็ ผลติ เพอื่ กินเพื่อใช้ เมื่อมีส่วนเกนิ จงึ จะนาออกขาย การผลติ เพอื่ กนิ เพ่ือใช้
จาเปน็ ตอ้ งกระจายการผลติ ในครัวเรอื น เพื่อลดความเสยี่ งและเพิ่มความมน่ั คงในชวี ิตอย่างย่งั ยนื
เสน้ ทางชวี ิตของอาชพี เราเร่ิมตน้ จากการเรียนรู้เขา้ สู่อาชีพทาให้อาชีพขับเคลื่อนไปสู่การขยายอาชีพ
เราผา่ นประสบการณ์ เรียนรู้แก้ปัญหาต่อสกู้ บั การแข่งขนั มากมาย จนถงึ จดุ จุดหนึ่งที่เราตอ้ งการมากกว่าน้ัน
คอื ความม่นั คง เราจงึ มคี วามจาเป็นทจ่ี ะต้องจัดระบบพฒั นาอาชีพเข้าสคู่ วามม่ันคง
การพฒั นาอาชีพเขา้ สคู่ วามม่ันคงของผูป้ ระสบความสาเรจ็ มีมากมาย จะมีลักษณะการกระทาท่ี
สอดคล้องกนั เป็นส่วนใหญว่ า่ ความมั่นคงของอาชีพขนึ้ อยู่กับองคป์ ระกอบอย่างน้อย 3 ประการ คือ
(1) การลดความเสีย่ งในผลผลติ (2) ความมงุ่ ม่นั พัฒนาอาชพี และ (3) การยดึ หลักคุณธรรม
ลดความเส่ียงผลผลติ
มงุ่ มัน่ พฒั นาอาชีพ สคู่ วามมั่นคง
ยดึ หลกั คุณธรรม ยั่งยืน
จากแผนภูมิ จะพบว่า องค์ประกอบร่วมทั้ง 3 องคป์ ระกอบเป็นตัวสง่ ผลต่อความมั่นคงยงั่ ยนื ในอาชพี
ทีเ่ ราจะต้องนามาบูรณาการให้เป็นองค์รวมเดยี วกนั
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (ชุดที่ 4) 8
การลดความเสยี่ งผลผลิต
การประกอบอาชีพในกจิ กรรมเชงิ เด่ียวมกั จะเสีย่ งตอ่ โอกาส ผลผลติ ไมไ่ ด้ตามเปา้ หมาย ผลผลิตราคา
ตกตา่ ดังนั้น การลดความเสยี่ งจึงจาเป็นทีจ่ ะต้องมปี ัจจยั รว่ มท่ีสาคญั มาทาให้อตั ราการเส่ียงของผลผลิตลดลง
ดงั นี้
1. การสร้างความหลากหลาย เปน็ การสรา้ งกิจกรรมอาชีพให้ได้ผลผลิตท่ีหลากหลายรองรบั การเสี่ยง
ด้วยการแขง่ ขนั และราคาของตลาด
2. การเพ่มิ ผลผลติ เป็นภารกิจควบคมุ ดแู ลบารงุ รักษาให้ผลผลติ เพ่มิ ขึ้นมา
3. การหมนุ เวียนเปลี่ยนรปู เป็นกิจกรรมทาใหผ้ ลผลติ และข้อเสยี ใหม้ มี ูลคา่ เพิ่มขึน้ ด้วยการหมุนเวยี น
เปล่ยี นรูป เป็นผลิตภณั ฑ์ใหม่เข้าสู่ตลาด
4. การจดั การรายได้ จากการซอ้ื ขายผลผลิต ผลิตภณั ฑแ์ ปรรปู ใชล้ งทนุ ดาเนนิ อาชพี ต่อไป ใช้
ดารงชีวติ และเก็บออมเพิ่มทุนขยายการทางาน
การพัฒนาอาชพี
เปน็ กระบวนการท่เี นน้ ความสาคัญการพัฒนาระบบการจัดการทงั้ การผลติ และการตลาดให้ตรงกับ
ความต้องการของลูกคา้ ดังน้ี
คณุ ภาพผลผลติ
ลดต้นทุนการผลิต การพฒั นาอาชีพ
การส่งมอบ
ความปลอดภยั
ปจั จยั รว่ มทง้ั 4 ดา้ น เป็นปัจจัยที่สง่ ผลตอ่ การพฒั นาอาชพี โดยมีลักษณะความสาคัญ ดงั น้ี
คณุ ภาพผลผลิต เป็นเรื่องที่เราจะต้องจดั การให้คณุ ภาพตรงความต้องการของลูกคา้ ให้มากที่สุด
เพ่ือใหล้ กู คา้ มัน่ ใจไดว้ ่าจะได้รบั สินค้า/บริการทีด่ ีเป็นไปตามความคาดหวัง
ลดตน้ ทนุ การผลิต เกีย่ วข้องกบั การกาหนดราคาผลผลิตที่จะต้องเปน็ ราคาทีล่ ูกคา้ สามารถซอ้ื ผลผลิต
ของเราได้ แต่ไมใ่ ช่กาหนดราคาตา่ จนกระทัง่ รายได้ไม่พอเพียง ดงั น้ัน การลดต้นทุนจึงเป็นเร่ืองสาคัญทีเ่ รา
จะตอ้ งศกึ ษาเรียนรหู้ าวิธลี ดตน้ ทนุ ทที่ าให้มีรายได้เพียงพอ ไม่ใช่ไปลดตน้ ทุนกบั ค่าแรงงาน แตเ่ ปน็ การบรหิ าร
จัดการใหล้ ดความเสยี หายในปัจจยั การผลิต และการจดั การให้ได้ผลผลิตสงู
การสง่ มอบผลิตผลให้ลกู คา้ ต้องเปน็ ไปตามข้อตกลงท้งั เวลานดั หมายและจานวนผลผลติ ตวั อย่าง
เชน่ อาชพี รา้ นตัดเยบ็ เสื้อผ้าชาย ส่วนใหญ่มกั จะผิดนดั ทาใหเ้ สยี หายกบั ลูกค้าที่มกี าหนดการจะใช้เสือ้ ผา้
จงึ หนั ไปใช้บรกิ ารเสื้อผ้าสาเร็จรูปทมี่ ีความสะดวกมองเห็นสนิ คา้ และตัดสินใจเลือกซื้อได้ทนั ที ทาใหป้ จั จุบัน
ร้านเย็บเสือ้ ผ้าชายเกือบหายไปจากสังคมไทย
ความปลอดภยั ท้ังผู้ผลติ และผบู้ รโิ ภคผลผลติ เชน่ อาชพี เกษตรอินทรยี ์ คนงานไมม่ ีโอกาสสัมผสั กับ
สารพษิ ทาให้การทางานปลอดภยั ขณะเดยี วกัน ผลผลิตจากเกษตรอินทรยี เ์ ป็นอาหารที่ปลอดภัย
ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ (ชดุ ที่ 4) 9
การยดึ หลักคุณธรรม
การยดึ หลักคุณธรรม เปน็ พฤตกิ รรมภายในของผูป้ ระกอบอาชพี ทสี่ าคัญส่งผลต่อความม่นั คง
ของอาชพี ดังนี้
ความขยนั
ความประหยัด คณุ ธรรมประกอบอาชพี
ความซ่ือสตั ย์
ความอดทน
คณุ ธรรมทัง้ 4 ประการดังกล่าวหลายคนบอกว่า เป็นเรื่องทตี่ ้องปลูกฝังมาแตเ่ ยาว์วัยจงึ จะเกิดขึน้ ได้
ความเช่อื นีเ้ ป็นจรงิ แต่มนษุ ย์เราสามารถเรียนรู้ สรา้ งความเข้าใจ มองเหน็ คุณค่า ปรับเปลยี่ นและตกแต่ง
พฤติกรรมเพ่ือใช้เปน็ เครื่องมือสรา้ งความสาเร็จให้กบั ตนเองได้
ความขยนั มีลักษณะพฤติกรรมของการทาอะไรอย่างเอาจรงิ เอาจงั แข็งขนั ไมเ่ กียจคร้าน ถ้าผู้
ประกอบอาชีพเป็นอย่างน้ี เขาจะมองเหน็ งานอย่างทะลไุ ปข้างหนา้ ม่งุ ม่ันเอาจรงิ เอาจังยกระดับความสาเรจ็
ไปอยา่ งต่อเนื่อง ความม่ันคงกจ็ ะเกดิ ขน้ึ
ความประหยดั เป็นพฤติกรรมของการยบั ย้งั ระมดั ระวังการใชจ้ า่ ยให้พอ สร้างความคุ้มค่าใหม้ คี วาม
เสยี หายนอ้ ยท่ีสดุ พฤตกิ รรมเชน่ น้ีเป็นเรอ่ื งของความรอบคอบในการทางาน
ความซื่อสัตย์ เป็นลกั ษณะการประพฤตติ รงและจรงิ ใจต่อลูกค้า ทีมงานไมค่ ิดทรยศ คดโกง
หลอกลวง คูค่ ้า ผรู้ ่วมทนุ เปน็ พฤติกรรมทีส่ ร้างความภักดี ความไวว้ างใจต่อลูกคา้ ทีมงานและหนุ้ สว่ น
ความอดทน มีลกั ษณะพฤติกรรมทสี่ ามารถอดกลนั้ งดเวน้ ทนอยูไ่ ด้กบั ความยากลาบาก ไม่ท้งิ งาน
ไมย่ กเลิกข้อตกลงงา่ ย ๆ
สรุป
ความมั่นคงในอาชีพ เป็นการจัดการทางจติ ใจของผ้ปู ระกอบการและระบบงานให้การประกอบอาชีพ
ดาเนินไปอยา่ งมีความแน่นอน ทนทาน ล่มสลายได้ยาก โดยอาศัยพน้ื ฐานของการคดิ เป็นบนองค์ประกอบของ
การพัฒนาอาชพี สู่ความมั่นคง ดังนี้
1. ด้านตนเอง อยูบ่ นฐานของคุณธรรม
2. ดา้ นสังคม อยบู่ นฐานของการพัฒนา
3. ด้านวิชาการ อยู่บนฐานของการลดความเส่ียงในผลผลติ
ซ่ึงเปน็ กระบวนการท่ตี ้องใชข้ ้อมูลการรับรู้เข้ามาคิดวิเคราะห์ สรา้ งสรรค์ และตัดสินใจอย่างเปน็ ระบบ
จะนาอาชีพไปสู่ความมน่ั คง
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ (ชดุ ท่ี 4) 10
ใบงานท่ี 4
1. ใหผ้ ู้เรียนค้นคว้าเกย่ี วกับความหมาย ความสาคญั ของคาเหลา่ นี้
1. อธิบายคาว่า อยู่พอดีกินพอดี
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
2. การพงึ่ ตนเอง หมายถงึ
............................................................................................................................. .................................................
......................................................................................................................................................................... .....
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................. .................
3. ความย่ังยนื หมายถึง
......................................................................................... .....................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
4. ความคุ้มคา่ หมายถึง
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................................................... ...
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................... ...............
2. ให้ผเู้ รียนสมั ภาษณผ์ ู้ที่ประสบความสาเร็จเกย่ี วกบั การประกอบอาชีพ แลว้ จดบันทกึ
................................................................................................................................................................ ..............
..................................................................................................................... .........................................................
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................................... .........................
......................................................................................................... .....................................................................
3. ให้ผู้เรยี นนาความร้ทู ไ่ี ด้จากการสมั ภาษณ์มาประยุกต์ใช้กับอาชีพของตนเองอย่างไร
.......................................................................................................... ....................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.......................................................................................................................................... ....................................
............................................................................................... ...............................................................................
............................................................................................................................. .................................................
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ (ชดุ ที่ 4) 11
แบบทดสอบหลังเรยี นชุดกจิ กรรมการเรียนรู้
กลุม่ สาระการประกอบอาชีพ วชิ า พัฒนาอาชพี ให้มีความม่นั คง
เรื่อง การพัฒนาธรุ กจิ เชิงรกุ
สาหรบั นักศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
คาชแ้ี จง ขอ้ สอบเปน็ แบบปรนัยเลือกตอบมที ้ังหมด 10 ข้อ
ให้ผู้เรียนเลอื กคาตอบทถ่ี ูกตอ้ งท่ีสุดเพียงคาตอบเดยี วและทาเครือ่ งหมาย
(X) ลงในกระดาษคาตอบ
จงบอกคาตอบท่ีถูกต้องทีส่ ดุ ในแตล่ ะข้อ จากคาถามต่อไปนี้
1. เป้าหมายสาคัญของธุรกจิ เชงิ รกุ ควรเป็นอย่างไร
ก. รา้ นเจริญดี โจมตีร้านคแู่ ข่ง
ข. รา้ นเจริญย่ิง ค้นหาจุดอ่อนร้านคู่แขง่
ค. ร้านเจรญิ ทรพั ย์ ประเมนิ จุดแขง็ ร้านคู่แข่ง
ง. ร้านเจริญจริง ชิงสว่ นแบ่งทางการตลาดจากรา้ นคู่แขง่ ได้
2. ขอ้ ใดต่อไปนจ้ี ัดวา่ เปน็ การทาธุรกจิ เชงิ รุก ทีป่ ระสบความสาเรจ็ มากท่สี ุด
ก. รา้ นเซเว่น อีเลฟเว่น
ข. หา้ งสรรพสินคา้ บกิ๊ ซี
ค. รา้ นกาแฟในป้ัมน้ามนั
ง. รา้ นขายของโชห่วยในท้องถน่ิ
3. ถ้าทา่ นเปน็ ผู้ผลิตแซมพูสมุนไพรยีห่ ้อหนึ่ง ท่านจะมีวิธอี ยา่ งไร ท่ีจะทาใหผ้ บู้ รโิ ภคเข้าถงึ และรับรู้
รายละเอียดผลติ ภณั ฑข์ องท่านได้มากที่สดุ
ก. การจัดแสดงสนิ ค้า
ข. การโฆษณาทางวิทยุ
ค. การแจกเอกสารในปลิว
ง. การโฆษณาทางโทรศัพย์
4. ข้อใดต่อไปน้ี ควรดาเนินการกอ่ นทจี่ ะนาสินค้าใหมเ่ ข้าสู่ตลาด
ก. การทดลองชายสนิ คา้
ข. การลด แลก แจก แถม
ค. การศึกษาความต้องการชองผซู้ ือ้
ง. การทมุ่ งบประมาณในการโฆษณา
ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ (ชุดท่ี 4) 12
5. ข้อใดเป็นปัจจยั สาคญั ในการลดความเสีย่ งของการผลติ สนิ คา้
ก. การสรา้ งความหลากหลายในตวั สนิ ค้า
ข. การเพมิ่ จานวนสาขาในการจาหนา่ ยสนิ คา้
ค. การเพม่ิ สนิ คา้ ตามความต้องการของตลาด
ง. การหมุนเวียนเปล่ยี นสินคา้ ใหม่ ๆ เขา้ สตู่ ลาด
6. ขอ้ ใดต่อไปนี้ท่แี สดงให้เห็นว่าอาชพี ยงั ขาดความมน่ั คง
ก. สนิ คา้ ได้รบั ความนิยมจากผ้ซู ื้อ
ข. มสี ินค้าทีห่ ลากหลายและมีคณุ ภาพ
ค. มกี ารผลนิ สนิ คา้ ออกสู่ตลาดทีห่ ลากหลาย
ง. รายไดจ้ ากการประกอบอาชีพข้นึ อยู่กับยอดชาย
7. หลกั ธรรมขอ้ ใดทีจ่ าเปน็ มากทีส่ ดุ ในการทาธรุ กจิ เก่ียวกับการขายประกนั ชวี ติ
ก. ความมีวนิ ัย
ข. ความประหยดั
ค. ความซอื่ สัตย์ สุจรติ
ง. ความกตัญญู กตเวที
8. สมมติวา่ ท่านมีอาชีพเกษตรกร ปลกู ผักส่งขายใหก้ บั ตลาดในชมุ ชน ท่านจะมหี ลักการอยา่ งไรในการพัฒนา
อาชพี ให้มีความม่นั คง
ก. หลักการปลกู พชื หมนุ เวียน
ข. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ค. หลกั การทาเกษตรตามทฤษฏีใหม่
ง. หลกั การทาการเกษตรแบบผสมผสาน
9. มาลเี ปดิ ร้านชายข้าวแกง กิจการเจริญร่งุ เรื่อง มาลีควรพฒั นากิจการอย่างไรจึงจะเหมาะสมทส่ี ุด
ก. ขายแฟรนไชน์
ข. รบั พนักงานเพิม่
ค. ขยายร้านสาขาเพมิ่ ข้ึน
ง. เพมิ่ รายการอาหารให้มากขึน้
10. ขอ้ ใดเป็นวิธีการที่จะพัฒนาอาชีพให้มีความมน่ั คง
ก. การเพิม่ กาลังการผลิต
ข. การเพ่ิมต้นทุนการผลติ
ค. การควรคุมคุณภาพผลผลิต
ง. การสง่ มอบผลผลตติ ามสะดวก
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ (ชดุ ที่ 4) 13
เอกสารอา้ งองิ
สานักงาน กศน. 2559. สรุปเนอื้ หารายวิชาพัฒนาอาชพี ให้มีความมน่ั คง. สานักงานปลดั กระทรวง. กรุงเทพฯ.
สานกั งาน กศน. 2560. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพัฒนาอาชีพให้มีความมนั่ คง. สานกั งานปลดั กระทรวง.
กรงุ เทพฯ.
ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ (ชุดท่ี 4) 14
คณะผจู้ ัดทำ
ท่ีปรกึ ษำ ผอ.กศน.อาเภอโนนสูง
นางวไิ ลลกั ษณ์ โรจนาศรีรัตน์
ครู กศน.ตาบลโนนสงู
ผู้ให้ขอ้ มลู ครู กศน.ตาบลใหม่
นางสาวศิวพร เพช็ รนิล ครู กศน.ตาบลโตนด
นายวสนั ต์ เจโคกกรวด ครู กศน.ตาบลบิง
นางสาววารุณี ยวงกลาง ครู กศน.ตาบลดอนชมพู
นางกมลพชั ร หนานโพธ์ิ ครู กศน.ตาบลธารปราสาท
นายวชิ ติ ชชู วี า ครู กศน.ตาบลหลมุ ข้าว
นางสาวศริ ิวรรณ หรภมู ิ ครู กศน.ตาบลมะคา่
นายเจษฎาภัทร ช่มุ กลาง ครู กศน.ตาบลพลสงคราม
นายชยั ภทั ร งมึ กระโทก ครู กศน.ตาบลจนั อัด
นางชิดชนก เลศิ วิชยั ครู กศน.ตาบลขามเฒา่
นางสาวภาตยิ า อารี ครู กศน.ตาบลดา่ นคล้า
นางประไพ ปยิ สันท์ ครู กศน.ตาบลลาคอหงษ์
นางสาวนฐั พร พยัคฆพงษ์ ครู กศน.ตาบลเมืองปราสาท
นางประสงค์ ปลัง่ กลาง ครู กศน.ตาบลดอนหวาย
นางสาวเสาวนีย์ พลกลาง ครู กศน.ตาบลลามูล
นายธนภัทร นาวา ครู ศรช.ตาบลโนนสูง
นางสาวอรอนิ ทุ์ สขุ มนิ ครผู ู้สอนคนพิการ
นางฐติ ยิ าพรรณ ชานาญโชติศริ ิ ครผู ู้สอนคนพิการ
นางสาวสธุ นี คชาศิริสกุล ครู ศรช.ตาบลหลุมขา้ ว
นางสาวณิภา จันทร์รัตนประภา
นางสาวจฑุ ารัตน์ บุญมามอญ ครชู านาญการ
ผูร้ ำ่ ง/ผเู้ รยี บเรียง/ผ้พู ิมพ์
นางสาวปรารถนา ชโี พธิ์