The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอนวิชาการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nichareeak, 2023-10-01 04:44:37

แผนการสอนวิชาการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ

แผนการสอนวิชาการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ

แผนการจ ั ดการเร ี ยนร ู ้ รห ั สว ิ ชา 20501-2204 ว ิ ชาการผล ิ ตไม้ ดอกไม้ประดับหลักส ู ตรประกาศน ี ยบัตรวิชาช ี พ2562ประเภทวิชาเกษตรกรรม จ ั ดท ํ าโดย นางณิชาร ี ย ์ เผ่าพงศ ์ วนา ภาคเร ี ยนท ี่1 ปี การศ ึ กษา 2566 แผนกวิชาพ ื ชศาสตร ์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่สํานักงานคณะกรรมการการอาช ี วศ ึ กษา กระทรวงศึกษาธิการ


แผนการจัดการเรียนรู้หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชา เกษตรกรรม สาขาวิชา การผลิตพืช รหัสวิชา 20501 – 2204 วิชา การผลิตไม้ดอกไม้ประดับหน่วยกิต 3 หน่วย เวลาเรียนต่อภาค 7 ชั่วโมง/สัปดาห์จุดประสงค์รายวิชา 1.เพื่อให้เข้าใจหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับไม้ดอกไม้ประดับและการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ2.เพื่อให้สามารถวางแผนและจัดการผลิตไม้ดอกไม้ประดับอย่างมีระบบ ตามหลักการและกระบวนการโดยคํานึงถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่าและผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยา 3.เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อการผลิตไม้ดอกไม้ประดับและมีกิจนิสัยการทํางานด้วยความรับผิดชอบขยันและอดทน คําอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการวิเคราะห์การตลาดเกี่ยวกับไม้ดอกไม้ประดับ การจําแนกประเภทของไม้ดอกไม้ประดับ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ การวางแผนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ โรงเรือนและวัสดุอุปกรณ์การขยายพันธุ์การปลูก และการปฏิบัติดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การนําไปใช้ประโยชน์การเพิ่มมูลค่าหลังการเก็บเกี่ยว การจัดจําหน่ายและการทําบัญชีมาตรฐานรายวิชา 1. เข้าใจหลักการและกระบวนการวางแผนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 2. เตรียมการผลิตไม้ดอกไม้ประดับตามความต้องการของตลาดและสภาพพื้นที่3. ปลูกไม้ดอกไม้ประดับตามหลักการและกระบวนการโดยคํานึงถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า 4. ปฏิบัติดูแลรักษาไม้ดอกไม้ประดับตามหลักการและกระบวนการโดยคํานึงถึงผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยา 5. จัดการผลผลิตโดยการเก็บเกี่ยวและจัดการหลังการเก็บเกี่ยวตามหลักการและกระบวนการ6. จัดทําบัญชีรายรับ-รายจ่ายการผลิตและการจําหน่ายไม้ดอกไม้ประดับ


ตารางวิเคราะห์คําอธิบายรายวิชา รหัสวิชา 20501-2204 ชื่อรายวิชา การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ หน่วยกิต (เวลา) 3 (7) กิจกรรม สาระการเรียนรู้ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง/ จุดประสงค์การเรียนรู้ศึกษา-ปฏิบัติการวิเคราะห์ตลาดเกี่ยวกับไม้ดอกไม้ประดับ การจําแนกประเภทของไม้ดอก ไม้ประดับ ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ การวางแผนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ โรงเรือนและวัสดุอุปกรณ์การขยายพันธุ์การปลูก และการปฏิบัติดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว การจัดการหลัง การเก็บเกี่ยว และการนําไปใช้ประโยชน์การเพิ่มมูลค่าผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว การจัดจําหน่ายและการทําบัญชี ด้านพุทธิพิสัย เพื่อให้เข้าใจหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับไม้ดอกไม้ประดับ และการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ ด้านทักษะพิสัย เพื่อให้สามารถวางแผนและจัดการ ผลิตไม้ดอกไม้ประดับอย่างมีระบบตามหลักการและกระบวนการ โดยคํานึงถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่าและผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยา ด้านจิตพิสัย เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพการ ผลิตไม้ดอกไม้ประดับ และมีกิจนิสัยในการทํางานด้วยความรับผิดชอบรอบคอบ ขยันและอดทน หมายเหตุเพื่อเป็นแนวทางให้ผู้สอนยึดเป็นหลักในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะตามที่กําหนดไว้ โดยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน คือ 1. พุทธิพิสัย (Cognitive) หมายถึง จุดประสงค์ที่มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระวิชาเน้นความสามารถทางสมอง (Head) มักใช้คําว่า ความรู้ความเข้าใจ การนําไปใช้การวิเคราะห์การสังเคราะห์และการประเมินค่า เป็นต้น 2. ทักษะ (Skill) หมายถึง จุดประสงค์ที่มุ่งให้ผู้เรียนมีความสามารถในการปฏิบัติจะใช้คําว่า ปฏิบัติตนสาธิต ทดลอง แก้ปัญหา เป็นต้น 3. จิตพิสัย (Attitude) จุดประสงค์ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณธรรม และยึดมั่นในค่านิยมที่พึงประสงค์เน้นความรู้สึกในจิตใจ (Heart) จะใช้คําว่า ชื่นชม เห็นคุณค่า ตระหนักในความสําคัญเป็นต้น


รหัสวิชา 2501-2204 ชื่อรายวิชา การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ หน่วยกิต (เวลา) 3 (7) หน่วยที่ชื่อหน่วย สัปดาห์ที่ชั่วโมงที่1 ความหมายและความสําคัญของไม้ดอกไม้ประดับ 1 32 การจําแนกประเภทไม้ดอกไม้ประดับ 2 73 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 3 74 การวางแผนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 4 75 โรงเรือนและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 5 76 การปลูกและการปฏิบัติดูแลรักษาไม้ดอกไม้ประดับ 6-10 307 การขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ 10-14 308 การเก็บเกี่ยวและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว 15-16 149 การเพิ่มคุณค่าผลผลิตและการนําไม้ดอกไม้ประดับไป ใช้ประโยชน์16-17 1410 การตลาดไม้ดอกไม้ประดับและการทําบัญชี 18 7รวม 18 126


กําหนดการสอน รหัสวิชา 30502-2204 วิชา การผลิตไม้ดอกไม้ประดับจํานวน 3 หน่วยกิต เวลา 7 ชั่วโมง/สัปดาห์สัปดาห์ที่ หน่วยที่หัวข้อเรื่อง จํานวน ชั่วโมง วิธีการสอนสื่อที่ใช้และงานมอบหมาย1 1. ศึกษาและ ปฏิบัติเกี่ยวกับ ความสําคัญของ การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 1.1 ความหมายของไม้ดอกไม้ประดับ 1.2 ความสําคัญของไม้ดอกไม้ประดับ 1.3 แหล่งผลิตการผลิตไม้ดอกไม้ประดับในประเทศไทยและ ต่างประเทศ 5 วิธีการสอน - การบรรยาย - อภิปรายร่วมกันสื่อที่ใช้ - เอกสารประกอบการสอน- Power point งานมอบหมาย - ใบงานที่1 ศึกษาความหมายของการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ- ใบงานที่2 ศึกษาแหล่งผลติการผลติไม้ดอกไม้ประดับในชมุชนและจังหวัดเชียงใหม่2 2. การวิเคราะห์ตลาดและธุรกิจ ไม้ดอกไม้ประดับ 2.1 แหล่งจําหน่ายไม้ดอกไม้ประดับ 2.2 ลักษณะพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ ที่จําหน่ายในท้องตลาด 2.3 การสํารวจและการตีราคาพันธุ์ไม้2.4 การจําหน่าย 5 วิธีการสอน - การบรรยาย - การสืบค้นข้อมูล- ศึกษาดูงานนอกสถานที่ณอุทยานหลวงราชพฤกษ์สื่อที่ใช้ - เอกสารประกอบการสอน- Power point - แปลงแสดงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับอุทยานหลวงราชพฤกษ์- กระดานส่งงานออนไลน์Padletงานมอบหมาย - ใบงานที่3 พรรณไม้ที่รู้จักเพิ่มเติมจากการศึกษาดูงาน3 3. ชนิดและ พันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับที่นิยม ผลิตเพื่อการค้า 3.1 ชนิดและพันธุ์ไม้ดอก ที่นิยมผลิตเพื่อการค้า 3.2 ชนิดและพันธุ์ไม้ประดับที่นิยมผลิตเพื่อการค้า 5 วิธีการสอน - การบรรยาย - อภิปรายร่วมกันสื่อที่ใช้


- เอกสารประกอบการสอน- Power point - ตลาดต้นไม้วันเสาร์ทุ่งฟ้าบด- เพจต้นไม้บนสื่อออนไลน์- แอพพลิเคชั่นเกมKahootงานมอบหมาย - ใบงานที่4 รายชื่อไม้ดอกและไม้ประดับที่ได้รับความนิยม4 4. ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์4.1 ลักษณะทางพฤกษศาสตรไ์ม้ดอกที่เลือกปลูกในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2566 คือ ดอกดาวเรืองตัดดอก ดาวเรืองกระถาง พิทูเนีย เสี้ยนฝรั่ง เก๊กฮวย 5 วิธีการสอน - การบรรยาย - การสืบค้นข้อมูลสื่อที่ใช้ - เอกสารประกอบการสอน- Power point งานมอบหมาย - ใบงานที่5 ใบงานการศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ดอกดอกดาวเรือง พิทูเนียเสี้ยนฝรั่งเก๊กฮวย 5 5. ปัจจัยและ สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการ ผลิต 5.1 ปัจจัยภายใน - พันธุกรรมพืช 5.2 ปัจจัยภายนอก -ดิน -น้ํา -แสง -อุณหภูมิ -อากาศ -ปุ๋ยและแร่ธาตุ-สิ่งมีชีวิตอื่นๆ 2 วิธีการสอน - การบรรยาย - อภิปรายร่วมกันสื่อที่ใช้ - ใ บ คว า มรู้เ รื่องปัจจัยสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืช(Document)- ใบความรู้เรื่องการคํานวณความสูงต้นดอกเก๊กฮวย(Power point ) - ใบความรู้ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ(Power point) -แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียนเรื่อง แสง : ปัจจัยสภาพแวดล้อมการเจริญเติบโตของพืชงานมอบหมาย - ใบงานที่6 ปฏิบัติการการคํานวณความสูงต้นดอก


เก๊กฮวย 6 6. การวางแผน การผลิต 6.1 วางแผนการปลูกดอก ดอก ดาวเรืองตัดดอก ดาวเรืองกระถาง พิทู เนีย เสี้ยนฝรั่ง เก๊กฮวย 6.2 เตรียมเมล็ดพันธุ์ต้นกล้า วัสด/ุอุปกรณ์ 5 วิธีการสอน - การบรรยาย - ปฏิบัติสื่อที่ใช้ - เอกสารประกอบการสอน- Power point - แปลงปลูก และโรงเรือนผลิตไม้ดอกไม้ประดับงานมอบหมาย - ใบงานที่7 ปฏิบัติการปลูกดอกดอกดาวเรืองตัดดอกดาวเรืองกระถาง พิทูเนีย เสี้ยนฝรั่งเก๊กฮวย 7-16 7. การปลูกและ ปฏิบัติดูแลรักษา 7.1 ปฏิบัติปลูกดอก ดอกดาวเรืองตัด ดอก ดาวเรืองกระถาง พิทูเนีย เสี้ยน ฝรั่ง เก๊กฮวย 7.2 ปฏิบัติดูแลรักษา ดอกดาวเรืองตัด ดอก ดาวเรืองกระถาง พิทูเนีย เสี้ยน ฝรั่ง เก๊กฮวย 50 วิธีการสอน - การบรรยาย - ปฏิบัติสื่อที่ใช้ - เอกสารประกอบการสอน- Power point งานมอบหมาย - ใบงานที่8 ปฏิบัติการปลูกและบันทึกการดูแลรักษาตามชนิดดอกที่ปลูก 16,17 8. การเก็บเกี่ยว และการจัดการ หลังการเก็บ เกี่ยว 8.1 การเก็บเกี่ยวผลผลิต การตัดดอก ดาวเรือง 8.2 การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว บรรจุหีบห่อดอกดาวเรือง 8.3 การนําไปใช้ประโยชน์ของดอก ดาวเรืองตัดดอก ดาวเรืองกระถาง พิทู เนีย เสี้ยนฝรั่ง เก๊กฮวย 8.4 การจําหน่ายดอก ดอกดาวเรืองตัด ดอก ดาวเรืองกระถาง พิทูเนีย เสี้ยน ฝรั่ง เก๊กฮวย 10 วิธีการสอน - การบรรยาย - ปฏิบัติสื่อที่ใช้ - เอกสารประกอบการสอน- Power point งานมอบหมาย - ใบงานที่9 ปฏิบัติการเก็บเกี่ยวและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวดอกดาวเรืองตัดดอกดาวเรืองกระถาง พิทูเนียเสี้ยนฝรั่งเก๊กฮวย - ใบงานที่10 ปฏิบัติการการ


นําไปใช้ประโยชน์ประดับอาคารสถานที่- ใบงานที่11 ปฏิบัติการการนําพรรณไม้ไปใช้ประโยชน์โดยการจําหน่าย 18 9. การเพิ่มมูลค่า ผลผลิตการผลิต ไม้ดอกไม้ประดับ 9.1 การเพิ่มมูลค่าผลผลิตดอกเก๊กฮวย เป็นดอกไม้กินได้3 วิธีการสอน - การบรรยาย - ปฏิบัติสื่อที่ใช้ - เอกสารประกอบการสอน- Power point งานมอบหมาย - ใบงานที่12 ปฏิบัติการนําดอกเก๊กฮวยทําเป็นชา น้ําดื่มเก๊กฮวยและวุ้นเก๊กฮวย แผนการประเมินผลการเรียนรู้กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ (หน่วยท)ี่ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล1 1 , 2 , 3, 4, 5 ทดสอบย่อยหลังเรียน 20 %2 1, 6, 7, 8, 9, - การมีส่วนร่วมในงานกลุ่ม - ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล - ความรับผิดชอบต่องานมอบหมาย - จากผลการปฏิบัติงาน ตลอดภาค การศึกษา 40 %3 1-9 รายงานการดําเนินงาน 16 10 %4 1-9 นําเสนอผลการดําเนินงาน 17 10 %5 1-9 จิตพิสัยในการเข้าเรียน ตลอดภาค การศึกษา 20 %


การประเมินผลรายวิชา รายวิชานี้แบ่งเป็น 9 หน่วยเรียน 18 สัปดาห์การวัดและประเมินผลรายวิชาจะดําเนินการดังนี้1. วิธีการดําเนินการรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมินผลแบ่งเป็น 5 ส่วน โดยแบ่งเป็นแต่ละส่วนจากคะแนนเต็มทั้งรายวิชา 100 คะแนน 1) กิจกรรมการเรียนการสอน 20 คะแนน 2) ภาระงาน 20 คะแนน 3) แฟ้มสะสมงาน 10 คะแนน 4) คุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และลักษณะอันพึงประสงค์ 20 คะแนน 5) การประเมินสรุปผลการเรียน (สอบปลายภาค) 30 คะแนน 2. เกณฑ์ผ่านรายวิชา ผู้ที่จะผ่านรายวิชานี้จะต้อง 1. เวลาเข้าเรียนไม่ต่ํากว่าร้อยละ 80 2. ได้คะแนนรวมทั้งวิชาไม่ต่ํากว่าร้อยละ 50 3. เกณฑ์ค่าระดับคะแนน 1. พิจารณาเกณฑ์ผ่านรายวิชาตามข้อ 2 ผู้ไม่ผ่านเกณฑ์ข้อ 2 จะได้รับค่าระดับคะแนน 0 2. ผู้ที่ผ่านเกณฑ์ข้อ 2 จะได้รับค่าระดับคะแนนตามเกณฑ์ดังนี้คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป ได้4.00 คะแนนร้อยละ 75 – 79 ได้3.50 คะแนนร้อยละ 70 – 74 ได้3.00 คะแนนร้อยละ 65 – 69 ได้2.50 คะแนนร้อยละ 60 – 64 ได้2.00 คะแนนร้อยละ 55 – 59 ได้1.50 คะแนนร้อยละ 50 – 54 ได้1.00 คะแนนต่ํากว่าร้อยละ 50 ได้0.00 คุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และลักษณะอันพึงประสงค์1. มีใจรักและศรัทธาในวิชาชีพ 2. ความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา 3. ความซื่อสัตย์4. ความสนใจใฝ่รู้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์5. มีมนุษยสัมพันธ์6. การรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 7. ความสามารถทํางานร่วมกับผู้อื่น 8. การบริการงานสังคม และชุมชน


9. ความอดทน 10. ความปลอดภัย การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามหลักการ กิจกรรม การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ 1. มีเหตุผล 2. พอประมาณ 3. ภูมิคุ้มกันคุณธรรม ความรู้– ทักษะ 1. รู้หลักการของการปลูกดอก เบญจมาศตัดดอกและไม้ดอก ชนิดอื่นๆ 2. วิเคราะห์ประเภทของดอก เบญจมาศและไม้ดอกชนิดอื่นๆ 4. มีเหตุผลในการเลือกปลูก ชนิดไม้ดอกไม้ประดับ 4. ใช้วัสดุเหลือใช้ทาง การเกษตร 5. หาวัสดุที่มีอยู่ใน ท้องถิ่นมาทดแทนวัสดุอย่างอื่นที่หาซื้อยาก และ ราคาแพง 6. ลดต้นทุนในการผลิต7. ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม8. สามารถนําไปประยุกต์ใช้ ในอนาคตได้ - หลักการปลูกดอกเบญจมาศตัดดอกและ ไม้ดอกชนิดอื่นๆ - การปลูกดอกเบญจมาศตัดดอกและไม้ดอกชนิดอื่นๆ - การดําเนินปลูกดอกเบญจมาศตัดดอกและ ไม้ดอกชนิดอื่นๆ - การทํารายงานการปลูกดอกเบญจมาศตัด ดอกและไม้ดอกชนิดอื่นๆ - การนําเสนอผลการดําเนินงาน - ขยันหมั่นเพียร- มีความรับผิดชอบ- มีวินัยในการทํางาน- ความสามัคคี - มีน้ําใจ สู่ 4 มิติดังนี้สังคม ข้อ 1-5 เศรษฐกิจ ข้อ 4-6 วัฒนธรรม ข้อ 8 สิ่งแวดล้อม ข้อ 4, 7


หน่วยการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่1ชื่อวิชา การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ สัปดาห์ที่1ชื่อหน่วย ความหมายและความสําคัญของไม้ดอกไม้ประดับ ชั่วโมงที่1-3ชื่อเรื่อง ความหมายและความสําคัญของไม้ดอกไม้ประดับ สอนครั้งที่11. หัวเรื่อง 1. ความหมายของไม้ดอกไม้ประดับ 2. ความสําคัญของไม้ดอกไม้ประดับ 3. แหล่งผลิตไม้ดอกไม้ประดับในประเทศไทย 2. สาระสําคัญ ไม้ดอกไม้ประดับ หมายถึง พันธุ์ไม้ที่มีลักษณะรูปร่าง สีสันของลําต้น กิ่ง ก้าน ใบ ดอก ผลสวยงาม นําไปใช้ประโยชน์ในการประดับตกแต่งอาคารสถานที่วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยเีชียงใหม่ให้เกิดความร่มรื่น สวยงาม สร้างบรรยากาศในการทํางาน หรือตามจุดประสงค์ที่นําไปใช้3. จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจความหมายของไม้ดอกและไม้ประดับ ความสําคัญไม้ดอกไม้ประดับแหล่งผลิตไม้ดอกไม้ประดับ และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความรับผิดชอบ ความสนใจใฝ่รู้ความขยันความคิดริเริ่มสร้างสรรค์การมีวินัย 4. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกความหมายของไม้ดอกพร้อมยกตัวอย่างชนิดของไม้ดอกได้2. บอกความหมายของไม้ประดับพร้อมยกตัวอย่าง ชนิดของไม้ประดับได้3. อธิบายความสําคัญของไม้ดอกไม้ประดับได้4. บอกแหล่งผลิตไม้ดอกไม้ประดับในประเทศไทยได้5. สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 2. รูปภาพไม้ดอกไม้ประดับจากสื่อ PPT 3. สื่อการเรียนการสอนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ(แผ่นซีดี) 4. สื่อการเรียนการสอนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ(สแกน QR Code) 6. การวัดผล/ประเมินผล 1. วัดผลจากการร่วมทํากิจกรรมกลุ่ม,การช่วยเหลือ,ความรับผิดชอบในกิจกรรม การมีส่วนร่วม5คะแนน 2. ทดสอบก่อนเรียนและหลังจบหน่วยเรียน 10 คะแนน 3. วัดจากกิจกรรมท้ายบท กิจกรรมที่1.1, 1.2 และ 1.3 4. วัดคุณลักษณะที่พึงประสงค์(5 คะแนน) ความสนใจใฝ่รู้


ความมีวินัย ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ความรับผิดชอบ ความขยัน ประเมินผ่านเกณฑ์สําหรับผู้ที่ได้คะแนนการวัดผลร้อยละ 60 ขึ้นไป 7. กิจกรรมเสนอแนะ - กิจกรรมศึกษาพรรณไม้ดอกไม้ประดับในวิทยาลัยฯ - กิจกรรมธรรมชาติศึกษาในสวนป่าวิทยาลัยฯ 8. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .........................................................................................................................ปัญหาที่พบ .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ...........................................................................................แนวทางแก้ปัญหา .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ...........................................................................................................................................................ลงชื่อ.................................................. (นางณิชารีย์เผ่าพงศ์วนา) ครูผู้สอน .............../............../.............


แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่2ชื่อวิชา การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ สัปดาห์ที่2ชื่อหน่วย การจําแนกประเภทไม้ดอกไม้ประดับ ชั่วโมงที่4-10ชื่อเรื่อง การจําแนกประเภทไม้ดอกไม้ประดับ สอนครั้งที่2-31. หัวเรื่อง 1. การจําแนกไม้ดอกไม้ประดับตามลักษณะพฤกษศาสตร์2. การจําแนกไม้ดอกไม้ประดับตามความมุ่งหมายที่ใช้งาน 3. การจําแนกไม้ดอกไม้ประดับตามลักษณะนิสัยของพันธุ์ไม้2. สาระสําคัญ การจําแนกประเภทไม้ดอกไม้ประดับ เป็นการจัดกลุ่มประเภทของไม้ดอกไม้ประดับโดยจัดจําแนกเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะคล้ายคลึงของการใช้ประโยชน์หรือตามลักษณะนิสัย เช่น เมื่อพูดถึงไม้ตัดดอก (Cut flowers) ก็เข้าใจได้ว่าพันธุ์ไม้ชนิดนั้นปลูกไว้เพื่อตัดดอกมาใช้ประโยชน์ในการจําแนกประเภทไม้ดอกไม้ประดับ มีหลักพิจารณาและวินิจฉัยในการจําแนกต่าง ๆ ไม่เหมือนกัน ซึ่งแล้วแต่ความมุ่งหมายและจุดประสงค์ในการจําแนก 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการจําแนกประเภทไม้ดอกไม้ประดับประเภทต่าง ๆ และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความมีวินัย ความสนใจใฝ่รู้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และความขยันอดทน 4. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกวิธีการจําแนกพืชตามลักษณะพฤกษศาสตร์ได้2. บอกวิธีการจําแนกพืชตามความมุ่งหมายที่ใช้งานได้3. บอกการจําแนกตามลักษณะนิสัยของพันธุ์ไม้ได้4. จําแนกตามลักษณะพฤกษศาสตร์ได้ถูกต้อง 5. สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 2. รูปภาพไม้ดอกไม้ประดับจากสื่อ PPT 3. สื่อของจริงพรรณไม้ดอกไม้ประดับในวิทยาลัยฯ 4. สื่อการเรียนการสอนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ(แผ่นซีดี) 5. สื่อการเรียนการสอนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ(สแกน QR Code) 6. การวัดผล/ประเมินผล 1. ทดสอบก่อนเรียนและหลังจบหน่วยเรียน 10 คะแนน 2. กิจกรรมท้ายบทเรียน 2.1, 2.2, 2.3 10 คะแนน 3. ใบงานที่1 การจัดหมวดหมู่ไม้ดอกไม้ประดับในสถานเพาะชํา 20 คะแนน


4. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความมีวินัย ความสนใจใฝ่รู้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ความขยันอดทน 5 คะแนน ประเมินผลผ่านเกณฑ์สําหรับผู้ที่ได้คะแนนการวัดผลร้อยละ 60 ขึ้นไป 7. กิจกรรมเสนอแนะ 1. กิจกรรมศึกษาพรรณไม้ในวิทยาลัยฯ 2. การค้นคว้าจากห้องอินเตอร์เน็ต 8. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...............................................................................ปัญหาที่พบ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ..........................................................แนวทางแก้ปัญหา ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ....................................................................................................ลงชื่อ.................................................. (นางณิชารีย์เผ่าพงศ์วนา) ครูผู้สอน .............../............../..............


แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่3ชื่อวิชา การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ สัปดาห์ที่3ชื่อหน่วย ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ ชั่วโมงที่เรียน11-17ชื่อเรื่อง ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ สอนครั้งที่4-51. หัวเรื่อง 1. ลักษณะภูมิอากาศ 2. ลักษณะภูมิประเทศ 3. ลักษณะดิน 4. อาหารและแร่ธาตุ5. สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ 2. สาระสําคัญ สภาพสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม หมายถึง ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของไม้ดอกไม้ประดับทั้งในทางตรงและทางอ้อม ปัจจัยเหล่านั้นได้แก่ดิน, น้ํา, แสงสว่าง,อุณหภูมิ, อากาศ อาหารและแร่ธาตุและสิ่งที่มีชีวิตอื่น ๆ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจลักษณะปัจจัยต่าง ๆ ที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตของไม้ดอกไม้ประดับ เช่น ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ลักษณะดิน อาหารและแร่ธาตุและปัจจัยสิ่งมีชีวิตอื่นๆมีความสามารถในการบูรณาการด้านความรู้และความเข้าใจมาประกอบใช้ในการผลิตไม้ดอกไม้ประดับได้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความรับผิดชอบ ความสนใจใฝ่รู้ความขยันหมั่นเพียร ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์4. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายอิทธิพลของภูมิประเทศต่อการเจริญเติบโตไม้ดอกไม้ประดับได้2. อธิบายลักษณะภูมิประเทศที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของไม้ดอกไม้ประดับได้3. บอกลักษณะดินที่ดีที่ใช้ปลูกไม้ดอกไม้ประดับได้4. บอกบทบาทของธาตุอาหารที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของไม้ดอกได้5. อธิบายบทบาทของสิ่งมีชีวิตที่มีประโยชน์ต่อพืชได้5. สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 2. สื่อของจริง 3. ตัวอย่างปุ๋ยชนิดต่าง ๆ 4. สื่อการเรียนการสอนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ(แผ่นซีดี) 5. สื่อการเรียนการสอนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ(สแกน QR Code) 6. การวัดผล/ประเมินผล 1. ทดสอบก่อนเรียนและหลังจบหน่วยเรียน 10 คะแนน


2. กิจกรรมท้ายบทเรียน 3.1, 3.2, 3.3 10 คะแนน 3. ใบงานที่2 เรื่องการตรวจสอบธาตุอาหารพืชอย่างง่ายในดินผสม 10 คะแนน 4. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความรับผิดชอบ ความสนใจใฝ่รู้ความขยันหมั่นเพียร ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์5 คะแนน ประเมินผลผ่านเกณฑ์สําหรับผู้ที่ได้คะแนนการวัดผลร้อยละ 60 ขึ้นไป 7. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...............................................................................ปัญหาที่พบ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ..........................................................แนวทางแก้ปัญหา ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ....................................................................................................ลงชื่อ.................................................. (นางณิชารีย์เผ่าพงศ์วนา) ครูผู้สอน .............../............../.............


แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่4ชื่อวิชา การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ สัปดาห์ที่4ชื่อหน่วย การวางแผนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ ชั่วโมงที่เรียน18-24ชื่อเรื่อง การวางแผนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ สอนครั้งที่6-71. หัวเรื่อง 1. การวางแผนผังการปลูก 2. การวางแผนการผลิตไม้ดอก 3. การวางแผนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 2. สาระสําคัญ ปัจจัยในการวางแผนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ เป็นสิ่งสําคัญได้แก่ที่ดินและเงินทุน แผนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับและข้อมูลในการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้2.1 จุดประสงค์ปลายทาง ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 2.2 จุดประสงค์นําทาง 1) บอกปัจจัยในการวางแผนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับได้2) อธิบายความสําคัญของที่ดินและเงินทุนที่มีต่อการวางแผนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับได้3) บอกและอธิบายความสําคัญขององค์ประกอบของแผนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับได้4) บอกและอธิบายความสําคัญของข้อมูลต่าง ๆ ที่มีต่อการวางแผนการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 4. คุณลักษณะอันพึงประสงค์3.1 มีวินัยและความรับผิดชอบ 3.2 ตรงต่อเวลา มีความรอบคอบ ขยันมั่นเพียร 3.3 มีความสนใจใฝ่รู้และกระตือรือร้น 5. สื่อการเรียนการสอน สื่อสิ่งพิมพ์ใบความรู้สื่อของจริง แปลงปลูกดอกไม้/โรงเรือนเพาะชํา 6. การวัดผล/ประเมินผล 6.1 สังเกตการปฏิบัติงานในกระบวนการกลุ่ม โดยการให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ได้แก่ 2, 1, 06.2 ประเมินจากชิ้นงานที่ปฏิบัติโดยการให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ได้แก่ 4, 3, 2 และ 1


7. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...............................................................................ปัญหาที่พบ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ..........................................................แนวทางแก้ปัญหา ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ....................................................................................................ลงชื่อ.................................................. (นางณิชารีย์เผ่าพงศ์วนา) ครูผู้สอน .............../............../.............


แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่5ชื่อวิชา การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ สัปดาห์ที่5ชื่อหน่วย โรงเรือนและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการปลูกเลี้ยงไม้ดอกไม้ประดับ ชั่วโมงที่เรียน25-31ชื่อเรื่อง โรงเรือนและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการปลูกเลี้ยงไม้ดอกไม้ประดับ สอนครั้งที่8-91. หัวเรื่อง 1. ความหมายของเรือนเพาะชํา 2. ประเภทของโรงเรือน 3. ความสําคัญและการเลือกทําเลที่ตั้งโรงเรือน 4. วัสดุและอุปกรณ์ที่จําเป็นในการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 2. สาระสําคัญ โรงเรือนหรือเรือนเพาะชํา (Nursery) เป็นสถานที่ที่ใช้สําหรับการเพาะขยายพันธุ์ไม้การเก็บรักษาพันธุ์ไม้การดูแลรักษาพันธุ์ไม้ตลอดจนการอนุบาลพันธุ์ไม้ที่ยังไม่แข็งแรงให้มีความแข็งแรงก่อนที่จะนําไปปลูกในแปลง หรือจัดจําหน่ายต่อไป 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้า ความหมายของเรือนเพาะชํา ประเภทและความสําคัญของเรือนเพาะชํามีความสามารถในการเลือกที่ตั้งโรงเรือน วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในเรือนพําเพื่อผลิตไม้ดอกไม้ประดับและมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความรับผิดชอบ ความสนใจใฝ่รู้ความขยันหมั่นเพียร ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์4. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกความหมายของเรือนเพาะชําได้2. จําแนกประเภทเรือนเพาะชําได้3. อธิบายความสําคัญของเรือนเพาะชําได้4. บอกวัสดุและอุปกรณ์ที่ในเรือนเพาะชําเพื่อผลิตไม้ดอกไม้ประดับได้5. สามารถสร้างตู้ชื้นได้5. สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 2. สื่อของจริงเรือนเพาะชําวิทยาลัยฯ 3. สื่อของจริงเครื่องมือ-อุปกรณ์ชนิดต่าง ๆ 4. สื่อของจริงโรงเรือน/แปลงปลูกไม้ดอก 6. การวัดผล/ประเมินผล 1. ทดสอบก่อนเรียนและหลังจบหน่วยเรียน 10 คะแนน 2. กิจกรรมท้ายบทเรียน 4.1 10 คะแนน


3. ใบงานที่3 เรื่องโรงเรือนและอุปกรณ์ในการปลูกไม้ดอกไม้ประดับ 10 คะแนน 4. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความรับผิดชอบ ความสนใจใฝ่รู้ความขยันหมั่นเพียร ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 5 คะแนน ประเมินผ่านเกณฑ์สําหรับผู้ที่ได้คะแนนการวัดผลร้อยละ 60 ขึ้นไป 7. กิจกรรมเสนอแนะ ก่อนสอนบทเรียนที่4 ควรนําไปศึกษาสภาพเรือนเพาะชําวิทยาลัยฯ หรือของสถานประกอบการก่อน 8. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...............................................................................ปัญหาที่พบ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ..........................................................แนวทางแก้ปัญหา ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ....................................................................................................ลงชื่อ.................................................. (นางณิชารีย์เผ่าพงศ์วนา) ครูผู้สอน .............../............../.............


แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่6ชื่อวิชา การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ สัปดาห์ที่6-10ชื่อหน่วย การปลูกและการปฏิบัติผลิตไม้ดอกไม้ประดับ ชั่วโมงที่เรียน32-62ชื่อเรื่อง การปลูกและการปฏิบัติผลิตไม้ดอกไม้ประดับ สอนครั้งที่10-181. หัวเรื่อง 1. การเตรียมดิน 2. การปลูก 3. การปฏิบัติดูแลรักษาดอกไม้ที่ปลูกลงแปลง 4. การปฏิบัติดูแลรักษาพันธุ์ไม้ในเรือนเพาะชํา 5. การปฏิบัติดูแลรักษาพันธุ์ไม้ที่ปลูกในภาชนะปลูก 2. สําระสําคัญ การปลูกและการปฏิบัติดูแลรักษาไม้ดอกไม้ประดับเป็นหัวใจสําคัญในการส่งผลให้ประสบผลสําเร็จในอาชีพการทําไม้ดอกไม้ประดับ ในการปลูกพืชควรคํานึงถึงปัจจัยหลายอย่าง เช่น ความต้องการของผู้ปลูก ลักษณะนิสัยของพันธุ์ไม้ชนิดนั้น ๆ ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ที่จําเป็นในการปลูกและปฏิบัติดูแลรักษา สิ่งเหล่านี้จะส่งผลให้ผู้ปลูกประสบผลสําเร็จในการปลูกพืชชนิดนั้น ๆ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการเตรียมดิน การปลูก การปฏิบัติดูแลรักษาการปฏิบัติดูแลรักษาพันธุ์ไม้ในแปลง/เรือนเพาะชํา การปฏิบัติดูแลรักษาพันธุ์ไม้ที่ปลูกในภาชนะปลูกและมีคุณลักษณะพึงประสงค์ด้านความรับผิดชอบ ความสนใจใฝ่รู้ความขยัน ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายขั้นตอนการเตรียมดินได้2. บอกวิธีการปลูกไม้ดอกไม้ประดับได้3. บอกวิธีการปฏิบัติดูแลรักษาได้4. ปฏิบัติการปลูกและดูแลรักษาพันธุ์ไม้ในแปลง/โรงเรือนเพาะชําได้5. ปฏิบัติการปลูกและดูแลรักษาพันธุ์ไม้ที่ปลูกในภาชนะปลูกได้4. สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการเรียนวิชาการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 2. สื่อของจริงพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับชนิดต่าง ๆ 3. ของจริงเครื่องมือ-อุปกรณ์ชนิดต่าง ๆ 4. สื่อของจริงวัสดุปลูกชนิดต่าง ๆ 5. สื่อของจริงโรงเรือน/แปลงปลูกไม้ดอก 5. การวัดผล/ประเมินผล 1. ทดสอบก่อนเรียนและหลังจบหน่วยเรียน 10 คะแนน 2. กิจกรรมท้ายบทเรียน 5.1 และ 5.2 10 คะแนน 3. ใบงานที่4 เรื่องการปลูกและการปฏิบัติดูแลรักษาไม้ดอกไม้ประดับ 10 คะแนน


4. ใบงานที่5 เรื่องดินผสมพร้อมปลูก 10 คะแนน 5. ใบงานที่6 เรื่องการเปลี่ยนภาชนะปลูก 10 คะแนน 6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความรับผิดชอบ ความสนใจใฝ่รู้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ความขยัน 5 คะแนน ประเมินผ่านเกณฑ์สําหรับผู้ที่ได้คะแนนการวัดผลร้อยละ 60 ขึ้นไป 6. กิจกรรมเสนอแนะ ในชั่วโมงแรกของการเรียนนํานักศึกษาค้นคว้า-สืบค้นข้อมูลการปลูกไม้ดอกไม้ประดับจากอินเตอร์เน็ต 7. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...............................................................................ปัญหาที่พบ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ..........................................................แนวทางแก้ปัญหา ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ....................................................................................................ลงชื่อ.................................................. (นางณิชารีย์เผ่าพงศ์วนา) ครูผู้สอน .............../............../.............


แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่7ชื่อวิชา การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ สัปดาห์ที่10-14ชื่อหน่วย การขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ ชั่วโมงที่เรียน33-93ชื่อเรื่อง การขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ สอนครั้งที่18-261. หัวเรื่อง 1. การขยายพันธุ์โดยการใช้เพศ 2. การขยายพันธุ์โดยไม่ใช้เพศ 2. สาระสําคัญ การขยายพันธุ์พืช (Plant propagation) หมายถึง การเพิ่มจํานวนต้นพืชให้มีปริมาณมาขึ้นโดยคงไว้ซึ่งลักษณะ คุณสมบัติและคุณภาพของผลผลิตให้ดีขึ้นแต่ไม่รวมถึงการนําต้นพืช หรือพันธุ์ไม้มาจากแหล่งอื่น ซึ่งการขยายพันธุ์พืชสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ การขยายพันธุ์พืชโดยการใช้เพศ(Sexual propagation)และการขยายพันธุ์พืชโดยการไม่ใช้เพศ (Asexual propagation) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีความสามารถในการขยายพันธุ์พืชแบบต่าง ๆ และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความรับผิดชอบ ความสนใจใฝ่รู้ความขยัน ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกความหมายของการขยายพันธุ์พืชได้2. บอกความหมายของการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับโดยใช้เพศได้3. บอกความหมายของการขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับโดยไม่ใช้เพศได้4. สามารถเพาะเมล็ดไม้ดอกได้5. สามารถขยายพันธุ์พืชโดยไม่ใช้เพศแบบต่าง ๆ ได้4. การบูรณาการองค์ประกอบและสาระของงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน องค์ประกอบที่2 การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน ข้อ 2.4) การจัดหาพรรณไม้และการปลูกพรรณไม้2) การขยายพันธุ์การตอน การเพาะ การปักชํา การติดตา ฯลฯ 5. สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 2. ภาพโปสเตอร์การขยายพันธุ์แบบต่าง ๆ 3. ตัวอย่างของจริงการขยายพันธุ์พืชแบบต่าง ๆ 4. สื่อการขยายพันธุ์พืชแบบต่างๆจาก Youtube 6. การวัดผล/ประเมินผล 1. ทดสอบก่อนเรียนและหลังจบหน่วยเรียน 10 คะแนน 2. กิจกรรม 6.1 และ 6.2 10 คะแนน 3. ใบงานที่ชื่องานการเพาะเมล็ด 10 คะแนน 4. ใบงานที่ชื่องานการปักชํากิ่ง 10 คะแนน


5. ใบงานที่ชื่องานการขยายพันธุ์โครงการทาบกิ่งต่อกิ่ง 10 คะแนน 6. ใบงานที่ชื่องานการการขยายพันธุ์โครงการติดตา 10 คะแนน 7. ใบงานที่ชื่องานการขยายพันธุ์โครงการปักชําใบ 10 คะแนน 8. ใบงานที่ชื่องานการการขยายพันธุ์โครงการแบ่งและการแยก 10 คะแนน 9. มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความรับผิดชอบ ความสนใจใฝ่รู้ความขยัน และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 5 คะแนน ประเมินผ่านเกณฑ์สําหรับผู้ที่ได้คะแนน ร้อยละ 60 ขึ้นไป 7. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...............................................................................ปัญหาที่พบ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ..........................................................แนวทางแก้ปัญหา ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ....................................................................................................ลงชื่อ.................................................. (นางณิชารีย์เผ่าพงศ์วนา) ครูผู้สอน .............../............../............


แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่8ชื่อวิชา การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ สัปดาห์ที่15-16ชื่อหน่วย วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและการบรรจุหีบห่อ ชั่วโมงที่เรียน94-107ชื่อเรื่อง วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและการบรรจุหีบห่อ สอนครั้งที่27-281. หัวเรื่อง 1. ลักษณะคุณภาพที่ดีของไม้ตัดดอก 2. วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวในส่วนของผู้ปลูก 3. วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวในส่วนที่เกี่ยวข้องกับผู้บริโภค 4. วิทยาการหลังเก็บเกี่ยวสําหรับผู้สั่งเข้า 5. วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวของผู้ขายปลีก 6. หลักการบรรจุหีบห่อ 7. ภาชนะบรรจุไม้ตัดดอก 2. สาระสําคัญ การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวเป็นความรู้ที่ควรปฏิบัติเกี่ยวกับดอกไม้ตั้งแต่การเก็บเกี่ยวจนถึงมือผู้บริโภคจุดมุ่งหมายของการปฏิบัติงานเพื่อให้ดอกไม้ถึงมือผู้บริโภคในสภาพที่มีคุณภาพดีที่สุดและใช้ประโยชน์ได้นานวัน การบรรจุหีบห่อหรือบรรจุภัณฑ์เป็นผลสรวมของศิลปะ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีของระบบรวมในการเตรียมสินค้าเพื่อการขนส่ง การกระจาย การเก็บรักษา และการตลาดด้วยค่าใช้จ่ายที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของสินค้า 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เข้าใจและความสามารถในด้านวิทยาการการผลิตการเก็บเกี่ยวและการบรรจุหีบห่อ และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความสนใจใฝ่รู้ความขยัน ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ความรับผิดชอบ 4. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกลักษณะที่ดีของไม้ตัดดอกได้2. บอกวิทยาการหลังเก็บเกี่ยวในส่วนที่เกี่ยวข้องกับผู้ปลูกได้3. บอกวิทยาการหลังเก็บเกี่ยวสําหรับผู้ส่งออกได้4. บอกวิทยาการหลังเก็บเกี่ยวสําหรับผู้นําเข้าได้5. บอกวิทยาการหลังเก็บเกี่ยวสําหรับผู้ขายปลีกได้6. บอกหลักการบรรจุหีบห่อไม้ตัดดอกได้5. สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 2. เอกสารประกอบการสอน การจัดชั้นมาตรฐานคุณภาพไม้ดอกของมูลนิธิโครงการหลวง


6. การวัดผล/ประเมินผล 1. ทดสอบก่อนเรียนและหลังจบหน่วยเรียน 10 คะแนน 2. กิจกรรม 9.1 10 คะแนน 3. ใบงานที่ชื่องานการบรรจุหีบห่อไม้ดอกไม้ประดับ 10 คะแนน 4. ลักษณะและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 5 คะแนน ประเมินผ่านเกณฑ์สําหรับผู้ที่ได้คะแนนวัดผลร้อยละ 60 ขึ้นไป 7. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...............................................................................ปัญหาที่พบ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ..........................................................แนวทางแก้ปัญหา ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ................................................................................ลงชื่อ.................................................. (นางณิชารีย์เผ่าพงศ์วนา) ครูผู้สอน .............../............../...........


แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่9ชื่อวิชา การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ สัปดาห์ที่16-17ชื่อหน่วย การเพิ่มคุณค่าผลผลิตและการนําไม้ดอกไม้ประดับไปใช้ประโยชน์ ชั่วโมงที่เรียน 108-121ชื่อเรื่อง การเพิ่มคุณค่าผลผลิตและการนําไม้ดอกไม้ประดับไปใช้ประโยชน์ สอนครั้งที่29-301. หัวเรื่อง 1. การตกแต่งภายนอกอาคาร 2. การตกแต่งภายในอาคาร 3. การนําไปใช้ประโยชน์อื่น ๆ 2. สาระสําคัญ การนําพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับไปใช้ประโยชน์เป็นการจัดกลุ่มพันธุ์ไม้ดอกและไม้ประดับนําไปใช้ผสมผสานกันในหลักการทางศิลปะก่อให้เกิดความสวยงาม เกิดความน่าอยู่ร่มรื่น ตลอดจนการสร้าง บรรยากาศในการทํางาน ไม่เกิดความเครียดในการทํางาน นับได้ว่าการทําธุรกิจทางด้านนี้เป็นธุรกิจที่น่าลงทุนอีกธุรกิจหนึ่ง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ และมีความสามารถในการนําพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับไปใช้ประโยชน์ในการประดับตกแต่งภายนอกอาคาร ภายในอาคาร ตลอดจนการนําไปใช้ประโยชน์อื่น ๆ และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความรับผิดชอบ ความสนใจใฝ่รู้ความขยัน ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์4. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. จําแนกชนิดไม้ประดับที่ใช้ภายในอาคาร-ภายนอกอาคารได้2. สามารถใช้พันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับตกแต่งบริเวณภายนอกอาคารได้3. สามารถตกแต่งภายในอาคารได้4. สามารถนําไปใช้ประโยชน์อื่น ๆ ได้5. สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 2. แผ่น CD ROM การจัดวน การจัดดอกไม้การจัดสวนถาด สวนตู้กระจก 3. สื่อของจริงการจัดสวนหย่อมในวิทยาลัยฯ 6. การวัดผล/ประเมินผล 1. ทดสอบก่อนเรียนและหลังจบหน่วยเรียน 10 คะแนน 2. กิจกรรม 7.1 และ 7.2 10 คะแนน 3. กิจกรรมท้ายบท 10 คะแนน 4. ลักษณะและคุณสมบัติที่พึงประสงค์ 5 คะแนน


ประเมินผ่านเกณฑ์สําหรับผู้ที่ได้คะแนนวัดผลร้อยละ 60 ขึ้นไป 7. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...............................................................................ปัญหาที่พบ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ..........................................................แนวทางแก้ปัญหา ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ....................................................................................................ลงชื่อ.................................................. (นางณิชารีย์เผ่าพงศ์วนา) ครูผู้สอน .............../............../.............


แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่10ชื่อวิชา การผลิตไม้ดอกไม้ประดับ สัปดาห์ที่18ชื่อหน่วย การตลาดการจําหน่ายและการทําบัญชีชั่วโมงที่เรียน 120-126ชื่อเรื่อง การตลาดการจําหน่ายและการทําบัญชีสอนครั้งที่31-321. หัวเรื่อง 1. แหล่งจําหน่ายไม้ดอกไม้ประดับ 2. ลักษณะพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับที่จําเหน่ายในท้องตลาด 3. การสํารวจและการตีราคาพันธุ์ไม้4. การจําหน่าย 2. สาระสําคัญ การตลาด การจําหน่าย และการทําบัญชีเป็นขบวนการขั้นสุดท้ายของการผลิต จากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภคทั้งขายปลีกและการขายส่ง หรือตลาดของการประมูลก็ตาม อาจจะเป็นตลาดในท้องถิ่นซึ่งมีการซื้อขายไม่มากนัก หรือเป็นตลาดกลาง ตลาดเกษตรกร เป็นต้น 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจและความสามารถในเรื่องการตลาดการจําหน่าย และการทําบัญชีได้เรียนรู้แหล่งจําหน่ายไม้ดอกไม้ประดับ ลักษณะพันธุ์ไม้ที่ตลาดต้องการ การตีราคาพันธุ์ไม้การจําหน่าย การทําบัญชีและมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความขยันหมั่นเพียร ความมีวินัยความสนใจใฝ่รู้ความรับผิดชอบ 4. จุดประสงค์เชิงพฤตกรรม 1. บอกแหล่งจําหน่ายไม้ดอกไม้ประดับได้2. บอกลักษณะพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับที่จําหน่ายในท้องตลาดได้3. ประเมินราคาพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับ 4. จําหน่ายพันธุ์ไม้ประเภทต่าง ๆ ได้5. ทําบัญชีอย่างง่ายได้5. สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ 2. สถานที่จําหน่ายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับในจังหวัดเชียงใหม่3. สืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต 6. การวัดผล/การประเมินผล 1. ทดสอบก่อนเรียนและหลังจบหน่วยเรียน 10 คะแนน 2. กิจกรรมท้ายบทหน่วยเรียนที่10 10 คะแนน


3. ใบงานที่ชื่องานการทําบัญชีอย่างง่าย 10 คะแนน 4. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความขยันหมั่นเพียร ความมีวินัย ความสนใจ ใฝ่รู้ความรับผิดชอบ 5 คะแนน ประเมินผ่านเกณฑ์สําหรับผู้ที่ได้คะแนนการวัดผลร้อยละ 60 ขึ้นไป 7. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ...............................................................................ปัญหาที่พบ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ..........................................................แนวทางแก้ปัญหา ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ....................................................................................................ลงชื่อ.................................................. (นางณิชารีย์เผ่าพงศ์วนา) ครูผู้สอน .............../............../.............


Click to View FlipBook Version