การย่อยและการดูดซึม หน่วยที่ 2
ความสำ คัญของการย่อยอาหาร อาหารที่สิ่งมีชีวิตบริโภคเข้าไป ไม่ ว่าจะเป็นชนิดใดก็ตาม จะนำ เข้าสู่เซลล์ ได้ก็ต่อเมื่ออยู่ในรูปของสารอาหารที่มี โมเลกุลขนาดเล็ก คือ กรดอะมิโน น้ำ ตาลโมเลกุลเดี่ยว กลีเซอรอล และ กรดไขมัน นั่นก็คือ อาหาร โมเลกุล ใหญ่ที่สิ่งมีชีวิตรับประทานเข้าไป จำ เป็นต้องแปรสภาพให้มีขนาดเล็กลง
การย่อยอาหาร (DIGESTION) หมายถึง การทำ ให้สารอาหารที่มี โมเลกุลขนาดใหญ่กลายเป็นสาร อาหารที่มีโมเลกุลเล็กลงจนกระทั่ง แพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ การย่อย อาหารในร่างกายมี 2 วิธี คือ
1. การย่อยเชิงกล คือการบดเคี้ยวอาหารโดยฟัน เป็นการ เปลี่ยนแปลงขนาดโมเลกุลทำ ให้สารอาหารมีขนาดเล็กลง 2. การย่อยเชิงเคมี คือการเปลี่ยนแปลงขนาดโมเลกุลของสาร อาหารโดยใช้เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องทำ ให้โมเลกุลของ สารอาหารเกิดการเปลียนแปลงทางเคมีได้โมเลกุลที่มีขนาดเล็กลง
อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการย่อย 1. อวัยวะที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ การย่อยอาหาร: 1.1 ตับ มีหน้ามี่สร้างน้ำ ดี ส่งไปเก็บที่ถุงน้ำ ดี
FULL SERVICE 1.2 ตับอ่อน มีหน้าที่สร้างเอนไซม์ส่งไปย่อยอาหารที่ ลำ ไส้เล็ก
1.3 ลำ ไส้เล็ก สร้างเอนไซม์ มอลเทส ซูเครส และแล็คเทส ย่อยอาหารที่ลำ ไส้เล็ก
เอนไซม์(ENZYME) เป็นสารประกอบประเภทโปรตีนที่ ร่างกายสร้างขึ้นเพื่อทำ หน้าที่เร่ง อัตราการเกิดปฎิกิริยาเคมีใน ร่างกาย เอนไซม์ที่ใช้ในการย่อย สารอาหารเรียกว่า “ น้ำ ย่อย ”เอนไซม์มีสมบัติที่สำ คัญ ดังนี้
• เป็นสารประเภทโปรตีนที่สร้างขึ้นจาก เซลล์ของสิ่งมีชีวิต • ช่วยเร่งปฎิกิริยาในการย่อยอาหารให้เร็ว ขึ้นและเมื่อเร่งปฎิกิริยาแล้วยังคงมีสภาพเดิม สามารถใช้เร่งปฎิกิริยาโมเลกุลอื่นได้อีก • มีความจำ เพาะต่อสารที่เกิดปฎิกิริยาชนิด หนึ่งๆ • เอนไซม์จะทำ งานได้ดีเมื่ออยู่ในสภาวะ แวดล้อมที่เหมาะสม
ปัจจัยที่มีผลต่อการทำ งานของเอนไซม์ ได้แก่ 1. อุณหภูมิ เอนไซม์แต่ละชนิดทำ งานได้ดีที่อุณหภูมิต่างกัน แต่เอนไซม์ในร่างกายทำ งานได้ดี ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส 2. ความเป็นกรด - เบส เอนไซม์บางชนิดทำ งานได้ดีเมื่อมีสภาพที่เป็นกรด เช่น เอนไซม์เพปซินในกระเพาะอาหาร เอนไซม์บางอย่างทำ งานได้ดีในสภาพที่เป็นเบส เช่น เอนไซม์ในลำ ไส้เล็ก เป็นต้น 3. ความเข้ม เอนไซม์ที่มีความเข้มข้นมากจะทำ งานได้ดีกว่าเอนไซม์ที่มีความเข้มข้นน้อย
การทำ งานของเอนไซม์ จำ แนกได้ดังนี้ 1. เอนไซม์ในน้ำ ลาย ทำ งานได้ดีในสภาวะเป็นเบสเล็กน้อยเป็น กลางหรือกรดเล็กน้อยจะขึ้นอยู่กับชนิดของน้ำ ตาลและที่อุณหภูมิ ปกติของร่างกายประมาณ 37 องศาเซลเซียส
2. เอนไซม์ในกระเพาะอาหาร ทำ งานได้ดีในสภาวะเป็นกรด และที่อุณหภูมิปกติของร่างกาย การทำ งานของเอนไซม์ จำ แนกได้ดังนี้
1.เอนไซม์ในลำ ไส้เล็ก ทำ งานได้ดีในสภาวะเป็นเบสและ อุณภูมิปกติร่างกาย การทำ งานของเอนไซม์ จำ แนกได้ดังนี้
ระบบย่อยอาหารของคนประกอบด้วยอวัยวะ ดังต่อไปนี้ ปาก คอหอย หลอดอาหาร
ระบบย่อยอาหารของคนประกอบด้วยอวัยวะ ดังต่อไปนี้ กระเพาะ ลำ ไส้เล็ก ลำ ไส้ใหญ่
ระบบย่อยอาหารของคน ประกอบด้วยอวัยวะ ดังต่อไปนี้ ทวารหนัก
2.1 ปาก ( MOUTH) มีการ ย่อยเชิงกล โดยการบดเคี้ยว ของฟัน และมีการย่อยทาง เคมีโดยเอนไซม์อะไมเลสหรือ ไทยาลีน ซึ่งทำ งานได้ดีใน สภาพที่เป็นเบสเล็กน้อย
2.2 คอหอย (PHARYNX) เป็นทางผ่านของอาหาร ซึ่ง ไม่มีการย่อยใดๆ ทั้งสิ้น
หลอดอาหาร(ESOPHAGUS) มีลักษณะเป็นกล้ามเนื้อเรียบมี การย่อยเชิงกลโดยการบีบตัว ของกล้ามเนื้อ ทางเดินอาห าร เป็นช่วงๆ เรียกว่า “ เพอริสตัสซิส (PERISTALSIS)” เพื่อให้อาหารเคลื่อนที่ลงสู่กระเพาะ อาหาร
กระเพาะอาหาร(STOMACH) มีการย่อยเชิงกลโดยการบีบ ตัวของกล้ามเนื้อทางเดิน อาหารและมีการย่อย ทางเคมีโดยเอนไซม์เพปซิน (PEPSIN) ซึ่งจะทำ งานได้ดีในสภาพที่ เป็นกรด
ลำ ไส้เล็ก(SMALLINTESTINE) เป็นบริเวณที่มีการย่อยและ การดูดซึมมากที่สุด โดยเอนไซม์ ในลำ ไส้เล็กจะทำ งานได้ดีใน สภาพที่เป็นเบส ซึ่งเอนไซม์ที่ ลำ ไส้เล็กสร้างขึ้น
1.มอลเทส (MALTASE) เป็นเอนไซม์ที่ ย่อยน้ำ ตาลมอลโทสให้เป็นกลูโคส 2. ซูเครส (SUCRASE) เป็นเอนไซม์ที่ย่อย น้ำ ตาลทรายหรือน้ำ ตาลซูโครส (SUCROSE) ให้เป็นกลูโคสกับฟรักโทส (FRUCTOSE)
3.แล็กเทส (LACTASE) เป็นเอนไซม์ที่ย่อยน้ำ ตาล แล็กโทส (LACTOSE) ให้เป็นกลูโคสกับกาแล็กโทส (GALACTOSE)
ลำ ไส้ใหญ่ (LARGE INTESTINE ) ที่ลำ ไส้ใหญ่ไม่มีการย่อย แต่ทำ หน้าที่เก็บกากอาหารและดูดซึมน้ำ ออกจากกากอาหาร ดังนั้น ถ้าไม่ถ่าย อุจจาระเป็นเวลาหลายวันติดต่อกัน จะทำ ให้เกิดอาการท้องผูก ถ้าเป็น บ่อยๆจะทำ ให้เกิดโรคริดสีดวงทวาร
การดูดซึมสารอาหารต่าง ๆ และการขับถ่าย
การดูดซึมสารอาหาร ในแต่ละอวัยวะ ของทางเดินอาหาร อาหารที่ผ่านการย่อยแล้วส่วน ใหญ่จะมีการดูดซึมที่ผนังของ ลำ ไส้เล็ก ในปาก ในกระเพาะอาหาร และในลำ ไส้ใหญ่ มีการดูดซึมสาร อาหารบางอย่าง แต่น้อย
การดูดซึมสารอาหารแต่ละชนิด การดูดซึมคาร์โบไฮเดรต กลูโคสจะดูดซึมผ่านเยื่อบุลำ ไส้เล็ก เข้าไปในเส้นเลือดฝอยของปุ่มซึม ไปในเส้นเลือดฝอย จากนั้นจะเข้าเส้นเลือดดำ ใหญ่ ไปยังตับ เข้าสู่หัวใจห้องขวาบนแล้วไปตามเส้นเลือด ใหญ่ เพื่อเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย
การดูดซึมไขมัน ไขมันส่วนใหญ่ถูกดูดซึมที่ลำ ไส้เล็กส่วนกลาง เข้าสู่ระบบไหลเวียนในร่างกาย 2 ทาง คือ ทางเส้นเลือดฝอย และทางหลอดน้ำ เหลืองของปุ่มซึม (1) ทางเส้นเลือดฝอย ไขมันที่มีขนาดเล็กกว่า 0.5 ไมครอน (2) ทางหลอดนํ้าเหลือง ส่วนไขมันที่มีขนาด 0.5 ไมครอน
การดูดซึมโปรตีน ดูดซึมเข้าสู่ระบบไหลเวียนทาง เส้นเลือดฝอยของปุ่มซึม ในลำ ไส้เล็กเข้าสู่เสู่ ส้นเลือดดำ ของ ตับ ผ่านตับ แล้วไปเข้าหัวใจห้องบน ด้านขวา ออกสู่เส้นเลือดใหญ่อีกที หนึ่ง
การดูดซึมเกลือแร่ เกลือแร่ดูดซึมในกระเพาะอาหารได้ บ้างเล็กน้อย แต่ส่ ต่ ส่ วนมากจะดูดซึมที่ ลำ ไส้เล็ก การดูดซึมเกลือแร่นี้จะเกิด ขึ้นทันทีที่ร่างกายขาดเกลือแร่ชนิด นั้นๆ
การดูดซึมวิตะมิน การดูดซึมของวิตะมิน แบ่งได้เป็น 2 พวกใหญ่ๆ คือ วิตมินที่ละลายน้ำ ดูดซึมเข้าทางกระเพาะ อาหารและลำ ไส้เล็กโดยตรงถูกดูดซึมที่ บริเวณลำ ไส้เล็กส่วนปลาย 1. (2) วิตะมินที่ละลายในไขมัน จะถูกดูดซึมใน ลำ ไส้เล็ก ทางหลอดน้ำ เหลืองของปุ่มซึม การดูด ซึมของวิตะมินประเภทนี้ต้องอาศัยไขมันจาก อาหารที่รับประทานเข้าไปเป็นตัวทำ ละลาย ร่วม กับไมเซลผสม (Mixed Micelle) จากน้ำ ดีหรือ เกลือน้ำ ดี เพราะไขมันเป็นตัวละลาย
การขับถ่าย
การขับถ่ายเป็นกระบวนการขั้น สุดท้ายของการย่อยและการดูดซึม ของสารอาหารในระบบย่อยอาหาร ซึ่งอาหารที่เหลือจากการย่อยและ การดูดซึมในลำ ไส้จะถูกขับออกมา เป็นอุจจาระทางทวารหนัก (Anus)อาหารที่เคลื่อนจากลำ ไส้เล็ก ลงสู่ลำ ไส้ใหญ่ เป็นอาหารที่ไม่ได้ ย่อยเช่น เส้นใยของเนื้อ