The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผลสำเร็จศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน เขต 18 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2
จำนวน 4 จังหวัด
1. จังหวัดกำแพงเพชร
2. จังหวัดนครสวรรค์
3. จังหวัดพิจิตร
4. จังหวัดอุทัยธานี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เขต 18 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2

ผลสำเร็จศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน เขต 18 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2
จำนวน 4 จังหวัด
1. จังหวัดกำแพงเพชร
2. จังหวัดนครสวรรค์
3. จังหวัดพิจิตร
4. จังหวัดอุทัยธานี

เรื่องดีดีที่ศูนย์

ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน

กรมการพัฒนาชุมชน

เเขขตตตตรรววจจรราาชชกกาารรททีี่่ 1188
กกลลุุ่่มมจจัังงหหววััดดภภาาคคเเหหนนืืออตตออนนลล่่าางง22





ความสุขสร้างได้ ด้วย อาสา

สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย



คำนำ

ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน ก่อตั้งขึ้นด้วยวัตถุประสงค์สำคัญ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
และถวายเป็นพระราชกุศล พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ
พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ในวันที่ 28 กรกฎาคม 2565

โดยทำหน้าที่เป็นสถานที่บ่มเพาะภาวะผู้นำ ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ การพัฒนาคุณภาพชีวิต
ประชาชน และการบริหารจัดการชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นศูนย์ประสานงาน
ภาคีเครือข่ายจิตอาสาพัฒนาชุมชนระหว่างภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคีการพัฒนาในพื้นที่
ทั้ง 7 ภาคส่วน โดยมีชุมชนเป็นศูนย์กลาง ขับเคลื่อนด้วยการส่งเสริมผู้นำชุมชน กลุ่ม องค์กร
และเครือข่ายงานพัฒนาชุมชนที่เป็นทุนทางสังคม ใช้ภูมิปัญญาให้เป็นพลังในการสร้างสรรค์
งานพัฒนาชุมชน พัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงการพัฒนาภาวะผู้นำ เสริมสร้างอุดมการณ์การทำงานเพื่อสาธารณะ
กระตุ้นจิตสำนึกรับผิดชอบต่อชุมชนส่วนรวม และการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนในรูปแบบ
จิตอาสา อันจะนำไปสู่การพัฒนาและขยายผลเพื่อการพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน

กรมการพัฒนาชุมชน ดำเนินโครงการส่งเสริมการขับเคลื่อนการดำเนินงานผู้นำจิตอาสา
พัฒนาชุมชน และจัดตั้งศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน นำร่องในพื้นที่ 76 จังหวัด
เมื่อปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และขยายผลการดำเนินงานโดยกำหนดเป้าหมาย การจัดตั้งให้ครบ
ทุกตำบล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ซึ่งการขับเคลื่อนการดำเนินงานของศูนย์ผู้นำจิตอาสา
พัฒนาชุมชนในแต่ละแห่ง ดำเนินการภายใต้ศักยภาพ ความพร้อม และความเข้มแข็งของชุมชน
ที่แตกต่าง และน่าสนใจ

คณะผู้จัดทำเห็นว่า การดำเนินงานของศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนในแต่ละแห่ง
เป็นประสบการณ์ที่น่าสนใจ และจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ขับเคลื่อนการทำงานพัฒนาชุมชน
ในในรูรปูปแแบบบบจิจติตออาสาสาาจึจงึงร่รว่วมมกักบับสสำำนันกักงงานานพัพฒัฒนนาชาุชมุมชชนนจัจงังหหวัวดัดรรววบบรรววมมเรเื่รอื่องงรราวาวดีดีๆๆทีท่เี่กเิกดิดขึ้ขนึ้น
ภายใต้กิจกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานของศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 และจัดทำเป็นเอกสารเล่มเล็ก ๆ ในชื่อ “เรื่องดีดีที่ศูนย์จิต” ศูนย์ผู้นำจิตอาสา
พัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้นำชุมชน กลุ่ม องค์กร และเครือข่าย
งานพัฒนาชุมชน ตลอดจนผู้สนใจทั่วไป และขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ร่วมแบ่งปันความรู้
ประสบการณ์ และร่วมสร้างสรรค์งานพัฒนาชุมชนให้เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรม

สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
มิถุนายน 2565

Community Development Volunteer Leader Center

สารบัญ ข

คำนำ ก
สารบัญ ข
1
จังหวัดกำแพงเพชร 4
จังหวัดนครสวรรค์ 9
จังหวัดพิจิตร 11
จังหวัดอุทัยธานี 16
คณะผู้จัดทำ

Community Development Volunteer Leader Center

เขต 18

กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2
จังหวัดกำแพงเพ
ชร
จังหวัดนครสวรรค์

จังหวัดพิจิตร จังหวัดอุทัยธานี

BEST PRACTICE : ศ.จอส.พช. จังหวัดกำแพงเพชร 1

ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์ PGS

129 หมู่ที่ 5 ตำบลดอนแตง อำเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกำแพงเพชร

"รู้จักกันก่อนโ"ดยใเชริ้่หมตล้ันกกจาสกิกกลนรุ่รมามยเธพกิรเษชรมษตชฐรา์ตวอิิศิเนกรีษธทิปตรรกียทร์ณฤP์ษGฎไีดใS้หพัมฒ่ นแลาพะืห้นลทัีก่ขปอรงัชตญนาเอง

ของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางการดำเนินกิจกรรมในพื้นที่

ต่อมาขยายผลไปยังครัวเรือนใกล้เคียงอื่น ๆ ที่อยู่ในพื้นที่ และได้รวบรวม

สมาชิกจัดตั้งเป็น"กลุ่มเกษตรอินทรีย์ PGS" ขึ้นมาโดยมีคณะกรรมการ

บริหารกลุ่มฯ และได้จัดทำระเบียบข้อบังคับกลุ่มฯ โดยมีวัตถุประสงค์

ของการตั้งกลุ่มเกษตรอินทรีย์ PGS เพื่อรวมกลุ่มเกษตรกรและประชาชน

ในพื้นที่ รวมตัวกันพัฒนาอาชีพเกษตรปลอดภัย พัฒนาทักษะอาชีพอื่น ๆ

และเป็นจุดเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้ผู้สนเข้ามาศึกษา หาความรู้ เกษตรอินทรีย์ PGS

อำเภอขาณุวรลักษบุรี ที่มีแหล่งเรียนรู้กระจายอยู่ภายในตำบลดอนแตง

ที่มีมากถึง 15 ฐานเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชน มีดังนี้

1. ฐานเกษตรอินทรีย์ PGS 11. ฐานทำปุ๋ยอินทรีย์หมักแห้ง

2. ฐานผลิตไม้ผลอินทรีย์ 12. ฐานทำน้ำหมักสมุนไพร น้ำหมักหัวปลา

3. ฐานการปลูกหญ้าแฝก 13. ฐานป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง

4. ฐานการปลูกข้าวอินทรีย์ 14. ฐานการเลี้ยงปลา แซนวิชปลา

5. ฐานปลูกผักปลอดสารพิษ 15. ฐานการเพาะเห็ดนางฟ้า

6. ฐานการแปรรูปอาหาร 16. ฐานการเพาะเลี้ยงปลาช่อน (แปลงใหญ่ปลาช่อน)

7. ฐานการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”

8. ฐานการเพาะเลี้ยงปลาช่อน (แปลงใหญ่ปลาช่อน)

9. ฐานเกษตรทฤษฎีใหม่/เกษตรผสมผสาน

10. ฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Community Development Volunteer Leader Center

2

"ท"ีเท่ีเรอ่ืร่อือ่ยอยงางากDกDบDบDออกขก"อ"ง1เ.ศรสษาฐมกาิรจถพเอป็เนพีตย้นงแเกบษบตกราทรนฤ้ษอมฎีนใหำแม่นเกวคษิดตหรปลัลกอปดรัภชัญยา

มาปฏิบัติจนเห็นเป็นรูปธรรม และขยายผลในพื้นที่
ระดับหมู่บ้าน ตำบล และอำเภอได้

2. เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สามารถเป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ช่วยเหลือสมาชิก/ประชาชนได้

3. เป็นสถานที่ที่ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนใช้ดำเนิน
กิจกรรมด้านจิตอาสา เอื้ออำนวยให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ฝึกอบรม พัฒนาทักษะอาชีพ และกิจกรรมจิตอาสาอื่น ๆ ได้

ปปััจจจจััยยคคววาามมสสำำเเรร็็จจ :: "" IIDDEEAA CCAANN DDOO""

1. ผู้นำท้องที่ ท้องถิ่น ภายในตำบล อำเภอ
จังหวัด ให้การสนับสนุน
2. มีการริเริ่ม และดำเนินการของ "กลุ่มเกษตร
อินทรีย์" โดยมีพื้นฐาน มีสมาชิกที่มาจากหลาย
หมู่บ้านที่ให้ความสนใจ
3. สมาชิกกลุ่มมีความรักความสามัคคี

Community Development Volunteer Leader Center

3

เเรรืื่่อองงรราาววขขอองงเเรราา

ที่มา : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกำแพงเพชร

Community Development Volunteer Leader Center

BBEESSTT PPRRAACCTTIICCEE :: ศศ..จจออสส..พพชช.. จจัังงหหววััดดนนคครรสสววรรรรคค์์ 4

ศูนย์เรียนรู้ โคก หนอง นา โมเดล ตำบลหนองตางู

หมู่ที่ 7 ตำบลหนองตางู อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์

"รู้จักกันก่อน"ผู้นเำริก่มาตร้ศนเปูขนึล้นี่ยยจ์นเารกแียปนนลารงยู้เเส“มืโ่มอีคปยีกนพ.สหศีร.นว2ัอต56รง3เนขณ้าารศับูตนกายา์เศรหึฝกึมกษียอานบแลร”มะพตัฒามนโคาชรุมงชกนาร

พิษณุโลก จากนั้นได้นำความรู้กลับมาปรับปรุงพัฒนาพื้นที่ตนเอง
ตามแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” จนเห็นผลเป็นรูปธรรมด้านการ
พัฒนาพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ จนเกิดเป็นพื้นที่ตัวอย่างของหมู่บ้าน
ส่งเสริมให้คนที่สนใจมาศึกษาเรียนรู้และนำไปสู่ปฏิบัติ จนได้รับการ
จัดตั้งเป็นศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน นำร่องจังหวัดนครสวรรค์

ศูนย์เรียนรู้ โคก หนอง นา โมเดล ตำบลหนองตางู ททีี่่ออยย""เาาเรรืืกก่่ออบบงงออDDกกDD""
ได้พัฒนาต่อยอดเป็นแหล่งเรียนรู้ ที่มากกว่าเรียนรู้ โคก หนอง

นา โมเดล จนสร้างความภาคภูมิใจให้กับคนในตำบลหนองตางู

ในการสร้างความมั่นคงทางด้านอาหาร สิ่งแวดล้อม และสามารถสร้างภูมิคุ้มกัน

ให้กับคนในตำบลหนองตางูได้ทุกครัวเรือน มีอาหารที่พอเพียงสำหรับทุกครัวเรือน

มีความหลากหลาย ปลอดสารพิษ และยังจัดสวัสดิการให้ทุกคนในตำบลหนองตางู

ศูนย์เรียนรู้ โคก หนอง นา โมเดล ตำบลหนองตางู สร้างฐานทรัพยากรให้เกิดในชุมชน

สร้างอาชีพ โดยได้จัดตั้งกลุ่มปลูกผักเพื่อสร้างรายได้ในครัวเรือน สามารถขจัดความยากจน

ในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ยังส่งเสริมผู้นำชุมชน กลุ่ม องค์กร เครือข่ายงานพัฒนาชุมชน

เป็นทุนทางสังคม ใช้ภูมิปัญญาให้เป็นพลังในการสร้างสรรค์งานพัฒนาชุมชน ส่งเสริม

และสนับสนุนการพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ รวมถึงการพัฒนาภาวะผู้นำ เสริมสร้าง

อุดมการณ์ทำงานเพื่อสาธารณะในรูปแบบผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน เพื่อสร้างจิตสำนึก

ให้ทุกคนรับผิดชอบต่อชุมชน มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาเพื่อให้เกิดเป็นชุมชน

ที่เข้มแข็งอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Community Development Volunteer Leader Center

5

ปปััจจจจััยยคคววาามมสสำำเเรร็็จจ :: "" IIDDEEAA CCAANN DDOO""

1. คณะกรรมการศูนย์ฯ มีความมุ่งมั่น
ตั้งใจต้องการพัฒนาศักยภาพของตนเอง
และนำพาหมู่บ้าน ชุมชนของตนเองให้พ้นผ่านวิกฤติโควิด 19
2. คณะกรรมการศูนย์ฯ เป็นผู้นำที่ลงมือทำก่อน โดยลงมือทำตาม
แนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
3. การมีส่วนร่วมของคนในชุมชนทั้งตำบลที่ได้น้อมนำแนวคิดปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง มาปรับใช้ให้ตรงกับภูมิสังคมของตน และชุมชน
อย่างเป็นรูปธรรม
4. คณะกรรมการศูนย์ฯ ทุกคน มีการน้อมนำหลักการเข้าใจ เข้าถึง
และพัฒนามาลงมือปฏิบัติ ทำให้เห็นผลเป็นรูปธรรม
5. คณะกรรมการศูนย์ฯ ทุกคนปฏิบัติตามข้อตกลงของตำบล
หนักแน่น แม่นเป้า เข้าถึง

Community Development Volunteer Leader Center

6

เเรรืื่่อองงรราาววขขอองงเเรราา

กิจกรรมการจัดตั้งศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน

Community Development Volunteer Leader Center

7

ประชุมคณะกรรมการศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน

Community Development Volunteer Leader Center

8

การขับเคลื่อนศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน

กิจกรรมเอามื้อสามัคคี

ที่มา : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครสวรรค์

Community Development Volunteer Leader Center

BBEESSTT PPRRAACCTTIICCEE :: ศศ..จจออสส..พพชช.. จจัังงหหววััดดพพิิจจิิตตรร 9

ศูนย์เรียนรู้ทฤษฎีใหม่รูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล”

บ้านฉัตรหวาย หมู่ที่ 15 ตำบลดงเสือเหลือง อำเภอโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตร

"รู้จักกันก่อน"ศูนย์เรียนรู้ทฤษฎีใหม่รูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” บ้านฉัตรหวาย

โดยมีนายวสันต์ เพ็งกลัด เป็นประธานศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน
และเป็นเจ้าของแปลง พื้นที่ 1 ไร่ มีฐานรียนรู้ที่ให้บริการภายในศูนย์ คือ
1. ฐานฅนรักษ์น้ำ เรียนรู้การทำ EM BALL การทำแซนวิชปลา

2. ฐานฅนรักษ์พระแม่โพสพ เรียนรู้การทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ การห่มดิน
การทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง และการทำฮอร์โมนนมสด
ด้วยการดำเนินกิจกรรมของศูนย์เรียนรู้ทฤษฎีใหม่รูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล”
บ้านฉัตรหวาย มีความสอดคล้องตามแนวทางการดำเนินงานของศูนย์ผู้นำจิตอาสา
พัฒนาชุมชนที่กรมการพัฒนาชุมชนกำหนด ได้รับการจัดตั้งเป็น

"ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน" นำร่องของจังหวัดพิจิตร

เป็นศูนย์เรียนรู้ทฤษฎีใหม่รูปแบบ ทททีีี่่่อออ""ยยย""เเาาาเเรรกกืืกรรืื่่ออบบบงงงงอออDDกกกDDDD"""DD
“โคก หนอง นา โมเดล”

ในระดับหมู่บ้าน ตำบล และอำเภอ

ปปััจจจจััยยคคววาามมสสำำเเรร็็จจ :: "" IIDDEEAA CCAANN DDOO""

ศูนย์เรียนรู้ทฤษฎีใหม่รูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล”
บ้านฉัตรหวาย ได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาเป็นหลักในการดำรงชีวิตพร้อมเสียสละเพื่อส่วนรวม
และสร้างประโยชน์ให้กับชุมชน

Community Development Volunteer Leader Center

10

เเรรืื่่อองงรราาววขขอองงเเรราา

ที่มา : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพิจิตร

Community Development Volunteer Leader Center

BBEESSTT PPRRAACCTTIICCEE :: ศศ..จจออสส..พพชช.. จจัังงหหววััดดออุุททััยยธธาานนีี 11

ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

(เกษตรทฤษฎีใหม่ จิรศักดิ์)

22/1 บ้านตานาด หมู่ที่ 4 ตำบลเนินแจง อำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี

"รู้จักกันก่อน" ตำบลเนินแจง ดำเนินโครงการส่งเสริมและพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ปี 2564 และขยายผลเป็นศูนย์แบ่งปันเมล็ดพันธุ์ตำบลเนินแจง ร่วมกับพื้นที่

ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง

นา โมเดล” จึงประสานความร่วมมือทุกภาคส่วน จากทั้งแกนนำชุมชนหมู่บ้าน

วัด โรงเรียน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และส่วนราชการต่าง ๆ

ในการพัฒนาและยกระดับพื้นที่ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง (เกษตร

ทฤษฎีใหม่ จิรศักดิ์) และเป็นศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนตำบลเนินแจง

นำร่องของหวัดอุทัยธานี ทีท่ีอ่อททียี่"่อย"อเายเาร"ยืก"ร่ือเกา่เาอรบืรก่ืบกงอ่องบอบองงDอDกอกDDDกDก""DD""

ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

(เกษตรทฤษฎีใหม่ จิรศักดิ์)

เป็นแหล่งศึกษาดูงานศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

มีฐานเรียนรู้ ดังนี้

1. น้ำยาไล่แมลงจากสมุนไพร 8. เลี้ยงไก่พันธุ์แสมดำ
2. น้ำยาอเนกประสงค์ 9. การเลี้ยงกระบือ
3. ทำฮอร์โมนไข่ 10. ปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์

4. ปุ๋ยหมัก 11. เพาะชำกล้าพันธ์ยางนา
5. จักสาน 12. ทำไม้กวาด
6. ระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ 13. ถักพรม

7. ปลูกข้าวอินทรีย์
และเป็นแหล่งเรียนรู้ของกรมปศุสัตว์ ศูนย์เครือข่าย ศพก. เป็นผู้นำต้นแบบการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
และยังได้รับเมล็ดพันธุ์ผักพระราชทานจากศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ
และจัดตั้งเป็นเครือข่ายเมล็ดพันธุ์พืช กองอำนวยการรักษาความมั่นคง

ภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) จังหวัดอุทัยธานี

Community Development Volunteer Leader Center

12

ปั จจัยความสำเร็จ : " IDEA CAN DO"

1. ขับเคลื่อนกิจกรรมต่อเนื่องจากโครงการเสริมสร้างผู้นำ
การเปลี่ยนแปลง ทำให้มีต้นทุนของผู้นำในการขับเคลื่อนงาน
ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน

2. ผู้นำ รักในงานพัฒนาชุมชน ทุ่มเท เสียสละ และเข้มแข็ง
ดำเนินการเป็นต้นแบบ “ผู้นำต้องทำก่อน” เพื่อเป็นตัวอย่าง
ในการประพฤติปฏิบัติ ในการสร้างความมั่นคงทางอาหารและการดำเนินชีวิต
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3. บูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้งแกนนำชุมชน หมู่บ้าน
วัด โรงเรียน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และส่วนราชการต่าง ๆ

โดยร่วมกันขับเคลื่อนการดำเนินงานจนประสบความสำเร็จ

Community Development Volunteer Leader Center

13

เเรรืื่่อองงรราาววขขอองงเเรราา

Community Development Volunteer Leader Center

14
Community Development Volunteer Leader Center

15

ที่มา : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดอุทัยธานี

Community Development Volunteer Leader Center

16

ที่ ป รึก ษ า

นายสมคิด จันทมฤก อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นายนิวัติ น้อยผาง รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นางสาวนิภา ทองก้อน ผู้อำนวยการสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน

ค ณ ะ ผู้ จัด ทำ ผอ.กลุ่มงานส่งเสริมการเรียนรู้ชุมชน

นางพัชรินทร์ ธรรมสาร

นางสาวพิมพ์ชนา พิชาพันธ์โภคิน นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ

นางสาวชุติมณฑน์ อุตสาหะ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ

นางสาวฉายาลักษณ์ แก้วศรีพจน์ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ

นางสาวลดา นพรัตน์ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาชำนาญงาน

นายภานุมาศ ตรีสุวรรณ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาชำนาญงาน

ผู้รวบรวมและเรียบเรียง

นางสาวพิมพ์ชนา พิชาพันธ์โภคิน นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ

นางสาวลดา นพรัตน์ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาชำนาญงาน

อ อ ก แ บ บ / ก ร า ฟิ ก

นางสาวสุภัสสร แสบรัมย์ นักศึกษาฝึกงาน

คณะรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

จัด ทำ โ ด ย

สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

สำนักเสริมสาร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ศูนย์ราการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคาร B) ชั้น 5

ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210


Click to View FlipBook Version