The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อนุรักษ์สืบสานผ้าถิ่นไทย ดำรงไว้ในแผ่นดิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

จุลสารส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้(ผ้าไทย)

อนุรักษ์สืบสานผ้าถิ่นไทย ดำรงไว้ในแผ่นดิน

CDD Trend

“สบื สาน อนรุ ักษศ์ ลิ ป์ผา้ ถิน่ ไทย ดำ� รงไว้ในแผน่ ดนิ ”

“การสวมใสผ่ า้ ไทย ชว่ ยส่งเสรมิ การทอผา้ ในชุมชน สร้างงาน สรา้ งอาชีพให้แกก่ ลมุ่ สตรีมีรายได้ ยกระดับคุณภาพชวี ติ ของสตรี
และลดปญั หาความเหล่ือมล�ำ้ ตลอดจนรกั ษาไว้ ซง่ึ เอกลกั ษณท์ างวัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ความภาคภูมิใจของคนไทยใหค้ งอยู่ต่อไป”

“กินของไทย ใช้ของไทย เทยี่ วเมอื งไทย สวมใสผ่ า้ ไทย เศรษฐกจิ ไทยรงุ่ เรือง”

คณะรัฐมนตรี ภายใต้การน�ำของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้มีมติเม่ือวันที่ 9 มิถุนายน 2563 เห็นชอบมาตรการส่งเสริมและสนับสนุน
การใชแ้ ละสวมใส่ผา้ ไทย โดยมอบหมายใหก้ รมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย เปน็ หน่วยงานเจ้าภาพหลกั รว่ มกับกระทรวงวฒั นธรรม (กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม)
ในการดำ� เนินการส่งเสริมและสนับสนุนตามมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้และสวมใส่ผ้าไทย โดยรณรงค์เชิญชวนคนไทยสวมใส่ผ้าไทยอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 วัน
ภายใตค้ วามรว่ มมอื ระหวา่ งสภาสมาคมสตรแี หง่ ชาติ ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ รว่ มกบั กระทรวงมหาดไทย โดยกรมการพฒั นาชมุ ชน ไดจ้ ดั ทำ� โครงการ “สบื สาน อนรุ กั ษศ์ ลิ ป์
ผา้ ถน่ิ ไทย ดำ� รงไว้ในแผ่นดนิ ” มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื สืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จพระนางเจา้ สิรกิ ิต์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง ต่อการอนรุ กั ษ์
และสืบสานภูมิปัญญาของคนไทย โดยได้ร่วมกันจัดท�ำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด�ำเนินการตามโครงการ “สืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถ่ินไทย ด�ำรงไว้ในแผ่นดิน”
กับจังหวัด 76 จังหวัด และหน่วยงานรัฐวิสาหกิจในส่วนกลาง ได้แก่ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การประปาส่วนภูมิภาค เพื่ออนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมอันล�้ำค่า รากเหง้า
จากภมู ปิ ญั ญาของบรรพบรุ ษุ ทสี่ ะทอ้ นใหเ้ หน็ บรบิ ททางสงั คมและวฒั นธรรมของแตล่ ะพน้ื ที่ ดว้ ยการสง่ เสรมิ และเผยแพรผ่ า้ พนื้ ถน่ิ ไทยใหด้ ำ� รงคงอยปู่ รากฏเปน็ ความภาคภมู ใิ จ
ของคนไทย ประกอบกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้ประเทศไทยอยู่ในภาวะวิกฤตและกระทบในวงกว้าง
ต่อการใช้ชีวิตของประชาชนท่ัวประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อรายได้ของประชาชนผู้มีรายได้น้อย และผู้ประกอบการรายย่อยซึ่งเป็นผู้ผลิต
ผู้จ�ำหน่าย ซึ่งเป็นเศรษฐกิจฐานราก ดังน้ัน จึงเป็นการรณรงค์กระตุ้นให้เกิดค่านิยมการใช้ผลิตภัณฑ์ท่ีท�ำจากผ้าทอ ภูมิปัญญาของคนไทย
ซึ่งจะกอ่ ใหเ้ กิดรายไดก้ ระจายสชู่ ุมชนอย่างรวดเร็วและทวั่ ถงึ ซ่ึงหากคนไทยร่วมใจกันแต่งกายด้วยผ้าไทย เปน็ ประจำ� ทุกวัน เพยี ง 35 ล้านคน
ร่วมใจสวมใส่ผ้าไทยสัปดาห์ละ 2 วัน จะท�ำให้มีการซื้อผ้าเฉลี่ยคนละ 10 เมตร จะท�ำให้เกิดความต้องการผ้าถ่ินไทย 350 ล้านเมตร
ราคาเมตรละ 300 บาท ก่อให้เกิดการสร้างรายได้แก่ชุมชนคิดเป็นเงินกว่า 105,000 ล้านบาท น�ำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิต
ของกลุ่มอาชีพสตรีในชุมชนท่ัวประเทศ อีกทั้งยังช่วยลดปัญหาการว่างงาน ปัญหาการย้ายถิ่นฐานและลดความเหล่ือมล�้ำในสังคมได้
จึงขอเชญิ ชวนใหท้ ุกท่านไดร้ ่วมกนั คืนคณุ ใหแ้ ผน่ ดิน มารว่ มสวมใสผ่ ้าไทยกนั ทกุ วนั

EDITOR’S TALK

บก.ขอคุย

ความงามของผา้ ผา่ นภมู ิปัญญาชาวบา้ น
จลุ สารฉบับนี้ ทุกส่วนที่เกยี่ วข้องให้ความส�ำคญั เกีย่ วกบั การอนรุ กั ษ์ภมู ปิ ญั ญาการทอผา้ พ้ืนเมอื ง ซง่ึ เปน็ อาชีพทกี่ ว่าจะถกั ทอเป็นผนื มที ้ังปลกู หมอ่ น
เลย้ี งไหม เกบ็ ไหม ออกแบบ ย้อมสี ลายผา้ ทอเป็นผืนใชเ้ วลานานและมีความประณีต ใสใ่ จทุกขนั้ ตอน และผา้ แต่ละผืนจะมเี อกลักษณ์ในตัวเอง ซงึ่ คนทอผ้า
มีความภูมิใจในผ้าทอแต่ละผืน หมายถึงว่าเส้นใยของผ้า คือชีวิตของคนทอผ้า ถ้ามีคนรุ่นใหม่สืบสานงานทอผ้ามาก ๆ จะท�ำให้ภูมิปัญญาด้านน้ีอยู่ยั่งยืน
ยาวนาน ไมส่ ญู หายแนน่ อน ลองศึกษาเนอื้ หาเร่ืองผ้าในจุลสารฉบบั นค้ี ่ะ น่าสนใจมากค่ะ

2  | จุลสารส่งเสรมิ การเรยี นรขู้ องชมุ ชน



พฒั นาคอื สร้างสรรค์
สำ� นักเสริมสร้างความเข้มแขง็ ชุมชน กรมการพฒั นาชมุ ชน
อัตลักษณบ์ นผนื ผา้ ภูมิปญั ญาร่วมสมัย
ครั่งราชาสีผา้ ไทย ดำ�รงไวใ้ นสารคาม การหาความแตกต่าง เริ่มจากการจับจีบยกซิ่นขิดไหมอัญญา
แม่เมืองมหาสารคาม เป็นสตรีชนช้ันปกครอง เราท�ำซ่ินขิดไหม
“เอกลกั ษณท์ โี่ ดดเดน่  เสน้ ไหมทงี่ ดงามไดส้ รา้ งสรรคล์ วดลายสรอ้ ยดอกหมาก อญั ญาแมเ่ มอื งมหาสารคามทลู เกลา้ ฯถวายสมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้
ทีป่ รทาี่ทกถ�ำฏกูใเหปถบ็้่ผานง่ ยบ้าลทไอวหอดกมดถลงึดมาคยว้หวบยาากนสมาพาเรปร้ืนท็นคผอจาา้ ลงัม”หงไบวดดัน้รมผับหืนคาผวสา้าามรโคดนายิยมฝม ีมสคอืญัือแ ลคลนกั ะุณาษงภสณสมูงวมิปป์นับญรมะัะตญจเสิพำ�นาทิเาชศพอ้ าษฒังวถนเบฉานิ่ กา้ พตานรา่าจงปงัะห ัขจๆวอดัจ มมงัยหเาสาสกส�ำ้นามครใาคญั ยายม     กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
เม่อื ปี 2560 และซนิ่ ไหมมดั หม่ีอัญญาแม่มหาสารคามจะแตกตา่ ง
กรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย เลา่ วา่ “มหาสารคาม ตรงที่เป็นลายหม่ีขั้นเป็นลายล่อง ลายทาง ในหน่ึงผืน
ผลิตเส้นไหมได้เป็นอันดับหน่ึงของภาคอีสาน หลายจังหวัด จะมีมากกว่าสองลาย มีลายหลักสองและลายเล็กอีกสอง
ใชเ้ สน้ ไหมจากมหาสารคามในการทอผา้ ไหม การพฒั นาผา้ ไหม ข้ันสีอีก 4 สีทอท้ังหมด 8 กระสวย มัดหม่ีต้องขนาดเล็กท่ีสุด
เร่ิมตั้งแต่ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ผลิตเส้นไหมจนถึงทอเอง เรามี ผ้าไหมมัดหมี่ลายโบราณอัญญาแม่ ได้ถอดแบบผ้าซ่ินของ
สมาคมสง่ เสรมิ ผา้ ไทยมกี ารลงนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลง MOU ภาครฐั อัญญาแม่กฤษณา สตรีชนช้ันปกครองในอดีต ทูลเกล้า ฯ ถวาย
และภาคเอกชนรว่ มกนั ขบั เคลอ่ื นการใชแ้ ละสวมใสผ่ า้ ไทย ผา้ ไหม สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี
มหาสารคามโดดเดน่ มาตลอด แตย่ งั ไมเ่ ปน็ ทรี่ จู้ กั มากนกั เพราะขาด โดยนายณกรณ์ ตง้ั หลกั เปน็ ตวั แทนของชาวชา่ งทอและเกษตรกร
การประชาสมั พนั ธท์ ดี่ ีนายเกยี รตศิ กั ดิ์จนั ทราผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ผู้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหมเมืองมหาสารคาม และทรงรับสั่งให้
มหาสารคาม ส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนใส่ชุดไทยทุกวนั ข้าราชการ ข้าราชบริพารในพระองค์หาร้านตัดเย็บชุดผ้าไหม เราก็เฝ้ารอ
จะยกเว้นวันท่ีแต่งเคร่ืองแบบ “งานราตรีเส้นสายลายผ้า” พระองค์และเม่ือได้เห็นพระองค์ทรงสวมใส่ ซึ่งจ�ำได้ว่าเป็นผ้า
จัดเป็นประจ�ำทุกปี ในงานประเพณีบุญเบิกฟ้าและงานกาชาด ท่ีเราถวาย เป็นดั่งน�้ำทิพย์ชโลมใจให้กลุ่มของเรา มาตรฐาน
ของจงั หวดั มหาสารคาม ผา้ ไหมลายสรอ้ ยดอกหมาก เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ผลิตภัณฑ์ชุมชนของเราคือ ผ้ายกดอกกับผ้าลายขิด คือผ้าไหม
ของลายอยูท่ ี่ อ. กุดรงั และมลี ายประจ�ำอ�ำเภออกี 13 อ�ำเภอ พน้ื เรยี บ มาตรฐานโอทอป 5 ดาว คือ ผา้ ขดิ ไหม ปี 2560 ไดร้ บั
ภาคเอกชนโดยสมาคมส่งเสริมผ้าไทยจัดงานแฟช่ันโชว์ รางวัลนกยูงพระราชทานสีทอง ผ้าไหมมัดหม่ีลายโบราณ
“ราตรสี รอ้ ยดอกหมาก” ขน้ึ เปน็ ประจำ� ทกุ ปี และทบ่ี า้ นหนองผง และได้ที่ 3 เทคนิคหม่ีสอด รางวัลผ้าขิดไหมระดับอาเซียน
อ.นาดูน จะโดดเด่นในเร่ืองการย้อมผ้าไหมลายโบราณ และได้เทคนคิ ผสมรางวัลชมเชย กรมการพัฒนาชมุ ชนเข้ามาช่วย
ด้วยสีธรรมชาติ เป็นลายผ้าเก่าของเจ้าเมืองในยุคต่าง ๆ ในการคัดสรร การบรรจุภัณฑ์ และการตลาด กรมหม่อนไหม
ของมหาสารคาม นำ� มาแกะลายผา้ โชคดที ค่ี นรนุ่ ใหมใ่ สใ่ จสบื คน้ เข้ามาดูแลคุณภาพพันธุ์ไหม ใบหม่อน เทคนิคสอดเป็นเทคนิค
เรอื่ งผา้ มหาสารคามจะเปน็ “มหานครแหง่ ครง่ั ” ซงึ่ เปน็ จดุ เดน่ เดียวในภาคอีสาน ซ่ึงเป็นอัตลักษณ์เดียวของการนุ่งซิ่นลายทาง
ของการย้อมสีธรรมชาติการเล้ียงครั่งมากสุดอยู่ท่ี อ.บรบือ ในประเทศใหเ้ ปน็ ทร่ี จู้ กั กวา้ งขวางขน้ึ การสอดไหมคอื การนำ� เสน้ ไหม
และยงั มสี จี ากเปลอื กไม้ ใบไมร้ ว่ มดว้ ย สว่ นที่ อ.นาเชอื ก ผา้ ไหม เส้นพุ่งสอดเข้าเส้นยืนแล้วเกาะกับอีกหน่ึงเส้นไปเป็นช่วง ๆ
ก็สวยงามเช่นกัน มีการทอผ้าจก การทอผ้าขิด เพ่ือเพ่ิมมิติ เกิดลวดลายจากนิ้วมือและจังหวะการทอผ้าหน่ึงผืน ประกอบ
ของผ้า ทางจังหวัดได้น�ำกลุ่มทอผ้าไหมไปร่วมพัฒนากับกลุ่ม ด้วย 5 เทคนิค ได้แก่ ขิด มัดหมี่ ยก สอด และมับไม ซ่ึงเป็น
ร้อยแก่นสารสินธุ์ ได้แก่ ร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม การตเี กลยี วเสน้ ไหมสองสเี ขา้ ดว้ ยกนั ใหเ้ กดิ ลวดลายหรอื ทเ่ี รยี กวา่
และกาฬสนิ ธุ์ ซง่ึ ศนู ยก์ ลางอยทู่ ่จี ังหวดั ขอนแก่น “หางกระรอก”

จังหวัดมหาสารคามได้ทูลเกล้า ฯ ถวายผ้าไหม ผ ้ า ไ ห ม ล า ย ส ร ้ อ ย ด อ ก ห ม า ก ต ้ อ ง เ ก ล็ ด เ ล็ ก
มัดหมี่ลายสร้อยดอกหมาก ให้สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า คือค้นหม่ี 70 ล�ำ เพ่ือให้ย้อมสีเสมอกัน มีท้ังหมด 5 สี
กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ไดแ้ ก่ สีเหลือง สีขาว สแี ดง สเี ขยี ว และสพี นื้ คอื สที ี่จะเอามาทอ
ได้ฉลองพระองค์เป็นประจ�ำทุกปี และผ้าไหมของมหาสารคาม ถึงจะเรียกว่าสร้อยดอกหมากของแท้ เราใช้ไหมช้ันกลาง
อย่ใู นโครงการศิลปาชีพของ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกิต์ิ พระบรม หรือไหมน้อยเป็นไหมท่ีดีท่ีสุด จุดเด่นของที่นี่จะเป็นเส้นไหม
ราชนิ นี าถพระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวงมี3แหง่ ไดแ้ ก่ศนู ยศ์ ลิ ปาชพี พนั ธพ์ุ น้ื บา้ นท้งั หมด และใชส้ ีย้อมจากธรรมชาติ
บ้านก�ำพ้ี อ.บรบือ ศูนย์ศิลปาชีพบ้านดอนหล่ี อ.พยัคฆภูมิพิสัย
และศนู ย์ศลิ ปาชพี บ้านโคกก่อง อ.นาเชอื ก รวมถงึ ได้เข้าประกวด มหาสารคาม ไม่ได้มีแค่ลวดลายผ้าไหมโบราณที่เป็น
ทพี่ ระต�ำหนกั ภูพานราชนิเวศน์เม่ือครงั้ พระองคท์ ่านเสดจ็ ฯ จุดเด่นเท่านั้น แต่ยังมีกลุ่มเฮือนผ้าเฮือนแพร ที่ใช้เส้นไหม
ทอผ้าด้วยลวดลายร่วมสมัย ความคิดสร้างสรรค์
ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม ก า ร ท อ ผ ้ า ไ ห ม เ ฉ พ า ะ ถ่ิ น ในการออกแบบผลงาน ท�ำให้ผ้าไหมมีลวดลายที่ละเอียดอ่อน
ของมหาสารคามสืบทอดกันมายาวนาน แต่มีบางลวดลาย และมากยิ่งกวา่ การใช้งานคือ ความสวยงามทสี่ รา้ งความสงา่ งาม
ในอดตี นนั้ ถกู ลมื เลอื นไปแลว้ ทำ� ใหน้ ายณกรณ์ ตงั้ หลกั ประธานกลมุ่ และเสน่ห์ให้กับผู้สวมใส่ นายจักษ์ภิรมย์ ศรีเมือง ทายาท
“ผาสาดแก้ว ผ้าทอโบราณมหาสารคาม” ได้คิดค้นสืบทอด ช่างหตั ถกรรมทอผ้าไหม อ.นาเชอื ก จ.มหาสารคาม ได้ใช้ความ
ท�ำให้ผืนผ้าโบราณกลับมามีชีวิตที่สวยงามอีกครั้ง อย่างทรง เป็นแฟชั่นน�ำเอาศิลปะมาประยุกต์ใช้กับวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น
คุณคา่ เพ่อื สบื สานอนรุ กั ษศ์ ลิ ปผ์ ้าถ่ินไทย ด�ำรงไวใ้ นแผ่นดิน สร้างสรรค์ให้เกิดประโยชน์ และเป็นหนึ่งในบุคคลท่ีได้รับ
ก า ร คั ด ส ร ร เ ชิ ด ชู เ กี ย ร ติ เ ป ็ น ท า ย า ท ช ่ า ง ศิ ล ป ์ หั ต ถ ก ร ร ม
ทบ่ี า้ นหนองผง ต.ดงยาง อ.นาดนู ใชไ้ หมพนั ธไ์ุ ทยพนื้ บา้ น ประจ�ำปี 2562
ไหมพันธุ์นางตุ่ย นางส่ิว และนางลาย ทั้งเส้นพุ่งและเส้นยืน
ย้อมด้วยสีธรรมชาติให้เข้มเทียบเคียงกับสีเคมีซึ่งเป็นจุดเด่น “แมท่ อผา้ ไหมอยูแ่ ล้ว หมู่บา้ นนี้ปลูกหมอ่ น เล้ียงไหม
ของเรา กรรมวิธีการท�ำไหมบ้าน เริ่มตั้งแต่เลี้ยงไหมจนถึง ทอผ้าไหมกัน เมื่อก่อนส่ิงที่ด้อยคือ เส้นไหมคุณภาพไม่สูงนัก
การฟอกกาว การตีเกลียวเส้นไหมยากกว่าการท�ำไหมโรงงาน สีและรูปแบบการวางงานยังไม่ดี ผมได้ศึกษาเพิ่มเรื่องแฟช่ัน
ดว้ ยศกั ยภาพทช่ี าวบา้ นมจี งึ เกดิ เปน็ กลมุ่ ทอผา้ ไหมเลก็ ๆ“ผาสาดแกว้ และกรมหม่อนไหมเข้ามาดูแลตั้งแต่กระบวนความสะอาด
ผ้าทอลายโบราณ” ผาสาด หมายถึง เรือนท่ีมีหลังคาเป็น ในการเลยี้ งหนอนไหม พนั ธไ์ุ หมตอ้ งแขง็ แรง เสน้ ไหมตอ้ งสมำ่� เสมอ
ยอดแหลม เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์และสิ่งศักด์ิสิทธิ์ เราใช้ไหมตรงกลางคือไหมน้อยเส้นจะวาว เส้นสม�่ำเสมอ
จงึ มคี วามหมายโดยรวมวา่ “สถานทส่ี ถติ ความดงี าม” นอกเหนอื การยอ้ มสผี า้ ชาวบา้ นคนไหนยงั ถนดั ใชส้ เี คมี เรากใ็ หใ้ ชส้ เี คมคี วบคมุ
จากการทอมัดหมี่ก็จะมีทอขิด หมี่สอด การสอดน้ันหายไป คุณภาพที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม เนื้อผ้าที่น�ำไปตรวจจะไม่เจอ
30-40 ปี เราฟื้นฟูข้ึนมา ลวดลายของภาพถ่ายสิมอีสาน สารเคมี เพราะถูกควบคุมไว้การย้อมด้วยสีธรรมชาติ มีลายผ้า
โบราณที่บ้านยาง อ.บรบือ คล้ายกับหม่ีสอด สีธรรมชาติในการ ผมคิดขึ้นมาเอง ลายดอกพุดตานจดลิขสิทธ์ิแล้ว ทอมา 15 ช้ิน
ยอ้ มไหมหลัก ๆ คอื ครงั่ เป็น “ราชาแห่งสียอ้ มไหม” ไลโ่ ทนสี ทุกปี เราจะผลติ ผา้ ออกมา 2 ลาย ผา้ ทุกผนื ตอกโค้ดไวโ้ ดยลกู คา้
จากชมพจู นถงึ สมี ว่ ง และมสี จี ากแกน่ ไม้ เชน่ ฝาง เข เปลอื กกระบก ไม่รู้ เราจะเน้นผา้ สำ� หรบั ลกู ค้าสะสม ไม่เนน้ ผ้าประกวด เสน้ ไหม
หรือใบไม้ แรงบันดาลใจของการทอผ้าให้มีคุณค่าและมูลค่าคือ ควบคุมดว้ ยตรานกยงู พระราชทาน สที อง สเี งิน สนี ำ้� เงนิ สเี ขยี ว
ซ่ึงสีเขียว ส�ำหรับไหมอีรี่ (Eri Silk) ผมได้รางวัลศิลปินโอทอป
จากกรมการพัฒนาชุมชนเป็นผ้ายกไหมบ้าน ผ้าไหมที่น่ีต่างจาก
ท่ีอ่ืนตรงท่ีความเป็นไหมบ้านย้อมด้วยสีธรรมชาติ ลวดลายผ้า
เป็นลิขสิทธ์ิที่เราคิดเองจากจินตนาการใช้มือวาดออกแบบ
มีใบลขิ สิทธ์ผิ นื ผา้ ให้ ในอนาคตอยากเพิ่มสายงานการผลติ แฟชัน่
และภายใน 5 ปี เราจะเป็นอุตสาหกรรมไหม รายได้ในชมุ ชนดขี ึ้น
เมอื่ เทยี บกบั เมอื่ กอ่ น สมาชกิ จะขายผา้ ใหก้ ลมุ่ เราจะไมร่ บั ฝากขาย
เราจะเลือกสีให้ลูกค้าไม่ให้ซ�้ำกัน ลายประจ�ำ อ.นาเชือก
คือ ลายขอขจร ผา้ ท่มี าจากธรรมชาติ ราคาจะสงู กว่าผ้าทม่ี าจาก
การยอ้ มดว้ ยเคมี ลายผา้ โบราณยงั คงไวแ้ ต่มกี ารปรับสี”

4  | จุลสารส่งเสรมิ การเรยี นรขู้ องชมุ ชน สำ� นกั งานพฒั นาชมุ ชนจงั หวดั ไดเ้ ขา้ มาสง่ เสรมิ เรอ่ื งการตลาด การพฒั นาสมาชกิ กลมุ่ การพฒั นาบรรจภุ ณั ฑ์ สนบั สนนุ
เร่ืองสัมมาชีพชุมชน เมื่อมีภูมิปัญญาในท้องถิ่นเราต้องดึงองค์ความรู้ไปถ่ายทอดและสร้างแรงบันดาลใจให้กลุ่มอ่ืนในอ�ำเภอด้วย
โดยใช้ปราชญ์ในชุมชนเป็นคนสอนชาวบ้านด้วยกันเอง เพ่ือสร้างรายได้ให้สมาชิก เราดึงศักยภาพของกลุ่มไปพัฒนาโอทอป
น้องมาดทำ� ใหผ้ ้าไหมขายได้ราคาสงู ขนึ้ ชาวบา้ นยอมรบั และดใี จ ไหมของทน่ี ีเ่ ปน็ ไหมบา้ นเสน้ เลก็ ตีเกลยี ว 70 รอบหรือมากกวา่ น้นั
ใช้ไหมพนั ธพุ์ นื้ บ้านจากกรมหมอ่ นไหม หมอ่ นพนั ธ์ทุ นแลง้ ไหมของท่นี ตี่ ่างจากทอี่ ืน่ คือ ท่อี ื่นจะใชก้ ารสาวไหมแบบโบราณ แตท่ น่ี ่ี
ใช้ความละเอยี ดขน้ึ มาอีก เพอื่ ใหไ้ ด้เสน้ ไหมท่ีละเอยี ดเลก็ เหมือนไหมโรงงาน สง่ิ ท่ยี งั เปน็ ปัญหาคือ องค์ความรู้ คนสว่ นหน่ึงไม่ยอม
เรยี นรู้ จึงมไี ม่ก่ีคนในกล่มุ ทส่ี ามารถทอผ้ายกได้ เปน็ สิ่งที่น่าเสียดายถา้ ขาดการสืบทอดตรงนี้

“ผา้ ไหม” ไมใ่ ช่บง่ บอกเพียงแค่วิถชี ีวิตในวนั วาน แต่เป็นมรดกชิน้ ส�ำคญั ของจงั หวดั มหาสารคาม
ซ่ึงยกมาเปน็ สว่ นหน่ึงในคำ� ขวญั ประจ�ำจังหวดั ทีว่ า่ “พทุ ธมณฑลอสี าน ถน่ิ ฐานอารยธรรม ผา้ ไหมลำ�้ เลอคา่ ตกั สลิ านคร”

การรณรงค์การใชแ้ ละสวมใสผ่ ้าไทยตามโครงการ

“สืบสาน อนรุ กั ษ์ศิลป์ผ้าถ่ินไทย ดำ� รงไว้ในแผ่นดิน”

“จงั หวัดรอ้ ยเอด็ Change for Good : องคก์ รคณุ ธรรม นอ้ มน�ำ หลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติจนเป็นวถิ ี”

จงั หวัดรอ้ ยเอด็ จัดกจิ กรรมลงนามความรว่ มมือ (MOU) การใชแ้ ละสวมใสผ่ า้ ไทย เม่ือวันท่ี 2 ธันวาคม 2562
และได้ดำ� เนนิ การจัดงานประกวดผ้า “สบื สาน อนุรกั ษ์ศลิ ป์ผา้ ถิน่ ไทย ดำ� รงไวใ้ นแผ่นดิน” เมอื่ วันที่ 25 มถิ ุนายน 2563
โดยส�ำนกั งานพัฒนาชุมชนจงั หวัดร้อยเอด็ มีการส่งเสรมิ และสนับสนุนการใชแ้ ละสวมใส่ผ้าไทย ในงานมีกจิ กรรมดังนี้

1) การประกวดผา้ ไหมอัตลักษณ์ จงั หวดั ร้อยเอด็ ประเภทผ้าไหมลายสาเกตและผ้าไหมมัดหม่ี
2) การจัดนิทรรศการผ้าเอกลักษณ์ ผ้าโบราณ ผา้ ประจ�ำจงั หวดั รอ้ ยเอ็ด
3) การจดั แสดงและจ�ำหนา่ ยผ้าไหม
4) การเดนิ แบบผ้าไทย โดยบคุ คลผู้มีช่ือเสียงของจังหวัดร้อยเอด็
5) การไลฟ์สด การประกวดผา้ สืบสาน อนรุ กั ษ์ศิลปผ์ ้าถิ่นไทย ด�ำรงไวใ้ นแผ่นดนิ
เพื่อรณรงค์กระตุ้นให้เกิดค่านิยมการใช้ผลิตภัณฑ์ ท่ีท�ำจากผ้าทอซ่ึงเป็นภูมิปัญญาของคนไทย รายได้กระจาย
สูช่ มุ ชนอยา่ งรวดเรว็ และท่วั ถึงและผูว้ า่ ราชการจงั หวัดร้อยเอ็ด รณรงค์ให้พี่น้องประชาชนชาวจงั หวดั ร้อยเอ็ด ข้าราชการ
สวมใสผ่ ้าไทยสัปดาห์ละ 5 วัน เพื่อชว่ ยอนุรกั ษ์ศลิ ปวัฒนธรรมไทย สรา้ งอาชพี สร้างรายได้ใหแ้ ก่ชมุ ชน

“จังหวัดเชียงใหม่ ประกาศใหม้ าตรการส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การใช้และสวมใส่ผ้าไทย
เป็นวาระจังหวัด”

จงั หวดั เชยี งใหม่ ไดป้ ระกาศวาระจงั หวดั ดา้ นมาตรการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การใชแ้ ละสวมใสผ่ า้ ไทย เมอ่ื วนั ที่ 29
มถิ นุ ายน 2563 โดยมีมาตรการแนวทางในการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การใช้และสวมใส่ผ้าไทย ดังน้ี 1) จัดกจิ กรรมลงนาม
ความร่วมมือ (MOU) การใชแ้ ละสวมใส่ผ้าไทย เมอื่ วันท่ี 9 ธนั วาคม 2562 โดยมหี นว่ ยงานต่าง ๆ เขา้ รว่ ม MOU จำ� นวน
25 หนว่ ยงาน 2) รว่ มกบั สมาคมสตรนี ครเชียงใหม่ ดำ� เนินโครงการศิลปาชพี ล้านนาไทย ก้าวไกลดว้ ยพระบารมี คร้งั ท่ี 2
ประจำ� ปี 2563 3) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กระบวนการผลติ การตลาด การพฒั นาศกั ยภาพผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการผา้ ไทย (OTOP)
ของจงั หวดั จำ� นวน 798 กลมุ่ /ราย และมรี ายไดจ้ ากการจำ� หนา่ ยผลติ ภณั ฑผ์ า้ ไทย ผา้ พนื้ เมอื ง 4) จดั การประกวดผา้ สบื สาน
อนุรกั ษศ์ ิลปผ์ ้าถิน่ ไทย ด�ำรงไว้ในแผน่ ดนิ ในเดือนกรกฎาคม 2563 และขอเชญิ ชวนพีน่ อ้ งประชาชนชาวจังหวัดเชียงใหม่
ขา้ ราชการ ผบู้ รหิ ารองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และพนี่ อ้ งประชาชนทกุ คน รว่ มกนั สวมใสผ่ า้ ไทย ผา้ พน้ื เมอื ง เปน็ ประจำ� ทกุ วนั
เวน้ วนั ส�ำคญั ท่สี วมใส่เส้อื ผา้ เฉพาะงานพิเศษ ตามความเหมาะสม

จงั หวดั อดุ รธานี ขานรับมาตรการสง่ เสรมิ และสนับสนนุ การใช้และสวมใส่ผา้ ไทย ปที ี่ 14 ฉบบั ที่ 3 ประจำ� ปี 2563 | 5
สปั ดาหล์ ะ 5 วัน

จงั หวดั อดุ รธานี ขานรบั มตคิ ณะรฐั มนตรี ในมาตรการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การใชแ้ ละสวมใสผ่ า้ ไทย โดยรณรงค์
ใหข้ า้ ราชการและประชาชนทว่ั ไปสวมใสผ่ า้ ไทยถงึ สปั ดาหล์ ะ 5 วนั ซง่ึ จงั หวดั อดุ รธานโี ดง่ ดงั อยา่ งมากในเรอื่ งของผา้ ทอมอื
และเปน็ แหลง่ ผลติ ผา้ ไหมคณุ ภาพระดบั โลก โดยมตี ลาดผา้ ทโี่ ดง่ ดงั อยา่ ง ตลาดผา้ นาขา่ ซงึ่ รวบรวมผลงานจากกลมุ่ ทอผา้ ตา่ ง ๆ
ไว้มากมายหลากประเภท อาทิ ผ้ามัดหม่ีย้อมคราม ผ้าย้อมสีธรรมชาติ และผ้าหมักโคลน ซ่ึงแต่ละประเภทก็ล้วน
มีลวดลาย และวิธีการทอที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวทางหัตถศิลป์ ซึ่งการสนับสนุนในครั้งน้ี ยังช่วยเสริมสร้างเศรษฐกิจ
ฐานรากของอุดรธานีในกลุ่มผลิตภัณฑ์ผ้าทอและการตัดเย็บให้แข็งแกร่งข้ึนอย่างมาก โดยจังหวัดอุดรธานีสนับสนุน
และส่งเสริมการใช้และสวมใส่ผ้าไทยมาโดยตลอด ก่อนหน้านี้ได้มีการสนับสนุนให้ประชาชนร่วมกันใส่ผ้าไทยตักบาตร
ในทุกวันพระ ด้วยกิจกรรม “วันอังคาร สวมผ้าไทย ใส่บาตรพระ” เพื่ออนุรักษ์ประเพณีอันดีงาม สืบสานวัฒนธรรม
ท้องถ่นิ ดว้ ยการสวมใส่ผ้าไทยทำ� กจิ กรรมร่วมกนั

จังหวัดอุดรธานีได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงว่าด้วยการประสานความร่วมมือ “โครงการสืบสาน อนุรักษ์ศิลป์
ผา้ ถนิ่ ไทย ดำ� รงไวใ้ นแผน่ ดนิ ” กบั สภาสมาคมสตรแี หง่ ชาติ ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ เพอื่ รว่ มรณรงคใ์ สผ่ า้ ไทย ปลกุ เศรษฐกจิ
ชุมชนสร้างงานสร้างอาชีพ ซ่ึงจังหวัดอุดรธานีเป็นจังหวัดน�ำร่องในเรื่องน้ี โดยจากน้ีจะขับเคลื่อนสนับสนุนมาตรการ
ดงั กลา่ วของมตคิ ณะรฐั มนตรี รณรงคเ์ ชญิ ชวนใหข้ า้ ราชการและประชาชนทว่ั ไปสวมใสผ่ า้ ไทยอาทติ ยล์ ะ 5 วนั ซงึ่ นอกจาก
เปน็ การสบื สานผา้ พน้ื ถนิ่ ของจงั หวดั แลว้ ยงั เปน็ การสรา้ งรายไดแ้ ละเพมิ่ ชอ่ งทางการตลาด ใหแ้ กผ่ ปู้ ระกอบการประเภทผา้
ของจงั หวดั อดุ รธานอี กี ดว้ ย

จังหวัดยะลา ประกาศวาระจงั หวัดสง่ เสรมิ และสนับสนุนการใช้และสวมใส่ผา้ ไทย
ตามโครงการ “สบื สาน อนรุ กั ษศ์ ลิ ป์ผา้ ถิน่ ไทย ดำ�รงไว้ในแผ่นดิน”

จังหวัดยะลา ได้ประกาศวาระจังหวัดยะลาด้านมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้และสวมใส่ผ้าไทย
เมือ่ วันที่ 30 มถิ ุนายน 2563 โดยมมี ตใิ หส้ วมใส่ผ้าไทยทุกวนั อังคารและวนั ศุกร์ ตามมติคณะรัฐมนตรี ทรี่ ณรงคเ์ ชิญชวน
คนไทยสวมใสผ่ ้าไทยอยา่ งน้อยสัปดาหล์ ะ 2 วนั เพ่อื เปน็ การสบื สาน รักษา และต่อยอด อนุรกั ษศ์ ิลปผ์ า้ ถิ่นไทย ตามแนว
พระราชด�ำริสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ให้ดำ� รงไว้สืบต่อไป และได้มอบ
ประกาศเกียรติบัตรและเงินรางวัลผลการประกวดผ้าตามโครงการประกวดผ้า “สืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ด�ำรงไว้
ในแผน่ ดนิ ” ของจังหวัดยะลา ใหแ้ กผ่ ู้ไดร้ บั การคดั เลือก ดงั น้ี

1) รางวัลชนะเลศิ ได้แก่ ผา้ ปะลางิง ลายแกว้ ชงิ ดวง นายปยิ ะ สุวรรณพฤกษ์
2) รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดบั 1 ไดแ้ ก่ ผา้ มัดย้อม ลายนำ้� ก้อนกรวด นายมะยาเต็ม ปะจูลี
3) รางวัลรองชนะเลศิ อันดับ 2 ได้แก่ ผ้าบาตกิ ลายหนิ ออ่ น นายอาดือนนั กาปา
นอกจากน้ี ยังเชิญชวนให้พ่ีน้องข้าราชการ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ส่งภาพการแต่งกาย
ด้วยผา้ ไทยในชวี ติ ประจำ� วัน หรือการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ผ่าน Facebook สำ� นักงานพัฒนาชมุ ชนจังหวัดยะลา

Check In ชมุ ชน

ปรละเวภดทผล้าาไยทแยหง่ ศลิ ปวฒั นธรรม

ทเปงั้ ็นรภปู มูแกปิบาั ญบรทญลอวาผดท้าลอี่ เานปยรุ็นกัแงษลาก์ะนสนั หสีมัตนัาถตทกงั้แี่ แรตตรกร่มตนุ่ ทา่ คี่งมณุกีกนัยาไา่รปคสใณุืบนยทแาอตยดล่ ซะตง่ึพ่อม้นื กคี ทันวี่ามตมาาหมตลคั้งาแวกาตหม่อลเดชาี่ตอืย    ขดิ
และประเพณีวัฒนธรรม โดยกรรมวิธีท�ำให้เกิดลวดลายในผ้าไหมไทย 
แบง่ เป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่ การทอ การเตรียมลวดลายเสน้ ด้ายกอ่ นทอ
และการท�ำลวดลายหลังจากเป็นผืนผ้า นอกจากกรรมวิธีเหล่านี้แล้ว 
สามารถจำ� แนกผา้ ไหมไทยตามกรรมวธิ เี ทคนคิ การทอไดโ้ ดยสงั เขป ดงั นี้

1. การทอขัด เป็นวิธีการเบื้องต้นของการทอผ้าทุกชนิด คือ มีเส้นพุ่งและเส้นยืน ซ่ึงอาจเป็นเส้นเดียวกัน
หรือต่างสกี นั ทำ� ให้เกิดลวดลายในเนื้อผ้าตา่ งกัน อาทิ ซิ่นกา่ น ซน่ิ ทวิ ซิ่นลายแตงโม ผ้าสะมอ ผา้ ลายเมล็ดงา

2. มัดหมี่ เป็นการทอผ้าที่เกิดจากการมัดเส้นด้ายหรือเส้นไหมเป็นเปลาะ ๆ แล้วน�ำไปย้อมสี เพ่ือให้สีซึมเข้าไป จก
ตามสว่ นท่ีไมถ่ กู มดั เมอ่ื แกะเชอื กออกจะเกดิ เปน็ ลวดลายตามชอ่ งของการมดั เส้นเชือก
3. จก เป็นเทคนิคการท�ำลวดลายโดยใช้ไม้ ขนเม่น หรือนิ้วมือจกเส้นด้ายเส้นยืนยกข้ึน แล้วสอดใส่ด้ายพุ่งพิเศษ อย่างท่ีทราบกันดีว่าคนไทยเราสมัยก่อนจะ
เขา้ ไปเป็นชว่ ง ๆ สลบั สตี ามต้องการ ซึง่ สามารถออกแบบลวดลายและสีสันไดซ้ บั ซอ้ นและหลากหลาย ทอผา้ เพอ่ื สนองความจำ� เปน็ ขนั้ พนื้ ฐานของการดำ� รงชวี ติ
4. ขิด เปน็ การทอทใี่ ชไ้ มเ้ กบ็ ขดิ สะกดิ หรอื ชอ้ นเสน้ ยนื ยกขน้ึ เปน็ ชว่ งระยะตามลวดลายตลอดหนา้ ผา้ แลว้ พงุ่ กระสวย เพราะผ้าทอเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่เรื่องเคร่ืองนุ่งห่ม
สอดเสน้ พุ่งพิเศษและเสน้ พงุ่ เข้าไปตลอดแนว ทำ� ใหเ้ กิดเปน็ ลวดลายยกตวั นูนบนผืนผา้ ซ่ึงประเภทของผ้า สี ลวดลาย สามารถบ่งบอกสถานะ
5. ยก คอื การเพม่ิ ลวดลายโดยยกตะกอเพอ่ื แยกเสน้ ดา้ ยยนื ครงั้ ละกเี่ สน้ กไ็ ดต้ ามตอ้ งการ แลว้ ใหเ้ สน้ ดา้ ยพงุ่ ผา่ นไป ของผู้สวมใส่ได้ โดยประโยชน์ส่วนมากของผ้าทอ
เฉพาะเส้น เมื่อทอพุง่ กระสวยไปมาครบคไู่ ปกับการยกตะกอจะเกดิ เป็นลวดลายนูนข้ึนจากผนื ผ้า คือการน�ำมาใช้เป็นเคร่ืองนุ่งห่มในชีวิตประจ�ำวัน
6. การควบเส้น การควบเส้นเป็นวิธีสร้างลวดลายโดยใช้เส้นไหมหรือเส้นใยฝ้ายสองสีที่มีน�้ำหนักสีอ่อนแก่ หากมโี อกาสพเิ ศษกจ็ ะนำ� มาใชใ้ นพธิ กี รรมทางศาสนาดว้ ย
แตกต่างกนั มาป่ันตเี กลยี วรวมเป็นเส้นเดียวกนั เช่น ผา้ โสร่งตาตาราง ผา้ ขาวมา้ ผ้าโจงกระเบน ซิ่นซิ่ว ซ่ินไก
7. เกาะ ผา้ เกาะหรอื ผ้าล้วง คอื ผา้ ที่ทอเป็นลายขดั แตใ่ ชเ้ สน้ ด้ายพุ่งหลายสี ทอ (เกาะ) เป็นช่วง ๆ โดยการเก่ียว หลกั สำ� คญั ในการเลอื กซอ้ื ผา้ ทอ คอื ควรนกึ ถงึ
และผกู เป็นห่วงรอบเส้นด้ายยนื อาจผสมผสานกับลวดลายอ่นื เชน่ ลายจก ลายขิด เป็นต้น ประโยชน์เสียก่อนว่าจะซื้อเอาไปท�ำอะไร เพราะผ้าทอ
8. ผ้าไหมพน้ื เปน็ ผา้ ไหมทท่ี อลายขดั โดยใชเ้ สน้ ยนื และเสน้ พุ่งธรรมดาตลอดกนั ท้งั ผนื ผ้าที่ออกมาจะเปน็ ผ้าสีพ้ืน จะมีข้อจ�ำกัด และมีหลายชนิดให้เลือก ซ่ึงจะมีความ
เรียบไม่มลี าย เหมาะสมในการตดั เปน็ เครอ่ื งนงุ่ หม่ แตล่ ะสว่ นแตกตา่ งกนั
อาทิ ตัดเป็นสูทควรใช้ไหม 4 เส้น เพราะมีน้�ำหนัก
มัดหมี่ และดูเนียนตา ถ้าท�ำผ้าพันคอต้องไหมน้อยเส้น
เพราะเวลาพันคอจะไมก่ ระด้าง ไมแ่ ขง็ ดูไม่งาม เปน็ ต้น
6  | จุลสารส่งเสรมิ การเรยี นรขู้ องชมุ ชน
หลงั จากเลอื กชนดิ ของผา้ มาตดั เยบ็ ชดุ ไดอ้ ยา่ ง
เหมาะสมแลว้ การใสผ่ า้ ไหมไปงานกม็ สี ง่ิ ทคี่ วรปฏบิ ตั ิ เชน่

• ควรนั่งรถปรับอากาศ เพราะเหงื่อจะไม่ออก
ถ้าเหงือ่ ออก ผ้าจะดา่ งดูน่าเกลยี ด

• งานทไ่ี ปควรเปน็ งานกลางคนื เพราะผา้ ไหมจะ
เล่นไฟทำ� ให้สวยงามยิ่งขนึ้

• ก่อนออกจากบ้านไม่ควรใส่หรือฉีดน้�ำหอม
ลงบนผ้าไหมโดยตรง สารเคมีในน้�ำหอม
จะท�ำให้ผ้าไหมดา่ ง เปน็ จดุ ๆ ซักไม่หาย

• ไม้แขวนที่ใช้แขวนควรเป็นไม้แขวนเส้ือนอก
เพราะจะทำ� ใหบ้ า่ ไมล่ ู่ เวลาใสจ่ ะดงู าม ภมู ฐิ าน

อ้างอิง: https://www.bareo-isyss.com/index.php/
design-tips/424-thai_silk.html
https://sites.google.com/site/chudthiyphrarachniym/
keb-raksa-laea-kar-chi-pha-thiy-xyang-thuk-withi/
kar-chi-pha-him-thiy

เติมพลังชุมชน

ความรเู้ ร่อื งเครือ่ งหมายรบั รอง

“ตรานกยงู พระราชทาน”ผลติ ภัณฑ์ผ้าไหมไทย

กรมหม่อนไหม ใหก้ ารรับรองผ้าไหมไทยของผ้ผู ลิตผ้าไหมท้ังเกษตรกรรายยอ่ ยและผปู้ ระกอบการรายใหญ่
สืบเนื่องจากปัจจุบันมีผู้น�ำเข้าเส้นไหมและเส้นใยสังเคราะห์อื่นจากต่างประเทศ ทั้งถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย เส้นไหมจึงมีท้ังที่ได้คุณภาพและด้อยคุณภาพ
เมือ่ น�ำมาผลติ ผา้ ไหม จงึ ทำ� ใหผ้ า้ ไหมไทยด้อยคณุ ภาพลง แต่ผผู้ ลิตยังคงใช้ตราสัญลกั ษณค์ �ำว่า หรอื เพอ่ื การคา้ ทำ� ใหผ้ ู้ซ้อื ทั้งในประเทศและตา่ งประเทศไมม่ ัน่ ใจในคุณภาพ
ของผ้าไหมไทยอีกต่อไป
สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง ทรงหว่ งใยและตระหนกั ถงึ ปญั หาน้ี จงึ ไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานสญั ลกั ษณ์
นกยูงไทย ให้เปน็ เครอื่ งหมายรับรองคุณภาพผลติ ภณั ฑ์ผา้ ไหมไทย 4 ชนิด เพอ่ื ใหม้ ีการใช้เครอ่ื งหมายรบั รองอย่างกวา้ งขวางทั้งในและต่างประเทศ เปน็ การแกป้ ญั หาในด้าน
มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ผา้ ไหมไทยและการแอบอา้ งน�ำค�ำวา่ “ไหมไทย (Thai silk)” ไปใชเ้ พอื่ การค้า อกี ท้งั เปน็ การสรา้ งความเชือ่ มน่ั แกผ่ ู้บรโิ ภค โดยเคร่อื งหมายรบั รอง
ตรานกยงู พระราชทานทีจ่ ะให้ผูผ้ ลิตนน้ั จะเน้นคุณสมบตั ิของวัตถุดบิ และกรรมวิธีการผลติ เป็นหลักดงั น้ี

Royal Thai Silk : นกยูงสีทอง

เป็นผ้าไหมท่ีผลิตโดยใช้เส้นไหมและวัตถุดิบตลอดจนกระบวนการผลิตที่เป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญา
พ้ืนบ้านด้งั เดมิ ของไทยอยา่ งแทจ้ ริง ดงั น้ี

ใช้เสน้ ไหมพันธ์ุไทยพน้ื บา้ นเป็นท้ังเส้นพ่งุ และเสน้ ยนื
เส้นไหมตอ้ งสาวดว้ ยมอื ผา่ นพวงสาวลงภาชนะ
ทอด้วยกท่ี อมอื แบบพื้นบา้ นชนิดพุ่งกระสวยดว้ ยมือ
ยอ้ มดว้ ยสธี รรมชาติ หรอื สีเคมีท่ีไม่ทำ� ลายส่งิ แวดลอ้ ม
ต้องผลติ ในประเทศไทยเท่านั้น

อ้างอิง : http://www.qsds.go.th/monmai/index.php Classic Thai Silk : นกยงู สีเงิน

เป็นผ้าไหมที่ผลิตข้ึนโดยยังคงอนุรักษ์ภูมิปัญญาพ้ืนบ้านผสมผสานกับการประยุกต์ใช้เครื่องมือ
และกระบวนการผลติ ในบางข้ันตอน ดงั น้ี

ใชเ้ ส้นไหมพันธไุ์ ทยพน้ื บา้ นหรือพันธ์ุไทยปรบั ปรงุ เป็นเส้นพงุ่ และ/หรอื เส้นยืน
เสน้ ไหมตอ้ งสาวดว้ ยมอื หรือสาวดว้ ยอปุ กรณ์ท่ใี ชม้ อเตอรข์ ับเคลอ่ื นไม่เกิน 5 แรงมา้
ทอด้วยก่ีทอมอื ชนดิ พ่งุ กระสวยดว้ ยมอื หรอื ก่กี ระตกุ ก็ได้
ต้องผลิตในประเทศไทยเทา่ นัน้

Thai Silk : นกยูงสนี �้ำเงนิ

เป็นผ้าไหมชนิดที่ผลิตด้วยภูมิปัญญาของไทยแบบประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีการผลิตเข้ากับสมัยนิยม
และเชงิ ธรุ กจิ ดงั นี้

ใชเ้ ส้นไหมแท้เปน็ เส้นพ่งุ และเส้นยนื
ย้อมด้วยสีธรรมชาติ หรือสีเคมที ไี่ มท่ ำ� ลายส่ิงแวดล้อม
ทอด้วยกแ่ี บบใดกไ็ ด้
ต้องผลติ ในประเทศไทยเทา่ นั้น

Thai Silk Blend : นกยงู สเี ขียว

เป็นผ้าไหมที่ผลิตด้วยกระบวนการผลิตและเทคโนโลยีสมัยใหม่ท่ีผสมผสานกับภูมิปัญญาไทยในด้าน
ลวดลายและสีสันระหว่างเส้นใยไหมแท้กับเส้นใยอ่ืนที่มาจากธรรมชาติ หรือเส้นใยสังเคราะห์รูปแบบต่าง ๆ
ตามวตั ถปุ ระสงค์การใชง้ าน หรอื ตามความตอ้ งการของผู้บรโิ ภค ดงั นี้

ใช้เสน้ ไหมแท้เป็นส่วนประกอบหลกั มเี ส้นใยอืน่ เป็นสว่ นประกอบรอง
ตอ้ งระบสุ ่วนประกอบของเสน้ ใยอ่นื ใหช้ ัดเจน
ทอด้วยก่ีแบบใดกไ็ ด้
ย้อมด้วยสธี รรมชาติ หรอื สีเคมที ่ไี ม่ท�ำลายสิ่งแวดล้อม
ตอ้ งผลติ ในประเทศไทยเทา่ น้ัน

ปที ี่ 14 ฉบบั ที่ 3 ประจำ� ปี 2563 | 7

เคลด็ ลบั สู่ความสุข

วธิ ดี ูแลรกั ษาผ้าไหม

ปัจจุบันนี้คนไทยนิยมหันมาใช้ผ้าไหมกันมากข้ึน แต่บางคนก็ยังกล้า ๆ กลัว ๆ ไม่ยอมซ้ือผ้าไหมมาใช้เพราะเห็นว่า
เป็นของแพงท่ีมีความสวยงาม ประณีต เกรงกันว่าจะรักษาให้ดีและสวยงามตลอดไปยาก ท้ังที่จริงแล้วการดูแลรักษาผ้าไหมไม่ใช่เรื่องยาก
อะไรเลย หากผู้ใช้รู้จักให้ความสนใจในความรู้เล็ก ๆ น้อย ๆ เก่ียวกับการขจัดรอยเปื้อนบนผ้าไหมและวิธีการรักษาให้สวยงามคงทนตลอดไป
เรามาดกู ันสิว่ามวี ิธีการอย่างไรบา้ ง

ผ้าไหมท่ีซื้อมาใหม่ การซักผา้ ไหม การรีดผ้าไหม
ก่อนจะน�ำผ้าไหมไปตัดควร การท�ำความสะอาดผ้าไหมให้ใหม่อยู่เสมอ ใชน้ ำ้� ยารดี ผา้ ทใ่ี ชไ้ ดก้ บั ผา้ ไหม ฉดี พรมใหท้ วั่

จะน�ำไปแช่น�้ำหรืออบไอน้�ำก่อน ควรซักด้วยน�้ำยาซักแห้ง ชนิดอ่อน ถ้าเป็นน�้ำยา ผ้าไหมท่ัวไปให้ใชค้ วามร้อนพอเหมาะ สำ� หรบั ผ้าไหม
เพือ่ ให้ผ้าไหมอยตู่ ัวกอ่ น ซักแห้งที่ใช้กับผ้าไหมจะดีมาก ไม่ควรซักด้วยเคร่ือง พมิ พ์ให้ลดความร้อนลงจากปกตปิ ระมาณ 1-2 ระดบั
ซักผ้า เพราะจะท�ำให้ผ้าไหมยับและรีดยาก ควร สำ� หรับผ้าไหมที่ยบั มาก
การตดั เยบ็ ซักผ้าไหมด้วยมือด้วยความนุ่มนวล และไม่ควรขย้ี
ข้ันแรกให้จุ่มผ้าไหมลงในน้�ำร้อน เพื่อไล่สี หรือบิดผ้าแรง ๆ เพราะจะท�ำให้ผ้าเสียทรง ไม่ควร ฉีดน้�ำยาหมาด ๆ แล้วพับให้เรียบร้อย
แช่ไว้นานโดยเฉพาะผ้าสีสดหลังจากซักเสร็จแล้ว ใส่ถุงพลาสติก น�ำเข้าช่องแช่แข็งในตู้เย็นประมาณ
ที่หลงเหลือหรือสีท่ีไม่สามารถจับติดในเน้ือผ้าไหม ควรสลัดผ้าไหมให้คลายตัวและไม่ย่นก่อนน�ำไปตาก 10 นาทีแล้วจึงน�ำออกมารีด จะท�ำให้รีดได้เรียบ
ให้ออกไป นอกจากนี้แล้วยังท�ำให้มีความงาม เมอ่ื ผา้ แหง้ จะท�ำให้รีดผ้าไหมได้งา่ ยขน้ึ และง่ายกว่าเดิมเนื่องจากใยผ้ามีความชื้นอยู่ภายใน
เป็นประกายดีข้ึน หลังจากนั้นรีดผ้าไหมทางด้าน อย่างสม่�ำเสมอ
หลังด้วยไฟอ่อน ๆ โดยพ่นน�้ำเพียงเล็กน้อยก่อนรีด การตากผา้ ไหม การระมัดระวังและเกบ็ รกั ษา
บาง ๆ เท่านั้น อย่าถึงกับให้เปียกเพราะถ้าเปียก การตากผ้าไหมควรตากในที่ร่ม หรือ
อาจทำ� ใหผ้ า้ เกดิ เปน็ จดุ ทไี่ มส่ วยงาม หลงั จากนนั้ แลว้ หลงั จากสวมใสท่ กุ ครงั้ ใหต้ รวจสอบสงิ่ สกปรก
จึงจัดเส้นลายผ้าให้ตรง แล้วจึงท�ำการตัดและเย็บ แดดอ่อน ๆ เพื่อป้องกันสีซีดเน่ืองจากถูกแดดจัด ที่ติดอยู่อย่างระมัดระวัง ผึ่งให้เสื้อผ้าคงรูปเดิม ๆ
ด้วยเขม็ และด้ายท่ีเหมาะสมกบั คุณภาพของผา้ ก่อนตากควรสลัดให้ผ้าคลายตัวก่อน จะท�ำให้ง่าย มกี ารถา่ ยเทอากาศทด่ี ปี ราศจากฝนุ่ ละออง ถา้ เสยี รปู รา่ ง
ตอ่ การรีดมากยิง่ ขึน้ หรือรอยยบั ให้ใช้เตารดี รีดให้เรียบ
การเตรียมการเก็บรักษา
การตากผ้าควรท�ำในที่มีการถ่ายเทอากาศ
มีความช้ืนต�่ำในระหว่างเวลา 10.00 - 14.00 น. ก่อนเก็บเสื้อผ้าต้องอยู่ในสภาพเรียบ
เป็นระยะเวลาท่ีเหมาะสม อย่างไรก็ตามในฤดูฝน ไม่มีรอยยับ แห้งและสะอาด
ความชนื้ สงู ควรทำ� การปอ้ งกนั แมลง และเชอ้ื ราตา่ ง ๆ อยู่เสมออย่าเก็บในที่มีความช้ืน
ทีอ่ าจทำ� อนั ตรายกับผา้ ไหมได้ และตอ้ งปราศจากแมลงหรอื ราทจี่ ะ
ทำ� อนั ตรายกบั ผา้ ไหม ควรเกบ็ ใสถ่ งุ
ท่ีมีอณุ หภมู ิต�่ำและสะอาด อาจเก็บ
ในถงุ ผา้ หรือถงุ พลาสติกกไ็ ด้

นี้เป็นเกร็ดความรเู้ ล็ก ๆ น้อย ๆ ที่นำ� มาฝาก
ผู้อา่ นจลุ สารฯ ทกุ ทา่ น สว่ นฉบับหนา้ จะเปน็ เรื่องอะไร
ตดิ ตามกนั นะค่ะ
ทม่ี า : http://siam-fabric.com/
และ https://sites.google.com/site/beautythaisilk/
home/withi-dulae-raksa-pha-him

วตั ถปุ ระสงค์ คณะที่ปรกึ ษา กองบรรณาธกิ าร
จ.อ.ณภัทร หงษ์ทอง นางชตุ ิมณฑน์ วงษ์คำ� หาร
1. เพ่ือใช้เป็นสื่อกลางในการ นายสุทธิพงษ์ จลุ เจริญ อธบิ ดกี รมการพฒั นาชุมชน นายธนโชต ิ จันทรด์ วง นางสาวชตุ ิมา ภูมิแก้ว
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู ้ นายโชคชยั แก้วป่อง รองอธบิ ดกี รมการพฒั นาชุมชน นางสาวธวัลรตั น ์ เดชบญุ มา นางสาวลดา นพรัตน์
นางวิไลวรรณ ไกรโสดา รองอธบิ ดกี รมการพัฒนาชุมชน นายไพรตั น ์ จงรักษา นายภานมุ าศ ตรีสุวรรณ
และการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน นายนิวตั ิ นอ้ ยผาง รองอธิบดีกรมการพัฒนาชมุ ชน นางกมลมณี วงศส์ วา่ ง นางสาวปริศรา อำ�่ มาลี
2. เพื่อเป็นการขยายช่องทางสื่อ นายจำ� เริญ แหวนเพช็ ร ผอ.สำ� นกั เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ชมุ ชน นางสาวจริ ภทั ร ทองมาก

โดยใช้ชุมชนเป็นห้องเรียน ท่ีปรึกษาคณะท�ำงาน นางสาวธภิ าพรรณ มแี สงเงนิ
แ ล ะ วิ ถี ชี วิ ต ใ น ชุ ม ช น เ ป ็ น นางสาวฉายาลกั ษณ ์ แก้วศรพี จน์
แบบฝึกหดั ผอ.กล่มุ งานฯ ทกุ กลุม่ และหัวหนา้ ฝ่ายอำ� นวยการ
3. เพื่อเป็นการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ส�ำนักเสรมิ สร้างความเข้มแข็งชมุ ชน
ประสบการณ์ สนบั สนุนภาพถ่าย :
บรรณาธกิ าร
นางสาวศศิวิมล ยินดี ผอ.กลุ่มงานส่งเสริมการเรียนรชู้ ุมชน กลุม่ งานสื่อสารภาพลกั ษณอ์ งคก์ าร สำ� นักงานเลขานกุ ารกรม

สถานทต่ี ิดต่อ : ส�ำนกั เสริมสรา้ งความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชมุ ชน โทรศพั ท์/โทรสาร 02 141 6131, 02 143 8913
ศนู ยร์ าชการเฉลมิ พระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 อาคารรัฐประศาสนภักดี ช้นั 5 เว็บไซต์ www.chumchon.cdd.go.th

ถนนแจง้ วัฒนะ แขวงท่งุ สองหอ้ ง เขตหลกั สี่ กรุงเทพฯ 10210


Click to View FlipBook Version