คาํ นํา
แนวทางการดำเนินงาน ศูนยเรียนรู โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน ฉบับน้ี
จัดทำขึ้นเพื่อเสริมสรางความรู ความเขาใจ และใหแนวทางการดำเนินงานและ
การพัฒนาขีดความสามารถของศูนยเรียนรูการพัฒนาพื้นที่ตนแบบการพัฒนา
คุณภาพชีวิต ในรูปแบบ “โคก หนอง นา” ใหมีศักยภาพในการขับเคลื่อนภารกิจ
ยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน โดยเนื้อหาในเอกสาร
ประกอบดวย ความเปนมา แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของ และแนวทางดำเนินงาน
รวมถงึ แนวทางการสนับสนนุ ของผเู กี่ยวขอ ง
คณะผูจัดทำ หวังเปนอยางยิ่งวาแนวทางฉบับนี้จะเปนประโยชน
ใหกับผูปฏิบัติงานและผูเกี่ยวของในการขับเคลื่อนและพัฒนาศูนยเรียนรู
“โคก หนอง นา” พัฒนาชุมชน และสามารถผลักดันศูนยเรียนรูใหบรรลุเปาหมาย
ที่กำหนด
กรมการพฒั นาชมุ ชน
กรกฎาคม ๒๕๖๔
สารบญั
คำนำ หนา
สารบญั ๑
๔
สวนท่ี 1 บทนำ ๔
ความเปนมา ๖
แนวคิดและทฤษฎีการพฒั นา ๑๓
• ศาสตรพ ระราชา ๑๔
• ทฤษฎีใหม
• ภูมสิ ังคม ๑๕
• โคก หนอง นา ๑๗
๑๘
สว นท่ี 2 ศูนยเรียนรู โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน ๒๑
๒๕
โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน
• คำนิยาม ๒๘
• องคประกอบสำคญั ๓๑
3๒
ศนู ยเรยี นรู โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน
• ศูนยเรียนรู โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน : ระดบั ครัวเรอื น
• ศนู ยเ รียนรู โคก หนอง นา พฒั นาชมุ ชน : ระดบั ตำบล
สวนที่ 3 การบริหารศนู ยเรยี นรูใหมีชวี ิต
การพัฒนาศนู ยเรยี นรู
แนวทางการดำเนนิ งานของฝา ยสนบั สนนุ
ภาคผนวก
ปายช่ือ ศนู ยเ รียนรู
อางองิ
แนวทางการดำเนินงานศนู ยเ รียนรู โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
สว่ นท่ี ๑ บทนํา
ความเป็ นมา
กระทรวงมหาดไทยโดยกรมการพัฒนาชุมชน ดำเนินงานโครงการพัฒนา
พื้นที่ตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม ประยุกตสู
“โคก หนอง นา โมเดล” เพื่อสงเสริมฟนฟูเศรษฐกิจทองถิ่นและชุมชน ผานการ
สรางงานสรางงานสรางรายไดใหแกเกษตรกร แรงงานและบัณฑิตจบใหม
กลุมแรงงานที่อพยพกลับทองถิ่นและชุมชนที่ไดรับผลกระทบจากสถานการณ
ในชวงวิกฤตการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ในพื้นที่เปาหมาย 73 จังหวัด 575 อำเภอ 3,246 ตำบล 25,179 ครัวเรือน
โดยดำเนินการรวมกับมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา
เจาคุณทหารลาดกระบัง และภาคีเครือขายภาคสวนตาง ๆ ทั้ง 7 ภาคี ดวยการ
นอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงสูการปฏิบัติอยางเปนขั้นตอน
ตามกลไกการขับเคลื่อนสืบสานศาสตรพระราชาเพื่อการปฏิรูปประเทศ โดยใช
หมูบานเปนฐานของการพัฒนา มุงสรางภูมิคุมกันใหทุกครัวเรือน และพัฒนาคน
ใหมีความรูและปรับตวั ใหส ามารถดำเนินชวี ติ อยางมคี วามสขุ มีอาชพี สรางรายได
ทามกลางวิกฤตโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วดวยการจัดทำโครงการ
ที่ประยุกตการใชศาสตรพระราชาและนอมนำเอาแนวคิดและทฤษฎีการพัฒนา
อันเนื่องมาจากพระราชดำริกวา 40 ทฤษฎี ที่ทรงพระราชทานไวใหในการแกไข
ปญหาดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม มาประยุกตกับแนวคิดการพัฒนา
พื้นที่และการออกแบบเชิงภูมิสังคมไทย เพื่อการพึ่งตนเองและรองรับภัยพิบัติ
ในรปู แบบ “โคก หนอง นา โมเดล”
การพัฒนาพื้นที่ ในรูปแบบ“โคก หนอง นา โมเดล” เปนการสราง
การพัฒนาคุณภาพชีวิตใหเหมาะสมกับหมูบานในภูมิสังคมตาง ๆ โดยในระดับ
พื้นฐาน ดำเนินการสราง (1) พื้นที่เรียนรูชุมชนตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต
(Community Lab Model for Quality of Life : CLM) ระดับตำบล จำนวน
1
แนวทางการดำเนินงานศูนยเ รียนรู โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
337 ตำบล และสราง (2) พื้นที่ครัวเรือนตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต
(Household Lab Model for Quality of Life : HLM) ระดบั ครวั เรอื น จำนวน 24,842
ครัวเรือน และ (3) บูรณาการรวมพัฒนาพื้นที่ระดับตำบล เพื่อการบริหารจัดการ
น้ำขั้นพื้นฐานที่เหมาะสมกับภูมิสังคมตามแนวพระราชดำริ 10 วิธี เชื่อมโยงกับ
พื้นที่ปฏิบัติการโครงการฯ จากนั้นพัฒนาสูระดับกาวหนา โดยการดำเนินการ
สงเสริมการสรางมาตรฐานผลผลิต การแปรรูป และการตลาดตามมาตรฐาน
อินทรียวิถีไทย ยกระดับชุมชนทั้ง 337 ตำบล ใหสามารถ (1) แกไขวิกฤต
ดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมของประเทศ (2) เสริมสรางความสามัคคี
และสรางเสริมสุขภาพใหแข็งแรงผานการทำกิจกรรมพัฒนาพื้นที่รวมกัน
(3) สรางระบบเกษตรกรรมยั่งยนื ท่ีผลิตอาหารปลอดภัยสารเคมีและผลิตสมนุ ไพร
ตาง ๆ เพอื่ ยกระดบั อาหารใหเปนยาทส่ี ามารถสรา งเสรมิ ภมู ิตา นทานโรค อีกทัง้ ยัง
(4) เพิ่มการจัดการใหกักเก็บน้ำฝนที่ตกในพื้นที่ไดเพียงพอตอการเพาะปลูก
และการดำรงชีวิตชวยแกปญหาภัยแลงและน้ำทวม (5) เพิ่มพื้นที่ปาที่ชวยฟอก
อากาศที่บริสุทธิ์ และชวยกักเก็บคารบอนในชั้นบรรยากาศลดปญหาฝุนละออง
ขนาดเลก็ PM 2.5 (6) เก็บรักษาและฟนฟหู นาดินดวยการเก็บตะกอนดินในพ้ืนที่
ชว ยสรางความสมดลุ ของระบบนิเวศใน ดิน น้ำ และปา (7) เพิม่ ความหลากหลาย
ใหกับพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว ทั้งนี้ การดำเนินการพัฒนาสูระดับ
กาวหนาในระยะที่ 2 มีแผนดำเนินการสงเสริมในระดับชุมชนใหรวมตัวกันจัดต้ัง
กลุมเปนกลุมอาชีพเพื่อสรางวิสาหกิจชุมชน ซึ่งจะสงผลใหเกิดการสราง
ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และสนับสนุนกระบวนการผลิตดวยการสงเสริม
และสนับสนุนใหวิสาหกิจชุมชนสามารถพัฒนายกระดับมุงไปสูการจัดตั้งบริษัท
วิสาหกิจเพื่อสังคมในระดับตำบล เพื่อพัฒนาศักยภาพการเพิ่มผลผลิตตาง ๆ
ที่ไดจากในพื้นที่ดำเนินการ เพิ่มมูลคาดวยการแปรรูป ขยายตลาดการทองเที่ยว
ชุมชน ฯลฯ และสรางงานวิจัยชุมชน เพื่อยกระดับผลิตภัณฑหรือคนหาอัตลักษณ
ของชุมชน การสรางนวัตกรรมที่เหมาะสมกับภมู ิสงั คมของชุมชน สรางการจัดการ
ความรูในมิติการพึ่งตนเอง ดานครู คลัง ชาง หมอ ของชุมชน รวมกับ
สถาบนั การศึกษาในพนื้ ท่ชี มุ ชนทว่ั ประเทศ ใหไ ดผ ลการดำเนินงานทสี่ ามารถนำไป
2
แนวทางการดำเนนิ งานศูนยเรยี นรู โคก หนอง นา พฒั นาชมุ ชน
ตอยอดใหกับวิสาหกิจชุมชนในดา นการพัฒนาการทองเที่ยวชุมชน การเพิ่มมูลคา
ผลผลิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานรากของชุมชน รวมทั้งสรางการสื่อสารสังคม
ใหเกิดกระบวนการเรียนรูและการมีสวนรวมในระดับชุมชน ระดับตำบล ระดับ
อำเภอ ระดับจังหวัด ระดับประเทศและระดับนานาชาติ เรื่องการนอมนำ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy Philosophy: SEP)
ในรูปแบบการทำงาน ตามศาสตรพระราชาสูการปฏิบัติจนเปนวิถีชีวิตของ
ประชาชน ใหบรรลุตามเปาหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable
Development Goals: SDGs) (SEP for SDGs) ในรูปแบบและวิธีการตาง ๆ
ที่เขาถึงคนไดทุกระดับและทุกชวงวยั ผานการดำเนินงานโครงการในทกุ พ้ืนทีเ่ พอ่ื
สือ่ สารวิธีการแกไขวิกฤต ตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดว ยการสราง
ตวั อยางความสำเรจ็ ทเ่ี ริ่มตน จากการพัฒนาคนใหโ ลกไดร ับรูอยา งแพรหลาย
ทั้งนี้ การขับเคลื่อนตามกระบวนการทั้ง 2 ระยะจะเปนการ (๘) เตรียม
ความพรอมใหชุมชนมีความสามารถในการพึ่งตนเองในเรื่องของน้ำ อาหาร และ
พลังงานทดแทน สรางภูมิคุม กันชุมชนตอ สภาพปจจบุ นั ที่โลกกำลงั เผชิญกับวิกฤต
ความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติธรรมชาติอยางรุนแรง วิกฤต
ทางดานโรคระบาด วิกฤตทางดานความอดอยาก และวิกฤตความขัดแยง
ของสงครามเศรษฐกจิ หรือสงครามรูปแบบตาง ๆ ในอนาคต
3
แนวทางการดำเนินงานศูนยเ รยี นรู โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน
แนวคิดและทฤษฎีการพฒั นา
เปนแนวคิดและทฤษฎีที่เกิดจากอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถ
อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ของพระบาทสมเด็จพระชนกาธิเบศร มหาภูมิพล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในการที่ไดทรงคิดคน ดัดแปลง ปรับปรุง และ
แกไขใหการพัฒนาโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริเปนงานที่ดำเนินการ
ไปไดงาย ไมยุงยากซับซอน และสอดคลองกับสภาพความเปนอยูและระบบนิเวศ
โดยสวนรวมของธรรมชาติ ตลอดจนสภาพทางสังคมและชุมชนนั้น ๆ มุงเนน
ใหผลการดำเนินงานนั้นตกถึงมือประชาชนโดยตรงเปนเบื้องแรก เพื่อบรรเทา
ปญหาเฉพาะหนา คือ การพออยู พอกิน ขณะเดียวกับที่ปูพื้นฐานไวสำหรับความ
อยูดี กินดใี นอนาคต
• ศาสตรพ์ ระราชา
องคความรูที่เปนปญญาของพระบาทสมเด็จพระชนกาธิเบศร มหาภูมิพล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร จากกระบวนการทรงงานในโครงการ
พระราชดำริตา ง ๆ ซึง่ มกี วา 4,000 โครงการ ครอบคลมุ ในทุกมติ ิ ดา นเศรษฐกิจ
สังคมเทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม เพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน ซึ่งศาสตรพระราชา
ที่นำมาประยุกตใชกับแนวคิดการพัฒนาพื้นที่และการออกแบบเชิงภูมิศาสตร
สังคมไทยเพื่อการพึ่งตนเองและรองรับภัยพิบัติ ในรูปแบบ “โคก หนอง นา
โมเดล” ไดแ ก
1. แกลง ดนิ
2. หญาแฝก
3. หม ดิน
4. ดินเสอื่ มโทรม ดนิ ดาน ดนิ คุณภาพตำ่ สารเคมี
5. บำรงุ ดนิ
6. ฝนหลวง
7. หนอง
8. คลองไสไก
4
แนวทางการดำเนินงานศนู ยเ รียนรู โคก หนอง นา พฒั นาชมุ ชน
9. ฝายชะลอนำ้ คนั กั้นนำ้
10. เขือ่ นกกั เก็บนำ้
11. โครงการแกม ลิง
12. โคกหนองนาโมเดล
13. น้ำดีไลนำ้ เสยี
14. อธรรมปราบอธรรม
15. ระบบลมแสงแดด
16. ระบบบำบัดน้ำเสยี แบบสิ่งประดษิ ฐ
17. ระบบสระเตมิ อากาศ
18. กังหันชัยพฒั นา
19. การบริหารจดั การนำ้ จากภผู าสมู หานที
20. ปา 3 อยา งประโยชน 4 อยาง
21. การปลกู ปาทดแทน
22. พระราชดำรัสภเู ขาปา
23. ปาเปยก
24. ปาไมสาธิต
25. ปลกู ปาบนท่ีสงู
26. ปลกู ปา ในใจคน
27. ปลูกปา ตนน้ำลำธารหรอื การปลกู ปา ธรรมชาติ
28. ปลกู ปา โดยไมต อ งปลูก
29. การอนรุ กั ษสัตวป า
30. การอนุรกั ษพ ันธุพชื
31. มลพิษและการเปลี่ยนแปลงภมู อิ ากาศ
32. การจัดการส่งิ แวดลอ มขยะชุมชน
33. การศึกษา
34. สหกรณ
35. รางวัลความสำเร็จดา นการพฒั นามนุษย
5
แนวทางการดำเนนิ งานศนู ยเ รยี นรู โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน
36. บวร
37. ทำแบบคนจน
38. เศรษฐกจิ พอเพยี ง
39. ขาว
40. พลงั งานทดแทน
41. ทฤษฎใี หม
• ทฤษฎีใหม่
จากปญหาหลักของเกษตรกรในอดีตจนถึงปจจุบันที่สำคัญประการหน่ึง
คือ การขาดแคลนน้ำเพื่อเกษตรกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งในเขตพื้นที่อาศัยน้ำฝน
ซึ่งเปนพื้นที่สวนใหญของประเทศที่อยูในเขตที่มีฝนคอนขางนอย และสวนมาก
เปนนาขาวและพืชไร เกษตรกรยังคงทำการเพาะปลูกไดปละครั้งในชวงฤดูฝน
เทานั้น และมีความเสี่ยงกับความเสียหายอันเนื่องมาจากความแปรปรวนของดิน
ฟา อากาศ และฝนทิ้งชวง แมวาจะมีการขุดบอหรือสระเก็บน้ำไวใชบางแตก็ไมมี
ขนาดแนนอน หรือมีปจจัยอื่น ๆ ที่เปนปญหาใหมีน้ำใชไมเพียงพอรวมทั้งระบบ
การปลูกพืชไมมีหลักเกณฑใด ๆ และสวนใหญปลูกพืชชนิดเดียว ดวยเหตุนี้
พระบาทสมเด็จพระชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร จึงได
พระราชทานพระราชดำริเพื่อเปนการชวยเหลือเกษตรกรที่ประสบความยากลำบาก
ดังกลาวใหสามารถผานพนชวงเวลาวิกฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนน้ำได
โดยไมเดือดรอนและยากลำบากนัก พระราชดำรินี้ ทรงเรียกวา “ทฤษฎีใหม”
อันเปนแนวทางหรือหลักการในการบริหารจัดการที่ดินและน้ำเพื่อการเกษตร
ในท่ีดินขนาดเล็กใหเกดิ ประโยชนส ูงสุด
พระราชดำรสั ท่ีเกย่ี วขอ งเกี่ยวกบั “ทฤษฎใี หม”
"... หลักมีวา แบงที่ดินเปนสามสวน สวนหนึ่งเปนที่สำหรับปลูกขาว
อกี สวนหนึง่ สำหรับปลูกพืชไร พชื สวน และกม็ ีท่ีสำหรบั ขดุ สระน้ำ ทฤษฎีใหมนี่จะ
ขยายขึ้นไปได อาจจะทั่วประเทศ แตตองชา ๆ เพราะวาตองสิ้นเปลือง สิ้นเปลือง
6
แนวทางการดำเนนิ งานศูนยเ รยี นรู โคก หนอง นา พัฒนาชมุ ชน
คาใชจายไมใชนอย ๆ แตวาคอย ๆ ทำ และเมื่อทำแลวก็นึกวาเปนวิธีการอยาง
หนึ่งที่จะทำใหประชาชนมีกินแบบตามอัตภาพ คือ อาจไมรวยมาก แตก็พอกิน
ไมอ ดอยาก..."
พระราชดำรสั เม่ือวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2537
ณ ศาลาดุสดิ าลยั สวนจิตรลดา พระราชวังดสุ ติ กรงุ เทพมหานคร
"...ทำทฤษฎีใหมเพื่อที่จะใหประชาชนมีโอกาสทำเกษตรกรรมใหพอกิน
ถาน้ำมีพอดีในปไหนก็สามารถที่จะประกอบการเกษตรหรือปลูกขาว ที่เรียกวา
นาปได ถาตอ ไปในหนาแลง นำ้ มนี อ ยก็สามารถทีจ่ ะใชน ้ำที่กักไวใ นสระเกบ็ นำ้ ของ
แตละแปลงมาทำการเพาะปลูก แมแตขาวก็ยังปลูกได ไมตองไปเบียดเบียน
ชลประทานระบบใหญ เพราะมขี องตัวเอง แตก็อาจจะปลูกผักหรือเลี้ยงปลา หรอื
ทำอะไรอื่น ๆ ก็ได ทฤษฎีใหมนี่มีไวสำหรับปองกันความขาดแคลน ในยามปกติ
ก็จะทำใหร่ำรวยมากขึ้น ในยามที่มีอุทกภัยก็สามารถที่จะฟนตวั ไดเร็ว โดยไมตอง
ใหทางราชการไปชวยมากเกินไป ทำใหประชาชนมีโอกาสพึ่งตนเองไดอยางดี
ฉะนัน้ จงึ ไดสนบั สนุนใหม กี ารปฏิบัติตามทฤษฎีใหม..."
พระราชดำรัส เมื่อวนั ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2538
ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั สวนจติ รลดา พระราชวงั ดสุ ิต กรงุ เทพมหานคร
"...การทำทฤษฎีใหม ตองสามารถยืดหยุนได สามารถปรับสัดสวนการใช
พื้นที่ใหมีความเหมาะสมตามสภาพพื้นที่ เชน พื้นที่ที่มีระบบชลประทานเขาถึง
แปลงทฤษฎีใหมก็ทำบอเก็บน้ำใหเล็กลง แลวเพิ่มที่ปลูกไมผล พืชไร พืชผัก
แทน สวนพื้นที่ที่ไมมีระบบชลประทาน ก็ตองทำบอเก็บน้ำใหมีขนาดใหญขึ้น
เพราะตองรบั นำ้ ฝนมาเกบ็ ไวใ ชท ำกนิ ตลอดป..."
พระราชดำรสั เมื่อวนั ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2541
ณ โครงการสวนสมเด็จพระศรนี ครินทราบรมราชชนนี อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี
7
แนวทางการดำเนนิ งานศนู ยเรียนรู โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
หลักการสำคัญของทฤษฎีใหม
การบริหารจัดการทรัพยากรโดยเฉพาะดินและน้ำที่มีอยูจำกัดใหเกิด
ประโยชนสูงสุด เพื่อใหเกษตรกรสามารถดำเนินชีวิตอยูไดอยางพอเพียง โดยเนน
การพง่ึ พาตนเองใหม ากท่ีสดุ
เหตทุ ่ีเรียก “ทฤษฎใี หม”
๑. มีการบริหารและจัดแบงที่ดินขนาดเล็กออกเปนสัดสวนที่ชัดเจน
เพ่ือประโยชนสงู สดุ ของเกษตรกร
๒. มีการคำนวณโดยหลักวิชาการ เกี่ยวกับปริมาณน้ำที่จะเก็บกัก
ใหพอเพยี งตอ การเพาะปลูกไดอยา งเหมาะสมตลอดป
๓. มีการวางแผนทส่ี มบรู ณแ บบ ประกอบดว ย ๓ ขนั้ ตอน
ขน้ั ตอนของทฤษฎใี หม การทำเกษตรทฤษฎีใหม มี ๓ ขั้นตอน
ขั้นที่ ๑ เปนการผลิตแบบพึ่งตนเองดวยวิธีงาย ๆ คอยเปนคอยไป ตามกำลงั
พอมีพอกินไมอ ดอยาก
ขั้นที่ ๒ เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุมหรือสหกรณ รวมแรงในเรื่องของ
การผลติ การตลาด การเปนอยู สวสั ดกิ าร การศึกษา สงั คม และศาสนา
ขั้นที่ ๓ รวมมือกับแหลงเงินและพลังงาน ตั้งและบริการโรงสี ตั้งและ
บริการรานสหกรณ ชวยกันลงทุน ชวยกันพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนใน
ชนบท ซงึ่ มิใชท ำอาชพี เกษตรเพยี งอยา งเดยี ว
ขน้ั ที่ ๑ เปน การสรางความพอเพียงในระดบั ครอบครัว
ขน้ั ท่ี ๒ และ ๓ เปน การสรางความพอเพยี งในระดบั ชุมชน
8
แนวทางการดำเนินงานศูนยเรยี นรู โคก หนอง นา พฒั นาชมุ ชน
การจดั การในทฤษฎใี หม
การจัดสรรพื้นที่ในการทำเกษตรทฤษฎีใหมขั้นที่ ๑ ซึ่งเปนขั้นพื้นฐาน
สำคัญแบงออกเปนเกษตรทฤษฎีใหมอาศัยน้ำฝน และเกษตรทฤษฎีใหมอาศัย
นำ้ ชลประทาน (เติมน้ำได)
เกษตรทฤษฎีใหมอาศัยน้ำฝน การจัดสรรพื้นที่อยูอาศัยและที่ทำกิน
แบง ออกเปน ๔ สว น ตามสดั สว น ๓๐ : ๓๐ : ๓๐ : ๑๐
สว นท่ี ๑ สระนำ้ ๓๐ %
สวนท่ี ๒ นาขา ว ๓๐ %
สว นที่ ๓ พชื สวนพชื ไร ๓๐ %
สวนท่ี ๔ ท่ีอยอู าศยั ๑๐ %
เงื่อนไข คอื มีพ้ืนทนี่ อย (ประมาณ ๑๕ ไร) อยใู นเขตเกษตรนำ้ ฝน ฝนตก
ไมชุก ปลูกขาวเปนพืชหลัก สภาพดินสามารถขุดสระเก็บกักน้ำได ฐานะคอนขาง
ยากจน มีสมาชิกในครอบครัวปานกลางประมาณ ๕ - ๖ คน และไมมีอาชีพ
หรือรายไดอ่นื ทีด่ ีกวาในบริเวณใกลเคียง
เกษตรทฤษฎีใหมอาศัยน้ำชลประทาน (เติมน้ำได) การทำทฤษฎีใหม
สามารถยืดหยุนปรับสัดสวนการใชพื้นที่ใหมีความเหมาะสมตามสภาพพื้นท่ี
เชน พื้นที่ภาคใตที่มีฝนตกชุกกวาภาคอื่น หรือพื้นที่ที่มีแหลงน้ำมาเติมได หรือมี
ระบบชลประทานเขาถงึ สัดสว นของสระนำ้ อาจเล็กลง แลว เพิ่มเติมพนื้ ที่ปลกู ไมผล
พชื ไร พืชผักแทน
โดยอาจแบง พื้นที่ออกเปน ๔ สวน ตามอัตราสว น ๑๖ : ๒๔ : ๕๐ : ๑๐
สว นที่ ๑ สระนำ้ ๑๖ %
สวนที่ ๒ นาขาว ๒๔ %
สว นท่ี ๓ ไมผล พชื หลกั และพชื ไร ๕๐ %
สว นที่ ๔ ท่ีอยอู าศยั ๑๐ %
ที่ดอน จัดเปน พื้นที่สำหรบั ปลูกไมผ ล เลี้ยงสัตว และทอี่ ยอู าศยั
ทล่ี ุม จัดเปนพน้ื ที่ทำนาขาว แปลงผัก และสระน้ำ
9
แนวทางการดำเนินงานศนู ยเรยี นรู โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
ทฤษฎีใหมข้ันตน การจัดสรรทอ่ี ยูอ าศัยและทำกนิ
“การผลิตเปนการผลิตใหพึ่งตนเองไดดวยวิธีงายๆ คอยเปนคอยไป
ตามกำลงั ใหพ อมีกนิ ไมอดอยาก”
(พระราชดำรัส เมอื่ วันที่ ๑๕ มนี าคม ๒๕๓๗)
โดยใหแบงพื้นที่ซึ่งเฉลี่ยแลวเกษตรกรไทยมีเนื้อที่ถือครอง ๑๐ - ๑๕ ไร/
ครอบครัว โดยแบงออกเปน ๔ สวน คือ แหลงน้ำ : นาขาว : พืชผสมผสาน :
โครงสรางพื้นฐาน ในอตั ราสวน ๓๐ : ๓๐ : ๓๐ : ๑๐ ดงั นี้
สวนแรก รอยละ ๓๐ ใหขุดสระกักเก็บน้ำในฤดูฝน เพาะปลูกและเสริม
การปลูกพืชในฤดูแลง ไดตลอดป ท้งั ยังใชเ ลย้ี งปลา ปลกู พืชน้ำ เชน ผักบงุ ผักกะเฉด
และพืชริมสระเพื่อการบริโภคและเพิ่มรายไดใหกับครอบครัว อีกทางหน่ึง
โดยพระราชทานแนวทางการคำนวณวาตองการน้ำ ๑,๐๐๐ ลูกบาศกเมตรตอการ
เพาะปลูก ๑ ไร โดยประมาณ และบนสระน้ำสามารถสรางเลาไก เลาเปด และ
เลา สกุ รเพ่มิ ดวยก็ได
สวนที่สอง รอยละ ๓๐ ใหทำนาขาวเนื่องจากคนไทยบริโภคขาว
เปนอาหารหลัก โดยมีหลักเกณฑเฉลี่ยเกษตรกรบริโภคขาวคนละ ๒๐๐ กิโลกรัม
ขาวเปลือก/ป ซึ่งเพียงพอตอการบริโภค ตลอดป เพื่อยึดหลักพึ่งตนเองได
อยา งมอี ิสรภาพ
สวนที่สาม รอ ยละ ๓๐ ใหปลูกไมผ ล ไมยนื ตน ไมใ ชส อย ไมทำเชอื้ เพลงิ
ไมสรางบาน พืชผัก พืชไร พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อการบริโภคและใชสอย
อยา งพอเพยี ง หากเหลอื บริโภคก็นำไปจำหนายเปน รายไดตอ ไป
สวนที่สี่ รอยละ ๑๐ (โครงสรางพื้นฐาน) เปนที่อยูอาศัยและอื่น ๆ เชน
ถนน ลานตาก ฉางขา ว กองปยุ หมกั โรงเพาะเหด็ พืชผักสวนครวั เปนตน
หลักการดังที่กลาวมาแลวขางตน เปนทฤษฎีใหมขั้นที่หนึ่ง เมื่อเกษตรกร
เขาใจหลักการและไดลงมือปฏิบัติตามขั้นที่หนึ่งในที่ดินของตนจนไดผลแลว
เกษตรกรก็สามารถพัฒนาตนเองไปสูขั้นพออยูพอกิน และตัดคาใชจายลงเกือบ
ทั้งหมด มีอิสระจากสภาพปจจัยภายนอกแลว และเพ่ือใหมีผลสมบูรณยิ่งข้ึน
จงึ ควรที่จะตองดำเนนิ การตามข้นั ทีส่ อง
10
แนวทางการดำเนินงานศนู ยเ รียนรู โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
ทฤษฎีใหมข น้ั ที่สอง
“ เมื่อเกษตรกรเขาใจในหลักการและไดปฏิบัติที่ดินของตนเองจนไดผล
แลวก็ตองเริ่มขั้นที่สอง คือ ใหเกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุม หรือสหกรณ
รวมแรงในการผลิตการตลาด การเปนอยู สวัสดิการการศึกษา สังคม และศรัทธา
เพื่อใหพอมกี นิ มใี ช ชว ยใหส งั คมดีขึน้ พรอมๆ กนั ไมร วยคนเดยี ว”
(พระราชดำรัสเมอ่ื วนั ท่ี ๑๒ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๓๘)
ดำเนินการดงั น้ี
๑. การผลติ (พันธพุ ืช เตรยี มดนิ ชลประทาน ฯลฯ)
เกษตรกรจะตองรวมมือในการผลิต โดยเริ่มตั้งแตขั้นเตรยี มดิน การหา
พันธพุ ชื ปยุ การจัดการน้ำ และอนื่ ๆ เพอ่ื การเพาะปลกู
๒. การตลาด (ลานตากขา ว ยงุ เครือ่ งสีขาว การจำหนา ยผลผลิต)
เมื่อมีผลผลิตแลวจะตองเตรียมการตาง ๆ เพื่อการขายผลผลิตใหได
ประโยชนสูงสุด เชน การเตรียมลานตากขาวรวมกัน การจัดหายุงรวบรวมขาว
เตรียมหาเครื่องสีขาว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตใหไดราคาดี และลด
คา ใชจา ยลง
๓. การเปนอยู (กะป นำ้ ปลา อาหาร เครอื่ งนุงหม ฯลฯ)
ในขณะเดียวกันเกษตรกรตองมีความเปนอยูที่ดีพอสมควร โดยมี
ปจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิต เชน อาหารการกินตางๆ กะป น้ำปลา เสื้อผา
ท่พี อเพยี ง
๔. สวสั ดิการ (สาธารณสุข เงนิ กู)
แตละชุมชนมีสวัสดิภาพและบริการที่จำเปน เชน มีสถานีอนามัย
เม่ือยามปว ยไข หรือมกี องทุนไวกูยืมเพอ่ื ประโยชนในกิจกรรมตาง ๆ ของชมุ ชน
๕. การศกึ ษา (โรงเรียน ทนุ การศกึ ษา)
ชุมชนควรมีบทบาทในการสงเสริม เชน มีกองทุนเพื่อการศึกษาเลาเรียน
ใหแกเยาวชนของชุมชน
11
แนวทางการดำเนินงานศูนยเ รยี นรู โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
๖. สงั คมและศาสนา (ชมุ ชน วัด)
ชุมชนควรเปนที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเปนที่
ยึดเหนี่ยวกิจกรรมทั้งหมดดังกลาวขางตน จะตองไดรับความรวมมือจากทุกฝาย
ที่เกย่ี วขอ งไมว า สว นราชการ องคก รเอกชน ตลอดจนสมาชกิ ชมุ ชนเปนสำคญั
ทฤษฎีใหมข น้ั ท่ีสาม
“ เมื่อดำเนินการขั้นตอนที่สองแลว เกษตรกรหรือกลุมเกษตรกรก็ควร
พัฒนากาวหนาไปสูขั้นที่สามตอไป คือ รวมมือกับแหลงเงินและแหลงพลังงาน
ตั้งและบริการโรงสี ตั้งและบริการรานสหกรณ ชวยกันลงทุน ชวยกันพัฒนา
คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนชนบทซง่ึ ไมไดท ำอาชพี เกษตรอยางเดียว”
(พระราชดำรสั เมื่อวันที่ ๑๓ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๓๘)
ทั้งนี้ ฝายเกษตรกรและฝายธนาคาร หรือบริษัทเอกชนจะไดรับประโยชนรวมกัน
กลาวคือ
> เกษตรกรขายขาวไดราคาสูง (ไมถูกกดราคา)
> ธนาคารหรือบริษทั เอกชนสามารถซอ้ื ขาวบริโภคในราคาต่ำ (ซ้อื ขา วเปลือก
ตรงจากเกษตรกรและมาสเี อง)
> เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคในราคาต่ำ เนื่องจากรวมกันซื้อเปน
จำนวนมาก (เปน รานสหกรณร าคาขายสง)
> ธนาคาร หรือบริษัทเอกชนจะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดำเนินการ
ในกิจกรรมตา ง ๆ ใหเ กิดผลดียงิ่ ขึ้น
ประโยชนทฤษฎีใหม
จากพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลย
เดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่ไดพระราชทานในโอกาสตาง ๆ นั้น พอสรุป
ถงึ ประโยชนข องทฤษฎใี หม ไดดงั น้ี
๑. ใหประชาชนพออยูพอกินสมควรแกอัตภาพในระดับที่ประหยัด ไมอดอยาก
และเลีย้ งตนเองไดตามหลกั ปรัชญาของ “เศรษฐกิจพอเพยี ง”
12
แนวทางการดำเนินงานศนู ยเรยี นรู โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน
๒. ในหนาแลงมีน้ำนอย ก็สามารถเอาน้ำที่เก็บไวในสระมาปลูกพืชผัก
เลี้ยงปลา หรือทำอะไรอื่น ๆ ก็ไดแมแตขาวก็ยังปลูกได ไมตองเบียดเบียน
ชลประทานระบบใหญเ พราะมขี องตนเอง
๓. ในปทฝ่ี นตกตามฤดูกาลโดยตลอดป ทฤษฎีใหมน ีก้ ็สามารถสรางรายได
ใหร่ำรวยขึ้นได ในกรณีที่เกิดอุทกภัยก็สามารถที่จะฟนตัวและชวยตัวเองได
ในระดับหนึ่ง โดยทางราชการไมตองชวยเหลือมากเกินไป อันเปนการประหยัด
งบประมาณดว ย
• ภูมิสงั คม
การพัฒนาตามแนวพระราชดำริใด ๆ ก็ตามนั้น จะตองสอดคลองกับ
ปญหาท่ีเกิดขนึ้ ในภมู ิภาคน้นั ๆ เนอื่ งจากแตละแหง คนไมเ หมอื นกนั ตอ งคำนึงถึง
สภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นวาเปนอยางไร และสภาพแวดลอมของสังคม
วิทยาเกี่ยวกับลักษณะนิสัยใจคอของคน ตลอดจนสภาพเศรษฐกิจ ความเปนอยู
วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไมเหมือนกัน ไมใชวาเอาอะไรที่ทันสมัย
มาก ๆ เขาไปใหชาวบานทั้งที่เขาไมสามารถจะใชได หรือพยายามที่จะทำการ
เพาะปลูกบนเขา หรือพื้นที่แหงแลงใหไ ด ซึ่งเปนการดำเนินงานที่ผิด ทรงใชคำวา
“ภูมิสังคม” คือ ทรงดูลักษณะภูมิศาสตรและลักษณะสังคม พระองคทรงชี้แนะ
ตลอดเวลาวา การดำเนินการตาง ๆ นั้น ตองสอดคลองกับสภาพภูมิศาสตรสังคม
(ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เอกสารประกอบการสอนวิชา พภ 511 แนวคิดทฤษฎี
การพัฒนา 2552) ดงั พระราชดำรัสตอนหนึง่ วา “...การพัฒนาจะตอ งเปน ไปตาม
ภูมิประเทศทางภูมิศาสตร และภูมิประเทศทางสังคมศาสตรในสังคมวิทยา
ภูมิประเทศตามสังคมวิทยา คือ นิสัยใจคอของคนเรา จะไปบังคับใหคนคิด
อยางอน่ื ไมไ ด เราตอ งแนะนำ เราตอ งเขา ไปชวย โดยที่จะคดิ ใหเ ขาเขา กบั เราไมได
แตใ หเราเขา ไปแลวเราเขาไปดวู า เขาตอ งการอะไรจรงิ ๆ แลวกอ็ ธบิ ายใหเขาเขา ใจ
หลักการของการพฒั นานก้ี จ็ ะเกดิ ประโยชนอ ยางยงิ่ ...”
พระบรมราโชวาทในพิธพี ระราชทานปริญญาบัตรแกบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร
เม่ือวันท่ี 18 กรกฎาคม 2517
13
แนวทางการดำเนนิ งานศนู ยเรยี นรู โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
เมื่อตองการออกแบบพื้นที่ ตองการสรางบานแปลงเมือง สิ่งที่สำคัญ
คือตองเขาใจ เรื่อง “ภูมิสังคม” ภูมิ คือ ภูมิศาสตร กายภาพ สภาพแวดลอม
สวน “สังคม” คือ สังคมของมนุษยและสิ่งมีชีวิต ทั้งพืช สัตวที่ รวมกันเปนกลุม
เปนวัฒนธรรม เปนวิถีชีวติ มีจิตวิญญาณ สวนหนทางที่จะเขาใจภูมิสังคม เพื่อนำ
ความรูนั้นไปออกแบบพื้นที่ใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางลึกซึ้งและรอบดาน
คือ การเรียนรู “หลักกสกิ รรมธรรมชาติ” และความอดอยากหิวโหย จะไมเกิดขึ้น
ถาคนเราเขา ใจหลักนิยามเก่ียวกับ พืช สัตว มนุษย นิยามเหลาน้ีมี 5 นิยาม ไดแก
1) อตุ ุนิยาม 2) พืชนยิ าม 3) จติ นยิ าม 4) กรรมนยิ าม และ 5 ธรรมนิยาม
• โคก หนอง นา โมเดล
การจัดการพื้นที่ในรูปแบบตาง ๆ ตามภูมิศาสตรสังคม ประยุกตจาก
พระราชดําริเกษตรทฤษฎีใหมที่เหมาะสมกับพื้นที่ประเทศไทย ซึ่งเปนการ
ผสมผสานเกษตรทฤษฎีใหมตามแนวพระราชดำริเขากับภูมิปญญาพื้นบานที่มีอยู
อยางสอดคลองกับธรรมชาติในพื้นที่ ตอยอดดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ที่เหมาะสมกับพื้นที่ เพิ่มพื้นที่ปา สรางความมั่นคงทางอาหาร เปนการที่ให
ธรรมชาติจัดการตัวเอง โดยมีมนุษยเปนสวนสงเสริมใหสำเร็จเร็วขึ้น ซึ่งในขั้น
พื้นฐาน เนน การพึ่งพาตนเองดา นนำ้ อาหาร และพลงั งานอยางเปน ระบบ สามารถ
นำผลผลิตที่ไดมาตอยอดแปรรูปในขั้นกาวหนาเพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานราก
และคณุ ภาพชีวิต ลดความเหลื่อมลำ้ ในสงั คม สรา งความสามคั คใี นชุมชน
14
แนวทางการดำเนินงานศูนยเ รยี นรู โคก หนอง นา พัฒนาชมุ ชน
สว่ นท่ี ๒ ศนู ยเ์ รียนรู้ โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
คำนิยาม
กรมการพัฒนาชุมชน ไดสงเสรมิ การพัฒนาพื้นที่ชุมชนตนแบบการพฒั นา
คุณภาพชวี ิต (Community Lab Model for quality of life : CLM) ระดบั ตำบล
และพัฒนาพื้นที่ครัวเรือนตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Household Lab
Model for quality of life : HLM) ระดับครัวเรือน ภายใตโครงการพัฒนาพื้นท่ี
ตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม ประยุกตสู “โคก หนอง นา
โมเดล” เพื่อการจัดรูปแบบพื้นที่ในการอยูอาศัย ใหพึ่งตนเอง อยางพอเพียง
ในรปู แบบทเ่ี รียกวา โคก หนอง นา พัฒนาชมุ ชน
องคป ระกอบสำคญั ประกอบดว ย 3 สว น คอื
1. โคก หมายถึง พื้นที่มีการถมดินและถมสูงกวาปกติของแปลง
ตามความตองการ ในการใชประโยชนและความเหมาะสมกับขนาดที่ดิน มีขนาด
ในชวง 20 - 60 % ของพื้นที่ดินทั้งหมด ความสูงและความกวาง ตำแหนงที่ต้ัง
ตามภูมิสังคมและการใชงาน เชน การปองกันน้ำทวม คันนาทองคำ ฯลฯ อาจใช
ดินท่ีไดจ ากการขุดหนองนำ้ ในพ้นื ท่ี เปน พน้ื ท่ีจดั เตรียมไวสำหรบั
1.1 ทำการเกษตรสำหรับปลูกพืช ชนิดตาง ๆ ทั้งอายุสั้นและยืนตน
ในรูปแบบแปลง ปลูกพืชสวน เพื่อทำการเกษตรหรือวนเกษตร เปนตน ทั้งน้ี
เพือ่ ประโยชนใ นการปลูกพชื 5 ระดบั หรอื ปา 3 อยา งประโยชน 4 อยาง
1.2 สรางทอ่ี ยอู าศยั ทง้ั ชว่ั คราวและถาวร
1.3 ทำกิจกรรมอื่น ๆ ที่เปนโรงเรือนเพื่อใชประโยชนในการประกอบ
อาชีพ และสนับสนุนคุณภาพชีวิตครวั เรือน เชน โรงเลี้ยงสัตว ยุงฉาง โรงเก็บวัสดุ
เปน ตน
15
แนวทางการดำเนนิ งานศูนยเ รียนรู โคก หนอง นา พฒั นาชมุ ชน
2. หนอง หมายถึง พื้นที่ในการใชประโยชนในการบริหารจัดการน้ำ
เพื่อการกักเก็บน้ำ สรางความชุมชื้นในพื้นที่สำหรับพืชและสัตวเลี้ยงใหเพียงพอ
ตลอดทง้ั ป มีลักษณะดงั น้ี
2.1 รูปทรงอิสระหรือรูปแบบอื่นตามความเหมาะสมกับที่ดินตาม
การใชป ระโยชนใ นการทำการเกษตร ปลูกพืช เล้ียงสัตว และความลกึ ทเ่ี หมาะสม
กับสภาพดิน ประเภทดิน บริบทพื้นที่และภูมิสังคม รวมทั้งสรางรูปแบบ
การกระจายนำ้ สรา งความชุมช้ืนใหก บั พื้นทีไ่ ด
2.2 ขนาดที่เหมาะสมในการจัดสรางหนองน้ำ ขนาดตามที่ครัวเรือน
คำนวณปริมาณน้ำใชไดเพียงพอ โดยเจาของแปลงหรอื ผูมีประสบการณการใชน้ำ
เพ่ือประกอบอาชีพเกษตรในพนื้ ทเี่ ปน ผพู จิ ารณา
3. นา หมายถึง พื้นที่ราบหรือพื้นที่วางในรูปแบบตาง ๆ สามารถสงนำ้
สรางความชุมชื้นเพื่อทำการเกษตรได ขนาดชวง 20 – 60 % ของพื้นที่ทั้งหมด
สำหรับการใชประโยชนดานการเกษตรตามภูมิสังคมและความตองการของ
ครัวเรือนในรูปแบบตาง ๆ เชน ทำนาขาว ทำแปลงผัก พืชสมุนไพร แปลงไมดอก
พชื ไร พืชสวน หรอื อืน่ ๆ
ทั้งนี้ ใหสามารถเปนพื้นที่เรียนรูชุมชนตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต
(Community Lab Model for Quality of Life : CLM) ระดับตำบล และเปน
พื้นที่ครัวเรือนตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Household Lab Model for
Quality of Life : HLM) ระดับครวั เรอื น ในการดำเนนิ วิถชี วี ิตพง่ึ ตนเอง ตามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เปน สถานท่ีแลกเปลีย่ นเรยี นรใู นการประกอบอาชีพ
ดานตาง ๆ เชน การปลกู พชื สวน พชื ไร หรอื การเลีย้ งสัตว หรอื ใชภ มู ปิ ญ ญาในการ
สรางรายได เชน งานฝมือ การแปรรูป การถนอมอาหาร ดานการพัฒนา
สิ่งแวดลอม วิธีการปรับปรุงดิน การใชพลังงานทดแทน เปนตน มีขอมูลทาง
วชิ าการ เชน ชดุ ความรูต า ง ๆ ในการแลกเปลยี่ นเรยี นรู มจี ุดเรยี นรูหรือฐานเรยี นรู
หรือสถานที่สำหรับการจัดการเรียนการสอนความรูแกผูสนใจตามศักยภาพของ
พื้นทแ่ี ละสถานที่
16
แนวทางการดำเนนิ งานศูนยเ รยี นรู โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
ศนู ยเ์ รียนรู้ โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
เปนศูนยเรียนรูเพ่ือการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวติ ของคนทุกชวงวยั
ดวยการนอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักทฤษฎีใหมดาน
การแกไ ข ปรบั ปรุงคุณภาพของ คน ดิน น้ำ ปา อยางเปนระบบ มาพัฒนาปรับปรงุ
พื้นที่ ในรูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” เปนสถานที่เสริมสรางโอกาสในการ
เรียนรู ถายทอดและฝกปฏบิ ัติฐานการเรียนรูตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ เปนเวที
แลกเปลี่ยนเรียนรูในการประกอบอาชีพดานตาง ๆ เชน การปลูกพืชสวน พืชไร
หรือการเลี้ยงสัตว หรือใชภูมิปญญาในการสรางรายได เชน งานฝมือ การแปรรูป
การถนอมอาหาร รวมถึงดานการพัฒนาสิ่งแวดลอม วิธีการปรับปรุงดิน และการ
ใชพลังงานทดแทน เปนตน มีขอมูลทางวิชาการ เชน ชุดความรูตาง ๆ ในการ
แลกเปล่ียนเรียนรู มจี ดุ เรียนรหู รอื ฐานเรยี นรู หรือสถานทสี่ ำหรับการจัดการเรียน
การสอนความรแู กผ สู นใจตามศักยภาพของพ้ืนท่แี ละสถานที่
ศูนยเรียนรู โคก หนอง นา พัฒนาชมุ ชน ประกอบดวย
ศูนยเ รียนรู โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน ระดบั ครวั เรอื น
ขนาดพ้ืนที่ ๑ - ๓ ไร
ศูนยเ รยี นรู โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน ระดับตำบล
ขนาดพืน้ ที่ ๑๐ - ๑๕ ไร
17
แนวทางการดำเนนิ งานศนู ยเ รยี นรู โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน
ศนู ยเรยี นรู โคก หนอง นา พัฒนาชมุ ชน : ระดบั ครวั เรอื น
(ขนาดพืน้ ท่ี ๑ - ๓ ไร)
แนวคิด
เปนแหลงเรียนรกู ารพัฒนาพื้นที่ตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลัก
ทฤษฎใี หม ประยุกตสู “โคก หนอง นา โมเดล” ในระดบั ครวั เรอื น เพื่อลดรายจา ย
และพึ่งพาตนเองจนเปนวถิ ชี ีวติ
เปาหมาย
1. เปนแหลงเรยี นรทู ี่มีชีวติ
2. ผูเรยี นสามารถนำองคค วามรไู ปประยกุ ตใ ชไ ดในชีวติ จริง
กลมุ เปา หมาย
1. คนในชมุ ชน
2. สถานศกึ ษาในพ้นื ที่
ภารกจิ
1. ถายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรูการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการพัฒนา
พนื้ ทใ่ี นรูปแบบ “โคก หนอง นา” ขนาด 1 - 3 ไร ตามภูมสิ งั คม
2. เปน ครพู าทำหรอื วิทยากรสง เสริมการเรียนรู
โครงสรางและองคประกอบ
1. องคประกอบดานภูมิ เปนองคประกอบทางกายภาพ ในรูปแบบ
“โคก หนอง นา” โมเดล ดังน้ี
1.1 โคก เปนพื้นที่มีการถมดินและถมสูงกวาปกติของแปลงตาม
ความตองการในการใชประโยชน และความเหมาะสมกับขนาดที่ดิน มีขนาดในชวง
20 - 60 % ของพื้นที่ดนิ ทั้งหมด ความสูงและความกวาง ตำแหนงท่ีตั้งตามภูมิสังคม
และการใชงาน เชน การปองกันน้ำทวม คันนาทองคำ ฯลฯ อาจใชดินจากการขุด
18
แนวทางการดำเนนิ งานศูนยเ รยี นรู โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน
หนองน้ำในพืน้ ที่ เปนพืน้ ทีจ่ ัดเตรียมไวสำหรบั ทำการเกษตร สรางทีอ่ ยูอาศัย หรือทำ
กจิ กรรมอน่ื ๆ เชน โรงเลีย้ งสตั ว ยงุ ฉาง โรงเกบ็ วสั ดุ เปน ตน
1.2 หนอง เปนพื้นที่ในการใชประโยชนในการบริหารจัดการน้ำ
เพื่อการกกั เกบ็ น้ำ สรางความชุมชื้นในพื้นที่ สำหรับพืชและสัตวเ ลี้ยงเพียงพอตลอด
ทั้งป มีลักษณะรูปทรงอสิ ระหรือรปู แบบอื่นตามความเหมาะสมกับที่ดนิ โดยมีขนาด
ที่เหมาะสมในการจัดสรา งหนองน้ำท่คี รวั เรือนคำนวณปรมิ าณน้ำใชไดเพียงพอ
1.3 นา เปนพื้นที่ราบหรือพื้นที่วางในรูปแบบตาง ๆ สามารถสงน้ำ
สรางความชุมชื้น เพื่อทำการเกษตรได ขนาดชวง 20 - 60 % ของพื้นที่ทั้งหมด
สำหรับการใชป ระโยชนดานการเกษตรตามภมู ิสงั คมและความตองการของครัวเรือน
ในรูปแบบตาง ๆ เชน ทำนาขาว ทำแปลงผัก พืชสมุนไพร แปลงไมดอก พืชไร
พืชสวน หรอื อื่น ๆ
2. องคประกอบดานสังคม เปนองคประกอบดานการเรียนรูตามหลัก
ทฤษฎใี หม ใหมีอยา งนอ ย ๓ องคป ระกอบ ๆ ละ 1 ฐาน ดังน้ี
2.1 ฐาน/จดุ เรียนรู “ดา นคน”
หมายถึง การสรางแรงบันดาลใจและปรับทัศนคติ ตามปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม ในรูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” เชน
แรงบันดาลใจ สาเหตุทีท่ ำ ความสำเร็จที่เกิดขน้ึ เปน ตน
2.2 ฐาน/จดุ เรยี นรู “ดานดิน”
หมายถึง การปรบั ปรงุ คณุ ภาพดนิ ใหเ หมาะสมกบั การปลูกพืช เชน
ฐานคนรักษดิน ฐานคนรักษแมธรณี ฐานปลูกพืชบำรุงดิน ฐานหญาแฝก ฐานการ
หมดิน ฐานปยุ อนิ ทรียช ีวภาพ เปน ตน
2.3 ฐาน/จุดเรยี นรู “ดานนำ้ ”
หมายถึง การบริหารจัดการน้ำใหเพียงพอตอการใชประโยชน
ในพื้นที่เชน ฐานคนรักษน้ำ ฐานฝายชะลอน้ำ ฐานคลองใสไกเพื่อการกระจาย
ความชมุ ช้ืน เปน ตน
19
แนวทางการดำเนนิ งานศนู ยเ รยี นรู โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน
2.4 ฐาน/จุดเรียนรู “ดานปา ”
หมายถึง การบริหารจัดการพืชในพ้ืนที่ใหเหมาะสมกับสภาพ
ภูมิสังคม เชน ฐานคนรักษปา ฐานหลุมพอเพียง ฐานปาเปยก ฐานปา 3 อยาง
เพื่อประโยชน 4 อยาง ฐานปาหาระดับ ฐานปลูกปาในที่สูง ฐานปลูกปาในใจคน
ฐานการปลูกพืชอยา งยัง่ ยืน (Permaculture) เปนตน
3. องคป ระกอบดา นการเรยี นรู (หลักการเตาหลอมเหล็ก 6 ขอ)
3.1 มีพ้นื ทส่ี ำหรับศึกษาดงู าน/การเรียนรู
3.2 มแี ผนผงั หรอื ขัน้ ตอนการเรยี นรู
3.3 มกี ารบันทกึ ขอ มูลผใู ชบริการทม่ี าเรยี นรู ศึกษาดงู าน เยีย่ มชม
3.4 วิธีศึกษาดูงานเนนการเรียนรูจากการปฏิบัตขิ องครัวเรือนตนแบบ
เรยี นรดู วยประสบการณจ ริง มีส่อื /อุปกรณ ประกอบที่เหมาะสมกบั การเรียนรูของ
กลุม เปา หมาย
3.5 ระยะเวลาที่เหมาะสม กลาวคือ สอดคลองปฏิทินทำมาหากิน
ของครวั เรอื นตน แบบ และเหมาะสมตามภมู ิสงั คมของพ้ืนที่
3.6 มวี ทิ ยากรสงเสริมการเรยี นรูทเ่ี กิดจากการปฏบิ ัตจิ รงิ
4. การประชาสัมพันธและเผยแพรกิจกรรมของศูนยการเรียนรู เชน
การจัดทำส่ือแผนพบั ประชาสมั พันธ หรอื สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส Social Media ตา ง ๆ
20
แนวทางการดำเนนิ งานศนู ยเ รียนรู โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
ศูนยเ รียนรู โคก หนอง นา พฒั นาชมุ ชน : ระดับตำบล
ขนาดพนื้ ที่ ๑๐ - ๑๕ ไร
แนวคิด
1. ศูนยเรียนรูการพัฒนาพื้นที่ตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลัก
ทฤษฎีใหมประยุกตสู “โคก หนอง นา โมเดล” ในระดับชุมชน เชื่อมโยง
กระบวนการเรียนรแู ละกระบวนการมสี วนรว มของชมุ ชนเพื่อมงุ ไปสชู มุ ชนเขมแข็ง
2. สรางอาชีพ สรางรายไดใ หชมุ ชน
3. รองรบั ภยั พบิ ตั ิ สรางความหลากหลายทางชวี ภาพ
เปา หมาย
1. เปน ศนู ยเ รียนรูท ีม่ ชี ีวติ
2. ผเู รียนสามารถนำองคความรไู ปประยกุ ตใ ชไ ดใ นชวี ติ จริง
3. สรางรายไดใ หคนในชมุ ชน พฒั นาอาชีพสวู ิสาหกจิ ชุมชน
4. ขยายผลสรา งเครอื ขายเรยี นรู
กลุมเปาหมาย
1. คนในชมุ ชน/กลุม เปราะบาง
2. หนว ยงานภาคเี ครอื ขา ยในพ้ืนที่
3. ผสู นใจท่ัวไป
ภารกิจ
1. รวบรวมและใหบริการขอมูลและองคความรูที่เก่ียวของกับการพัฒนา
คณุ ภาพชวี ิตและการพฒั นาพนื้ ท่ใี นรูปแบบ “โคก หนอง นา” ขนาด 10 - 15 ไร
ตามภมู สิ งั คม
2. ถายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรูการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการพัฒนา
พนื้ ที่ ในรปู แบบ “โคก หนอง นา”
3. เปน ครูพาทำหรอื วิทยากรสงเสริมการเรยี นรู
4. สนบั สนนุ สงเสริมอาชีพและสรางรายไดใหค นในชมุ ชนตามศักยภาพพื้นที่
21
แนวทางการดำเนินงานศนู ยเรียนรู โคก หนอง นา พฒั นาชมุ ชน
5. เปน แหลง รวบรวม แลกเปลย่ี น แปรรูป และจำหนายผลผลติ
6. เชอ่ื มโยงเครอื ขา ยดานการตลาด
โครงสรา งและองคป ระกอบ
1. องคประกอบดานภูมิ เปนองคประกอบทางกายภาพ ในรูปแบบ
“โคก หนอง นา” โมเดล ดังน้ี
1.1 โคก เปนพื้นที่มีการถมดินและถมสูงกวาปกติของแปลงตาม
ความตองการในการใชประโยชนและความเหมาะสมกับขนาดที่ดิน มีขนาดในชวง
20 - 60 % ของพื้นที่ดินทั้งหมดความสูงและความกวาง ตำแหนงที่ตั้ง
ตามภูมิสังคมและการใชงาน เชน การปองกันน้ำทวม คันนาทองคำ ฯลฯ อาจใชดิน
จากการขุดหนองน้ำในพื้นที่ เปนพื้นที่จัดเตรียมไวสำหรับ ทำการเกษตร สรางที่อยู
อาศัย หรอื ทำกจิ กรรมอื่น ๆ เชน โรงเลย้ี งสัตว ยุงฉาง โรงเก็บวสั ดุ เปนตน
1.2 หนอง เปนพื้นที่ในการใชประโยชนในการบริหารจัดการน้ำ
เพื่อการกักเก็บน้ำ สรางความชุมชื้นในพื้นที่ สำหรับพืชและสัตวเลี้ยงเพียงพอ
ตลอดทั้งป มีลักษณะรูปทรงอิสระหรือรูปแบบอื่นตามความเหมาะสมกับที่ดิน โดยมี
ขนาด ทเี่ หมาะสมในการจัดสรา งหนองนำ้ ที่ครัวเรือนคำนวณปริมาณนำ้ ใชไ ดเพียงพอ
1.3 นา เปนพื้นที่ราบหรือพื้นที่วางในรูปแบบตาง ๆ สามารถสงน้ำ
สรางความชุมชื้น เพื่อทำการเกษตรได ขนาดชวง 20 - 60 % ของพื้นที่ทั้งหมด
สำหรับการใชป ระโยชนดานการเกษตรตามภมู สิ ังคมและความตองการ ของครัวเรือน
ในรปู แบบตา ง ๆ เชน ทำนาขา ว ทำแปลงผัก พืชสมนุ ไพร แปลงไมดอก พืชไร พืชสวน
หรอื อื่น ๆ
2. องคประกอบดานสังคม เปนองคประกอบดานการเรียนรูตามหลัก
ทฤษฎีใหม จำนวน 4 องคป ระกอบ รวมอยา งนอย 9 ฐาน/จุดเรียนรู ดงั นี้
2.1 ฐาน/จดุ เรยี นรู “ดานคน”
หมายถึงการสรางแรงบันดาลใจและปรับทัศนคติตามปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งและทฤษฎใี หมใ นรูปแบบโคก หนอง นา เชน แรงบันดาลใจ
22
แนวทางการดำเนนิ งานศูนยเ รยี นรู โคก หนอง นา พัฒนาชมุ ชน
สาเหตทุ ี่ทำ ความสำเร็จทเ่ี กดิ ขึ้น เปนตน และการเรียนรเู พอื่ การปรับปรุงคุณภาพ
ของคน เชน ฐานคนมีน้ำยา ฐานคนรักษสุขภาพ ฐานคนพึ่งตนเอง ฐานคนติดดนิ
ฐานคนเอาถาน ฐานคนมีไฟ ฐานคนหวั เห็ด เปนตน
2.2 ฐาน/จดุ เรียนรู “ดา นดิน”
หมายถึง การปรับปรุงคุณภาพดินใหเ หมาะสมกบั การปลกู พืช เชน
ฐานคนรักษดิน ฐานคนรักษแ มธรณี ฐานปลูกพืชบำรุงดิน ฐานหญาแฝก ฐานการ
หม ดิน ฐานปยุ อนิ ทรยี ช วี ภาพ เปนตน
2.3 ฐาน/จดุ เรยี นรู “ดานนำ้ ”
หมายถึง การบริหารจัดการน้ำใหเพียงพอตอการใชประโยชน
ในพื้นที่เชน ฐานคนรักษน้ำ ฐานฝายชะลอน้ำ ฐานคลองใสไกเพื่อการกระจาย
ความชมุ ชนื้ เปน ตน
2.4 ฐาน/จดุ เรียนรู “ดา นปา”
หมายถึง การบริหารจัดการพืชในพื้นที่ใหเหมาะสมกับสภาพ
ภูมิสังคม เชน ฐานคนรักษปา ฐานหลุมพอเพียง ฐานปาเปยก ฐานปา 3 อยาง
เพื่อประโยชน 4 อยาง ฐานปาหาระดับ ฐานปลูกปาในที่สูง ฐานปลูกปาในใจคน
ฐานการปลูกพชื อยา งย่งั ยนื (Permaculture) เปน ตน
3. องคประกอบดา นการเรียนรู
3.1 มีวทิ ยากรสงเสรมิ การเรยี นรทู ี่ปฏบิ ตั ิจริงจนเกิดผลสำเรจ็
3.2 มีแผนผังหรือขน้ั ตอนการเรยี นรู มหี ลักสูตรการเรยี นรูท่ีสอดคลอง
กบั ความตองการและภูมสิ ังคม (หลักสูตร=หลักสตู รทองถิ่น)
3.3 มีการบันทึกขอมูลผูใชบริการที่มาเรียนรู ศึกษาดูงาน และเยี่ยม
ชม พรอมการประเมินผลการใหบริการ เพื่อประเมินศักยภาพการใหบริการและ
เปนขอมูลสำหรับการพัฒนางานของศนู ยเ รียนรู
3.4 วิธีการสอนเนนการลงมือปฏิบัติ เรียนรูดวยประสบการณจริง
มีสื่อ/อุปกรณสาธิต สิ่งของจริง ปายขอมูล โมเดลจำลอง และอื่น ๆ ประกอบ
การสอนทเ่ี หมาะสมกับการเรยี นรูของกลุมเปาหมาย
23
แนวทางการดำเนินงานศนู ยเ รยี นรู โคก หนอง นา พัฒนาชมุ ชน
3.5 ระยะเวลาที่เหมาะสม กลาวคือ สอดคลองปฏิทินทำมาหากิน
ของผเู รยี น และเหมาะสมกับหลักสูตร
๓.๖ พน้ื ที่สำหรับการศึกษาดงู าน/เรยี นรู/ฝก ปฏิบัติ
4. องคประกอบดานองคก รและการบริหารจดั การ
4.1 มีคณะกรรมการบริหารจัดการและขับเคลื่อนการดำเนินงาน
ศูนยเรียนรู โดยมีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการศูนยเรียนรู มีโครงสราง
คณะกรรมการฯ และแบงอำนาจหนาท่ชี ัดเจน ตามความเหมาะสมของภูมิสังคม
๔.๒ มีกฎเกณฑ ระเบียบหรือขอตกลงที่ใชในการบริหารจัดการศูนย
เรียนรู และมีการจัดทำแผนการดำเนินงานและขับเคลื่อนศูนยเรียนรูที่เกิดจาก
การมสี ว นรว มของสมาชิก ผูเกีย่ วของ และผมู ีสว นไดส ว นเสยี
4.๓ มีสถานที่สำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู รวมถึงมีการจัดระเบียบ
สภาพแวดลอ ม ภูมิทัศน ทีเ่ อ้อื ตอ การเรียนรู
4.4 มีวิทยากรประจำศนู ย/ ฐาน/จดุ เรียนรู ตามความพรอ มของพน้ื ที่
4.5 ขอ มลู และองคค วามรทู ่เี กย่ี วขอ งเพ่อื ใหบ รกิ ารและคน ควา
5. การประชาสมั พนั ธและเผยแพร กิจกรรมของศูนยก ารเรยี นรู
มกี ารประชาสมั พันธเ สรมิ สรางการรบั รแู ละสรา งมูลคาเพิ่ม เชน
• การจัดทำสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ เชน แผนพับประชาสัมพันธ
หรือส่อื อิเลก็ ทรอนกิ ส Social Media ตาง ๆ
• เชื่อมโยงเครือขายกับศูนยเรียนรูชุมชนอื่นและภาคีการพัฒนา
เพ่อื ตอ ยอดขยายผลการเรยี นรู แลกเปลยี่ นองคค วามรู และการประชาสัมพนั ธ
24
แนวทางการดำเนนิ งานศูนยเ รยี นรู โคก หนอง นา พฒั นาชมุ ชน
สว่ นท่ี ๓ การบริหารศนู ยเ์ รียนรใู้ หม้ ีชีวิต
การเรียนรู เกิดไดทุกแหง ทุกสถานท่ี ที่เกิดขึ้นมากที่สุดไมไดเกิดจาก
การสอนในหองเรียน แตเกิดขึ้นจากคนที่ไดพูดคุยกัน ความรูที่เกิดขึ้นในสถานท่ี
ตาง ๆ ที่หลากหลายจึงเรียกวา “แหลงเรียนรู” หมายถึง สิ่งที่มีอยูในสังคมรอบ
ตวั เราท่ีเปนทัง้ สงิ่ มชี ีวติ ส่งิ ที่ไมม ชี ีวิต และส่ิงท่ีมนษุ ยสรา งขึ้น ซึ่งเปน แหลงความรู
ที่ทำใหค นในสังคมเกดิ การเรียนรู และเกิดประสบการณในการเรยี นรูอยางตอ เนอ่ื ง
แหลงเรียนรูในชุมชนมีอยูจำนวนมาก เชน แหลงเรียนรูเรื่อง วิถีชีวิต วัฒนธรรม
พิพิธภณั ฑ ภูมิปญญาทอ งถนิ่ หรอื การทอ งเที่ยว ฯลฯ
ศูนยก์ ารเรียนรชู้ ุมชน หมายถงึ
“สถานที่” ที่เปนศูนยกลางการจัดการเรียนรู เปนอีกรูปแบบหนึ่งของ
แหลงเรียนรูในชุมชน ที่ปจจุบันนิยมจัดตั้งขึ้นเพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต
สง เสริมเสริมสรางโอกาสในการเรียนรู ถายทอด แลกเปล่ยี น ประสบการณของคน
ในชุมชน เปนจุดถายทอดความรูไปยังผูที่สนใจภายนอกชุมชน และเปนแหลง
บรกิ ารชมุ ชนในการจัดกจิ กรรมตา ง ๆ ที่สอดคลอ งกับความตอ งการของประชาชน
เนน ถายทอดความรเู ร่ืองราวเกยี่ วกบั วิถชี วี ิตและกจิ กรรมการพัฒนาของชมุ ชน
การพฒั นาศนู ยเ์ รียนรู้
เพื่อใหเปนแหลงเรียนรูที่ทำใหคนในชุมชน เกิดการเรียนรู และ
เกดิ ประสบการณในการเรยี นรูอยางตอ เนอื่ ง เปน ศนู ยเ รียนรทู ม่ี ีชีวิต ประกอบดว ย
องคประกอบสำคญั ดังนี้
๑. ขอมลู /ชุดความรู
หมายถึง ขอมูล หรือเรื่องราว หรือสิ่งที่ไดจากแหลงที่มาของความรู
มีการนำมาเรียบเรียง จัดการใหเปนระบบ เปนหมวดหมู (ฐานขอมูล) ท่ีสามารถ
ทำความเขาใจ ไดงายและพรอมตอการนำไปใชประโยชนเพื่อเพิ่มพูนความรู
ประสบการณทั้งความรูที่ฝงอยูในคน ซึ่งเปนความรูที่ไดจากประสบการณ
25
แนวทางการดำเนินงานศูนยเรียนรู โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
พรสวรรคหรือสัญชาตญาณของแตละบุคคล เชน ทักษะในการทำงาน ความคิด
ทัศนคติ และความรูที่ชัดแจง ซึ่งเปนความรูที่เปนเหตุเปนผล ผานการวิเคราะห
สังเคราะหจนเปนหลักทั่วไป สามารถรวบรวมและถายทอดได โดยผานวิธีตาง ๆ
เชน การบนั ทึกเปน ลายลกั ษณอ กั ษร ทฤษฎี หนงั สือ คูมอื ตาง ๆ
๒. ผูใ หขอ มลู /ผถู ายทอด
หมายถงึ บุคคลที่สามารถบอกเลา หรือถายทอดขอมูลชุดความรูนั้น ๆ
แกผูเรียนใหเกิดการเรียนรู เกิดความเขาใจ และสรางประสบการณได ผูใหขอมูล
ตองมีความเชี่ยวชาญ มีความรูเกี่ยวกับเรื่องที่ถายทอดเปนอยางดี และสามารถ
นำเสนอเร่อื งราวออกมาไดอยางนาสนใจ
๓. การออกแบบและการจดั ลำดับ
หมายถึง ขั้นตอน วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู รูปแบบการเผยแพร
หรือการนำเสนอขอมูล เนื้อหาความรู มาถายทอดใหกับผูที่สนใจ เชน การลำดับ
เรื่องราวเหตกุ ารณท ีน่ ำเสนอ การจัดทำกิจกรรมสาธติ เปน ตน
๔. กิจกรรมและกระบวนการเรยี นรู
หมายถึง กิจกรรมและกระบวนการที่จะทำใหเกิดการเรียนรู เชน
การจัดกจิ กรรมที่เนน การเรยี นรจู ากการลงมือทำ การเรียนรูผานประสบการณจ ริง
จะชวยเสริมสรางทำใหผูเรียนเกิดทักษะ และสามารถนำความรูที่ไดไปปฏิบัติ
ในชีวิตประจำวนั ไดจรงิ
๕. สือ่ การเรียนรู
หมายถึง สื่อรูปแบบตาง ๆ ที่ทำใหการเรียนรูมีประสิทธิภาพมากกวา
การไดฟงบรรยายเพียงอยางเดียว เชน อุปกรณสาธิต สิ่งของจริง (ของจริง)
ปายขอมูล โมเดลจำลอง วีดีทัศน เทคโนโลยีสื่อเสมือนจริง สื่ออินเตอรแอคทีฟ
แอนิเมชั่น เกมมัลติมีเดีย เปนตน การเลือกใชสื่อการเรียนรูที่เหมาะสม
กับกลุมเปาหมาย สัมพันธกับขอมูล จะชวยสรางความนาสนใจใหแหลงเรียนรู
และชวยสงเสรมิ การเรียนรไู ด
26
แนวทางการดำเนนิ งานศนู ยเ รียนรู โคก หนอง นา พัฒนาชมุ ชน
๖. สถานที่
ควรใชสถานท่ีจริง หรอื แหลงทมี่ าของความรู เปนสถานท่ีจัดการเรียนรู
เพราะจะสามารถเรยี นรไู ดจากสถานทจ่ี ริง ผูเรียนไดเรยี นรูจากสภาพจริง ไมวาจะ
เปน ที่บานของผรู ู (ปราชญช ุมชน) แปลงเกษตร ฟารม วัด ปา ฯลฯ โดยมีการปรับ
สภาพแวดลอมของแหลงเรียนรูใหเปนหองเรียน ไมจำเปนตองเรียนในหอง
ที่เปนทางการ แตถาหากแหลงเรียนรูไมสะดวกตอการจัดกระบวนการเรียนรู
ก็อาจใชสถานที่อ่ืนท่ใี กลเ คยี ง สรา งบรรยากาศ หรอื เอ้อื ตอการจดั การเรยี นรู
๗. การบรหิ ารจัดการ
แหลงเรียนรูจำเปนตองมีการบริหารจัดการที่เปนระบบชัดเจน เพื่อให
การดำเนินงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และนำไปสูเปาหมายของแหลงเรียนรู
ดังนั้นจึงตองมีการบริหารจัดการที่ดี ทั้งการวางแผนการปฏิบัติงาน การบริหาร
จัดการคณะทำงานที่ขับเคลื่อนงานของแหลงเรียนรู การจัดการงบประมาณ
หรอื แหลงทีม่ าของรายได
ขอ้ มูล/ชดุ
ความรู้
การบรหิ าร ผูใ้ ห้
จดั การ ขอ้ มูล/ผู้
ถ่ายทอด
สถานท่ี ศูนยเรียนรทู มี่ ีชีวติ การออกแบบ
และการ
จัดลําดบั
สื่อการ กิจกรรมและ
เรยี นรู้ กระบวนการ
เรียนรู้
27
แนวทางการดำเนนิ งานศูนยเรยี นรู โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
แนวทางการดาํ เนินงานของฝ่ ายสนบั สนุน
ระดับอำเภอ
1. สรางความเขาใจใหกับพัฒนากร ภาคีการพัฒนา องคกรปกครอง
สวนทองถนิ่ ผูนำชมุ ชนและผเู ก่ยี วขอ ง เพือ่ สนับสนนุ การดำเนินงานศูนยเ รียนรู
2. นำกระบวนการจัดการความรูมาใชในการทำงานและสงเสริม
ใหเจา หนาที่พัฒนาชมุ ชนเปนนักจดั การความรชู ุมชน
3. จัดตั้งกลไกขบั เคลือ่ นการดำเนนิ งานศูนยเ รียนรู ระดบั อำเภอ
4. จัดกจิ กรรมแลกเปลีย่ นเรียนรู ทัศนศึกษา ดูงาน ศูนยเรยี นรู
5. พัฒนา (ฝกอบรม) แกนนำและคณะกรรมการศูนยฯ
6. สรา งเครอื ขายศนู ยเรยี นรู
7. ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและรายงานผลการดำเนนิ งาน
ระดบั จงั หวดั
1. สรางความเขาใจกับเจาหนาที่จังหวัด/อำเภอและภาคีการพัฒนา
เพ่อื สนบั สนนุ การดำเนินงานของศนู ยเ รยี นรู
2. ประสานความรวมมือหนวยงานระดับจังหวัดในการสนับสนุนการ
ดำเนินงานและขบั เคลือ่ นศนู ยเรยี นรู
3. นิเทศ ใหคำปรกึ ษา สนับสนุน วิชาการ เอกสาร ขอมูล และส่อื ตาง ๆ
4. จัดระบบฐานขอ มลู
5. สรางเครอื ขา ยศูนยเ รยี นรู
6. ตดิ ตาม ประเมินผล ถอดบทเรียน และชวยแกไ ขปญ หา
7. แบบรายงานผลการดำเนนิ งาน
ระดบั สว นกลาง (นโยบาย)
1. กำหนดกรอบ แนวทางการดำเนินงาน และจดั สรรงบประมาณ
2. ประสานความรว มมือกับหนวยงานระดบั กระทรวง
28
แนวทางการดำเนนิ งานศูนยเรยี นรู โคก หนอง นา พฒั นาชมุ ชน
3. ประสานความรวมมือและนโยบายกับกระทรวง ใหจังหวัด องคกร
ปกครองสวนทองถิ่น สนับสนุนงบประมาณใหชุมชนในการสงเสริมสนับสนุน
ศูนยเ รยี นรชู มุ ชน
4. ผลติ เอกสาร/คูม อื ส่ือรปู แบบตาง ๆ
5. ประเมนิ ผล ศกึ ษา วจิ ัยและพฒั นารปู แบบการสงเสรมิ ศนู ยเ รียนรู
6. เผยแพรป ระชาสัมพนั ธ
บทบาทพัฒนากรในการสง เสรมิ การดำเนนิ งานศนู ยก ารเรยี นรู
1. สงเสรมิ กระบวนการเรยี นรูแ บบมสี ว นรวม
2. จัดเวทเี สริมสรา งความรู แนวคดิ หลักการ แกแกนนำ ผูนำชุมชน และ
ประชาชนทั่วไป เพื่อกระตุนใหชุมชนเกิดความสนใจและเขามามีสวนรวม
ดำเนินงานและใชป ระโยชนศูนยเ รยี นรู
3. ศึกษาการดำเนินงานศูนยเรียนรูใหเขาใจอยางละเอียดเพื่อรวมกับ
ชุมชนกำหนดเปา หมายและแนวทางการขับเคลอ่ื นศนู ยเ รียนรู
4. เปนที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหารศูนยเรียนรู เสริมสรางความเขาใจ
แนวทางการดำเนินงานและการบรหิ ารศนู ยเรียนรู
5. ประสานเจาหนาที่ภาคีการพัฒนาในพื้นที่เพื่อหาแนวทางสนับสนุน
การดำเนินงานและปฏบิ ตั งิ านในลักษณะของทมี สนบั สนนุ
29
แนวทางการดำเนินงานศูนยเรยี นรู โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
ภาคผนวก
30
แนวทางการดำเนินงานศูนยเ รยี นรู โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน
ป้ ายช่ือ
ศนู ยเ์ รียนรู้ โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
ปายชือ่ เปนส่ือหนึง่ ท่ีชวยประชาสมั พันธ สรางการรบั รูกิจการตอ สาธารณะ
การจัดทำปายชื่อศูนยเรียนรู “โคก หนอง นา” พัฒนาชุมชน ควรประกอบดวย
ขอ มูลหลัก ดังนี้
๑. ช่อื ศนู ยเรียนรู ศนู ยเรยี นรู โคก หนอง นา พฒั นาชมุ ชน : ระดบั ...
ระดบั ครวั เรือนตน แบบ (HLM) หรือ ระดบั ชมุ ชนตน แบบ (CLM)
๒. ชือ่ - ทอ่ี ยู เจาของแปลง
๓. โลโก (กรมการพฒั นาชุมชน จงั หวดั และอื่น ๆ ตามความเหมาะสม)
ทั้งนี้ องคประกอบอื่น ๆ เชน ลักษณะตัวอักษร ขนาดและสีตัวอักษร
ขนาดปาย สีและและวัสดุที่ใชในการจัดทำปาย ใหขึ้นอยูกับความตองการ
ดุลยพินิจและเจตนารมณของผูเกี่ยวของโดยใหคำนึงถึงความเหมาะสม นาสนใจ
และสอดคลองกับบรบิ ทและภูมสิ งั คม
ภาพตวั อยา งปา ยช่ือ
ศนู ยเรียนรู โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน
Logo จังหวัด หรอื ภาคที เ่ี ก่ยี วของ
ศูนยเ์ รียนรู้ โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
ระดบั ครัวเรือนตน้ แบบ (HLM) หรือ ระดบั ชุมชนตน้ แบบ (CLM)
นายโคก หนองนา
เลขท่ี x หมูท่ ่ี x ตาํ บล x อาํ เภอ x จงั หวดั x
31
แนวทางการดำเนนิ งานศนู ยเ รยี นรู โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
อา้ งอิง
กรมการพัฒนาชมุ ชน. (ไมร ะบปุ ). ผลการดำเนนิ งานโครงการพฒั นาพ้นื ท่ตี นแบบการ
พัฒนาคุณภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎใี หม ประยุกตส ู “โคก หนอง นา
โมเดล” ภายใตการกำกบั ดูแลของกรมการพัฒนาชุมชน
กระทรวงมหาดไทย : กรุงเทพมหานคร
บริษทั อารแ อนดดี ครีเอช่นั จำกดั . (๒๕๖๐). องคป ระกอบการพัฒนาแหลงเรยี นรู
จาก https://www.randdcreation.com/content/2992/ สืบคน เมื่อ ๔
มถิ ุนายน ๒๕๖๔
สำนกั งานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ
(สำนักงาน กปร.)
(๒๕๕๕). คมู ือเกษตรทฤษฎีใหมชีวิตที่พอเพียง : กรุงเทพมหานคร
สำนกั สงเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพชมุ ชน กรมการพฒั นาชมุ ชน
กระทรวงมหาดไทย. (๒๕๕๑). คูม อื ..ศนู ยเรียนรูชุมชน : กรงุ เทพมหานคร
สำนกั เสรมิ สรางความเขมแขง็ ชมุ ชน กรมการพฒั นาชมุ ชน. (๒๕๖๐). คมู อื ศนู ยเรียนรู
และขบั เคล่ือนปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง : กรุงเทพมหานคร
32
แนวทางการดำเนนิ งานศูนยเ รยี นรู โคก หนอง นา พัฒนาชมุ ชน
แนวทางการดำเนินงาน ศูนยเ์ รียนรู้ โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน
ท่ีปรึกษา อธิบดกี รมการพฒั นาชมุ ชน
นายสุทธพิ งษ จลุ เจริญ รองอธบิ ดกี รมการพัฒนาชุมชน
นางวไิ ลวรรณ ไกรโสดา รองอธิบดีกรมการพฒั นาชุมชน
นายนวิ ัติ นอ ยผาง รองอธิบดกี รมการพัฒนาชุมชน
นายสรุ ศกั ดิ์ อกั ษรกลุ ผอู ำนวยการสำนักเสริมสรางความเขม็ แขง็ ชมุ ชน
นางสาวนภิ า ทองกอ น นักวชิ าการพัฒนาชมุ ชนเช่ยี วชาญ
นางวรรณา ลมิ่ พานิชย
คณะทํางาน
นางสาวศศิวมิ ล ยนิ ดี ผอู ำนวยการกลมุ งานสง เสรมิ การเรยี นรูชุมชน
นางสาวพมิ พช นา พชิ าพนั ธโ ภคนิ นกั วชิ าการพฒั นาชุมชนชำนาญการ
นางกมลมณี วงศส วา ง นักวชิ าการพฒั นาชมุ ชนชำนาญการ
นางสาวฉายาลกั ษณ แกว ศรีพจน นกั วชิ าการพัฒนาชมุ ชนชำนาญการ
นางสาวชตุ มิ ณฑน อตุ สาหะ นกั วชิ าการพฒั นาชมุ ชนชำนาญการ
นางสาวปรศิ รา อ่ำมาลี เจา พนกั งานโสตทัศนศกึ ษาชำนาญงาน
นางสาวลดา นพรตั น เจา พนักงานโสตทศั นศกึ ษาชำนาญงาน
นายภานุมาศ ตรีสวุ รรณ เจา พนักงานโสตทศั นศกึ ษาชำนาญงาน
เรียบเรียง
นางสาวพมิ พชนา พิชาพนั ธโ ภคนิ นกั วชิ าการพฒั นาชุมชนชำนาญการ
ออกแบบปก เจา พนักงานโสตทศั นศกึ ษาชำนาญงาน
นายภานมุ าศ ตรีสวุ รรณ
33