The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางการดำเนินกิจกรรม-สัมมาชีพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวทางการดำเนินกิจกรรม-สัมมาชีพ

แนวทางการดำเนินกิจกรรม-สัมมาชีพ

แนวทางการดาํ เนนิ กจิ กรรม

โครงการสร�างความม่นั คงด�านอาชีพและรายได�
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ประจําปง� บประมาณ พ.ศ. 2563 (ไตรมาส 3 – 4 )
ภายใต� สถานการณก� ารแพร�กระจาย

ของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)
และ

แนวทางการนอ� มนํา
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู�การปฏบิ ตั ิ

อยา� งเปน� รปู ธรรม

แนวทางการดำเนินกิจกรรม

โครงการสรา้ งความมนั่ คงด้านอาชีพและรายได้ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ไตรมาส 3 – 4 )
ภายใต้ สถานการณก์ ารแพร่กระจายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)

และ
แนวทางการนอ้ มนาํ
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏิบตั ิอยา่ งเป็ นรูปธรรม
....................................................................

(ชุดเอกสาร : สร้างความเข้าใจการดาํ เนนิ กจิ กรรมตามยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน ปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เพ่มิ เติม)

2

ปพู ้นื ความเข้าใจ

โครงการสร้างความมั่นคงด้านอาชีพและรายได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีเป้าหมายสำคัญเพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานราก คือ “รายได้”
ทำให้ประชาชนในชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ด้วยกระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชน ภายใต้แนวคิด
“ชาวบา้ นสอนชาวบา้ น” สอนอาชพี ที่เขาต้องการอยากทำ โดยน้อมนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งเปน็ แนวทางดำเนินงาน

ประกอบดว้ ย 3 กิจกรรมหลัก ไดแ้ ก่
* สร้างเครอื ข่ายทีมวิทยากรสัมมาชพี ชุมชน (ไตรมาส 1)
* สรา้ งและพฒั นาสมั มาชพี ชมุ ชนในระดับหมู่บา้ น (ไตรมาส 2-3)
* กจิ กรรมจดั ต้ังและพัฒนากล่มุ อาชพี (ไตรมาส 3)

2 กจิ กรรมสนบั สนุน ไดแ้ ก่
* บรู ณาการแผนชมุ ชนระดบั ตำบล
* ประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารคณะกรรมการพฒั นาสตรีภาค (กพสภ.)

(รายละเอียดตามหนังสอื กรมการพัฒนาชมุ ชน ที่ มท 0409.2/ว 2782 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2562)

เชอ่ื มโยงขอ้ มลู

สืบเนื่องจากสถานการณ์การแพร่กระจายของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -
19) ซึ่งกระทบต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบันในวงกว้าง และส่งผลให้การ ดำเนิน
กิจกรรมต่าง ๆ ตามโครงการสร้างความมั่นคงด้านอาชีพและรายได้ ตามหลัก ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ท่ียังคงตอ้ งดำเนนิ การต่อเน่อื ง ในไตรมาส 3 – 4
ต้องมีการปรับเปลี่ยนแนวทางการดำเนินงานด้วยเช่นกัน เพื่อให้ สอดคล้องกับมาตรการ/ข้อส่ัง
การทั้งจากรัฐบาลและพื้นที่ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค (รายละเอียดตามหนังสือ
กรมการพฒั นาชมุ ชน ท่ี มท 0409.2/ว 0794 ลงวนั ท่ี 1 เมษายน 2563)

3

แนวทางสกู่ ารปฏบิ ัติ

การปรับเปลี่ยนแนวทางการดำเนินกิจกรรม ตามโครงการสร้างความมั่นคง
ด้าน อาชีพและรายได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ทด่ี ำเนินการต่อเนื่องในไตรมาส 3 – 4 และอย่ใู นความรบั ผิดชอบของกลุ่มงานส่งเสริมสัมมาชีพ
ชุมชน ประกอบดว้ ย 2 กจิ กรรม คือ

1. กจิ กรรม สรา้ งและพัฒนาสมั มาชีพชมุ ชนในระดบั หมูบ่ า้ น (ไตรมาส 2 - 3)
2. กิจกรรม จัดตงั้ และพัฒนากล่มุ อาชีพ (ไตรมาส 3)
และตามแนวทางการดำเนินงานเดิม กิจกรรมทั้ง 2 กำหนดให้ดำเนินการในรูปแบบการ
ฝกึ อบรมและประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ ตามลำดบั

แนวทางการดำเนนิ กจิ กรรม ตามโครงการสรา้ งความมั่นคงด้านอาชีพและรายได้ ฯ

ข้างต้น มีการปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินงานเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์การแพร่กระจาย
ของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID -19) ที่กระทบต่อชีวิตมนุษย์ในปัจจบุ ัน โดย เน้น
ให้งดการรวมคนร่วมกิจกรรม เพื่อสกัดกั้นการแพร่กระจายเชื้อโรคดังกล่าว (รายละเอียด
ตามหนังสือกรมการพัฒนาชมุ ชน ที่ มท 0409.2/ว 0794 ลงวนั ที่ 1 เมษายน 2563) โดยจะ
อธบิ ายเพิ่มเติม เพื่อความชดั เจนและเกิดการปฏบิ ตั ิในทศิ ทางเดียวกนั ดงั น้ี

 การสร้างความรู้ ความเข้าใจ : ให้งดจัดการฝึกอบรม งดจัดการประชุมฯ และให้
ปรับเปล่ยี นเปน็ การเสรมิ สรา้ งความรู้ ความเข้าใจ โดยใช้

๑. ระบบประชมุ ออนไลน์ (Cloud Conference) ผ่านส่ือต่าง ๆ เช่น Line Facebook Skype
session call หรือ Zoom

๒. ใช้เอกสารเป็นสอื่ สร้างการเรยี นรู้ เชน่ คมู่ ือ ชุดความรู้ หรือแนวทางการดำเนินงาน
๓. สร้างการรับรู้แบบ “ตัวต่อตัว” หมายถึง วิทยากรสัมมาชีพชุมชน/ทีมสนบั สนุนการ
สรา้ งสมั มาชพี ชุมชน หรอื เจา้ หนา้ ท่พี ัฒนาชุมชน พบครัวเรอื นเปา้ หมาย แบบเคาะประตบู า้ น
 การสอน/การฝึกปฏิบัติอาชีพ : ให้งดจัดการฝึกปฏิบัติ/สาธิตอาชีพ แบบรวมกลุ่ม
ให้ปรับเปลี่ยนเป็นการถ่ายทอด เฉพาะราย หรือ 2 – 3 ราย หรือ ๓ - ๕ ราย ตามความ
เหมาะสม
โดย การสร้างการรับรู้และการสอน/ฝึกปฏิบัติอาชีพ แบบ “ตัวต่อตัว” ให้คำนึงถึง
การป้องกันการแพรก่ ระจายของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยเคร่งครดั

4

สาระสำคัญ ของการสร้างการรับรู้ การเรียนรู้และการปฏิบัติ ท่ีต้องให้เกิดขึ้นอย่าง

เป็นรปู ธรรม แยกเปน็ รายกจิ กรรม ดงั นี้

กิจกรรม สร้างและพัฒนาสมั มาชพี ชมุ ชนในระดบั หมู่บ้าน ให้มีการ

1. สร้างความรู้ ความเข้าใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการน้อมนำสู่
การปฏบิ ัตอิ ยา่ งเปน็ รูปธรรมใน 3 ดา้ น (๓ สรา้ ง) ประกอบดว้ ย

(1) การสร้างความมั่นคงทางอาหาร โดยการปลูกผัก พืชสวนครัว เลี้ยงสัตว์ที่เป็น
อาหารของครัวเรอื น และแปรรูปผลผลติ ในบา้ นเพื่อถนอมอาหาร

(2) การสร้างสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน โดยการบริหารจัดการขยะ จัดสุขลักษณะในบ้าน
และการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

(3) การสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม โดยการปฏิบัติตามศาสนกิจตามพิธีกรรมความเช่ือ
เป็นประจำ การร่วมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์สาธารณะด้วยจิตอาสา และออกกำลังกาย
เสริมสร้างสุขภาพ

กลุม่ เป้าหมาย ทีต่ ้องดำเนนิ กจิ กรรม ๓ สรา้ ง ให้เปน็ รูปธรรม ประกอบดว้ ย
๑. ปราชญช์ ุมชนดา้ นอาชพี หรอื ท่เี รยี กว่า “วิทยากรสมั มาชพี ชมุ ชน” หมบู่ า้ นละ ๕ คน
๒. ครัวเรือนเป้าหมายที่เข้ารับการฝึกอบรมอาชีพ กิจกรรมสร้างและพัฒนาสัมมาชีพ
ชุมชนในระดับหมบู่ ้าน หรอื ทร่ี ียกวา่ “ครวั เรือนสมั มาชพี ชุมชน” หมูบ่ ้านละ ๒๐ คน

กระบวนการขบั เคลอ่ื น เพ่อื ให้การดำเนินงานเห็นผลเปน็ รูปธรรม

กระบวนการ แนวทาง

เรมิ่ ต้นกอ่ การ วิทยากรสัมมาชีพชุมชน หมู่บ้านละ ๕ คน ลงมือปฏิบัติการในกิจกรรม

๓ สร้าง ตามแนวทางการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชนท้องถิ่นตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ใหเ้ กดิ ผลเป็นรปู ธรรม

ขบั เคลื่อนคู่ขนาน วิทยากรสัมมาชีพชุมชน ส่งเสริมสนับสนุนให้ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน
หมู่บ้านละ ๒๐ คน ปฏิบัติการในกิจกรรม ๓ สร้าง ตามแนวทางการ

พัฒนาหมู่บ้านและชมุ ชนท้องถิ่นฯ ให้เกิดผลเปน็ รูปธรรม โดยวิทยากรฯ

๑ คน ตอ่ ๔ ครัวเรอื น

ขยายผลอย่างยงั่ ยนื ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ปฏิบัติการในกิจกรรม ๓ สร้าง อย่างต่อเนื่อง
และเหน็ ผลเปน็ ตัวอย่างแกค่ รัวเรือนญาตพิ ่นี ้องและบา้ นใกล้เรอื นเคียง

5

โมเดล การขับเคลื่อนการน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม
ภายใต้ โครงการสร้างความมั่นคงด้านอาชีพและรายได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

การน้อมนาํ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏบิ ตั ิ (๓ สร้าง)

เ ่ิรม ้ตนก่อการ หมู่บา้ น/ชุมชน
ัขบเค ่ืลอน ู่คขนาน
ขยายผลอ ่ยาง ่ัยง ืยน• ชุมชน "วิถีพอเพียง"
วิทยากรสมั มาชีพชุมชน ครวั เรือนสมั มาชีพชมุ ชน • ขยายผลส่หู มู่บ้านข้างเคียง
• ปฏบิ ัติ เป็น "ต้นแบบ" • ปฏบิ ัติ เป็น "ครัวเรือนตัวอย่าง"
• ขยายผลสคู่ รัวเรือนฯ • ขยายผลส่คู รัวเรือนพ่ีน้อง/

แบบมุ่งผล ๑ : ๔ บ้านใกล้เรือนเคยี ง

๒. สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชีพและฝึกปฏิบัติอาชีพ ที่ครัวเรือนเป้าหมาย
ต้องการฝึกอบรม ดำเนินการ ณ บ้านวิทยากรสัมมาชีพชุมชนหรือปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพ
บา้ นพักครัวเรือนเป้าหมาย หรือสถานที่ทีเ่ หมาะสม

6

กจิ กรรม จัดตั้งและพัฒนากลุ่มอาชพี ให้มีการ

1. สร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกระบวนการจัดตั้งและพัฒนากลุ่มอาชีพ ตาม
หลักการบริหารกลุ่ม 5 ก ประกอบด้วย (1) การรวมกลุ่ม (2) กรรมการ (3) กติกา ข้อบังคับ
(4) กองทุน และ (5) กิจกรรม ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย คือ ครัวเรือนเป้าหมายที่ผ่านการฝึกอบรม
สมั มาชีพชุมชน กิจกรรมสรา้ งและพฒั นาสัมมาชพี ชุมชนในระดบั หมู่บา้ น

2) สนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมายท่ปี ระกอบอาชีพเดยี วกนั หรือประเภทเดียวกันและประกอบ
อาชีพอย่างต่อเนื่อง รวมกลุ่มและจัดตั้งกลุ่มอาชีพ ตามข้อ 1. และดำเนินการจดทะเบียนกลุ่ม
อาชีพกับสำนกั งานพัฒนาชุมชนอำเภอหรอื หนว่ ยงานท่เี กยี่ วขอ้ ง

3. สนับสนุนให้กลุ่มที่จัดตั้ง ตามข้อ 2. วิเคราะห์ศักยภาพและความต้องการของกลุ่ม
ทั้งมิติด้านการบริหารจัดการและการดำเนินกิจการ/กิจกรรม (ผลผลิต) ของกลุ่ม โดยวิเคราะห์
ปัจจัย ๕ ด้าน ประกอบด้วย (1) การเข้าถึงปัจจัยการผลิต (2) การสร้างองค์ความรู้ใหม่
(3) การตลาด (4) การสื่อสารสร้างการรับรู้ และ (5) การบริหารจัดการ โดยดำเนินการรว่ มกบั
ทมี วิทยากรสัมมาชีพชุมชนหรอื ทีมสนับสนนุ การขบั เคล่ือนสัมมาชีพชมุ ชนในพืน้ ท่ี

4. สนับสนุนให้กลุ่มที่จัดตั้ง ตามข้อ 2. จัดทำแผนพัฒนากลุ่มอาชีพตามความต้องการ
ข้อ 3. และจัดทำเป็นโครงการ/กิจกรรมพร้อมแผนปฏิบัติการฯ เสนอขอรับการสนับสนุน
งบประมาณ

หมายเหตุ ๑. ลักษณะของกิจกรรมตามแผนพัฒนากลุ่ม ควรมีลักษณะเป็นการต่อยอด
กิจกรรมหรืออาชีพที่ฝึกอบรม เช่น การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การพัฒนารูปแบบ
ผลติ ภัณฑ์ หรอื การพฒั นาคุณภาพ เป็นตน้
๒. การจดั ซ้ือวัสดุสนบั สนนุ ตอ้ ง
๒.๑ ไมเ่ ป็นการซอื้ ของแจกหรอื แจกเป็นเงิน
๒.๒ ไมเ่ ปน็ การจดั ซอ้ื วัสดุหรอื สิ่งของทเ่ี ป็นครภุ ณั ฑ์
๓. ตัวอย่างวัสดุที่ควรสนับสนุน เช่น วัสดุที่เป็นวัตถุดิบ บรรจุภัณฑ์ ฉลาก หรือ

วสั ดสุ ำนกั งาน (แต่ไมค่ วรมากเกนิ ไป) เปน็ ตน้
๔. จดั ทำทะเบียนรบั ของที่จดั ซื้อไว้เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร

5. สนับสนุนให้กลุ่มท่จี ัดต้ัง ตามข้อ 2. ดำเนินการพฒั นากลมุ่ ตามแผนพัฒนา ฯ
6. ติดตาม ให้คำปรึกษา แนะนำ ระหวา่ งกลุ่มดำเนินตามแผนพฒั นากลุ่มฯ

7

กลไกขับเคลอื่ นการดำเนินงาน

เพือ่ ใหก้ ารดำเนนิ งานเป็นไปดว้ ยความเรียบร้อยและบรรลุตามวัตถุประสงคข์ องกิจกรรม
สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ (ในฐานะหน่วยดำเนินการ) ควรศึกษาแนวทางการ
ดำเนนิ งานและออกแบบการดำเนินกิจกรรม โดย
๑) ศึกษาตามแนวทางการดำเนินกิจกรรมตามยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน
ประกอบกบั ค่มู อื การดำเนินงาน (Cookbook) และหนงั สือส่งั การท่ีเกย่ี วขอ้ ง
๒) ดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ โดยคำนึงถึงผลความคุ้มค่าของงบประมาณและระเบียบของ
ทางราชการเป็นสำคญั
๓) รายงานผลการดำเนินงานในระบบบริหารงบประมาณและบริหารกิจกรรม/โครงการ
(ฺBudget and Project Management : BPM) และระบบรายงานออนไลน์ ทันที/หรือตามระยะเวลา
ทีก่ ำหนด
สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ควรให้การสนับสนุน ให้คำปรึกษาแนะนำทั้งด้านวิชาการ
และวิธีการดำเนินกิจกรรม โดยอาจร่วมออกแบบการดำเนินกิจกรรมกับสำนักงานพัฒนาชุมชน
อำเภอ รวมถึงการติดตาม ตรวจสอบการรายงานผลการดำเนินงานในระบบบริหารงบประมาณ
และบริหารกิจกรรม/โครงการ (ฺBudget and Project Management : BPM) และระบบรายงาน
ออนไลน์ ให้มคี วามสมบรู ณ์ ถกู ตอ้ ง ครบถ้วน และทนั ระยะเวลาท่ีกรมฯ กำหนด

สำนักงานพัฒนาชมุ ชนจงั หวัด/อำเภอ ควรใหค้ วามสำคัญในบทบาทของทีมสนับสนุนการ
สร้างสัมมาชีพชุมชน ทุกระดับ ด้วยการนำศักยภาพของทีมสนับสนุนฯ มาช่วยเสริมสร้าง
ผลสำเร็จให้เห็นเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ
ปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ๓ ด้าน (๓ สร้าง) ซึ่งทีมสนับสนุนฯ ที่อยู่ในระดับหมู่บ้าน ได้แก่ อช.
ผู้นำ อช. สตรี และปราชญ์ชุมชนด้านอาชีพ จะสามารถทำหน้าที่ผลักดันให้การปฏิบัติดังกล่าว
เกิดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม เนื่องจากอยู่ใกล้ชิดกับกลุ่มเป้าหมาย สามารถให้คำปรึกษา แนะนำ
ช้ชี วน หรือสนับสนนุ กล่มุ เป้าหมายได้อย่างรวดเรว็ และสมำ่ เสมอ

8

ตวั อย่างเพื่อการเรยี นรู้

การน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม (๓ สร้าง) ของ
วิทยากรสัมมาชีพชุมชนและครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ตามโครงการสร้างความมั่นคง
ด้านอาชีพและรายได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
จังหวดั สระบุรี
วิทยากรสมั มาชีพชมุ ชน

ชอื่ - สกุล : นายรุจฒชิ ัย ลมี ชี ัย
ทอ่ี ยู่ : บา้ นเลขท่ี 100 หมู่ 5 ตำบลบ้านกลับ

อำเภอหนองโดน จงั หวดั สระบรุ ี
เบอร์โทรศัพท์ : 092-9459732

1. ด้านสร้างความม่นั คงดา้ นอาหาร
1.1 มีการปลูกผกั พืชสวนครวั เพื่อใช้ประกอบอาหารในชวี ติ ประจำวัน เพอื่ ลดค่าใช้จา่ ย

ประจำวนั ตามสภาพพื้นทีข่ องครวั เรอื น

9
1.2 มกี ารเล้ียงสตั วท์ ี่เปน็ อาหารของครวั เรือน เช่น เป็ด ไก่ ปลา กบ หรืออื่น ๆ ตามสภาพ

พน้ื ที่แต่ละครัวเรอื นจะทำได้

1.3 มีการแปรรปู ผลิตผลในบ้านเพื่อเปน็ การถนอมอาหาร และใชป้ ระโยชน์ของใช้ใน
ครวั เรอื นรูปแบบต่าง ๆ

2. ด้านสร้างสิง่ แวดล้อมใหย้ ่ังยืน
2.1 มีการบรหิ ารจัดการขยะ ลดการใชผ้ ลิตภัณฑส์ รา้ งขยะ คดั แยกขยะ นำกลบั มาใช้ซำ้

หมักขยะเปียกเพอื่ เปน็ ปุ๋ย หรือถังขยะเปยี กลดโลกร้อน

10
2.2 มกี ารจดั สขุ ลกั ษณะในบ้าน โดยการจัดบริเวณบา้ น : สะอาดเป็นระเบียบ ไม่เป็นแหลง่
เพาะเช้ือโรค และพาหนะนำโรค : สวยงาม เช่น รว้ั กนิ ได้ ไม้ดอกไม้ประดับ : สะดวกปลอดภยั ใน
การใชอ้ ปุ กรณ์ประกอบอาชพี

2.3 มีการใช้ทรัพยากรในบา้ นอย่างคุม้ ค่า ประหยดั และเกอื้ กูลกัน

3. สร้างภมู คิ ุ้มกนั ทางสงั คม
3.1 มกี ารปฏิบัตศิ าสนกิจตามความเช่ือเป็นประจำ มกี ารแบง่ ปนั เอ้อื เฟอื้ เจือจานระหวา่ งกนั

11
3.2 มีการเข้าร่วมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์สาธารณะด้วยจิตอาสา อาสาสมัครเข้าร่วม
กิจกรรมเพื่อสาธารณะ ของหมู่บ้าน การปรับปรุง ถนน คู คลอง หรือการร่วมกิจกรรมการ
พัฒนาหมูบ่ า้ นอนื่ ๆ

3.3 มีการออกกำลังกายเสริมสุขภาพ เพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ครัวเรือนมีการออก
กำลังกายในรปู แบบต่าง ๆ เปน็ ประจำ

ขอขอบคุณข้อมลู จาก สำนักงานพัฒนาชมุ ชนจงั หวดั สระบรุ ี

12

วทิ ยากรสัมมาชีพชุมชน

ชอ่ื - สกุล : นายอำนาจ หนูอน้
ที่อยู่ : บา้ นเลขที่ หมู่ ๑๐ ตำบลห้วยทราย

อำเภอหนองแค จงั หวัดสระบุรี
เบอร์โทรศพั ท์ : 0๘๔-๘๖๗๘๘๙๑

1. ด้านสรา้ งความมัน่ คงด้านอาหาร
1.1 มีการปลูกผัก พืชสวนครัว เพื่อใช้ประกอบ

อาหารในชีวิตประจำวัน เพื่อลดค่าใช้จา่ ยประจำวัน

ตามสภาพพน้ื ทขี่ องครวั เรือน
1.2 มีการเลี้ยงสัตว์ที่เป็นอาหารของครัวเรือน

เช่น เป็ด ไก่ ปลา กบ หรืออื่น ๆ ตามสภาพพื้นท่ี

แตล่ ะครวั เรอื นจะทำได้
1.3 มีการแปรรูป ผลิตผลในบ้านเพื่อเป็นการ

ถนอมอาหาร และใช้ประโยชน์ของในครัวเรือน
รปู แบบต่าง ๆ

2. ด้านสรา้ งส่งิ แวดล้อมใหย้ ัง่ ยืน
2.1 มีการบริหารจัดการขยะ ลดการใช้ผลิตภัณฑ์สร้างขยะ คัดแยกขยะ นำกลับมาใช้ซ้ำ

หมกั ขยะเปียกเพ่ือเปน็ ปยุ๋ หรือถงั ขยะเปียกลดโลกร้อน

13
2.2 มีการจัดสุขลักษณะในบ้าน โดยการจัดบริเวณบ้าน : สะอาดเป็นระเบียบ ไม่เป็นแหล่ง
เพาะเชอื้ โรค และพาหนะนำโรค : สวยงาม เชน่ ร้วั กนิ ได้ ไมด้ อกไมป้ ระดับ : สะดวกปลอดภัย ใน
การใช้อปุ กรณป์ ระกอบอาชพี

2.3 มกี ารใชท้ รัพยากรในบ้านอยา่ งคมุ้ ค่า ประหยดั และเกอ้ื กูลกนั

14
3. สร้างภมู คิ มุ้ กนั ทางสังคม

3.1 มกี ารปฏบิ ตั ิศาสนกิจตามความเชือ่ เป็นประจำ มกี ารแบง่ ปนั เอื้อเฟื้อเจอื จานระหวา่ งกนั

3.2 มีการเข้าร่วมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์สาธารณะด้วยจิตอาสา อาสาสมัครเข้าร่วม
กิจกรรมเพื่อสาธารณะ ของหมู่บ้าน การปรับปรุง ถนน คู คลอง หรือการร่วมกิจกรรมการ
พัฒนาหมู่บ้านอน่ื ๆ

3.3 มกี ารออกกำลงั กายเสริมสุขภาพ เพอ่ื สุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ครัวเรือนมกี ารออก
กำลงั กายในรูปแบบต่าง ๆ เปน็ ประจำ

ขอขอบคณุ ข้อมลู จาก สำนักงานพัฒนาชุมชนจงั หวดั สระบรุ ี

15

วทิ ยากรสมั มาชีพชมุ ชน

ชอ่ื - สกุล : นายจกั รพันธ์ ทรพั ย์สมบรู ณ์
ทอี่ ยู่ : บ้านเลขท่ี 143 หม่ทู ่ี 7 ตำบลเจริญธรรม อำเภอวิหารแดง จงั หวัดสระบุรี
เบอรโ์ ทรศัพท์ : 081-1944-188

1. ดา้ นสรา้ งความมน่ั คงด้านอาหาร
1.1 มีการปลูกผัก พืชสวนครัว เพื่อใช้ประกอบอาหารในชีวิตประจำวัน เพื่อลดค่าใช้จ่าย

ประจำวัน ตามสภาพพืน้ ทขี่ องครวั เรือน

16
1.2 มกี ารเลีย้ งสัตว์ทเ่ี ป็นอาหารของครัวเรือน เช่น เปด็ ไก่ ปลา กบ หรืออืน่ ๆ ตามสภาพ
พื้นทแ่ี ต่ละครัวเรอื นจะทำได้

1.3 มีการแปรรปู ผลิตผลในบา้ นเพื่อเป็นการถนอมอาหาร และใชป้ ระโยชน์ของในครวั เรอื น
รูปแบบต่าง ๆ

2. ดา้ นสร้างสิ่งแวดลอ้ มใหย้ ั่งยนื
2.1 มกี ารบรหิ ารจัดการขยะ ลดการใชผ้ ลิตภณั ฑส์ รา้ งขยะ คัดแยกขยะ นำกลบั มาใชซ้ ำ้

หมักขยะเปยี กเพื่อเปน็ ปุ๋ย หรอื ถงั ขยะเปียกลดโลกรอ้ น

17
2.2 มกี ารจัดสุขลกั ษณะในบา้ น โดยการจัดบริเวณบา้ น : สะอาดเป็นระเบียบ ไม่เปน็ แหลง่
เพาะเชือ้ โรค และพาหนะนำโรค : สวยงาม เชน่ รว้ั กินได้ ไมด้ อกไมป้ ระดับ : สะดวกปลอดภัย ใน
การใช้อุปกรณ์ประกอบอาชพี

2.3 มีการใชท้ รพั ยากรในบา้ นอย่างคุ้มค่า ประหยดั และเกื้อกลู กัน

18
3. สรา้ งภูมคิ ุ้มกนั ทางสงั คม

3.1 มกี ารปฏิบัติศาสนกิจตามความเชอ่ื เป็นประจำ มกี ารแบ่งปนั เอ้ือเฟอ้ื เผ่อื แผ่ระหวา่ งกนั
คนในชมุ ชน/หมบู่ า้ น

3.2 มกี ารเขา้ ร่วมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชนส์ าธารณะด้วยจติ อาสา อาสาสมคั รเข้ารว่ ม
กจิ กรรมเพอ่ื สาธารณะ ของหมบู่ ้าน การปรับปรุง ถนน คู คลอง หรือการรว่ มกิจกรรมการ
พัฒนาหมบู่ า้ นอืน่ ๆ

19

3.3 มีการออกกำลังกายเสริมสขุ ภาพ เพอ่ื สุขภาพรา่ งกายทีแ่ ขง็ แรง ครัวเรือนมีการออก
กำลังกายในรปู แบบต่าง ๆ เปน็ ประจำ

ขอขอบคุณขอ้ มลู จาก สำนักงานพฒั นาชุมชนจังหวดั สระบรุ ี

20

21

ครัวเรอื นสมั มาชีพชมุ ชน

ชอ่ื - สกุล : นายณรงค์ แกว้ ศรี
ท่อี ยู่ : บา้ นเลขที่ 34 หมูท่ ่ี 5 ตำบลห้วยบง อำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ จงั หวดั สระบุรี
เบอรโ์ ทรศพั ท์ : 082-9287798

1. ด้านสร้างความม่ันคงด้านอาหาร

1.1 มกี ารปลกู ผัก พืชสวนครัว เพื่อใชป้ ระกอบอาหารในชวี ติ ประจำวัน เพื่อลดค่าใช้จ่ายประจำวัน ตาม
สภาพพนื้ ท่ขี องครวั เรอื น ส่วนทเี่ หลือกนิ กจ็ ำหน่ายท่ตี ลาดเช้า ในจังหวัดสระบรุ ี สรา้ งรายไดเ้ ดอื นละ
10,000 บาท (หน่ึงหม่ืนบาทถ้วน)

22

1.2 มีการเลีย้ งสัตว์ที่เปน็ อาหารของครัวเรือน เช่น เป็ด ไก่ ปลา กบ หรืออ่นื ๆ ตามสภาพพืน้ ที่
แต่ละครัวเรือนจะทำได้

23

1.3 มีการแปรรปู ผลิตผลในบ้านเพื่อเป็นการถนอมอาหารและใช้ประโยชน์ของในครวั เรือนรปู แบบต่าง ๆ
เชน่ การทำมะมว่ งกวน การทำน้ำมะมว่ งหาว มะนาวโห่ ไว้ทานในครัวเรือน

24

2. ด้านสร้างสงิ่ แวดลอ้ มใหย้ ่งั ยืน

2.1 มีการบริหารจัดการขยะ ลดการใช้ผลิตภัณฑ์สร้างขยะ คัดแยกขยะ นำกลับมาใช้ซ้ำ หมักขยะเปียก
เพื่อเป็นปุ๋ย หรือถังขยะเปียกลดโลกร้อน มีการนำปุ๋ยขี้ไก่ มาใช้ในพืชผักที่ปลูก ทำให้ผลผลิตออกมา
ปลอดสารพษิ

2.2 มีการจัดสุขลักษณะในบ้าน โดยการจัดบริเวณบ้าน : สะอาดเป็นระเบียบ ไม่เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค
และพาหนะนำโรค : สวยงาม เช่น รั้วกินได้ ไม้ดอกไม้ประดับ : สะดวกปลอดภัย ในการใช้อุปกรณ์ประกอบ
อาชพี

25

2.3 มกี ารใช้ทรัพยากรในบ้านอย่างคมุ้ คา่ ประหยัดและเกื้อกูลกนั บนพื้นท่บี า้ นจำนวน 14 ไร่ มกี าร
บริหารจดั การ โดยการทำนา ปลกู ผกั สวนครวั และ ทำบอ่ ปลา

26

3. สร้างภูมิคมุ้ กันทางสังคม
3.1 มีการปฏิบัตศิ าสนกิจตามความเชื่อเปน็ ประจำ มกี ารแบง่ ปนั เออ้ื เฟ้อื เจือจานระหว่างกนั

3.2 มีการเข้าร่วมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์สาธารณะด้วยจิตอาสา อาสาสมัครเข้าร่วมกิจกรรม
เพือ่ สาธารณะ ของหมู่บ้าน การปรับปรุง ถนน คู คลอง หรอื การรว่ มกิจกรรมการพัฒนาหมบู่ ้านอน่ื ๆ

3.3 มกี ารออกกำลังกายเสรมิ สุขภาพ เพอื่ สุขภาพร่างกายทีแ่ ข็งแรง ครัวเรือนมกี ารออกกำลังกายใน
รปู แบบต่าง ๆ เปน็ ประจำ

ขอขอบคณุ ข้อมูลจาก สำนกั งานพัฒนาชุมชนจังหวัดสระบรุ ี

27

คณะผู้จดั ทำ

ทป่ี รกึ ษา ผ้อู ำนวยการสำนกั เสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ชุมชน
นายจำเรญิ แหวนเพช็ ร นักวิชาการพฒั นาชุมชนเช่ียวชาญ

นางวรรณา ลิม่ พานชิ ย์

คณะทำงาน ผู้อำนวยการกล่มุ งานส่งเสรมิ สมั มาชพี ชมุ ชน
นายสรุศักด์ิ แหลง่ หลา้ นกั วชิ าการพฒั นาชมุ ชนชำนาญการ
นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
นางสาวธวลั รัตน์ เดชบุญมา นักวิชาการพฒั นาชมุ ชนชำนาญการ
นางสมพิศ ปูนจัตุรสั
นางสาวพิมพช์ นา พชิ าพันธโ์ ภคนิ

เรยี บเรยี ง
นางสาวพิมพ์ชนา พิชาพันธ์โภคนิ นักวิชาการพฒั นาชมุ ชนชำนาญการ

ออกแบบ
ว่าทร่ี ้อยตรสี ริ พิ จน์ สริ ิอาภรณ์ เจ้าพนกั งานโสตทศั นศกึ ษาปฏิบตั ิงาน

จดั ทำโดย
กลุ่มงานส่งเสริมสัมมาชพี ชมุ ชน สำนกั เสริมสร้างความเข้มแข็งชมุ ชน


Click to View FlipBook Version