The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผลสำเร็จศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน
เขต 12 กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จำนวน 4 จังหวัด
1. จังหวัดกาฬสินธุ์
2. จังหวัดขอนแก่น
3. จังหวัดมหาสารคาม
4. จังหวัดร้อยเอ็ด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เขตตรวจราชการที่ 12 กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง

ผลสำเร็จศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน
เขต 12 กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จำนวน 4 จังหวัด
1. จังหวัดกาฬสินธุ์
2. จังหวัดขอนแก่น
3. จังหวัดมหาสารคาม
4. จังหวัดร้อยเอ็ด

เรื่องดีดีที่ศูนย์

ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน

กรมการพัฒนาชุมชน

เขตตรวจราชการที่ 3
กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1





ความสุขสร้างได้ ด้วย อาสา

สำนักสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชนกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

คำนำ

ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน ก่อตั้งขึ้นด้วยวัตถุประสงค์สำคัญ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
และถวายเป็นพระราชกุศล พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ
พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ในวันที่ 28 กรกฎาคม 2565

โดยทำหน้าที่เป็นสถานที่บ่มเพาะภาวะผู้นำ ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ การพัฒนาคุณภาพชีวิต
ประชาชน และการบริหารจัดการชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นศูนย์ประสานงาน
ภาคีเครือข่ายจิตอาสาพัฒนาชุมชนระหว่างภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคีการพัฒนาในพื้นที่
ทั้ง 7 ภาคส่วน โดยมีชุมชนเป็นศูนย์กลาง ขับเคลื่อนด้วยการส่งเสริมผู้นำชุมชน กลุ่ม องค์กร
และเครือข่ายงานพัฒนาชุมชนที่เป็นทุนทางสังคม ใช้ภูมิปัญญาให้เป็นพลังในการสร้างสรรค์
งานพัฒนาชุมชน พัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงการพัฒนาภาวะผู้นำ เสริมสร้างอุดมการณ์การทำงานเพื่อสาธารณะ
กระตุ้นจิตสำนึกรับผิดชอบต่อชุมชนส่วนรวม และการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนในรูปแบบ
จิตอาสา อันจะนำไปสู่การพัฒนาและขยายผลเพื่อการพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน

กรมการพัฒนาชุมชน ดำเนินโครงการส่งเสริมการขับเคลื่อนการดำเนินงานผู้นำจิตอาสา
พัฒนาชุมชน และจัดตั้งศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน นำร่องในพื้นที่ 76 จังหวัด เมื่อ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และขยายผลการดำเนินงานโดยกำหนดเป้าหมาย การจัดตั้งให้ครบ
ทุกตำบล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ซึ่งการขับเคลื่อนการดำเนินงานของศูนย์ผู้นำจิตอาสา
พัฒนาชุมชนในแต่ละแห่ง ดำเนินการภายใต้ศักยภาพ ความพร้อม และความเข้มแข็งของชุมชน
ที่แตกต่าง และน่าสนใจ

คณะผู้จัดทำเห็นว่า การดำเนินงานของศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนในแต่ละแห่ง
เป็นประสบการณ์ที่น่าสนใจ และน่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ขับเคลื่อนการทำงานพัฒนาชุมชน
ในรูปแบบจิตอาสา จึงร่วมกับสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด รวบรวมเรื่องราวดี ๆ ที่เกิดขึ้น
ภายใต้กิจกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานของศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 และจัดทำเป็นเอกสารเล่มเล็ก ๆ ในชื่อ “เรื่องดีดีที่ศูนย์จิต” ศูนย์ผู้นำจิตอาสา
พัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้นำชุมชน กลุ่ม องค์กร และเครือข่าย
งานพัฒนาชุมชน ตลอดจนผู้สนใจทั่วไป และขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ร่วมแบ่งปันความรู้
ประสบการณ์ และร่วมสร้างสรรค์งานพัฒนาชุมชนให้เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรม

สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
เมษายน 2565

Community Development Volunteer Leader Center

สารบัญ ก

คำนำ 1
สารบัญ 6
9
จังหวัดชุมพร 1
จังหวัดนครศรีธรรมราช 6
จังหวัดพัทลุง 14
จังหวัดสงขลา
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
คณะผู้จัดทำ

Community Development Volunteer Leader Center

เขต 5

กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่ งอ่าวไทย

จังหวัดชุมพร จังหวัดนครศรีธรรมราช
จังหวัดพัทลุง จังหวัดสงขลา

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

BBEESSTT PPRRAACCTTIICCEE :: ศศ..จจออสส..พพ..จจัังงหหววััดดกกาาฬฬสสิินนธธุุ์์

ศศููนนยย์์เเรรีียยนนรรูู้้เเกกษษตตรรออิินนททรรีียย์์ววิิถถีีพพออเเพพีียยงง นนาางงออุุไไลลยย์์ ททบบววัันน

9999 หหมมูู่่ททีี่่ 1100 ตตำำบบลลเเจจ้้าาทท่่าา ออำำเเภภออกกมมลลาาไไสสยย จจัังงหหววััดดกกาาฬฬสสิินนธธุุ์์







""รรูู้้จจัักกกกัันนกก่่ออนน""
นางอุบล ทบวัน อายุ 48 ปี ประธานศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียง
และเกษตรกรต้นแบบ ที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพ

"รู้จักกันก่อน"ชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ในพื้นที่จำนวน 15 ไร่
เดิมนางอุบลฯ เป็นเกษตรกร ที่ปลูกพืช โดยใช้พื้นที่บริเวณที่นาหลังบ้าน
ปลูกผักสวนครัว เน้นเกษตรอินทรีย์ โดยเข้ารับการอบรมเสริมทักษะ และองค์
ความรู้จากสำนักงานเกษตรอำเภอ และมีการพัฒนาต่อยอดเป็นเกษตรผสมผสาน
เช่น ปลูกข้าว พืชผักสวนครัว ไม้ผล เลี้ยงเป็ด เลี้ยงปลา ใช้เวลาทำอย่างต่อเนื่อง
ประมาณ 7 ปี กิจกรรมในสวนจึงประสบความสำเร็จ เห็นผลเป็นรูปธรรม มีรายได้
จากการจำหน่ายผลผลิตในสวน เกิดเป็นรายได้เสริมให้กับครอบครัวได้เป็นอย่างดี

ต่อมามีการพัฒนาต่อยอด เป็นแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์วิถีพอเพียง เป็นศูนย์

เครือข่ายเกษตรทฤษฎีใหม่ และแปลงต้นแบบโครงการ 1 ไร่ 1 แสน ตามแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียง และได้รับการจัดตั้งเป็น "ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน" นำร่อง
ของจังหวัดกาฬสินธุ์

เกิดจากความสามารถในการพัฒนาต่อยอดพื้นที่ตนเอง ททททีีีี่่่่ออออยย""ยย""เเาาเเาารรืืรรกก่่ืืกกออ่่ออบบบบงงงงออออDDDDกกกกDDDD""""
เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มากกว่าแปลงเกษตร การปลูกพืช หรือ
เลี้ยงสัตว์แล้ว อีกทั้งยังเป็นจุดเช็คอิน ร้านกาแฟ ที่จะส่งผลดีต่อ

เศรษฐกิจระดับชุมชน สามารถสร้างงานสร้างรายได้ตลอดทั้งปี มีการพัฒนา

ต่อยอดในส่วนของการผลิต การแปรรูป การตลาด เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่

ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา

โมเดล” ให้เกิดความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ด้วยเกษตรปลอดภัย เพื่อสร้างความมั่นคง

ทางอาหาร สร้าง รายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรือน อีกทั้งส่งเสริมผู้นำชุมชน กลุ่ม

องค์กร เครือข่าย งานพัฒนาชุมชนเป็นทุนทางสังคม ใช้พลังภูมิปัญญาให้เป็นพลัง

ในการสร้างสรรค์งานพัฒนาชุมชน ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะ

อาชีพ รวมถึงการพัฒนาภาวะผู้นำ สร้างเสริมอุดมการณ์ทำงานเพื่อสาธารณะในรูป

แบบผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อชุมชน มีบทบาทและมีส่วน

ร่วมในการพัฒนาและเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง

Community Development Volunteer Leader Center

ปปััจจจจััยยคคววาามมสสำำเเรร็็จจ :: "" IIDDEEAA CCAANN DDOO""

จากการดำเนินงานศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน
ที่ต่อเนื่องจนเกิดความสำเร็จ เห็นผลเป็นรูปธรรม ปัจจัยสำคัญเกิดขึ้นจาก
1. ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันของคณะกรรมการศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน
2. การค้นหา รวบรวม พัฒนาและใช้ความรู้ความเชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ ของสมาชิก

ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนซึ่งเป็นทุนทางสังคมในการพัฒนาชุมชน มา
ต่อยยอดขยายผลโดยถ่ายทอดสู่ผู้สนใจ
3. การน้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางขับเคลื่อนการ
ดำเนินงาน
4. การประสานความร่วมมือจากภาคีการพัฒนา
5. ภาวะผู้นำของผู้นำชุมชน
6. ทัศนคติของประชาชนต่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน เพื่อการพึ่งตนเอง
อย่างยั่งยืน

Community Development Volunteer Leader Center

เเรรืื่่อองงรราาววขขอองงเเรราา

กกาารรจจััดดตตัั้้งงศศููนนยย์์ผผูู้้นนำำจจิิตตออาาสสาาพพััฒฒนนาาชชุุมมชชนน

Community Development Volunteer Leader Center

การประชุมคณะกรรมการศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน
Community Development Volunteer Leader Center

กิจกรรมเอามื้อสามัคคี



Community Development Volunteer Leader Center

การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้นำจิตอาสาพัฒนา
ชุมชนสัญจร



Community Development Volunteer Leader Center

การดำเนินการสนับสนุนครัวเรือนยากจน
Community Development Volunteer Leader Center

การขับเคลื่อนศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน



ที่มา : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาฬสินธุ์

Community Development Volunteer Leader Center

BBEESSTT PPRRAACCTTIICCEE :: ศศ..จจออสส..พพ..จจัังงหหววััดดขขออนนแแกก่่นน

ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์บ้านเปือยน้อย

หมู่ที่ 2 ตำบลเปือยน้อย อำเภอเปือยน้อย จังหวัดขอนแก่น




""รู้รจู้ัจกักกักนันก่กอ่อนน""


บ้านเปือยน้อย หมู่ที่ 2 ตำบลเปือยน้อย จังหวัดขอนแก่น

เป็นหมู่บ้านต้นแบบในการสร้างความมั่นคงทางอาหาร ระดับจังหวัด

ขอนแก่น ในปี 2564 “ เปือยน้อย : ความมั่นคงทางอาหารวิถีใหม่ขจัด

ภัยความยากจน ” โดยน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ของในหลวง รัชกาลที่ 9 นำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีการขับ

เคลื่อนกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ลดรายจ่ายสร้างรายได้ ด้วยการปลูก

ผักสวนครัวรั้วกินได้ “ กินทุกอย่างที่ปลูก ปลูกทุกอย่างที่กิน ”

สู้กับสถานการณ์วิกฤตโควิด 19 โดยเริ่มจากผู้นำต้องทำก่อน

และขยายผลสู่ครัวเรือนทุกครัวเรือนในชุมชน

จากเดิมที่ประชาชนในหมู่บ้านเปือยน้อย ปลูกผักสวนครัวไว้รับประทาน
เพียงไม่กี่ชนิด ค่อมาขยายได้มากกว่า 5 ชนิด ใน 120 หลังคาเรือน พร้อมจัดหา
ที่สาธารณะของชุมชนจำนวน 17 ไร่ สร้างแหล่งอาหารของชุมชน (FOOD BANK)

นอกจากนี้ประชาชนในชุมชนที่อยู่ริมถนนทางเข้าหมู่บ้าน พร้อมใจกัน
ปลูกผักใส่กระถางยางรถยนต์หน้าบ้าน ตลอดระยะทางเข้าหมู่บ้าน 100 เมตร
ทำให้เกิดความสวยงามแล้วยังเป็นเส้นทาง “ทางนี้มีผล ผู้คนรักกัน” ของ
บ้านเปือย น้อย และเกิดผู้นำต้นแบบของชุมชน คือนายสุภาพ แสงสว่าง ที่เป็นครู
พาทำในกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันของคนในชุมชนและมีหน่วยงานราชการ
เข้ามาหนุนเสริม สร้างการมีส่วนร่วม โดยเริ่มจากผู้นำชุมชน ครัวเรือนที่สนใจ
ขยายผลจนครบทุกครัวเรือนในชุมชน เน้นสร้างโอกาสให้กลุ่มผู้มีรายได้น้อยได้
พัฒนาตนเอง จนก่อเกิดเป็น "ครัวเรือนต้นแบบ" แก้จนสร้างความมั่นคงทาง
อาหาร และยังก่อเกิดชุมชนต้นแบบสร้างความมั่นคงทางอาหาร และมุ่ง สู่ความ
ยั่งยืน และพัฒนาสู่การ “ จัดตั้งศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนระดับตำบล

เปือยน้อย ” นั่นเอง

Community Development Volunteer Leader Center

""ททีเีเ่ร่อืรอ่ือ่อยยงงาากDกDบDบDออกก"" ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์บ้านเปือยน้อย เป็นศูนย์รวมการจัดกิจกรรม
เรียนรู้ทักษะอาชีพที่ทุกครัวเรือนสามารถทำได้ มีกิจกรรมการปลูกผักปลอดภัย,
การยกแคร่เลี้ยงไส้เดือน, การผลิตปุ๋ยมูลไส้เดือน, การทำปุ๋ยหมัก, น้ำหมักชีวภาพ,
การเลี้ยงปลาดุก, การเลี้ยงไก่ไข่, การเลี้ยงแหนแดง, การเพาะเบี้ยผัก, การเก็บ
เมล็ดพันธุ์ผัก, และการปลูกพืชผักชนิดต่าง ๆ ให้ครัวเรือนผู้ได้รับผลกระทบจาก
การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ผู้มีรายได้น้อย ผู้ป่วยด้วย
โรคเรื้อรัง ประชาชนทั่วไป และกลุ่มองค์กรชุมชนต่าง ๆ ในพื้นที่ได้แลกเปลี่ยน
เรียนรู้ในรูปแบบ “ครูพาทำ” โดยได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน (WAY OF LIFE) มีส่งเสริมการปลูกพืช เลี้ยงสัตว์
ที่เป็นวิถีชีวิต เพื่อลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ เน้นการบริโภคในครัวเรือนเป็นหลัก
เหลือกินก็นำมาแบ่งปัน และเหลือก็นำไปขายก่อให้เกิดรายได้ โดยเริ่มจาก
ผู้นำชุมชน และครัวเรือนที่สนใจ และยังขยายผลครบทุกครัวเรือนในชุมชน

ปปััจจจจััยยคคววาามมสสำำเเรร็็จจ :: "" IIDDEEAA CCAANN DDOO""

" นายสุภาพ แสงสว่าง" สมาชิกในหมู่บ้านเปือยน้อย ได้รับพัฒนา
จากสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเปือยน้อย จนได้เป็นครัวเรือนต้นแบบ
ระดับอำเภอ และยังทำอย่างต่อเนื่อง จนประสบผลสำเร็จ ได้เป็น "ศูนย์ผู้นำจิต
อาสาพัฒนาชุมชน" นำร่องของจังหวัดขอนแก่น โดยบูรณาการประสานความร่วม
มือจากทุกหน่วยงานในพื้นที่ คืออำเภอเปือยน้อย สำนักงานเกษตรอำเภอ
เปือยน้อย โรงพยาบาลอำเภอเปือยน้อย และเทศบาลตำบลเปือยน้อย

หลักการดำเนินงานที่ทำให้ประสบผลสำเร็จ

1. ส่งเสริมกระบวนการ สร้างความรู้ความเข้าใจ ในการสร้างความมั่นทางอาหาร
ในสถานการณ์วิกฤตโรคระบาด โควิด-19 ที่ระบาดและส่งผลกระทบต่อคนใน
หมู่บ้านและชุมชน โดยมีส่วนราชการ และประชาชนมีส่วนร่วมวางแผน โดยมีการ
บูรณาการการทำงานร่วมกัน ซึ่งชุมชนลงมือปฏิบัติและร่วมกันสรุปบทเรียน
2. สร้างบุคคนต้นแบบ ผู้นำสร้างความมั่นคงทางอาหาร เพื่อให้เป็นครูพาทำ นำ
คนในชุมชนทำ
3. สร้างแหล่งเรียนรู้ของชุมชน "FOOD BANK" โดยชุมชนจัดการตนเองพึ่งตนเอง
ในพื้นที่สาธารณะของชุมชน
4. จัดตั้งศูนย์ผู้นำจิตอสาพัฒนาชุมชน ให้เป็นแหล่งรวมปราชญ์ชุมชน
แหล่งบ่มเพาะภาวะผู้นำ ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ การบริหารจัดการเพื่อการพึ่ง
ตนเองได้อย่างยั่งยืน ..

Community Development Volunteer Leader Center

เเรรืื่่อองงรราาววขขอองงเเรราา

Community Development Volunteer Leader Center

ที่มา : สำนักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดขอนแก่น

Community Development Volunteer Leader Center

BBEESSTT PPRRAACCTTIICCEE :: ศศ..จจออสส..พพ..จจัังงหหววััดดมมหหาาสส
าารรคคาามม
ศูนย์เรียนรู้นวัตกรรมปลาบู่บ้านพลังปั ญญา

หมู่ 14 ตำบลหนองแสง อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม



"รู้จักกันก่อน" ดร.ธีรดา นามให ครู คืนถิ่น ที่ได้อุทิศตนเองเพื่อพัฒนาบ้านเกิดของ
ตนเองเป็นเวลานานกว่า 10 ปี เป็นผู้ที่เห็นถึงคุณค่าของภูมิปัญญาท้อง
ถิ่นและศรัทธาต่อปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ 9
มาปรับใช้กับตนเองและครอบครัว จนเกิดผลเป็นรู ปธรรม ต่อมาจัดตั้ง
โรงเรียนขึ้นเอง ชื่อ “โรงเรียนชุมชนชาวนา” และตั้งศูนย์แพทย์แผนไทย
ชื่อ “อโรคยาปลาบู่ คลินิ กแพทย์แผนไทย” มีการก่อตั้ง “สมาคมไท
บ้าน” และก่อตั้ง “ศูนย์เรียนรู้นวัตกรรมปลาบู่บ้านพลังปัญญา”
เพื่อพัฒนาคน พัฒนาอาชีพ และพัฒนาท้องถิ่น และจากการดำเนิ นงาน
ที่สอดคล้องกับแนวทางศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนของกรมการ
พัฒนาชุมชน “ศูนย์เรียนรู้นวัตกรรมปลาบู่บ้านพลังปัญญา”
จึงได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน นำร่อง
ของจังหวัดมหาสารคาม

ททีี่่ออยย""าาเเกรืกร่ือ่บอบงองอDกDกD"D"

ศูนย์เรียนรู้นววัตกรรมปลาบู่บ้านพลังปัญญา มีกิจกรรมหลากหลาย
ในด้านองค์ความรู้ด้านต่างๆ อาทิ ด้านเกษตรอินทรีย์ปลอดสารเคมี
ด้านการพัฒนานวัตกรรมมาช่วยในการทำการเกษตร ด้านแพทย์แผนไทย
ด้านสมุนไพร ด้านการอนุรักษ์การทอผ้าฝ้าย/การมัดย้อมด้วยสี ธรรมชาติ
ด้านการพัฒนาคนด้านจิตใจ ด้านสร้างจิตสำนึ กรัก และภาคภูมิในในถิ่น
กำเนิ ด เพื่อร่วมกันพัฒนาบ้านเกิดของตนเอง ต่อไป

ปปััจจจจััยยคคววาามมสสำำเเรร็็จจ :: "" IIDDEEAA CCAANN DDOO""

ผู้นำและคณะกรรมการศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน
มีความเชื่อมั่นในคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่นและความศรัทธา
ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีวิสั ยทัศน์ ที่จะพัฒนา
หมู่บ้าน/ชุมชน ให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองได้
อย่างยั่งยืน

Community Development Volunteer Leader Center

เเรรืื่่อองงรราาววขขอองงเเรราา

กิจกรรมของศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน



Community Development Volunteer Leader Center

BEST PRACTICE : ศ.จอส.พ.จังหวัดร้อยเอ็ด

ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนบ้านสวนมอญ

53 บ้านสวนมอญ หมู่ที่ 4 ตำบลอีง่อง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด

""รูรู้จ้จัักกกกัันนกก่่ออนน"" ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนบ้านสวนมอญ หมู่ที่ 4 ตำบลอีง่อง
อำเภอจตุรพักตรพิมาน
จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นสถานที่บ่มเพาะและแบ่งปันเพื่อสร้างความมั่นคง
ทางอาหาร ระดับจังหวัดร้อยเอ็ด เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2563
และต่อมาจัดตั้งศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนบ้านสวนมอญ
ดยมีนางจันทรา บุญลาด เป็นประธานศูนย์ฯ มีสมาชิกผู้นำจิตอาสา
พัฒนาชุมชนร่วมเป็นทีม ประกอบด้วย ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ผู้นำที่
เป็นทางการ ปราชญ์สั มมาชีพ ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชน (ผู้นำ อช.)
ประธานกลุ่มอาชีพ และตัวแทนครัวเรือน CLM HLM ในพื้นที่
ตำบลอีง่อง

ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนบ้านสวนมอญ จัดตั้งขึ้นด้วย
วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ เ พิ่ ม ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ที ม ผู้ นำ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง
ในการสร้างการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืน และเพื่อสร้างพลังชุมชนของผู้นำ
การเปลี่ยนแปลง ด้วยการขับเคลื่อนศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนใน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน

1.กิจกรรมปลูกผักสวนครัวในชุมชนและรวมกลุ่มปลูก ททีี่่ออย"ย"เาเารืรก่ืกอ่อบบงงออDDกกDD""
ผักสวนครัวในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านสวนมอญ
หมู่ที่ 4 ตำบลอีง่อง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด

2.แบ่งปันผลผลิตในครัวเรือนให้กับคนในชุมชนและผู้ยากไร้

3.แบ่งปันเมล็ดพันธุ์และต้นกล้า ให้กับคนในชุมชน และผู้ที่สนใจ

4.รวบรวมผลผลิตในชุมชนเพื่อจำหน่ ายให้กับ 4 ร. ได้แก่ โรงแรม ร้านค้า
โรงพยาบาล โรงเรียน

5.ได้รับประทานผักที่ปลอดสารเคมี ส่ งผลดีต่อสุขภาพ

6.เป็นการลดรายจ่ายในครัวเรือน และมีรายได้เพิ่มขึ้น

7.เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับคนในชุมชนและผู้ที่สนใจ

8.สามารถเป็นวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักสวนครัว

Community Development Volunteer Leader Center

ปปััจจจจััยยคคววาามมสสำำเเรร็็จจ :: "" IIDDEEAA CCAANN DDOO""

1.การสร้างความรู้ความเข้าใจตั้งแต่ระดับผู้บริหาร ผู้นำชุมชน
2.ทีมปฏิบัติการตำบล หมู่บ้าน มีการติดตามผลการดำเนิ นการอย่างต่อเนื่ อง ให้ความ
รู้ใน การปลูกผัก การทำปุ๋ยหมัก เพื่อบำรุ งดิน การทำน้ำหมักเพื่อกำจัดแมลงและศั ตรู
พืช
3.ประชาชนให้ความสำคัญและเห็นผลเป็นรู ปธรรม
4.การให้ความรู้ในการเก็บ รักษา เมล็ดพันธุ์ผักต่าง ๆ
5.ส่ งเสริมการรวมกลุ่มในหมู่บ้าน/ตำบล เพื่อเป็นศูนย์กลางในการรวบรวมพืชผัก
สวนครัว
6.ส่ งเสริมเพิ่มช่องทางการตลาด เช่น ตลาดประชารัฐ ตลาดสี เขียว และตลาดนั ด
ชุมชน
7.ร่วมลงนาม MOU กับบริษัทประชารัฐ รักสามัคคี เพื่อจัดจำหน่ ายผัก ตามโครงการ
4 ร. ได้แก่ ร้านอาหาร โรงเรียน โรงแรม และโรงพยาบาล

Community Development Volunteer Leader Center

เเรรืื่่อองงรราาววขขอองงเเรราา

กิจกรรมจิตอาสา พร้อมประกาศเจตนารมณ์
เราทำความดีด้วยหัวใจ





Community Development Volunteer Leader Center

ปลูกผักสวนครัวเพื่อสร้างความมั่นคงทางด้านอาหาร





Community Development Volunteer Leader Center

วิเคราะห์ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน
“เหลียวหลัง แลหน้า ท้าทาย อนาคต ศูนย์ผู้นำฯ”








Community Development Volunteer Leader Center

ที่ ป รึก ษ า

นายสมคิด จันทมฤก อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นายนิวัติ น้อยผาง รองอธอบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นางสาวนิภา ทองก้อน ผู้อำนวยการสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน

ค ณ ะ ผู้ จัด ทำ ผอ.กลุ่มงานส่งเสริมการเรียนรู้ชุมชน
นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
นางพัชรินทร์ ธรรมสาร นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
นางสาวพิมพ์ชนา พิชาพันธ์โภคิน นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
นางกมลมณี วงศ์สว่าง นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
นางสาวชุติมณฑน์ อุตสาหะ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาชำนาญงาน
นางสาวฉายาลักษณ์ แก้วศรีพจน์ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาชำนาญงาน
นางสาวลดา นพรัตน์
นายภานุมาศ ตรีสุวรรณ

ผู้รวบรวมและเรียบเรียง

นางสาวพิมพ์ชนา พิชาพันธ์โภคิน นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ

นางสาวลดา นพรัตน์ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาชำนาญงาน

อ อ ก แ บ บ / ก ร า ฟิ ก

นางสาวสุภัสสร แสบรัมย์ นักศึกษาฝึกงาน

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ คณะรัฐประศาสนศาสตร์

จัด ทำ โ ด ย

สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

สำนักเสริมสาร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ศูนย์ราการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคาร B) ชั้น 5

ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210


Click to View FlipBook Version