The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การคัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น สู่ต้นแบบการพัฒนาชุมชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

จุลสารส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้(เชิดชูเกียรติ)

การคัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น สู่ต้นแบบการพัฒนาชุมชน

จุลสารส่งเสริมการเรยี นรขู้ องชุมชน ปีท่ี 14 ฉบบั ที่ 6 ประจ�ำปี 2563

กิจกรรมพฒั นาชุมชนดเี ดน่

ประจ�ำปี ๒๕๖๓

ห2นา้ CDD Trend Check In ชุมชน 6หน-7า้

องคก์ รชมุ ชนแกนหลักสำ� คญั ในการพฒั นาชุมชน การพฒั นาหมูบ่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียง “อย่เู ย็น เปน็ สขุ ” ด้วยใจ

ห3น้า รอบรัว้ พช. เตมิ พลงั ชมุ ชน ห7น้า

การคดั สรรกจิ กรรมพัฒนาชุมชนดเี ดน่ ในพ้ืนท่ี 4 ภาค “ทีมดี งานส�ำเร็จ” รวมพลังขับเคล่อื นชมุ ชน

4หน-5า้ พัฒนา คือสรา้ งสรรค์ เคลด็ ลบั สู่ความสุข ห8น้า

การคดั สรรกจิ กรรมพัฒนาชมุ ชนดเี ดน่ 5 วธิ ี ทำ� งานใหป้ ระสบความสำ� เรจ็ ในสายงานของตวั เอง
สตู่ ้นแบบการท�ำงานเพ่ือชมุ ชน

CDD Trend

องค์กรชุมชนแกนหลักสำ�คัญในการพัฒนาชุมชน

หลักการพัฒนาชุมชนด้วยคุณธรรม ธรรมาภิบาล
ความสำ�เร็จที่จับต้องได้ของกลุ่มหัตถกรรมล้านนาสันปูเลย

สานตัวแบบกระเป‰า ประกอบหกู ระเป‰า ตกแตง‹ ปอมปอม/พร‹ู ะบาย

2 4 6

นับเป็นหนึ่งตัวอย่างความส�ำเร็จขององค์กร 1 3 5 7
ชุมชน กลุ่มหัตถกรรมล้านนาสันปูเลย ต�ำบลสันป่าม่วง
อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ท่ีสามารถผลักดัน จักตอก/สานเสนŒ เป‚ย ยŒอมสี/รมควันสีธรรมชาติ เย็บผาŒ บุช้ันใน จําหนา‹ ย (ตลาดทั่วไป/ออนไลน)
รวมพลังความร่วมมือของคนในชุมชน จนสามารถสร้าง
ผลติ ภณั ฑ์ของชุมชนท่ีรังสรรค์จากวิถชี วี ิตของชาวพะเยา กระเป๋าข้อง 1 ใบ คนื รายไดส้ ูช่ ุมชน
ที่อยู่ใกล้กับกว๊านพะเยา ทั้งวิถีประมง และเดิมที
เปน็ ชมุ ชนรบั จา้ งสานผกั ตบชวาแบบขายสง่ อยแู่ ลว้ นำ� มา 1. คนสานกระเปา๋ ขอ้ ง 5. คนถักไหมพรม
ผสมผสานกบั หลกั การพฒั นาชมุ ชนในดา้ นการบรหิ ารกลมุ่ กระเปา๋ ข้อง 1 ใบ กระเป๋าขอ้ ง 1 ใบ
ด้วยหลักคุณธรรรม หลักธรรมาภิบาล ตามภารกิจหลัก คนื รายได้ 60 บาท คนื รายได้ 25 บาท
ท่ีเป็นหัวใจส�ำคัญในงานพัฒนาชุมชน มีผลงานโดดเด่น
ในการพฒั นาผลติ ภณั ฑก์ ระเปา๋ “ขอ้ งมงคล”ซง่ึ เปน็ กระเปา๋ 2. คนเปยี ผกั ตบชวา 6. ชา่ งทาสี
ท่ีผลิตจากไม้ไผ่ผสมผักตบชวา การย้อมสีผลิตภัณฑ์ กระเปา๋ ข้อง 1 ใบ กระเปา๋ ขอ้ ง 1 ใบ
จากวัสดุธรรมชาติ ตกแต่งด้วยผ้าทอพ้ืนเมือง ซ่ึงเป็น คืนรายได้ 10 บาท คนื รายได้ 15 บาท
เอกลักษณ์ของท้องถ่ิน จนได้รับรางวัลชนะเลิศ
จากการคัดเลอื กผลิตภัณฑ์ OTOP ตามโครงการส่งเสริม 3. ช่างเย็บผ้าบุผ้า 7. ชา่ งตอกอลมู เิ นียม
การเรียนรู้ KBO (Knowledge-Based OTOP) กระเป๋าขอ้ ง 1 ใบ กระเป๋าขอ้ ง 1 ใบ
ประจ�ำปี 2563 เป็นผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่นเรื่องนวัตกรรม คนื รายได้ 15 บาท คนื รายได้ 10 บาท
อยา่ งสรา้ งสรรค์
4. คนทำ�ปอมปอม 8. ฝ่ายเชียร์ขาย ณ ชมุ ชน
ด้วยการใช้หลักการท�ำงานด้วยการวิเคราะห์ กระเป๋าขอ้ ง 1 ใบ กระเปา๋ ขอ้ ง 1 ใบ
ศักยภาพของภูมิปัญญาชุมชน ในการค้นหาปราชญ์ คืนรายได้ 24 บาท คนื รายได้ 50 % ของกำ�ไร
ผู้มีความรู้ ความช�ำนาญด้านการจักสานในชุมชน ส่งผล
ให้ผลิตภัณฑ์มีอัตลักษณ์สวยงาม ผสานกบั การออกแบบ การปรับเปล่ียนพฤติกรรมการตลาดออนไลน์เพิ่มขึ้น ในการพัฒนาหมบู่ า้ นดีเด่นระดับจงั หวดั ประจ�ำปี 2563
เพอ่ื พฒั นารูปแบบให้เข้ากับยุคสมัย สร้างเป็นผลิตภัณฑ์ ซึ่งกลุ่มหัตถกรรมล้านนาสันปูเลย ก็ใช้โอกาสน้ี โลร่ างวลั สงิ หท์ อง แตก่ ารพฒั นาทไ่ี มห่ ยดุ ยง้ั คอื การตระหนกั
ทมี่ คี ณุ ภาพและเหมาะสมกบั การใชง้ านไดใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั ในการปรับเปล่ียนวิธีการโดยใช้กลยุทธ์เพ่ือการผลิต ในการผลิตสินค้าท่ีมีมาตรฐาน เป็นที่ต้องการของตลาด
การสร้างงานเหล่านี้เป็นเป้าหมายในการพัฒนากลุ่ม และการจ�ำหน่าย กลุ่มใช้การบูรณาการความรู้กับภาคี สรา้ งมลู คา่ ใหผ้ ลติ ภณั ฑ์ เพอื่ ใหส้ นิ คา้ เหลา่ นนั้ สรา้ งความ
ในชุมชน สรา้ งรายได้ ผลท่ไี ดร้ ับเกนิ ความคาดหมาย คือ การพัฒนาในด้านแหล่งจ�ำหน่ายผลผลิต เช่น จัดแสดง ประทับใจกับลูกค้า สิ่งเหล่านี้คือ การพัฒนาไปอีกขั้น
การสร้างให้คนในชุมชนเรียนรู้ในการท�ำงานร่วมกัน สินค้าในงานต่าง ๆ รวมถึง ได้เพ่ิมช่องทางการตลาด ในมมุ มองของการทำ� ธรุ กจิ ทปี่ ระสบความเรจ็ ดว้ ยความยง่ั ยนื
สรา้ งความเอื้ออาทร ความรกั และสามคั คี สรา้ งจิตสำ� นกึ แบบออนไลน์ เชน่ Facebook กลมุ่ ไลน์ ทำ� ใหเ้ กดิ ชอ่ งทาง
รักบ้านเกิดกับคนในชุมชน ช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชน ในการจำ� หนา่ ยและกระจายสนิ คา้ เพมิ่ ขนึ้ สนบั สนนุ การใช้
โดยเฉพาะผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส ซ่ึงเป็นการปันผล ชวี ิตแบบ New Normal
ก�ำไรคืนสู่ชุมชน และสร้างงาน สร้างอาชีพให้คน
ในชมุ ชน“กระเป๋า 1 ใบ สรา้ งรายไดใ้ ห้กบั คนในชมุ ชน ความตั้งใจ ต้ังม่ันท่ีจะท�ำให้ผลิตภัณฑ์ชุมชน
มากกว่า 7 คน” เป็นสโลแกนที่ท�ำให้ทุกคนในชุมชน สร้างรายได้ให้คนในชุมชน และจากภูมิปัญญาด้าน
ภาคภมู ิใจ การจกั สาน ทำ� ใหเ้ กดิ ผลติ ภณั ฑห์ ลากหลายรปู แบบในราคา
ที่จับต้องได้ และส่ิงส�ำคัญคือ สามารถสร้างรายได้
จากสถานการณโ์ รคระบาด COVID-19 กำ� หนดใช้ ให้สมาชิก 1 คน ไมต่ ่�ำกว่า 3,000 - 20,000 บาทต่อเดอื น
Social Distancing ทำ� ใหร้ า้ นคา้ ปดิ ตลาดปดิ ก่อให้เกิด
แมว้ า่ กลมุ่ หตั ถกรรมลา้ นนาสนั ปเู ลย จะประสบ
EDITOR’S ความสำ� เรจ็ ดว้ ยการไดร้ บั รางวลั กลมุ่ องคก์ รแกนหลกั สำ� คญั

TALKบก.ขอคุย “เชดิ ชเู กยี รตผิ ู้เสยี สละแรงกาย และแรงใจ เพ่ือชมุ ชน”
จากการทำ� กิจกรรมเพือ่ พฒั นาชุมชน ของผทู้ ่ีเสียสละท�ำงานเพื่อชุมชน โดยไม่หวงั อะไรตอบแทน ของผูแ้ ทน
กลุ่มเป้าหมาย เช่น ผู้น�ำชุมชน กลุ่ม องค์กรชุมชน เครือข่าย หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง มาสู่ความภาคภูมิใจ
ของหลาย ๆ ทา่ น ที่อดทน บากบั่น สละแรงกาย แรงใจ พฒั นาท้องถน่ิ ตนเอง จนได้รบั การเสนอช่ือคดั เลอื กและผา่ น
การคัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่นประจ�ำปี 2563 และได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติประจ�ำปี ส่ิงที่ท่านได้รับจะเป็น
กำ� ลงั ใจในการท�ำงาน ความภาคภูมใิ จของครอบครวั และเปน็ ความภูมใิ จของกรมการพัฒนาชุมชนเช่นกนั

2  | จุลสารส่งเสรมิ การเรยี นรขู้ องชมุ ชน

คใ ต ภาคเ รอบรั้ว พช. อกเฉยี งเหนอื

การคดั สรรกิจกรรมพัฒนาชมุ ชนดีเด่น

ในพ้นื ท่ี 4 ภาค

หนอื ภาคตะวนั อ

กิจกรรม
พฒั นาชุมชน

ดีเดน
ลาง ภา ภาค

เศรษฐกจิ ฐานรากมนั่ คงและชุมชนพึ่งตนเองได้ ภายในปี 2565 Change for Good

ปีท่ี 14 ฉบับที่ 6 ประจำ� ปี 2563 | 3

พฒั นาคอื สร้างสรรค์

สำ� นกั เสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ชมุ ชน กรมการพัฒนาชมุ ชน

การคัดสรรกิจกรรมพฒั นาชุมชนดีเดน่

สูต่ น้ แบบการท�ำงานเพื่อชมุ ชน

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ไดจ้ ดั ใหม้ ีการคดั สรรกิจกรรมพฒั นาชมุ ชนดเี ด่น
ระดบั จงั หวดั เปน็ ประจำ� ทกุ ปี โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ สรา้ งขวญั กำ� ลงั ใจและเชดิ ชเู กยี รตผิ นู้ ำ� ชมุ ชนดเี ดน่
ทอี่ ทุ ศิ ตนทำ� งานเพอ่ื ชมุ ชน มผี ลการดำ� เนนิ งานโดดเดน่ เปน็ ทปี่ ระจกั ษแ์ กส่ าธารณชน ซง่ึ ผนู้ ำ� ทไ่ี ดผ้ า่ น
การคดั สรรฯ จะไดร้ บั โลร่ างวลั เชดิ ชเู กยี รติ รวมทงั้ เขา้ เฝา้ ทลู ละอองพระบาท สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้
กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มผี ลใหผ้ นู้ �ำชมุ ชนทุกคน มคี วามภาคภูมิใจ
อย่างสูงสุดในพระมหากรุณาธิคณุ และเทดิ ทนู สถาบันพระมหากษัตริย์

การคดั สรรกจิ กรรมพฒั นาชมุ ชนดเี ดน่ ของกรมการพฒั นาชมุ ชน นอกจากจะไดผ้ นู้ ำ� ตน้ แบบ
การทำ� งานเพอื่ ชมุ ชนแลว้ ยงั มอี งคค์ วามรใู้ นงานพฒั นาชมุ ชนทมี่ คี วามโดดเดน่ และประสบความสำ� เรจ็
รวบรวมไวเ้ พอ่ื นำ� ไปประชาสมั พนั ธเ์ ผยแพรแ่ ละขยายผลการสรา้ งความเขม้ แขง็ ใหช้ มุ ชนอนื่ ๆ ตอ่ ไป

การคดั สรรกิจกรรมพัฒนาชมุ ชนดเี ดน่ แบ่งออกเปน็ 5 ประเภท ดงั น้ี

B หมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง “อยเู่ ย็น เป็นสุข” ดีเดน่ ระดบั จงั หวดั จ�ำนวน 76 รางวัล
C ผู้น�ำอาสาพฒั นาชุมชน (ผู้น�ำ อช.) ดีเดน่ ระดับจงั หวัด (ชายและหญงิ ) จำ� นวน 152 รางวัล
D องค์กรชมุ ชนแกนหลักส�ำคญั ในการพฒั นาหม่บู ้าน ดีเด่นระดับจังหวัด จำ� นวน 76 รางวัล
E ศูนยป์ ระสานงานองคก์ ารชุมชนระดบั ตำ� บล (ศอช.ต.) ดีเด่นระดบั จังหวดั จำ� นวน 76 รางวัล
F ครวั เรอื นสมั มาชพี ชุมชนตวั อยา่ งระดบั ภาค (4 ภาค ๆ ละ 3 รางวลั ) จ�ำนวน 12 รางวลั

หลักเกณฑใ์ นการคัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดเี ดน่ ประจำ� ปี 2563

1. ประเภทหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง “อยู่เย็น เปน็ สขุ ” ดีเด่นระดบั จังหวดั ใหพ้ จิ ารณาคัดเลือกจาก

1.1 หมบู่ า้ นทไ่ี ดร้ บั งบประมาณสนบั สนนุ จากกรมการพฒั นาชมุ ชนและจงั หวดั ไดป้ ระกาศเปน็ หมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี งตน้ แบบ ทกี่ รมการพฒั นาชมุ ชนสนบั สนนุ เปน็ อนั ดบั แรก
(กอ่ นปี 2563) หรอื หมบู่ า้ นทหี่ นว่ ยงานอน่ื ๆ สนบั สนนุ การพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยตอ้ งผา่ นการประเมนิ ตวั ชวี้ ดั หมบู่ า้ นเศรษฐกจิ
พอเพียงต้นแบบ ของกรมการพัฒนาชมุ ชน
1.2 มีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ประชาชนในหมู่บ้านมีวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงท่ีเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะการขับเคล่ือนตามแนวทางกิจกรรม 3 สร้าง ได้แก่ สร้างความมั่นคง
ทางอาหาร สร้างสงิ่ แวดลอ้ มให้ยงั่ ยนื และสร้างภูมิคมุ้ กนั ทางสงั คม
1.3 มีกจิ กรรมที่สง่ เสรมิ การสร้างสมั มาชีพชุมชนท่เี ปน็ รูปธรรมและสามารถต่อยอดได้
1.4 เปน็ หมบู่ า้ นท่ีสามารถเปน็ ตน้ แบบในการบรหิ ารจัดการชุมชน เพื่อพงึ่ ตนเองได้ โดยใช้กระบวนการมีสว่ นร่วม
1.5 หมบู่ า้ นท่ีเคยได้รบั รางวัลดีเด่นแล้ว ใหร้ ักษาสถานะดีเด่นไว้เป็นเวลา 5 ปี จึงจะมสี ิทธิเขา้ รับการคัดเลอื กในระดบั จังหวัดได้อกี
1.6 เป็นหม่บู า้ นท่ีผ่านการรับรองตามระบบมาตรฐานการพัฒนาชมุ ชน (มชช.) แลว้
1.7 จังหวดั สามารถกำ� หนดหลักเกณฑ์การคัดสรรเพม่ิ เตมิ ไดต้ ามความเหมาะสม โดยพจิ ารณาให้สอดคล้องกับแนวทางการคัดเลือกหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียงต้นแบบ

4  | จุลสารส่งเสรมิ การเรยี นรขู้ องชมุ ชน

2. ประเภทผนู้ �ำอาสาพัฒนาชมุ ชน 4. ประเภทศนู ยป์ ระสานงานองคก์ าร
(ผู้นำ� อช.) ให้พิจารณาคดั เลอื กจาก ชุมชนระดบั ตำ� บล (ศอช.ต.)
ใหพ้ จิ ารณาคัดเลือกจาก
2.1 เป็นผู้น�ำอาสาพัฒนาชุมชน (ผู้น�ำ อช.) ท่ีเป็น
แกนน�ำในการพัฒนาหมู่บ้าน ต�ำบล ด�ำเนินการ 4.1 เป็นศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับต�ำบล
พฒั นารว่ มกบั ชาวบา้ น และสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ าน (ศอช.ต.) ที่ประสานบูรณาการแผนชุมชนไปสู่
ของเจา้ หนา้ ทพี่ ฒั นาชมุ ชน เพอ่ื ใหก้ ารพฒั นาหมบู่ า้ น การปฏิบัติตามภารกิจศูนย์ประสานงานองค์การ
ต�ำบล บรรลุเป้าหมายอยา่ งมีประสิทธิภาพ ชมุ ชน (ศอช.) และเปน็ แหล่งศกึ ษาดูงานได้
2.2 มีบทบาทตามภารกิจหลักของผู้น�ำอาสาพัฒนา 4.2 ผา่ นเกณฑช์ ว้ี ดั และเกณฑก์ ารพจิ ารณาประกอบการ
ชมุ ชน (ผนู้ ำ� อช.) ตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทย จดั ระดบั การพฒั นาศนู ยป์ ระสานงานองคก์ ารชมุ ชน
ว่าดว้ ยการอาสาพฒั นาชุมชน ปี 2547 (ขอ้ 16) ระดับต�ำบล (ศอช.ต.) 5 หมวด 23 ตัวช้ีวัด
2.3 มีส่วนร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชน ไดค้ ะแนนรวมอยใู่ นระดับ 3 (เข้มแขง็ )
ท้องถ่ินตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.3 มีส่วนร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชน
ของกรมการพฒั นาชมุ ชน ตามหลกั กจิ กรรม 3 สรา้ ง ท้องถ่ินตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2.4 ผู้น�ำอาสาพัฒนาชุมชน (ผู้น�ำ อช.) ที่เคยได้รับ ของกรมการพฒั นาชมุ ชนตามหลกั กจิ กรรม 3 สรา้ ง
รางวลั ดีเดน่ แล้ว ใหร้ กั ษาสถานะดเี ดน่ ไว้เปน็ เวลา 4.4 ศนู ยป์ ระสานงานองคก์ ารชมุ ชนระดบั ตำ� บล (ศอช.ต.)
5 ปี จึงจะมสี ิทธเิ ขา้ รับการคดั เลอื กในระดับจังหวัดไดอ้ กี ทเี่ คยไดร้ บั รางวลั ดเี ดน่ แลว้ ใหค้ งรกั ษาสถานะดเี ดน่ ไวเ้ ปน็
2.5 เปน็ ผนู้ �ำอาสาพัฒนาชมุ ชน (ผูน้ �ำ อช.) ทีผ่ า่ นการรบั รองตามระบบมาตรฐาน เวลา 5 ปี จึงจะมสี ิทธิเข้ารบั การคดั เลอื กในระดับจงั หวัดได้อกี
การพัฒนาชุมชน (มชช.) แลว้ 4.5 เปน็ ศูนย์ประสานงานองคก์ ารชมุ ชนระดบั ตำ� บล (ศอช.ต.) ทผ่ี า่ นการรับรอง
2.6 จงั หวดั สามารถกำ� หนดหลกั เกณฑก์ ารคดั สรรเพมิ่ เตมิ ไดต้ ามความเหมาะสม ตามระบบมาตรฐานการพัฒนาชมุ ชน (มชช.) แล้ว

3. ประเภทองคก์ รชมุ ชนแกนหลักสำ� คญั 5. ประเภทครวั เรอื นสมั มาชพี ชมุ ชนตัวอยา่ งระดบั ภาค
ในการพฒั นาหมบู่ า้ น ให้พจิ ารณาคัดเลอื กจาก ให้พิจารณาคดั เลอื กจาก

3.1 กล่มุ /องค์กรท่ีกรมการพัฒนาชมุ ชนเปน็ หนว่ ยงานหลักในการสนบั สนนุ 5.1 จังหวัดจัดต้ังคณะท�ำงานคัดเลือก โดยคณะกรรมการพัฒนาสตรีจังหวัด
(กพสจ.) มบี ทบาทในการคดั เลอื ก
3.2 มีส่วนร่วมขับเคล่ือนการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชนท้องถิ่นตามหลักปรัชญา 5.2 เป็นครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของเศรษฐกจิ พอเพียงของกรมการพฒั นาชุมชนตามหลักกิจกรรม 3 สรา้ ง ในหมบู่ า้ นเปา้ หมายสมั มาชพี ชมุ ชนทยี่ งั ไมเ่ คยไดร้ บั รางวลั ครวั เรอื นสมั มาชพี
3.3 กลุ่ม/องค์กรท่ีเคยได้รับรางวัลดีเด่นแล้ว ให้รักษาสถานะดีเด่นไว้เป็นเวลา ชมุ ชนตัวอยา่ งระดบั ภาค
5 ปี จึงจะมีสิทธิเข้ารับการคดั เลือกในระดบั จังหวดั ไดอ้ ีก 5.3 มีส่วนร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชนท้องถ่ินตามหลักปรัชญา
3.4 เป็นกลุ่ม/องค์กรท่ีผ่านการรับรองตามระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ของเศรษฐกจิ พอเพียงของกรมการพฒั นาชุมชน ตามหลักกจิ กรรม 3 สรา้ ง
(มชช.) แล้ว 5.4 หัวหน้าหรือสมาชิกของครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ต้องผ่านการรับรอง
ตามระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน (มชช.) แล้ว

ปที ี่ 14 ฉบบั ที่ 6 ประจำ� ปี 2563 | 5

Check In ชุมชน

การพัฒนาหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง

“อยเู่ ยน็ เปน็ สุข” ดว้ ยใจ

“หนองกระโดนมน” หมู่บ้าน “อยู่เย็น เป็นสุข” ดีเด่น ต้นแบบการน้อมนำ�หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ยืนหนึ่งเร่ืองการเป็นหมู่บ้านท่ีมีศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์
วิถีชุมชนบ้านหนองกระโดนมน ต�ำบลหนองโพธ์ิ
อำ� เภอหนองหญา้ ไซ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี ไดร้ ับการยอมรับ และเป็นจดุ เช็คอนิ ท่ีส�ำคัญ
จดุ หน่ึงในจังหวดั สุพรรณบรุ ี ที่ใครท่ผี ่านมาตอ้ งแวะมาทักทาย
บ้านหนองกระโดนมน ได้จัดต้ังศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์วิถีชุมชน เม่ือปี
พ.ศ.2550 โดยมีผู้เข้ามาศึกษาดูงานและฝึกอบรมอย่างต่อเน่ืองมาจนถึงปัจจุบัน
ในรอบปที ผี่ า่ นมามผี เู้ ขา้ มาเรยี นรหู้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ฝกึ อบรมใหก้ บั
บุคคลภายนอก คณะศึกษาดูงานจ�ำนวนมาก ส่งผลให้ชาวบ้านหนองกระโดนมน
และเครือข่ายนอกต�ำบลได้น�ำผลิตภัณฑ์มาจ�ำหน่าย ส่งเสริมอาชีพให้คนในหมู่บ้าน
มรี ายไดเ้ พิ่มข้ึน เกดิ ตลาดในชุมชน เกดิ การเรียนรแู้ ละพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ ท�ำให้ชมุ ชน
มรี ายได้ มอี าชพี และมคี วามสขุ

6  | จุลสารส่งเสรมิ การเรยี นรขู้ องชมุ ชน กลไกหนึ่งท่ีบ้านหนองกระโดนมนได้น�ำมาเป็นแนวทางบริหารจัดการตามแนว
พระราชด�ำริในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร คือ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงเป็นแนวคิดท่ีตั้งอยู่บนรากฐาน
ของวฒั นธรรมไทย เปน็ แนวทางการพฒั นาทต่ี งั้ บนพน้ื ฐานของทางสายกลาง และความไมป่ ระมาท
ค�ำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู้
และคุณธรรมเป็นพ้ืนฐานในการดำ� รงชีวิต ที่ส�ำคัญจะต้องมี “สติ ปัญญา และความเพียร”
ซง่ึ จะน�ำไปสู่ “ความสขุ ” ในการด�ำเนนิ ชีวติ อย่างแทจ้ รงิ

อีกแนวคิดที่บ้านหนองกระโดนมนน�ำมาใช้ในพื้นท่ีคือ แนวทางบริหารจัดการท่ีดิน
ทเ่ี รยี กวา่ “โคก หนอง นา โมเดล” อนั เปน็ แนวทางทจี่ ะชว่ ยทำ� ใหม้ นษุ ยส์ ามารถดำ� รงชวี ติ อยไู่ ด้
อย่างมัน่ คง มง่ั คัง่ และยง่ั ยนื โดยการใชป้ ระโยชนจ์ ากพ้นื ท่ีไดอ้ ย่างเตม็ ประสทิ ธิภาพ ด้วยการ
สรา้ งความมน่ั คงทางอาหาร เชน่ สง่ เสรมิ การผลติ และแปรรปู ปลาสม้ จดื สรา้ งอาหารปลอดภยั
จากสารเคมี ยาฆ่าแมลง ด้วยการท�ำนาข้าวแบบอินทรีย์ เป็นตัวอย่างการเรียนรู้ท่ีประสบ
ความส�ำเร็จสามารถท�ำได้จริง รวมท้ังการบริหารจัดการน้�ำเพ่ือการเกษตร เพ่ือให้เพียงพอ
ตอ่ ความต้องการในการท�ำการเกษตรอยา่ งย่งั ยนื

ศูนย์การเรียนรู้เกษตรอินทรีย์วิถีชุมชน เปิดโอกาสให้ผู้ที่สนใจ ท้ังเกษตรกร
นอกพ้ืนที่ หน่วยงานทั้งราชการและเอกชนท่ีสนใจเรียนรู้ จากความส�ำเร็จของหมู่บ้าน
หนองกระโดนมน เพื่อไปประยุกต์ใช้ในพื้นท่ีของตนเอง ถ่ายทอดประสบการณ์เป็นชุมชน
ทอ่ งเทยี่ ว OTOP นวัตวิถี

ถือเป็นอีกหน่ึงตัวอย่างที่ใช้แนวทางปรัชญาความพอเพียง ใช้ภูมิปัญญา
ทุนทางสังคม และทรัพยากรในท้องถิ่น แก้ปัญหาทุกขภาวะท่ีเกิดข้ึน โดยใช้กระบวนการ
มีส่วนร่วมของทุกคนในหมู่บ้าน ท�ำให้บ้านหนองกระโดนมนในวันนี้ เป็นศูนย์การเรียนรู้
วิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือสังคมอย่างยั่งยืน จนได้รับรางวัลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
“อยเู่ ยน็ เปน็ สขุ ” ดีเดน่ ระดับจังหวัด ประจ�ำปี 2563

Check In ชุมชน

บา้ นพอุ งกะ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข”

บา้ นพอุ งกะ หมูท่ ี่ 4 ต�ำบลท่าเสา อ�ำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี คำ� ว่า “พอุ งกะ” ถา้ ฟงั อาจคิดวา่ เปน็
หมู่บ้านของญ่ีปุ่น จริง ๆ แล้วค�ำว่า “พุ” หมายถึงตาน้�ำที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ซ่ึงเร่ิมแรกมีชาวกะเหรี่ยงอพยพ
มาตง้ั ถน่ิ ฐาน มหี วั หนา้ กลมุ่ ชอื่ วา่ นายองกะ ซงึ่ ตอ่ มา นายองกะไดค้ น้ พบตานำ้� ของหมบู่ า้ นเปน็ คนแรก ชาวบา้ นจงึ ตง้ั ชอื่

ตาน้�ำน้ันว่า “พุองกะ” ซึ่งต่อมากลายเป็นชื่อหมู่บ้าน
อาชพี สว่ นใหญท่ ำ� การเกษตร (ปลกู พชื ผกั สวนครวั ตา่ ง ๆ
เชน่ กะหลำ�่ ปลี ผลไม้ เช่น กลว้ ย ชะอม นอ้ ยหน่า)​

บ้านน้ีเป็นหมู่บ้านท่ีมีพื้นฐานของคนต่างถิ่น
ย้ายเข้ามาอาศัยอย่างต่อเนื่อง ท้ังชาวญวน อยุธยา มอญ
พม่า และคนไทยภาคอื่น ๆ มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์
โดยชาวบ้านท่ีอาศัยอยู่มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และอยู่แบบ
พอเพียง โดยน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ
จนเปน็ วถิ ชี วี ติ แบบพอเพยี ง ชว่ งทผ่ี ลผลติ ดจี ะสามารถทำ� รายได้
ราคาดี แต่ถ้าช่วงผลผลิตตกต่�ำรายได้ลดลง ท�ำให้ยากจน
ขาดทุนทรพั ย์ในการท�ำกจิ กรรมและดแู ลครอบครวั

จากการทหี่ มบู่ า้ นมตี น้ ทนุ ในเรอื่ งนำ้� ดนิ และธรรมชาติ
ท�ำให้คณะกรรมการหมู่บ้านและสมาชิกชุมชนร่วมแรงร่วมใจ
ในการพัฒนาตนเอง ให้สามารถบรหิ ารจดั การชมุ ชนตนเองได้
โดยมีภาคีพัฒนา เช่น ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนอ�ำเภอ ภาคี
เครอื ขา่ ยตา่ ง ๆ สนบั สนนุ ขอ้ มลู วชิ าการ และการพฒั นาการศกึ ษา
การบริหารจัดการ และใช้หลัก “บวร” (บ้าน วัด โรงเรียน)
ร่วมกับเอกชน สนับสนุนและส่งเสริมการขับเคลื่อนกิจกรรม
ต่าง ๆ โดยเน้นการพ่งึ ตนเอง สร้างความมน่ั คงให้ชมุ ชน

ทำ� ใหบ้ า้ นพอุ งกะสามารถขบั เคลอื่ นและบรหิ ารจดั การ
จนได้รับรางวัลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข”
ดเี ด่นระดบั จงั หวดั ประจำ� ปี 2563

เตมิ พลงั ชมุ ชน

“ทมี ดี งานสำ�เรจ็ ” รวมพลงั ขบั เคลื่อนชุมชน

ในพ้ืนท่ีอ�ำเภอเมืองปทุมธานี ผู้น�ำ อช. และ อช. ต่างก็มีบทบาทส�ำคัญ
ในงานพฒั นาชมุ ชน พฒั นาการอำ� เภอเมอื งปทมุ ธานี จงั หวดั ปทมุ ธานี นางรตั นาวดี ครยุ ทอง
ไดพ้ ดู ถึงความส�ำคญั ของผนู้ �ำ อช. และ อช. อย่างน่าสนใจ ดังนี้
นายศุภกร แนนไธสงค์ พัฒนาการอ�ำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ได้กล่าว ด้วย 10 ภารกิจท่ีต้องใช้ใจท�ำงาน “การท�ำงานให้ประสบความส�ำเร็จ จะใช้
ชน่ื ชมศกั ยภาพของผนู้ ำ� ชมุ ชนของบา้ นพอุ งกะวา่ ชมุ ชนนมี้ จี ดุ เดน่ หลากหลาย ดว้ ยตน้ ทนุ หลักการไปไหนไปกนั เหมอื นเพอื่ นค่หู ู การหาเพ่อื นเพือ่ ลงพน้ื ที่ ประโยชนค์ อื การทีเ่ ขา
ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มทสี่ วยงาม ทรพั ยากรมนษุ ยม์ หี ลายกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ เปน็ คนในพน้ื ท่ี เขาจะรรู้ ายละเอยี ดมากกวา่ เรา รจู้ กั พนื้ ที่ รจู้ กั ปญั หา รจู้ กั คนทกุ ครวั เรอื น
ได้แก่ ชาวมอญ ชาวเขมร ชาวสว่ ย ชาวญวณ ชาวลาวโซง่ มีธนาคารน�ำ้ และทสี่ �ำคญั คือ โดยการท�ำงานในพ้ืนที่จะให้ความส�ำคัญกับการวางแผน พอถึงวันก�ำหนดก็ติดตามว่า
มผี นู้ ำ� ชมุ ชนทเ่ี ขม้ แขง็ คอื ตวั ผใู้ หญบ่ า้ นพอุ งกะ ทสี่ ามารถพฒั นาทนุ เหลา่ นใี้ หแ้ ขง็ แรงและ แผนการท�ำงานท่ีวางไว้ทั้งหมดได้ด�ำเนินการอย่างไร ถ้าไม่ได้ก็มาคุยกันว่ามีปัญหา
ประสบความสำ� เร็จได้ด้วยวธิ กี ารประสานความร่วมมอื จากผนู้ �ำ อช. รวมถงึ “บวร” คอื หรอื อปุ สรรคอยา่ งไร ทำ� ไมถงึ ไดท้ ำ� แลว้ ผลทเี่ กดิ เปน็ อยา่ งไร”
บา้ น วดั โรงเรียน และที่พเิ ศษส�ำหรบั ในพน้ื ท่นี ้คี ือโรงแรมเอกชนทเ่ี ขา้ ร่วมชว่ ยกันพฒั นา สง่ิ ทสี่ ำ� คญั ทสี่ ดุ คอื การประสาน ประสานแลว้ ตอ้ งตดิ ตาม ผนู้ ำ� อช. กเ็ ปน็ สอื่ กลาง
ศักยภาพคนในชุมชน และสถานท่ีท่องเท่ียวในหมู่บ้านจนสามารถพัฒนาเป็นชุมชน ให้เราตลอด และสิง่ ทีข่ าดไม่ไดค้ ือ การเสียสละ ชว่ ยเหลอื คนในชมุ ชน ตอ้ งมใี จเปน็ กุศล
ท่องเท่ียว OTOP นวัตวิถี อีกท้ังยังมีมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี และมหาวิทยาลัย จิตสาธารณะ เหน็ แก่ส่วนรวม สิ่งที่เราท�ำมาตลอดคือ ตอ้ งช่วยกนั
มหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี เป็นเครือข่ายภาคีเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาและผลักดัน “การท�ำงานในพ้นื ที่ เปน็ งานท่ีสนุก ถา้ เราไดผ้ นู้ �ำ อช. คูห่ ทู ่ีดี เราจะทำ� ส�ำเรจ็
ผลิตภัณฑ์ในชุมชนให้ทันสมัย เพ่ิมช่องทางการตลาดออนไลน์ เทคนิคการท�ำงานของ ได้ทุกงาน” เป็นค�ำกล่าวท้ิงท้าย ท่ีท�ำให้พวกเราได้มองเห็นการท�ำงานของผู้น�ำ อช.
ผู้น�ำชุมชนท่นี ี้ คือ การลงพน้ื ท่เี อง ได้เห็นอุปสรรคและโอกาส จนท�ำใหห้ ม่บู ้านพุองกะ และ อช. ได้อย่างถ่องแท้มากย่ิงข้ึน และยังน�ำความหวังให้ทุกภาคส่วนเป็นแรงใจ
ได้รบั การคดั สรรให้เป็นหมูบ่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียง “อยเู่ ยน็ เป็นสขุ ” ดเี ดน่ ระดับจังหวดั ในการผลักดันการท�ำงานของพัฒนากรในพื้นที่ต่าง ๆ ท�ำงานให้ประสบความส�ำเร็จ
ประจำ� ปี 2563 ไดเ้ ช่นเดียวกัน
ปีท่ี 14 ฉบับที่ 6 ประจำ� ปี 2563 | 7

เคลด็ ลับสคู่ วามสขุ QTUIPICSK

5 วิธี ทำ�งานใหป้ ระสบความสำ�เรจ็

ในสายงานของตวั เอง

ส�ำหรับใครที่ได้ท�ำงานใน สิง่ ที่ชอบหรือรัก นัน่ ถือเป็นความโชคดีอยา่ งหน่ึง แต่ยังมีคนจ�ำนวนมากทีต่ ้องท�ำในสิง่ ที่ตัวเองไมช่ อบ
หรอื ไมต่ รงกบั ความตอ้ งการ ทัง้ นี้ ไมว่ า่ คุณจะเป็นเจ้าของธุรกิจผูป้ ระกอบการขนาดเลก็ ลูกจ้าง คณุ ก็ยังตอ้ งการความกา้ วหนา้ และประสบ
ความสำ� เรจ็ ในสายงานทตี่ วั เองท�ำ ในฉบบั นี้ เรามี 5 ขนั้ ตอนงา่ ย ๆ ทีจ่ ะเปลยี่ นวิธกี ารท�ำงานของคณุ มาฝากกนั คะ่

1 อย่าปลอ่ ยให้การปฏเิ สธท�ำลายเป้าหมายของคุณ
ทกุ คนยอ่ มมคี วามสามารถพเิ ศษซอ่ นอยู่ การเปดิ รบั สงิ่ ใหม่ ๆ เขา้ มาจะชว่ ยใหค้ ณุ ไดร้ จู้ กั ตวั เองมากขนึ้ อยา่ เพง่ิ ดว่ นปฏเิ สธโอกาสนนั้ ๆ
เพราะชีวิตต้องเจอกับความผิดหวังอยู่เป็นระยะ แม้จะล้มเหลวหรือผิดหวัง สุดท้ายคุณก็ได้เรียนรู้จากมัน แต่อย่าปล่อยให้ความล้มเหลวนั้น
มารบกวนจิตใจและเป้าหมายของตวั เอง

2 ไม่อจิ ฉาผอู้ ืน่
คุณอาจเป็นอีกคนที่ต้องต่อสู้กับส่ิงที่คนอยากให้เป็นมากกว่าการเป็นตัวของตัวเอง อิจฉาคนท่ีได้ท�ำในสิ่งที่ต้องการ อย่าปล่อยให้
ความอจิ ฉามากำ� หนดอนาคตหรอื บ่ันทอนแรงบนั ดาลใจของคุณ วิธจี ดั การกบั ความอจิ ฉาแบบง่าย ๆ ใหด้ ูตัวทผี่ ่านมาคณุ พฒั นาไปมากแคไ่ หน
กญุ แจส�ำคัญคือ เอาตวั เองออกมาจากจุดนนั้ ใหเ้ รว็ ท่สี ุด

3 อยู่ใกลก้ บั คนท่พี ร้อมจะสนบั สนนุ
แนน่ อนว่าในการทำ� ธุรกจิ คณุ ไม่สามารถประสบความสำ� เร็จไดด้ ว้ ยการลงมอื ท�ำคนเดยี ว เพราะฉะน้นั รอบ ๆ ตัวของคณุ ควรจะมีคน
พร้อมจะให้ค�ำแนะน�ำในทางท่ีเหมาะสมและมีความจริงใจ หากรอบตัวคุณมีแต่คนที่พร้อมจะฉุดคุณลง จะท�ำให้คุณห่างไกลความส�ำเร็จ
มากย่งิ ข้นึ ในท้ายท่สี ดุ คณุ ต้องพิจารณาให้ดี ๆ คนประเภทไหนทีค่ วรจะสรา้ งความสัมพันธ์ในระยะยาว และใครที่ควรอยู่ให้หา่ ง

4 อย่าเชอ่ื ความคดิ ของคนอนื่ มากเกินไป
อยา่ ปลอ่ ยใหค้ วามไมร่ ขู้ องคนอนื่ มาทำ� ใหค้ ณุ เขา้ ใจผดิ ไมว่ า่ เขาคนนนั้ จะเปน็ หวั หนา้ คนมชี อ่ื เสยี ง หรอื เพอ่ื นรว่ มงาน เพราะในบางเรอ่ื ง
พวกเขาอาจรนู้ อ้ ยกวา่ ที่คุณคดิ หากคุณสงสัยเร่อื งใด ลองหาค�ำตอบดว้ ยตวั เอง หรอื สอบถามจากผู้เชยี่ วชาญในเร่ืองนัน้ ๆ จะดีกวา่

5 ท�ำงานให้หนกั กว่าคนอื่น
ไม่เคยมีใครท่ีนั่งอยู่เฉย ๆ แล้วประสบความส�ำเร็จ ดูจากได้คนท่ีประสบความส�ำเร็จท่ัวโลก เส้นทางการท�ำงานของพวกเขาไม่ได้
โรยด้วยกลีบกุหลาบ ถ้าคุณอยากประสบความส�ำเร็จ ต้องท�ำงานให้หนักกว่าคนอ่ืน ซ่ึงหนักในท่ีนี้ไม่ได้หมายถึงการท�ำงานหามรุ่งหามค�่ำ
แตห่ มายถึงการหมั่นเรียนรู้ และตอ้ งลงมือทำ� จรงิ โดยใชค้ วามพยายามและความตัง้ ใจ
อย่างทท่ี ราบกันวา่ ความสำ� เรจ็ ไมไ่ ด้มาง่าย ๆ เพื่อใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายคุณต้องกลายเป็นผเู้ ชยี่ วชาญในสายงานของตัวเอง ซึ่งทงั้ หมดนต้ี ้องใช้เวลาสั่งสม
ประสบการณ์ค่ะ

ท่ีมา https://www.marketingoops.com/exclusive/professional-development/5-steps-dictating-you-own-career/

วัตถปุ ระสงค์ คณะทป่ี รึกษา กองบรรณาธกิ าร หงษ์ทอง
จ.อ.ณภทั ร นางสาวชตุ ิมณฑน ์ อตุ สาหะ
1. เพ่ือใช้เป็นส่ือกลางในการ นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธบิ ดกี รมการพฒั นาชมุ ชน นายธนโชต ิ จนั ทรด์ วง นางสาวชุติมา ภมู ิแกว้
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู ้ นายโชคชัย แก้วป่อง รองอธบิ ดีกรมการพัฒนาชุมชน นางสาวธวัลรตั น์ เดชบญุ มา นางสาวลดา นพรัตน์
นางวไิ ลวรรณ ไกรโสดา รองอธิบดกี รมการพัฒนาชุมชน นายไพรตั น์ จงรกั ษา นายภานุมาศ ตรสี วุ รรณ
และการมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน นายนวิ ตั ิ นอ้ ยผาง รองอธิบดกี รมการพัฒนาชมุ ชน นางกมลมณี วงศ์สวา่ ง นางสาวปรศิ รา อำ่� มาลี
2. เพื่อเป็นการขยายช่องทางส่ือ นายจำ� เรญิ แหวนเพ็ชร ผอ.สำ� นกั เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ชมุ ชน นางสาวจริ ภทั ร ทองมาก

โดยใช้ชุมชนเป็นห้องเรียน ทปี่ รึกษาคณะทำ� งาน นางสาวธิภาพรรณ มีแสงเงนิ
แ ล ะ วิ ถี ชี วิ ต ใ น ชุ ม ช น เ ป ็ น นางสาวฉายาลกั ษณ ์ แก้วศรีพจน์
แบบฝกึ หดั ผอ.กลุ่มงานฯ ทกุ กลุม่ และหัวหนา้ ฝ่ายอำ� นวยการ
3. เพื่อเป็นการแลกเปล่ียนเรียนรู้ สำ� นกั เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ชุมชน
ประสบการณ์ สนับสนุนภาพถา่ ย :
บรรณาธิการ
นางสาวศศวิ ิมล ยนิ ด ี ผอ.กลมุ่ งานสง่ เสรมิ การเรยี นรูช้ ุมชน กลมุ่ งานสอ่ื สารภาพลกั ษณ์องคก์ าร ส�ำนักงานเลขานุการกรม

สถานทต่ี ดิ ตอ่ : สำ� นกั เสริมสร้างความเขม้ แขง็ ชมุ ชน กรมการพฒั นาชุมชน โทรศัพท์/โทรสาร 02 141 6131, 02 143 8913
ศนู ย์ราชการเฉลมิ พระเกยี รติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 อาคารรัฐประศาสนภักดี ชน้ั 5 เวบ็ ไซต์ www.chumchon.cdd.go.th

ถนนแจง้ วฒั นะ แขวงทุ่งสองหอ้ ง เขตหลักสี่ กรงุ เทพฯ 10210


Click to View FlipBook Version