The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผลสำเร็จ ศูนย์ผู้นำจิตอสาพัฒนาชุมชน
เขตตรวจราชการที่ 1 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน จำนวน 6 จังหวัด
1. จังหวัดชัยนาท
2. จังหวัดลพบุร
3.จังหวัดสิงห์บุร
4.จังหวัดอ่างทอง
5.จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
6.จังหวัดสระบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เขต 1 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน

ผลสำเร็จ ศูนย์ผู้นำจิตอสาพัฒนาชุมชน
เขตตรวจราชการที่ 1 กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน จำนวน 6 จังหวัด
1. จังหวัดชัยนาท
2. จังหวัดลพบุร
3.จังหวัดสิงห์บุร
4.จังหวัดอ่างทอง
5.จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
6.จังหวัดสระบุรี

เรื่องดีดีที่ศูนย์

ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน

กรมการพัฒนาชุมชน

เเขขตตตตรรววจจรราาชชกกาารรททีี่่11
กกลลุุ่่มมจจัังงหหววััดดภภาาคคกกลลาางงตตออนนบบนน





ความสุขสร้างได้ ด้วย อาสา

สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย



คำนำ

ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน ก่อตั้งขึ้นด้วยวัตถุประสงค์สำคัญ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
และถวายเป็นพระราชกุศล พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ
พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ในวันที่ 28 กรกฎาคม 2565

โดยทำหน้าที่เป็นสถานที่บ่มเพาะภาวะผู้นำ ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ การพัฒนาคุณภาพชีวิต
ประชาชน และการบริหารจัดการชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นศูนย์ประสานงาน
ภาคีเครือข่ายจิตอาสาพัฒนาชุมชนระหว่างภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคีการพัฒนาในพื้นที่
ทั้ง 7 ภาคส่วน โดยมีชุมชนเป็นศูนย์กลาง ขับเคลื่อนด้วยการส่งเสริมผู้นำชุมชน กลุ่ม องค์กร
และเครือข่ายงานพัฒนาชุมชนที่เป็นทุนทางสังคม ใช้ภูมิปัญญาให้เป็นพลังในการสร้างสรรค์
งานพัฒนาชุมชน พัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงการพัฒนาภาวะผู้นำ เสริมสร้างอุดมการณ์การทำงานเพื่อสาธารณะ
กระตุ้นจิตสำนึกรับผิดชอบต่อชุมชนส่วนรวม และการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนในรูปแบบ
จิตอาสา อันจะนำไปสู่การพัฒนาและขยายผลเพื่อการพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน

กรมการพัฒนาชุมชน ดำเนินโครงการส่งเสริมการขับเคลื่อนการดำเนินงานผู้นำจิตอาสา
พัฒนาชุมชน และจัดตั้งศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน นำร่องในพื้นที่ 76 จังหวัด เมื่อ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และขยายผลการดำเนินงานโดยกำหนดเป้าหมาย การจัดตั้งให้ครบ
ทุกตำบล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ซึ่งการขับเคลื่อนการดำเนินงานของศูนย์ผู้นำจิตอาสา
พัฒนาชุมชนในแต่ละแห่ง ดำเนินการภายใต้ศักยภาพ ความพร้อม และความเข้มแข็งของชุมชน
ที่แตกต่าง และน่าสนใจ

คณะผู้จัดทำเห็นว่า การดำเนินงานของศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนในแต่ละแห่ง
เป็นประสบการณ์ที่น่าสนใจ และจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ขับเคลื่อนการทำงานพัฒนาชุมชนใน
รูปแบบจิตอาสา จึงร่วมกับสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด รวบรวมเรื่องราวดี ๆ ที่เกิดขึ้น
ภายใต้กิจกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานของศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 และจัดทำเป็นเอกสารเล่มเล็ก ๆ ในชื่อ “เรื่องดีดีที่ศูนย์จิต” ศูนย์ผู้นำจิตอาสา
พัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้นำชุมชน กลุ่ม องค์กร และเครือข่าย
งานพัฒนาชุมชน ตลอดจนผู้สนใจทั่วไป และขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ร่วมแบ่งปันความรู้
ประสบการณ์ และร่วมสร้างสรรค์งานพัฒนาชุมชนให้เห็นผลอย่างเป็นรูปธรรม

สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
พฤษภาคม 2565

Community Development Volunteer Leader Center

สารบัญ ข

คำนำ ก
สารบัญ ข
1
จังหวัดชัยนาท 5
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 11
จังหวัดลพบุรี 14
จังหวัดสระบุรี 18
จังหวัดสิ งห์บุรี 23
จังหวัดอ่างทอง 27
คณะผู้จัดทำ

Community Development Volunteer Leader Center

เขต 1

กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน

จังหวัดชัยนาท จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จังหวัดลพบุรี จังหวัดสระบุรี

จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดอ่างทอง

BBEESSTT PPRRAACCTTIICCEE :: ศศ..จจออสส..พพ..จจัังงหหววััดดชชััยยนนาาทท 1

ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนตำบลสามง่ามท่าโบสถ์

หมู่ที่ 9 ตำบลสามง่ามท่าโบสถ์ อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท

"รู้จักกันก่อน" "ศูนย์เรียนรู้และขับเคลื่อนของเศรษฐกิจพอเพียง “โคก หนอง
นา โมเดล” หมู่ที่ 9 ตำบลสามง่ามท่าโบสถ์ อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท
ได้จัดตั้งเป็น "ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนตำบลสามง่ามท่าโบสถ์"
นำร่องของจังหวัดชัยนาท

การดำเนินกิจกรรมในศูนย์เรียนรู้มีความสอดคล้องกับแนวทางการ
จัดตั้งศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนที่น้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การปฏิบัติ
อย่างต่อเนื่อง จัดเก็บองค์ความรู้ และทำจุดเรียนรู้ชุมชน มีการถ่ายทอด
โดยทีมวิทยากรภายในศูนย์ฯ เช่น ฐานการเรียนรู้การทำปุ๋ย ฐานการกำจัดขยะ
ฐานการเลี้ยงสัตว์ ฐานการจักสาน ฐานการปลูกผักปลอดสาร

และนอกจากนี้ศูนย์แห่งนี้ยังมีการเชื่อมโยงเครือข่าย โคก หนอง นา
โมเดล อำเภอวานรนิวาส และเครือข่าย OTOP อำเภอวานรนิวาส และมี
"นายขวัญชัย แตงทอง" ซึ่งเป็นผู้ประพฤติตนดี เป็นแบบอย่างให้กับคนใน
ครอบครัว ชุมชนในแบบผู้นำจิตอาสสา มีความเสียสละ และมีน้ำใจ

เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือคนในชุมชน เป็นประธานศูนย์ฯ

1. กิจกรรมติดตามสนับสนุนผู้นำในศูนย์เรียนรู้ ทีท่ีทอ่ีอ่ยอยา"ยา"เกา"เรกืร่เบกือ่บรอื่บองอองกองDกD"กD"D"D
ทฤษฎีใหม่ รูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” ทำอย่าง
ต่อเนื่อง

2. มีกิจกรรมการเรียนรู้ ทั้งในบริเวณศูนย์ และการสัญจร

ไปในพื้นที่เครือข่ายศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน

3. ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนใช้เป็นสถานที่ฝึกอบรม

"โครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ปี พ.ศ. 2564"

Community Development Volunteer Leader Center

2

ปั จจัยความสำเร็จ : " IDEA CAN DO"

1. คณะกรรมการบริหารมีจำนวน 25 คน มีใจ และมีองค์ความรู้
หลากหลายในการประกอบอาชีพ ของคนในชุมชนได้ รวมถึง
การพัฒนาศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง

2. มีความพร้อมของคน สถานที่ และอุปกรณ์ มีอย่างเพียงพอ
3. มีการใช้หลักกสิกรรมธรรมชาติ
4. มีการบูรณาการงานในทุกระดับ
5. การสร้างเครือข่าย ระดับตำบล อำเภอ จังหวัด

Community Development Volunteer Leader Center

3

เเรรืื่่อองงรราาววขขอองงเเรราา

Community Development Volunteer Leader Center

4

ที่มา : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดชัยนาท

Community Development Volunteer Leader Center

BBEESSTT PPRRAACCTTIICCEE :: ศศ..จจออสส..พพ..จจัังงหหววััดดพพรระะนนคครรศศรรีีออยยุุธธยยาา 5

ศศููนนยย์์กกาารรเเรรีียยนนรรูู้้ โโคคกก หหนนอองง นนาา บบุุญญ 110088

หหมมูู่่ททีี่่ 33 ตตำำบบลลบบ้้าานนกกุุ่่มม ออำำเเภภออบบาางงบบาาลล จจัังงหหววััดดพพรระะนนคครรศศรรีีออยยุุธธยยาา

"ศูนย์การเรียนรู้ โคก หนอง นา บุญ 108 " ตั้งอยู่ในชุมชนที่มีความโดดเด่น

""รู้รจู้ัจกักกักนันก่กอ่อนน"" ด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรม ซึ่ง “นายขนมต้ม” เป็นนักมวยคาดเชือก
ชาวกรุงศรีอยุธยา เกิดที่ตำบลบ้านกุ่ม อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ทั้งพ่อ แม่ และพี่ถูกพม่าฆ่าตายหมด ต้องไปอยู่วัดตั้งแต่เล็ก เริ่มฝึกวิชามวยไทยตั้งแต่
แตกเนื้อหนุ่ม จนในสมัยพระเจ้าเอกทัศน์ กรุงศรีอยุธยาได้เสียแก่พม่าครั้งที่ 2 จึงถูกกวาดต้อน
ไปเป็นเชลยศึก “นายขนมต้ม” สร้างชื่อเสียงให้กับกรุงศรีอยุธยา และชาติไทย โดยอาศัย
ความสามารถในเชิงหมัดมวย ดังข้อความตอนหนึ่งว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยา “เรามีนักมวยไทย คือ
นายขนมต้ม ออกไปแสดงฝีไม้ลายมือถึงเมืองพม่า” วันที่ชกมวยของนายขนมต้มนั้นคนวงการมวย
ถือว่าเป็น “วันนักมวยไทย” คือวันที่ 17 มีนาคม ของทุกปี

"ดร.บุญสมหญิง พลเมืองดี" ประธานศูนย์การเรียนรู้ โคก หนอง นา บุญ 108 เจ้าของแปลง
พื้นที่ครัวเรือนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (HLM) รูปแบบ “ โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน ”
โครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมกับเป็นหนึ่งในแกน นำชุมชน ในการส่งเสริมอาชีพ
ให้กับคนในชุมชน ให้มีอาชีพ สร้างรายได้อย่างถูกวิธี เชิดชูวัฒนธรรมของดีในท้องถิ่นสู่สายตา ของ
สาธารณชนทั่วโลก มีการรวบรวมความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของ "นายขนมต้ม" ส่งเสริมการ
รวบรวมภูมิปัญญาชุมชน ส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ เช่น การวาดภาพศิลปะแม่ไม้มวยไทย การทำ

ก้านธูป และดนตรีไทย โดยบูรณาการการทำงานร่วมกับชุมชนและภาคีทั้ง 7 ภาคี

"ศูนย์การเรียนรู้ โคก หนอง นา บุญ 108 " เป็นสถานที่บ่มเพาะ ทีท่ีอ่อยยาา""กเกเรบืร่บือ่ออองงกกD"D"DD
ภาวะผู้นำ ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนและ
การบริหารจัดการชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นศูนย์ประสานงาน
ภาคีเครือข่ายจิตอาสาพัฒนาชุมชน ระหว่างภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคี
การพัฒนาชุมชนในพื้นที่ ทั้ง 7 ภาคส่วน โดยมีชุมชนเป็นศูนย์กลาง

ด้วยการส่งเสริมผู้นำชุมชน กลุ่ม องค์กร เครือข่ายงานพัฒนาชุมชนที่เป็นทุน

ทางสังคม ใช้พลังภูมิปัญญาของชุมชน ให้เป็นพลังในการสร้างสรรค์งานพัฒนาชุมชน

เช่น โรงเรียนวัดจุฬามณี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกุ่ม มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ (มทร.) เป็นต้น

อีกทั้งได้สืบสานภูมิปัญญาให้แก่ลูกหลานตำบลบ้านกุ่ม ตั้งแต่ระดับประถมศึกษา

มัธยมศึกษาตอนต้นเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการเป็น

“มัคคุเทศก์น้อย"

“มัคคุเทศก์น้อย” ได้เข้าร่วมกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ดำเนินกิจกรรมการท่อง
เที่ยวด้วยการปั่ นจักรยาน เริ่มต้นตั้งแต่อนุสาวรีย์นายขนมต้ม-วัดจุฬามณี-สวนพอเพียง-
โคกหนองนาบุญ 108 -วัดภูเขาทอง และไปจบการเยี่ยมชมวิถีชีวิตชาวชุมชนมอญ

ณ โฮมสเตย์ตำบลไทรน้อย เพื่อศึกษาเรียนรู้สถานที่จริง

Community Development Volunteer Leader Center

ปั จจัยความสำเร็จ : " IDEA CAN DO" 6

1. แสวงหา และสร้างคนมีใจร่วม เพื่อมาเป็นคณะกรรมการบริหารศูนย์
ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน โดยมีบูรณาการภาคีการพัฒนาชุมชนในพื้นที่ ทั้ง 7
ภาคส่วน และให้ความสำคัญต่อการสร้างทักษะ การมีส่วนร่วม การพัฒนาชุมชน
แก่คนรุ่นใหม่

2. นำความรู้ความเชี่ยวชาญของสมาชิก มาจัดการความรู้ รวบรวม พัฒนา ต่อยอด
เพื่อนำไปถ่ายทอดให้คนในชุมชน เป็นทุนในการพัฒนาชุมชน และสังคม

3. น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน
ของผู้นำ ครัวเรือน และคนในชุมชน จนสามารถขับเคลื่อนเป็น "ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนา
ชุมชน" จนประสบความสำเร็จ

4. มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างคณะกรรมการและสมาชิก อย่างต่อเนื่อง
5. ร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนระดับอำเภอ
การขับเคลื่อนงานพัฒนาทักษะอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต และการขับเคลื่อนงานศูนย์ผู้นำ
จิตอาสาพัฒนาชุมชน
6. วางแผนการขับเคลื่อนกิจกรรมของศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน เป็นราย
สัปดาห์ รายเดือน ติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนงาน อย่างสม่ำเสมอ

Community Development Volunteer Leader Center

7

เเรรืื่่อองงรราาววขขอองงเเรราา

Community Development Volunteer Leader Center

8

กิจกรรมการสร้างความมั่นคงทางอาหาร

Community Development Volunteer Leader Center

9

กิ จ ก ร ร ม ก า ร ส ร้ า ง สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ยั่ ง ยื น

Community Development Volunteer Leader Center

10

กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้



ที่มา : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Community Development Volunteer Leader Center

BBEESSTT PPRRAACCTTIICCEE :: ศศ.จ.จออสส.พ.พ.จ.จัังงหหววััดดลลพพบบุุรีรี 11

ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนบ้านบางขันหมากใต้

บ้านบางขันหมากใต้ หมู่ที่ 1 ตำบลบางขันหมาก อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี

"รู้จักกันก่อน" "ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนบ้านบางขันหมากใต้" ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 1
ตำบลบางขันหมาก อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี เป็นศูนย์เรียนรู้ที่โดดเด่น
"ด้านการน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง" สู่การปฏิบัติจนเป็นวิถี
และ"การพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” และจากการดำเนินงาน
ที่เป็นรูปธรรม จึงได้รับการจัดตั้งเป็นศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนระดับ
อำเภอเมืองลพบุรี

"ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน บ้านบางขันหมากใต้ " ททีี่่ออยย""าาเเกรกรืื่่ออบบงงออDกDกD"D"
มีกิจกรรมที่ขับเคลื่อนงานอย่างเป็นรูปธรรม ดังนี้

1. การขยายผลกิจกรรมการสร้างความมั่นคงทางอาหาร

2. ศูนย์เรียนรู้ โคก หนอง นา โมเดล

3. การบริหารจัดการขยะในชุมชน

4. ตู้ปันสุข

ปปััจจจจััยยคคววาามมสสำำเเรร็็จจ :: "" IIDDEEAA CCAANN DDOO""

1. มีการขับเคลื่อนภารกิจ ในการเป็นสถานที่บ่มเพาะผู้นำ ทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน และการบริหารจัดการชุมชน เพื่อการพึ่งพา
ตนเองได้อย่างยั่งยืน และมีประสิทธิภาพ
2. เป็นศูนย์กลางและ มีเครือข่ายการเรียนรู้ แก่ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน และในระดับ
ตำบล อำเภอ และจังหวัด
3. ผู้นำเป็นต้นแบบในการประพฤติปฏิบัติ ให้เป็นแบบอย่าง ในการสร้างความมั่นคง
ทางอาหาร และการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. กิจกรรมสร้างความมั่นคงทางอาหาร กิจกรรมด้านอาชีพ สามารถพึ่งพาตนเอง

Community Development Volunteer Leader Center

12

เเรรืื่่อองงรราาววขขอองงเเรราา

Community Development Volunteer Leader Center

13

ที่มา : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดลพบุรี

Community Development Volunteer Leader Center

BBEESSTT PPRRAACCTTIICCEE :: ศศ..จจออสส..พพ..จจัังงหหววััดดสสรระะบบุุรรีี 14

ศูนย์เรียนรู้เกษตรผสมผสาน โคก หนอง นา บ้านพุแค

หหมมูู่่ททีี่่ 11 ตตำำบบลลพพุุแแคค ออำำเเภภออเเฉฉลลิิมมพพรระะเเกกีียยรรตติิ จจัังงหหววััดดสสรระะบบุุรรีี

“ศูนย์เรียนรู้เกษตรผสมผสาน โคก หนอง นา บ้านพุแค”

""รรูู้้จจัักกกกัันนกก่่ออนน"" ก่อเกิดโดยการระเบิดจากข้างในของ "นางสาวนารีรัช อุทัยแสงสกุล"
เจ้าของแปลง จากพื้นที่ทำนาแต่ไม่มีน้ำในฤดูแล้ง ทำการเกษตรกรรม
ไม่ประสบ ผลสำเร็จ
ต่อมาปี 2564 ได้เข้าร่วม"โครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง"
และนำความรู้ที่ได้รับอบรมมาพัฒนาต่อยอดในพื้นที่ตนเอง ทั้งการขุด
ปรับพื้นที่ ให้มีบ่อกักเก็บน้ำเพื่อรองรับน้ำฝน ซึ่งได้ "สระน้ำขนาดใหญ่"
สามารถกักเก็บน้ำได้ตลอดปี มีกิจกรรมหลากหลายตามหลักกสิกรรม
ธรรมชาติ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทำแบบค่อยเป็นค่อยไป
ทำแบบผสมผสานโดยไม่มีขอบเขต ชอบสิ่งใดทำสิ่งนั้น ปลูกพืชเศรษฐกิจ
และผักสวนครัว นำผลผลิตที่ปลูกมาประกอบอาหารจำหน่ายใน "ตลาด
หัวปลี" ทุกวันเสาร์/อาทิตย์ โดยแรงงานที่ทำงานในพื้นที่เป็นสมาชิก
ชาวตลาดหัวปลี ที่มาปฏิบัติร่วมกัน สัปดาห์ละครั้ง

“ศูนย์เรียนรู้เกษตรผสมผสาน โคก หนอง นา บ้านพุแค” ททททีีีี่่่่ออออยย""ยย""เเาาเเาารรืืรรกก่่ืืกกออ่่ออบบบบงงงงออออDDDDกกกกDDDD""""
ดำเนินกิจกรรม ดังนี้
1. จัดทำแผนการขับเคลื่อนงานของศูนย์เรียนรู้เกษตรผสมผสาน โคก
หนอง นา และมีกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาชุมชนในวันสำคัญต่าง ๆ
2. มีกิจกรรมฐานเรียนรู้ ภายในศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน
จำนวน 11 ฐานเรียนรู้ ดังนี้

1) ฐานกสิกรรมธรรมชาติ 7) ฐานคนมีไฟ
2) ฐานคนเอาถ่าน 8) ฐานคันนาทองคำ
3) ฐานคนรักษ์น้ำ 9) ฐานเรียนรู้พัฒนากิจกรรมเยาวชน
4) ฐานคนหัวเห็ด 10) ฐานรักษ์โลกจากวัสดุธรรมชาติ
5) ฐานคนรักษ์แม่ธรณี 11) ฐานการส่งเสริมอาชีพด้านการ
6) ฐานคนติดดิน
แปรรูปอาหาร

3. เตรียมวิทยากรต้อนรับ ผู้มาศึกษาดูงานประจำฐานเรียนรู้ทุกฐาน
เตรียมทีมวิทยากรต้อนรับ

4. ประชาสัมพันธ์/เผยแพร่ การดำเนินงานศูนย์ผู้นำจิตอาสาฯ

Community Development Volunteer Leader Center

ปปััจจจจััยยคคววาามมสสำำเเรร็็จจ :: "" IIDDEEAA CCAANN DDOO"" 15

1. คณะกรรมการบริหารศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน มีความ
รักและสามัคคี คนในชุมชนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่าง ๆ
เป็นประจำอย่างต่อเนื่อง

2. มีการดำเนินงานกิจกรรมของศูนย์เรียนรู้เกษตรผสมผสาน
โคก หนอง นา บ้านพุแค อย่างต่อเนื่อง และผู้นำฯ เข้ามาต่อยอด
กิจกรรม และเชื่อมโยงการทำงานร่วมกัน

3. ศูนย์เรียนรู้เกษตรผสมผสาน โคก หนอง นา บ้านพุแค
มีกิจกรรมการส่งเสริมของชุมชนอย่างต่อเนื่อง มีสถานที่พร้อมฝึกอบรม

สามารถฝึกปฎิบัติในพื้นที่ได้จริง

Community Development Volunteer Leader Center

เเรรืื่่อองงรราาววขขอองงเเรราา 16

การขับเคลื่อนศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน

Community Development Volunteer Leader Center

17

ที่มา : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสระบุรี

Community Development Volunteer Leader Center

BBEESSTT PPRRAACCTTIICCEE :: ศศ..จจออสส..พพ..จจัังงหหววััดดสสิิงงหห์์บบุุรรีี 18

ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านดอนกระต่าย

หมู่ที่ 3 บ้านดอนกระต่าย ตำบลบางกระบือ อำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี



“ศูนย์เรียนรู้เศรษฐก
ิจพอเพียงบ้านดอนกระต่าย” ตั้งอยู่ในพื้นที่

"รู้จักกันก่อน"หมู่ที่ 3 บ้านดอนกระต่าย ต
ำบลบางกระบือ อำเภอเมืองสิงห์บุรี
จังหวัดสิงห์บุรี เป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่โดดเด่นด้าน "การขับเคลื่อน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง"
มีกิจกรรมหลากหลาย มีทีมวิทยากรพร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้ ในการ
ฝึกทักษะอาชีพ แก่ผู้ที่สนใจมีอาคารสถานที่พร้อม และมีฐานการเรียนรู้เป็น
แหล่งศึกษาเรียนรู้ให้กับประชาชนที่สนใจ มีผลการดำเนินงานตามแนวทาง
ของ "ศูนย์เรียนรู้ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน" กรมการพัฒนาชุมชน
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านดอนกระต่าย ถูกคัดเลือกเป็นศูนย์
ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน นำร่องของ จังหวัดสิงห์บุรี

“ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านดอนกระต่าย” ททททีีีี่่่่ออออยย""ยย""เเาาเเาารรืืรรกก่่ืืกกออ่่ออบบบบงงงงออออDDDDกกกกDDDD""""

มีกิจกรรมเพื่อสร้าง และส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง และหลักกสิกรรมธรรมชาติที่หลากหลาย มีทีม

วิทยากรที่พร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้ ในการฝึกทักษะอาชีพให้แก่

ผู้ที่สนใจ มีอาคารสถานที่พร้อม และมีฐานการเรียนรู้เป็นแหล่งศึกษา

เรียนรู้ให้กับประชาชนที่สนใจ ดังนี้

1. การทำเชื้อเห็ดนางฟ้า ภูฐาน 7. การฟักไข่

2. การทำปลาช่อนแดดเดียว 8. การทำน้ำหมักชีวภาพ

3. การขยายพันธุ์ต้นไม้ 9. การอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรม

4. ธนาคารไก่ดำภูพาน บรรพบุรุษ

5. การทำประมงปลาเบญจพรรณ 10. การปั้ นอิฐมอญ

6. การสานหมวกจากใบมะพร้าว

Community Development Volunteer Leader Center

19

ปั จจัยความสำเร็จ : " IDEA CAN DO"

1. มีการขับเคลื่อนภารกิจในการเป็นสถานที่บ่มเพาะผู้นำ ทักษะชีวิต
ทักษะอาชีพ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน และการบริหารจัดการ
ชุมชน เพื่อการพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน และมีประสิทธิภาพ
2. เป็นศูนย์กลางและมีเครือข่ายการเรียนรู้ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน
ระดับตำบล อำเภอ และจังหวัด
3. ผู้นำต้องเป็นต้นแบบที่ดี ในการประพฤติปฏิบัติ ในการสร้าง
ความมั่นคงทางอาหาร และการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
4. การสร้างความมั่นคงทางอาหาร ด้านอาชีพ สามารถพึ่งพาตนเอง

ได้อย่างยั่งยืน

Community Development Volunteer Leader Center

20

เเรรืื่่อองงรราาววขขอองงเเรราา

Community Development Volunteer Leader Center

21
Community Development Volunteer Leader Center

22

ที่มา : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสิงห์บุรี

Community Development Volunteer Leader Center

BBEESSTT PPRRAACCTTIICCEE :: ศศ..จจออสส..พพ..จจัังงหหววััดดออ่่าางงททอองง 23

ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชนบ้านเตาเหล็ก

หหมมูู่่ททีี่่ 66 บบ้้าานนเเตตาาเเหหลล็็กก ตตำำบบลลศศรรีีพพรราานน ออำำเเภภออแแสสววงงหหาา จจัังงหหววััดดออ่่าางงททอองง

"รู้จักกันก่อน" "ศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน บ้านเตาเหล็ก" ตั้งอยู่ในพื้นที่
หมู่ที่ 6 บ้านเตาเหล็ก ตำบลศรีพราน อำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง
เป็น "ศูนย์เรียนรู้ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง โคก หนอง นา โมเดล" มีกิจกรรมภายในศูนย์ฯ
หลากหลาย มีทีมวิทยากรพร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้ ในการฝึกทักษะ
อาชีพแก่ผู้ที่สนใจ มีอาคารสถานที่พร้อม และมีฐานการเรียนรู้
จำนวน 12 ฐาน เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ให้กับประชาชนที่สนใจ

สร้างผู้นำจิตอาสาที่มีจิตใจเป็นจิตอาสา และสามารถ ททีที่ที่อี่อ่ออยยย"ย"า"าเ"าเกาเรืกเรกร่ือืกร่บ่อือบ่บอบงองงอองอDกDกDกDก"D"D"D"
ดำเนินกิจกรรมการสร้างความมั่นคงทางอาหารสู่ครัวเรือนได้
อย่างแท้จริง พร้อมทั้งผลักดันการนำเกษตรทฤษฎีใหม่ และ

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ และเผยแพร่ อีกทั้งเป็น

จุดเรียนรู้ และศึกษาดูงานในเรื่องการปลูกผักเกษตรอินทรีย์ ปลอดสารเคมี

และเป็นศูนย์เรียนรู้ที่ชนะเลิศการประกวดหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

"อยู่เย็น เป็นสุข" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ปปััจจจจััยยคคววาามมสสำำเเรร็็จจ :: "" IIDDEEAA CCAANN DDOO""

1. การเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา น้อมนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินงานขับเคลื่อน
กิจกรรมต่าง ๆ ในหมู่บ้าน และการสร้างจิตสำนึกในการ
ดำเนินกิจกรรมจิตอาสา

2. ความพร้อมของผู้นำและชุมชน

Community Development Volunteer Leader Center

24

เเรรืื่่อองงรราาววขขอองงเเรราา

Community Development Volunteer Leader Center

25
Community Development Volunteer Leader Center

26
ประชุมคณะกรรมการศูนย์ผู้นำจิตอาสาพัฒนาชุมชน




ที่มา : สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดอ่างทอง

Community Development Volunteer Leader Center

27

ที่ ป รึก ษ า

นายสมคิด จันทมฤก อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นายนิวัติ น้อยผาง รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นางสาวนิภา ทองก้อน ผู้อำนวยการสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน

ค ณ ะ ผู้ จัด ทำ ผอ.กลุ่มงานส่งเสริมการเรียนรู้ชุมชน
นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
นางพัชรินทร์ ธรรมสาร นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
นางสาวพิมพ์ชนา พิชาพันธ์โภคิน นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
นางกมลมณี วงศ์สว่าง นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
นางสาวชุติมณฑน์ อุตสาหะ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาชำนาญงาน
นางสาวฉายาลักษณ์ แก้วศรีพจน์ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาชำนาญงาน
นางสาวลดา นพรัตน์
นายภานุมาศ ตรีสุวรรณ

ผู้รวบรวมและเรียบเรียง

นางสาวพิมพ์ชนา พิชาพันธ์โภคิน นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ

นางสาวลดา นพรัตน์ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษาชำนาญงาน

อ อ ก แ บ บ / ก ร า ฟิ ก

นางสาวสุภัสสร แสบรัมย์ นักศึกษาฝึกงาน

คณะรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

จัด ทำ โ ด ย

สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา อาคารรัฐประศาสนภักดี (อาคาร B) ชั้น 5

ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210


Click to View FlipBook Version