ก รายงานวิจัย การแก้ไขปัญหาผู้เรียนที่เคลื่อนไหวร่างกายไม่ตรงจังหวะ โดยใช้วิธีการสอนแบบ สาธิต ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 92 (ชุมชนนาข่า) จัดท าโดย นางสาวปนัดดา สิมมาสิมสุ นักศึกษาชั้นปีที่4 รหัสนักศึกษา 63040105225 คณะครุศาสตร์ สาขานาฏศิลป์ศึกษา เสนอ อาจารย์ปิ่นเกศ วัชรปาณ ปีการศึกษา 2566 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ข บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสาเหตุและแก้ไขปัญหาที่ผู้เรียนที่เคลื่อนไหวร่างกายไม่ตรง จังหวะ โดยการใช้วิธีการสอนแบบสาธิตกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๙๒ (ชุมชนนาข่า) (ประถม) ที่เคลื่อนไหวร่างกายไม่ตรงจังหวะ จ านวน 5 คน เก็บ ข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ทัศนคติต่อวิชานาฏศิลป์ และแบบสังเกตการณ์พฤติกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายโดย ใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ จ านวน,ร้อยละ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย พบว่าผู้เรียนที่เคลื่อนไหวร่างกายไม่ตรงจังหวะมีสาเหตุมาจาก ผู้เรียนนั้นขาดทักษะด้าน การปฏิบัติท่าร าและขาดการฝึกซ้อม และหลังเรียนไปฝึกซ้อมกันเองกับกลุ่มเพื่อนท าให้การนับจังหวะท่าร า คลาดเคลื่อน จึงท าให้ปฏิบัติท่าร าไม่ตรงจังหวะ ปัญหาที่พบมากที่สุดคือการฟังจังหวะไม่ออกและไม่ตั้งใจฟังที่ ครูสอนเมื่อด าเนินการแก้ปัญหาผู้เรียนที่เคลื่อนไหวร่างกายไม่ตรง จังหวะด้วยวิธีการสอนแบบสาธิต พบว่า ผู้เรียนสามารถปฏิบัติท่าเคลื่อนไหวได้ตรงจังหวะถูกต้องและ สวยงามมากยิ่งขึ้นรวมไปถึงมีความมุ่งมั่นตั้งใจดี ยิ่งขึ้นอีกด้วยโดยคิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ 100 ดังนั้น การสอนแบบสาธิต สามารถช่วยในการแก้ปัญหาของ ผู้เรียนได้ ครูผู้สอนควรที่จะจัดเวลาให้นักเรียนในการฝึกซ้อม ทบทวนนอกเวลา และคอยให้ค าแนะน าอย่าง ใกล้ชิด กับผู้เรียนที่เคลื่อนไหวร่างกายไม่ตรงจังหวะจะท าให้ผู้เรียนมีทักษะมากขึ้นและท าให้ผู้เรียนมี พัฒนาการอย่างต่อเนื่อง ค าส าคัญ: ปัญหาผู้เรียน เคลื่อนไหวจังหวะ วิธีการสอนแบบสาธิต
ค ABSTRACT The objective of this study was to study the causes and solve the problem of learners who do not move their bodies at the right time by using demonstration teaching methods, the target group used in this study was 5 grade 4 students of Thai Rath Wittaya 92 School (Nakha community) (Primary) who did not move their bodies at the right time. The basis includes the number, percentage in data analysis. The results showed that the learners who did not move their bodies at the right time were caused by the learners lacking dance skills and lack of practice, and after learning to practice with a group of friends, the rhythm count of the dance moves was inaccurate. As a result, the dance is not timely. The most common problems are not listening to the rhythm and not paying attention to what the teacher teaches when proceeding to solve the problem of learners whose physical movements are not straight. rhythm with demonstration teaching methods. It has been found that learners are able to perform movements at the right time and more beautifully, as well as have better determination, accounting for an average of 100 percent. Teachers should make time for students to practice. Part-time review and close guidance with learners who do not move their bodies at the right time will give them more skills and keep them improving continuously. Keywords: learner problem, rhythm movement , Demonstration teaching methods
ง สารบัญ เรื่อง หน้า ปก ก บทคัดย่อ ข-ค สารบัญ ง-จ สารบัญตาราง ฉ บทที่ 1 บทน า 1 1. ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา 1-2 2. ค าถามวิจัย 2 3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2 4. สมมุติฐานของการวิจัย 2 5. ขอบเขตของการวิจัย 2-3 6. นิยามศัพท์เฉพาะ 3 7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 บทที่ 2 แนวคิดทฤษฏี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. แนวคิดและทฤษฎีนาฏศิลป์ 4-9 2. วิธีสอนการสอนแบบสาธิต 9-14 3. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวและจังหวะ 15-21 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 21-23 บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 24 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 24 3. ขั้นตอนในการวิจัย 25 4. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 25 5. วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล 26-27 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1. การสัมภาษณ์ 28-30 2. การสังเกตพฤติกรรม 31-34
จ บทที่ 5 สรุป การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 1. สรุป 35 2. อภิปรายผล 35 3. ข้อเสนอแนะ 36 บรรณานุกรม 37 ภาคผนวก 39-42
ฉ สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายของนักเรียน 26 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 2. ผลการติดตามทักษะการปฏิบัติท่าร าของผู้เรียนภายหลังครั้งที่ 1 31 3. ผลการติดตามทักษะการปฏิบัติท่าร าของผู้เรียนภายหลังการแก้ไขครั้งที่ 2 32 4. ผลการติดตามทักษะการปฏิบัติท่าร าของผู้เรียนภายหลังการแก้ไขครั้งที่ 3 33
1 บทที่1 บทน า ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา นาฏศิลป์ไทยแสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ประจ าชาติ แสดงให้เห็นถึงอารยธรรมความเป็นไทย ความ เจริญรุ่งเรืองทางด้านศิลปวัฒนธรรม ซึ่งเกิดมาจากสาเหตุแนวคิดต่างๆ เช่น ความรู้สึกกระทบกระเทือนตาม อารมณ์ ไม่ว่าจะเป็นอารมณ์แห่งความสุข หรืออารมณ์ของความทุกข์ซึ่งจะสะท้อนออกมาเป็นท่าทางธรรมชาติ และประดิษฐ์มาเป็นลีลาการฟ้อนร า หรือเกิดจากลัทธิความเชื่อในการนับถือสิ่งศักดิ์สิทธ์ เทพเจ้า โดยการบูชา ด้วยการขับร้อง ฟ้อนร าให้เกิดความพึงพอใจ ก่อนจะน ามาปรับปรุงให้เป็นแบบแผนและเอกลักษณ์ของไทย ซึ่ง ได้มีการแสดงกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน (จินตนา สายทองค า.2558 :09) เพื่อให้เกิดความสวยงามผู้แสดง ควรมีองค์ประกอบในการแสดง เช่น การแสดงได้พร้อมเพรียงหรือถูกต้องตามจังหวะ ดังนั้นรัฐบาลจึงเล็งเห็น ความส าคัญให้เด็กไทยฝึกปฏิบัตินาฏศิลป์เพื่อรักษา ขนบธรรมเนียม ประเพณีความเป็นไทยมาจนถึงปัจจุบัน การเรียนการสอนนาฏศิลป์ไทยเป็นการฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดความรู้ความช านาญในการเคลื่อนไหว ร่างกาย และส่งเสริมในความกล้าแสดงออกของผู้เรียน รวมถึงทักษะการสังเกต และความจ าของผู้เรียนในการ รับการ ถ่ายทอดกระบวนท่าร า การเรียนการสอนนาฏศิลป์ยังช่วยในการพัฒนาอารมณ์และช่วยพัฒนา ทางด้านสังคมของ นักเรียน นักเรียนจะได้คลายความเครียดและท าให้เด็กมีความมั่นใจในตนเอง การเรียนการ สอนนาฏศิลป์เป็นสื่อ หนึ่งที่ท าให้นักเรียนได้ท ากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น ท าให้เกิดการหล่อหลอมความสามัคคีให้ เกิดขึ้นในตัวนักเรียน ทั้งนี้การเรียนการสอนนาฏศิลป์จึงมีความส าคัญอย่างมาก นักเรียนจึงควรทราบถึง ความส าคัญของวิชานาฏศิลป์ไทย วิชานาฏศิลป์ไทยเป็นวิชาที่ให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติจารีตและประเพณีเป็นวิชาแขนงหนึ่งที่ เกี่ยวข้องกับศิลปะโดยตรง ในการเรียนวิชานาฏศิลป์ต้องอาศัยบุคคลที่มีใจรักและรู้ซึ่งคุณค่าของงานศิลปะและ สร้างบุคคลให้เกิดความรักในศิลปะประจ าชาติ ช่วยกันอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม วิชานาฏศิลป์ไทยยังท าให้ นักเรียน ได้สัมผัสถึงความเป็นไทย ที่นับวันจะหาได้ยากมากขึ้นผ่านการเรียนการสอนวิชานาฏศิลป์ อันได้แก่ การร่ายร าการขับร้องแบบไทย การบรรเลงดนตรีไทย การแต่งกายแบบไทย ในวิชานาฏศิลป์เป็นวิชาที่เน้น การปฏิบัติท าให้เกิดการแสดง ว ิธีสอนแบบสาธิต เป็นวิธีสอนที่ครูแสดงให้นักเรียนดูและให้ความรู้แก่นักเรียนโดยใช้สื่อการเรียนรู้ที่ เป็นรูปธรรม และผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรง การสอนแบบสาธิตแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ๆด้แก่ ผู้สอนเป็น ผู้สาธิต ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสาธิต ผู้เรียนสาธิตเป็นกลุ่ม ผู้เรียนสาธิตเป็นรายบุคคล วิทยากรเป็นผู้สาธิต และการสาธิตแบบเงียบโดยให้นักเรียนสังเกตเอง การเคลื่อนไหวร่างกายตามจังหวะ เป็นพื้นฐานในการแสดงท่าร าเพลงต่างๆ เพื่อให้เกิดความสวยงาม ดังนั้นนักเรียนต้องร าให้ถูกจังหวะและท านองเพลง ถ้านักเรียนขาดทักษะพื้นฐานทางด้านการฟ้อนร า ร าไม่ถูก
2 จังหวะและท านองเพลงจะส่งผลให้นักเรียนขาดความมั่นใจในการปฏิบัติท่าร าและท าให้ท่าร าไม่เกิดความ สวยงาม จึงท าให้เกิดเป็นปัญหาในการสอนที่ผู้วิจัยต้องการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จากการเรียนการสอนในรายวิชานาฏศิลป์นักเรียนโรงเรียนไทยรัฐวิทยา92(ชุมชนนาข่า)ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 ทั้งหมดจ านวน 20 คน พบว่ามีจ านวน 5 คน ที่ยังเคลื่อนไหวร่างกายไม่ตรงจังหวะ ผู้วิจัย ใน ฐานะอาจารย์ผู้สอนจึงมีความต้องการที่จะแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยเลือกวางแผนวิธีการสอนแบบสาธิต ภายในชั้นเรียนในการแก้ไขปัญหา จึงสนใจที่จะท าวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการแก้ไขปัญหาผู้เรียนที่เคลื่อนไหว ร่างกายไม่ตรงจังหวะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา92(ชุมชนนาข่า) ด้วยวิธีการสอนแบบสาธิต เพื่อพัฒนาให้นักเรียนกลุ่มนี้สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้สวยงามและถูกต้องตามจังหวะรวมไปถึงการมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ตรงตามจุดประสงค์ของการเรียนรู้ที่ตั้งไว้ ค าถามการวิจัย 1. สาเหตุที่ผู้เรียนไม่สามารถปฏิบัติท่าทางเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะเกิดจากอะไร 2. วิธีการสอนแบบสาธิต สามารถแก้ไขปัญหาผู้เรียนที่ไม่สมารถปฏิบัติท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกาย ได้ตรงจังหวะได้หรือไม่ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสาเหตุที่ผู้เรียนที่ไม่สามารถปฏิบัติท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะ 2. เพื่อศึกษาการแก้ไขปัญหาที่ผู้เรียนที่ไม่สามารถปฏิบัติท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะ โดยใช้วิธีการสอนแบบสาธิต สมมุติฐานของการวิจัย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะมากขึ้นหลังจากการใช้วิธีการสอน แบบสาธิต ขอบเขตของการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๙๒ (ชุมชนนาข่า) อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี จ านวน 5 คน
3 - ตัวแปร ตัวแปรต้น คือ วิธีการสอนแบบสาธิต ตัวแปรตาม คือ ความสามารถในการปฏิบัติท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะของผู้เรียน -เนื้อหาสาระของวิจัยในครั้งนี้ ว ิธีสอนแบบสาธิต เป็นวิธีสอนที่ครูแสดงให้นักเรียนดูและให้ความรู้แก่นักเรียนโดยใช้สื่อการเรียนรู้ที่ เป็นรูปธรรม และผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรง การสอนแบบสาธิตแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ได้แก่ ผู้สอนเป็นผู้ สาธิต ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสาธิต ผู้เรียนสาธิตเป็นกลุ่ม ผู้เรียนสาธิตเป็นรายบุคคล วิทยากรเป็นผู้สาธิต และการสาธิตแบบเงียบโดยให้นักเรียนสังเกตเอง - ระยะเวลาในการวิจัย กันยายน 2566 – เดือน กุมภาพันธ์2567 นิยามศัพท์เฉพาะ 1.การเคลื่อนไหวร่างกายตามจังหวะ หมายถึง กิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของ ร่างกายโดยใช้เสียงเพลง จังหวะ และท านอง ค าคล้องจอง หรือเครื่องดนตรีประกอบ 2.ว ิธีสอนแบบสาธิต เป็นวิธีสอนที่ครูแสดงให้นักเรียนดูและให้ความรู้แก่นักเรียนโดยใช้สื่อการเรียนรู้ ที่เป็นรูปธรรม และผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรง การสอนแบบสาธิตแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ได้แก่ ผู้สอนเป็น ผู้สาธิต ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสาธิต ผู้เรียนสาธิตเป็นกลุ่ม ผู้เรียนสาธิตเป็นรายบุคคล วิทยากรเป็นผู้สาธิต และการสาธิตแบบเงียบโดยให้นักเรียนสังเกตเอง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ทราบสาเหตุที่ผู้เรียนไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายให้ตรงจังหวะได้ 2.ทราบแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ผู้เรียนไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายให้ตรงจังหวะได้โดยใช้วิธีการ สอนแบบสาธิต
4 บทที่2 แนวคิดทฤษฏี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาการแก้ไขปัญหาผู้เรียนที่เคลื่อนไหวร่างกายไม่ตรงจังหวะโดยใช้วิธีการ สอนแบบสาธิต มีรายละเอียดของแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องโดยมีประเด็นต่างๆ ดังนี้ 1. แนวคิดและทฤษฎีนาฏศิลป์ 2. วิธีสอนการสอนแบบสาธิต(Demonstration Method) 3. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวและจังหวะ 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. แนวคิดและทฤษฎีนาฏศิลป์ นาฏศิลป์ไทยเป็นการเล่นเครื่องดนตรีหลายๆชนิดการละครฟ้อนร าและดนตรีอันมีคุณสมบัติ ตามคัมภีร์นาฏะหรือนาฏยะก าหนดว่า ต้องประกอบไปด้วย 3 ประการ คือ การฟ้อนร า การดนตรี และการขับร้อง รวมเข้าด้วยกัน ซึ่งทั้ง 3 สิ่งนี้ เป็นอุปนิสัยของคนมาแต่ดึกด าบรรพ์นาฏศิลป์ไทยมี ที่มาและเกิดจากสาเหตุแนวคิดต่าง ๆ เช่น เกิดจากความรู้สึกกระทบกระเทือนทาง อารมณ์ไม่ว่าจะ อารมณ์แห่งสุข หรือความทุกข์และสะท้อนออกมาเป็นท่าทางแบบธรรมชาติและ ประดิษฐ์ขึ้นมาเป็น ท่าทางลีลาการฟ้อนร า หรือเกิดจากลัทธิความเชื่อในการนับถือสิ่งศักดิ์สิทธ์ เทพเจ้า โดยแสดงความ เคารพบูชาด้วยการเต้นร า ขับร้องฟ้อนร าให้เกิดความพึงพอใจ เป็นต้น นาฏศิลป์ไทยยังได้รับอิทธิพล แบบแผนตามแนวคิดจากต่างชาติเข้ามาผสมผสานด้วย เช่น วัฒนธรรมอินเดีย เกี่ยวกับวรรณกรรมที่ เป็นเรื่องของเทพเจ้าและต านานการฟ้อนร าโดยผ่านเข้าสู่ประเทศไทยทั้ง ทางตรงและทางอ้อมคือ ผ่านชนชาติชวาและเขมร ก่อนที่จะน ามาปรับปรุงให้เป็นรูปแบบตาม เอกลักษณ์ของไทย เช่น ตัวอย่างของเทวรูปศิวะปางนาฏราชที่สร้างเป็นท่าการร่ายร าของพระอิศวร ซึ่งมีทั้งหมด 108 ท่า หรือ 108 กรณะ โดยทรงฟ้อนร าครั้งแรกในโลก ณ ต าบลจิทรัมพรัม เมืองมัทราส อินเดียใต้ ปัจจุบันอยู่ใน รัฐทมิฬนาดูนับเป็นคัมภีร์ส าหรับการฟ้อนร า แต่งโดยพระภรตมุนีเรียกว่า"คัมภีร์ภรตนาฏยศาสตร์" ถือเป็นอิทธิพลส าคัญต่อแบบแผนการสืบสานและถ่ายทอดนาฏศิลป์ของไทยจนเกิดขึ้นเป็นเอกลักษณ์ ของตนเองที่มีรูปแบบ แบบแผนการเรียน การฝึกหัด จารีต ขนบธรรมเนียมมาจนถึงปัจจุบัน บรรดา ผู้เชี่ยวชาญที่ศึกษาทางด้านนาฏศิลป์ไทยได้สันนิษฐานว่า อารยธรรมทางศิลปะด้านนาฏศิลป์ของ อินเดียนี้ได้เผยแพร่เข้ามาสู่ประเทศไทยตั้งแต่ สมัยกรุงศรีอยุธยา ตามประวัติการสร้างเทวาลัยศิวะ นาฏราชที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1800 ซึ่งเป็นระยะ ที่ไทยเริ่มก่อตั้งกรุงสุโขทัย ดังนั้นท่าร าไทยที่ดัดแปลง มาจากอินเดียในครั้งแรกจึงเป็นความคิดของ นักปราชญ์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา และมีการแก้ไข ปรับปรุงหรือประดิษฐ์ขึ้นใหม่ในกรุง รัตนโกสินทร์ จนน ามาสู่การประดิษฐ์ท่าร่ายร าและละครไทยมา จนถึงปัจจุบัน
5 นาฏศิลป์หมายถึงศิลปะการฟ้อนร า หรือความรู้แบบแผนของการฟ้อนร า เป็นสิ่งที่มนุษย์ ประดิษฐ์ขึ้นด้วยความประณีตงดงาม ให้ความบันเทิง อันโน้มน้าวอารมณ์และความรู้สึกของผู้ชม ให้ คล้อยตาม ศิลปะประเภทนี้ต้องอาศัยการบรรเลงดนตรี และการขับร้องเข้าร่วมด้วย เพื่อส่งเสริม ให้ เกิดคุณค่ายิ่งขึ้น หรือเรียกว่า ศิลปะของการร้องร าท าเพลง นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปะการแสดงที่มีความอ่อนช้อยงดงามแสดงความเป็นเอกลักษณ์ของ แต่ ละภูมิภาค ซึ่งเราสามารถน าหลักการ วิธีการหรือลักษณะท่าร าพื้นฐานของการแสดงนาฏศิลป์ไทย มัก ใช้ในการสร้างสรรค์การแสดงให้มีความสวยงาม ตามความคิดของตนโดยได้สะท้อนถึง ความเป็น เอกลักษณ์เฉพาะถิ่นซึ่งมีปัจจัยที่สามารถท าให้เกิดการแสดงได้ เช่น สภาพภูมิศาสตร์ศาสนา ความ เชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณีค่านิยม การประกอบอาชีพ ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ได้ถูกน ามา ถ่ายทอด โดยใช้ ทักษะด้านนาฏยศัพท์และภาษาท่าทางนาฏศิลป์มาสร้างสรรค์ผลงาน ด้วยการสืบ สานออกมาใน รูปแบบของการแสดง พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542ได้ให้ความหมายของค าว่า “ นาฏศิลป์” ไว้ว่า “ เป็นศิลปะแห่งการละครหรือการฟ้อนร า ” นอกจากนี้ ยังมีนักการ ศึกษาและท่านผู้รู้ได้ให้นิยามความหมายของนาฏศิลป์แตกต่างกันออกไป ดังนี้ 1. ความช่ าชองในการละครและฟ้อนร า 2. ศิลปะการละครหรือการฟ้อนร าของไทย 3. การร้องร าท าเพลง เพื่อให้เกิดความบันเทิงเริงใจ 4. การฟ้อนร าที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น โดยการเลียนแบบท่าธรรมชาติด้วยความประณีต ลึกซึ้ง 5. ศิลปะการฟ้อนร าหรือความรู้แบบแผนของการฟ้อนร า ซึ่งเป็นสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นด้วย ความงามอย่างมีแบบแผน ประเภทของนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์ไทย แบ่งออกเป็น 4 ประเภท 1.ร า คือการแสดงที่มุ่งเน้นถึงศิลปะท่วงท่า ดนตรี ไม่มีการแสดงเป็นเรื่องราว ร าบางชุดเป็น การชมความงาม บางชุดตัดตอนมาจากวรรณคดี หรือบางทีก็ไม่จ าเป็นที่จะต้องมีเนื้อเพลงเช่นการร า หน้าพาทย์เป็นต้น ร าจะแบ่งออกเป็น 4 ประเภทดังนี้ 1.1 ร าเดี่ยว เป็นการแสดงที่มุ่งอวดศิลปะทางนาฏศิลป์อย่างแท้จริงซึ่งผู้ร าจะต้องมีผีมือดี เยี่ยม เพราะเป็นการแสดงที่แสดงแต่เพียงผู้เดียว ร าเดี่ยวโดยส่วนมากก็จะเป็นการร าฉุยฉาย ต่างๆ เช่น ฉุยฉายเบญจกาย ฉุยฉายวันทอง ฯลฯ เป็นต้น 1.2 ร าคู่ การแสดงชุดนี้ไม่จ าเป็นจะต้องพร้อมเพียงกันแต่ อาจมีท่าที่เหมือนก็ได้เพราะการร า คู่นี้เป็นการใช้ลีลาที่แตกต่างกันระหว่างผู้แสดงสองคน เช่นตัวพระ กับตัวนาง หรือบทบาทของตัว แสดงนั้น ร าคู่นี้ก็จะแบ่งออกเป็นสองประเภท คือ
6 1.2.1 ร าคู่สวยงามจากวรรณคดี เช่น หนุมานจับ นาสุพรรณมัจฉา เป็นต้น 1.2.2 ร ามุ่งอวดการใช้อุปกรณ์ เช่น การร าอาวุธ ร ากระบี่กระบอง 1.3 ร าหมู่ ร าชุดนี้เป็นการร าที่เน้นความพร้อมเพรียง เช่นร าอวยพรชุดต่างๆ 1.4 ร าละคร คือการร าที่ใช้ในการแสดงละครหรือโขน เป็นการแสดงท่าทางสื่อความหมาย ไปกับบทร้อง หรือบทละคร และเพลงหน้าพาทย์ต่างๆในการแสดงละคร 2.ระบ า คือการแสดงที่มีความหมายในตัวใช้ผู้แสดงสองคนขึ้นไป คือผู้คิดได้มีวิสัยทัศน์และ ต้องการสื่อการแสดงชุดนั้นผ่านทางบทร้อง เพลง หรือการแต่งกายแบบ ที่มาจากแรงบัลดาลใจ จาก เรื่องต่างๆเช่นวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี และเป็นการแสดงที่จบในชุดๆเดียว เป็นต้น ระบ า จะ แบ่ง ออกเป็นสองประเภทคือ 2.1 ระบ ามาตรฐาน เป็นระบ าที่บรมครูทางนาฏศิลป์ได้คิดค้นไว้ ทั้งเรื่องเพลง บทร้อง การ แต่งกาย ท่าร า ซึ่งไม่สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงได้ ระบ ามาตรฐานจะมีอยู่ทั้งหมด 6ชุด คือ ระบ าสี่บท ระบ าย่องหงิกหรือยู่หงิก ระบ าพรมมาตร ระบ าดาวดึงส์ ระบ ากฤษดาระบ าเทพบันเทิง 2.2 ระบ าที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ เป็นระบ าที่บรมครูหรือผู้รู้ทางนาฏศิลป์ได้คิดค้นและปรับปรุง ขึ้นมาใหม่ ซึ่งสามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตามโอกาส อาจเป็นระบ าที่ได้แรงบัลดาลใจที่ผู้ ประดิษฐ์ต้องการสื่ออาจเป็นเรื่องของการแต่งกาย วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ระบ าปรับปรุงมีอยู่ หลากหลายเช่น ระบ าชุมนุมเผ่าไทย ระบ าไกรราศส าเริง ระบ าไก่ ระบ าสุโขทัย ฯลฯ เป็นต้น ฟ้อน และเซิ้งก็จัดว่าเป็นระบ าที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ เพราะผู้รู้หรือผู้เชี่ยวชาญทางนาฏศิลป์ได้คิดค้นขึ้นมา มี การแต่งกายตามท้องถิ่นเพราะการแสดงแต่ละชุดได้เกิดขึ้นมาจากแรงบัลดาลใจของ ผู้คิดที่จะ ถ่ายทอดไม่ว่าจะเป็นเรื่องของวิถีชีวิต การแต่งกาย ดนตรี เพลง และการเรียกชื่อการแสดง นั้น จะ เรียกตาม ภาษาท้องถิ่น และการแต่งกายก็แต่งกายตามท้องถิ่น เช่นภาคเหนือก็จะเรียกว่าฟ้อน 9 เช่น ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน ภาคอีสานก็จะเรียกและแต่งกายตามท้องถิ่น ทางภาคอีสาน เช่น เซิ้งกะติ๊บข้าว เซิ้งสวิง เป็นต้น การแสดงต่างๆล้วนแล้วแต่เกิดขึ้นมาจากท้องถิ่นและแต่งกายตามท้องถิ่น ไม่ได้มีหลัก หรือ เกณฑ์ที่ใช้กันโดยทั่วไปในวงการนาฏศิลป์ไทยทั่วประเทศสามารถปรับปรุงหรือ เปลี่ยนแปลงได้ ตามโอกาสที่แสดง จึงถือว่า การฟ้อนและการเซิ้งเป็นระบ าที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ 3. ละคร คือการแสดงเรื่องราวโดยมีตัวละครต่างด าเนินเรื่องมีผูกเหตุหรือการผูกปมของ เรื่อง ละครอาจประกอบไปด้วยศิลปะหลายแขนงเช่น การร า ร้อง หรือดนตรี ละครจะแบ่งออกเป็น สอง ประเภท ได้แก่ 3.1 ละครแบบดั้งเดิม มีอยู่สามประเภท คือ โนห์ราชาตรี ละครนอก ละครใน 3.2 ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ มีอยู่หกประเภท ละครดึกด าบรรพ์ ละครพันทาง ละครเสภา ละครพูด ละครร้อง ละครสังคีต 4. มหรสพ' คือการแสดงรื่นเริง หรือการแสดงที่ใช้ในงานพิธีต่างๆ มีรูปแบบและวิธีการ แสดงที่เป็นแบบแผน เช่น การแสดงโขน หนังใหญ่เป็นต้น
7 ความส าคัญของนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์แสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ประจ าชาติแสดงถึงอารยประเทศ ความเจริญรุ่งเรือง ของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ ประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญาไทย จารีต ประเพณี และ วัฒนธรรมของประเทศไทย ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่น่าภาคภูมิใจของคนไทยตั้งแต่อดีต จนถึง ปัจจุบัน และถือว่าเป็นมรดกที่ส าคัญของชาติ จึงควรแก่การอนุรักษ์ และสืบทอดต่อไป นาฏศิลป์เป็นแหล่งรวมของศิลปะแขนงต่างๆ เช่น การประพันธ์วรรณคดีต่างๆ สถาปัตยกรรม(ในการสร้างฉาก สถานที่ประกอบฉาก) ประติมากรรม(ศิลปะการท าอุปกรณ์การแสดง รูปปั้น รูปหล่อต่างๆ) จิตรกรรม(ศิลปะในการออกแบบเครื่องแต่งกาย การสร้างฉาก) ดุริยางค์ศิลป์ (ศิลปะในการขับร้อง บรรเลงดนตรี) หรือ อื่นๆ นาฏศิลป์ช่วยพัฒนาบุคลิกภาพของผู้แสดง ให้ผู้แสดงมีความกล้าแสดงออก และมีความ มั่นใจมากยิ่งขึ้น ท าให้มีท่าทางการเคลื่อนไหวที่ดูสง่างาม ท าให้ความจ าและปฏิภาณดี และหากได้ ความรู้นาฏศิลป์จนเกิดความช านาญ ก็จะสามารถปฏิบัติได้ดีมีชื่อเสียง หรือ ยึดเป็นอาชีพต่อไปได้ นาฏศิลป์ท าให้เกิดความสามัคคีกันในหมู่คณะ นาฏศิลป์ท าให้ผู้แสดงมีความสามัคคีกัน เพราะผู้แสดงต้องร่วมกันแสดงท่าร าทางนาฏศิลป์ เพื่อให้การแสดงนาฏศิลป์นั้นออกมาเรียบร้อย และ งดงาม องค์ประกอบของนาฏศิลป์ไทย ดังที่กล่าวมาแล้วว่า นาฏศิลป์ได้หมายรวมไปถึงการร้องร าท าเพลง ดังนั้นองค์ประกอบ ของ นาฏศิลป์ก็จะประกอบไปด้วยการขับร้อง การบรรเลงดนตรี และการฟ้อนร า ทั้งนี้เพราะการ แสดงออกของนาฏศิลป์ไทยจะต้องอาศัยบทร้อง ท าเพลงประกอบการแสดง เพราะฉะนั้นก่อนที่ จะ มาเป็นนาฏศิลป์ไทยได้จะต้องประกอบไปด้วยองค์ประกอบส าคัญ ๆ ดังต่อไปนี้ 1. การฟ้อนร า เป็นท่าทางของการเยื้องกรายฟ้อนที่สวยงาม โดยมีมนุษย์เป็นผู้ประดิษฐ์ท่า ร า เหล่านั้นให้ถูกต้องตามแบบแผน รวมทั้งบทบาท และลักษะของตัวละคร ประเภทของการแสดง และการสื่อความหมายที่ชัดเจน 2. จังหวะ เป็นส่วนย่อยของบทเพลงที่ด าเนินไปเป็นระยะและสม่ าเสมอ การฝึกหัด นาฏศิลป์ ไทย จ าเป็นต้องใช้จังหวะเป็นพื้นฐานในการฝึกหัดเพราะจังหวะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติและมีอยู่ ในตัวมนุษย์ทุกคน หากผู้เรียนมีทักษะทางการฟังจังหวะแล้วก็สามารถร าได้สวยงาม แต่ถ้าผู้เรียน ไม่ เข้าใจจังหวะก็จะท าให้ร าไม่ถูกจังหวะหรือเรียกว่า “ บอดจังหวะ”การร าก็จะไม่สวยงามและไม่ ถูกต้อง เนื้อร้องและท านองเพลงการแสดงลีลาท่าร าแต่ละครั้งจะต้องสอดคล้องตามเนื้อร้อง และ ท านองเพลง ทั้งนี้เพื่อบอกความหมายของท่าร า ถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกในการแสดงได้ตามเนื้อ เรื่อง ตลอดจนสามารถสื่อความหมายให้ผู้ชมเข้าใจตรงกันได้ เช่น การแสดงอารมณ์รัก ผู้ร าจะ ประสานมือทาบไว้ที่หน้าอก ใบหน้ายิ้มละไม สายตามองไปยังตัวละครที่ร าคู่กัน เป็นต้น
8 การแต่งกาย ในการแสดงนาฏศิลป์ สามารถบ่งบอกถึงยศและบรรดาศักดิ์ของนักแสดง ละคร ตัวนั้น ๆ โดยเฉพาะการแสดงโขน การแต่งกายจะเปรียบเสมือนแทนสีกายของตัวละคร เช่น เมื่อ แสดงเป็นหนุมาน นักแสดงจะต้องแต่งกายด้วยชุดสีขาวมีลายปักเป็นลายทักษิณา วัตร สวมหัวโขนลิง สีขาว ปากอ้า เป็นต้น การแต่งหน้า เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่ท าให้นักแสดงสวยงาม และอ าพรางข้อบกพร่องบน ใบหน้าของนักแสดงได้ นอกจากนี้ก็ยังสามารถใช้วิธีการแต่งหน้า เพื่อบอกวัยบอกลักษณะเฉพาะของ ตัวละครได้ เช่น แต่งหน้านักแสดงหนุ่มให้เป็นคนแก่ แต่งหน้าให้นักแสดงเป็นตัวตลก เป็นต้น เครื่องดนตรีที่บรรเลงประกอบการแสดง การแสดงนาฏศิลป์ จ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้ เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการแสดงดังนั้นนักแสดงจะต้องร าให้สอดคล้องตามเนื้อร้อง และ ท านอง เพลง ในขณะเดียวกันดนตรีก็เป็นองค์ประกอบหลักที่ส าคัญในการช่วยเสริมให้การแสดง 11 สมบูรณ์ และสามารถสื่อความหมายได้ชัดเจนมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยเสริมสร้างบรรยากาศในการ แสดงให้สมจริง ยิ่งขึ้นด้วย อุปกรณ์การแสดงละคร การแสดงนาฏศิลป์ไทยบางชุด อาจต้องมีอุปกรณ์ประกอบการ แสดงละครด้วย เช่น ระบ าพัด ระบ านกเขา ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บ ฟ้อนร่ม เป็นต้น อุปกรณ์แต่ ละชนิด ที่ใช้ประกอบการแสดงจะต้องมีความสมบูรณ์ สวยงาม และสวมใส่ได้พอดี หากเป็น อุปกรณ์ที่ต้อง น ามาใช้ประกอบการแสดง เช่น กลอง ร่ม เป็นต้น นักแสดงจะต้องมีทักษะในการ ใช้อุปกรณ์ได้อย่าง คล้องแคล้วสามารถจัดวางต าแหน่งให้อยู่ในระดับที่ถูกต้องสวยงาม ประโยชน์ในการศึกษาวิชานาฏศิลป์ 1. ประโยชน์โดยทางตรง ใช้เป็นวิชาชีพ ผู้ที่ศึกษาวิชานาฏศิลป์ อย่างจัดเจน ช านิช านาญ สามารถยึดเป็นอาชีพได้เพราะในกิจกรรมต่าง ๆ วิชานาฏศิลป์เข้าไปมีส่วนร่วมอยู่เสมอเป็นการ บริหารร่างกายให้มีสุขภาพ สมบูรณ์ โดยเฉพาะวิชานาฏศิลป์นั้นในขณะฝึกหัดนัยว่าเป็นการออกก าลัง กายอย่างดีเยี่ยม ได้บริหารร่างกายทั่วทุกส่วน 2. ประโยชน์ทางอ้อม ได้ชื่อว่าเป็นชาวไทยที่สมบูรณ์ รู้จักวัฒนธรรมของชาติการเรียนรู้วิชา นาฏศิลป์ในปัจจุบันชาวต่างประเทศให้ความสนใจมาก ได้เข้ามาสนใจศึกษาค้นคว้าแต่พวกเราชาวไทย ถ้าหาก ไม่สนใจแล้ว วัฒนธรรมในแขนงนี้ก็จะตกไปอยู่ในมือต่างชาติ ต่อไปเมื่อเราต้องการศึกษาก็คง จะต้องอาศัยข้อมูลจากพวกเขา แล้วอย่างนี้จะได้ชื่อว่าเป็นวัฒนธรรมไทยได้อย่างไรพวกเราชาวไทย ควรศึกษาศิลปวัฒนธรรมของเราเองไว้ให้ดี จะได้ชื่อว่าเป็นชาวไทยที่แท้จริงมีจิตใจอ่อนโยน นาฏศิลป์ ช่วยให้ผู้เรียนมีจิตใจอ่อนโยน มีสติ และมีสมาธิที่ มั่นคงไม่หวั่นไหวไปกับสิ่งรอบข้าง ซึ่งท าให้ผู้นั้นมี ความสามารถในขณะปฏิบัติงานต่าง ๆได้ผลมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้น ช่วยผ่อนคลาย และความเครียดของจิตใจดังจะเห็นได้ว่า ศิลป์ในแขนงนี้มีอายุยืนยาว มีสุขภาพดีเป็นส่วนมากช่วย ปรับปรุงบุคลิกภาพให้งดงามยิ่งขึ้น ผู้ที่เรียนนาฏศิลป์จะมีลักษณะพิเศษเห็นได้เด่นชัด อาทิ ขณะ เวลานั่ง หรือ ยืน จะสง่างาม เพราะได้รับการฝึกฝนวิธีการนั่งยืนมาเป็นอย่างดี ในขณะเดียวกันเป็นผู้ที่
9 รู้จักควบคุมอารมณ์ไม่ตื่นตระหนก และกล้าที่จะแสดงออกสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เป็นผลจากประสบการณ์ ในการแสดงทั้งสิ้น 2. วิธีสอนการสอนแบบสาธิต (Demonstration Method) ความหมายของการสาธิต การสาธิต หมายถึง การท าให้ดูเป็นตัวอย่าง หรือการแสดง หรือการกระท าสิ่งต่างๆให้ผู้เรียนดู วิธีการสอนแบบสาธิต หมายถึง วิธีสอนที่ครูมีหน้าที่ในการวางแผนการเรียนการสอน เป็นส่วนใหญ่ โดยมีการแสดงหรือการกระท าให้ดูเป็นตัวอย่าง นักเรียนจะเกิดการเรียนรู้จากการ สังเกต การฟัง การ กระท าหรือการแสดง ส าหรับความหมายของวิธีสอนโดยใช้การสาธิต ได้มีนักวิชาการหลายท่านให้ความหมายไว้ ดังนี้ ทิศนา แขมมณี (2550 : 330) กล่าวว่า วิธีสอนโดยใช้การสาธิต คือ กระบวนการที่ผู้สอนใช้ ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนด โดยการแสดงหรือท าสิ่งที่ต้องการให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้ ให้ผู้เรียนสังเกตดูแล้วให้ผู้เรียนซักถาม อภิปราย และสรุปการเรียนรู้ที่ได้จากการ สังเกตการสาธิต สิริวรรณ ศรีพหล และ พันทิพา อุทัยสุข (2540 :78) กล่าวว่า การสอนแบบสาธิต คือ การ แสดงหรือกระท าพร้อม ๆ กับการบอกหรืออธิบายเพื่อให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรงในเชิงรูปธรรมซึ่ง จะท าให้สามารถเข้าใจมโนมติและหลักการได้ดีขึ้น อินทิรา บุณยาทร (2542 : 87) ได้อธิบายว่า การสาธิต คือ วิธีสอนที่ผู้สอนหรือวิทยากรแสดง หรือกระท าให้ดูเป็นตัวอย่างพร้อม ๆ กับการบอก อธิบายเพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรงในเชิง รูปธรรม ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้จากการสังเกตกระบวนการ ขั้นตอนสาธิตนั้น ๆ อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 142) ได้กล่าวว่า วิธีสอนแบบสาธิต หมายถึง วิธีการสอนที่ผู้สอน บุคคลใดบุคคลหนึ่ง (อาจเป็นวิทยากรที่ผู้สอนเชิญมา) แสดงหรือกระท าให้ดูเป็นตัวอย่างพร้อม ๆ กับ การบอก อธิบาย เพื่อให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรงในเชิงรูปธรรม ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้จากการ สังเกตกระบวนการขั้นตอนการสาธิตนั้น ๆ ไสว ฟักขาว (2544 : 98) อธิบายการสาธิตเป็นการแสดงให้ดู ซึ่งอาจเป็นการแสดงให้เห็น ถึงขั้นตอน วิธีการ ผลที่จะเกิดขึ้นหรือท่าทางต่าง ๆ โดยอาจท าในรูปของการสาธิตทดลอง หรือสาธิต ปฏิบัติ วิธีสอนแบบสาธิต อาจน าไปใช้ร่วมกับวิธีสอนแบบอื่นได้ เช่น สาธิตประกอบการ บรรยาย สาธิตประกอบการอธิปราย เป็นต้น การสอนด้วยวิธีการสาธิต เป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในหมู่ผู้สอน ไม่ว่าจะเป็นการสอน นักเรียนในระดับใด โดยเฉพาะเมื่อผู้สอนพบว่าการอธิบายบทเรียนเพียงอย่างเดียวมีข้อจ ากัด กล่าวคือผู้เรียนเกิดความไม่เข้าใจอย่างถ่องแท้ในเนื้อหาวิชานั้น ๆ ไม่เกิดมโนมติหรือสามารถสรุป เนื้อหาที่เรียนไปแล้วได้ หลังจากที่ผู้สอนสอนเนื้อหาดังกล่าวจบแล้ว (สิริวรรณ ศรีพหล และ พันทิพา อุทัยสุข, 2540 : 79)
10 สรุปได้ว่า การสอนโดยวิธีการสาธิต หมายถึง กระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนได้ เกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนดไว้ โดยการแสดงหรือการกระท าให้ดูเป็นตัวอย่าง พร้อมๆ กับการ บอก อธิบาย เพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรงจากการสังเกต แล้วให้ผู้เรียนได้ซักถาม อภิปรายและสรุป การเรียนรู้ที่ได้จากการสังเกตดังกล่าว แนวทางในการสาธิต 1. การสาธิตแบบบอกความรู้ เป็นการสาธิตที่แจ้งให้ผู้เรียนทราบก่อนการสาธิตว่าจะท าอะไร อย่างไรและจะมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง แล้วให้ผู้เรียนสังเกตการณ์สาธิต พร้อมอธิบายตามไปด้วย 2. การสาธิตแบบค้นพบความรู้ เป็นการสาธิตที่ผู้สาธิตหรือครูตั้งค าถามให้ผู้เรียนคาดคะเน ค าตอบ เพื่อเป็นการเร้าความสนใจแล้วจึงให้ผู้เรียนคอยสังเกตจาการสาธิตว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้าง อย่างไร ประเภทของการสาธิต ซันด์และโทรบริดจ์ (Sund and Throwbridge 1973 : 117-118)ได้แบ่งการสาธิตออกเป็น 6 ประเภทดังนี้ 1.ครูแสองการสาธิตคนเดียว 2.ครูและนักเรียนร่วมกันสาธิต 3.กลุ่มนักเรียนเป็นผู้สาธิต 4.นักเรียนคนเดียวเป็นผู้สาธิต 5.วิทยากรเป็นผู้สาธิต 6.การสาธิตเงียบ เทคนิคการสาธิต การสาธิตในเรื่องที่แปลกใหม่ น่าสนใจ จะเน้นให้นักเรียนเห็นกระบวนการอย่างชัดเจน โดยมี ส่วนร่วมในการสาธิต ตั้งค าถาม ซึ่งช่วยในการสอนแบบสาธิตได้ผลดียิ่งขึ้นเทคนิคการสาธิต มีดังนี้ 1.เลือกสาธิตเรื่องที่สนใจและเป็นสิ่งที่แปลกใหม่ส าหรับนักเรียน 2.ไม่ควรบอกผลการสาธิตให้นักเรียนทราบล่วงหน้า 3.พยายามให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการสังเกตซักถามและตอบค าถาม 4.ในระหว่างสาธิต ไม่ควรบรรยายมากเกินไป 5.ไม่ควรเร่งการสาธิต อาจท าให้นักเรียนตามไม่ทัน และไม่เข้าใจ 6.ควรให้เด็กทุกคนมองเห็นได้ทั่วถึง และครูควรเอาใจใส่ต่อผู้เรียนทุกคน 7.การสรุปผล ควรให้นักเรียนเป็นผู้สรุป 8.ต้องประเมินผลการสาธิตทุกครั้งว่าเด็กเข้าใจหรือไม่
11 จุดมุ่งหมายของวิธีสอนโดยใช้การสาธิต นักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของการสอนโดยใช้การสาธิตไว้ดังนี้ อินทิรา บุณยาทร (2542 : 88) อธิบายจุดมุ่งหมายของการสอนโดยการสาธิต ดังนี้ 1. เพื่อกระตุ้นความสนใจให้ผู้เรียนมีความสนใจในบทเรียนยิ่งขึ้น 2. เพื่อช่วยอธิบายเนื้อหาวิชาที่ยาก ซึ่งต้องใช้เวลามาก ให้เข้าใจง่ายขึ้นและประหยัดเวลา 3. เพื่อให้ผู้เรียนเห็นขั้นตอนการปฏิบัติต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจและสามารถปฏิบัติตาม ได้ อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 143) ได้กล่าวว่า จุดมุ่งหมายในการสอนโดยการสาธิตนั้นก็เพื่อแสดงให้ผู้เรียน ได้เห็นขั้นตอนการปฏิบัติต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจได้อย่างแจ่มแจ้ง และสามารถปฏิบัติตามได้ ไสว ฟักขาว (2544 : 98) ได้อธิบายว่า จุดมุ่งหมายของวิธีการสอนแบบสาธิต มีดังนี้ 1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นถึงขั้นตอนการปฏิบัติในกิจกรรมบางอย่างที่มีความซับซ้อนและต้องอาศัย ทักษะสูง 2. เพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นผลการทดลองที่ผู้เรียนไม่สามารถทดลองเองได้อันเนื่องจากเครื่องมือ อุปกรณ์ไม่พอที่จะให้ผู้เรียนทดลองทุกคนหรือเป็นการทดลองที่มีอันตราย ทิศนา แขมมณี (2550 : 330) ได้กล่าวว่า วิธีสอนโดยใช้การสาธิตเป็นวิธีการที่มุ่งช่วยให้ผู้เรียนทั้งชั้นได้ เห็นการปฏิบัติจริงด้วยตาตนเอง ท าให้เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องหรือการปฏิบัตินั้นชัดเจนขึ้น สรุปได้ว่าจุดมุ่งหมายของการสอนโดยใช้การสาธิต มีดังนี้ 1. เพื่อกระตุ้นความสนใจในการเรียนของนักเรียน 2. เพื่อมุ่งช่วยให้ผู้เรียนทั้งชั้นได้เห็นการปฏิบัติจริงด้วยตาตนเอง ท าให้เกิดความรู้ความเข้าใจใน เรื่องหรือการปฏิบัตินั้นชัดเจนขึ้น 3. เพื่อช่วยอธิบายเนื้อหาวิชาที่ยาก ซึ่งต้องใช้เวลามาก ให้เข้าใจง่ายขึ้นและประหยัดเวลา 4. เพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นผลการทดลองที่ผู้เรียนไม่สามารถทดลองเองได้อันเนื่องจากเครื่องมือ อุปกรณ์ไม่พอที่จะให้ผู้เรียนทดลองทุกคนหรือเป็นการทดลองที่มีอันตราย องค์ประกอบส าคัญของวิธีการสอนโดยใช้การสาธิต ในการสอนโดยใช้การสาธิตนั้นมีองค์ประกอบที่ส าคัญ 4 ประการ ดังที่ ทิศนา แขมมณี (2550 : 330) กล่าวไว้ดังนี้ 1. มีผู้สอนและผู้เรียน 2. มีเรื่องหรือสิ่งที่จะสาธิต 3. มีการแสดง/การท า/ให้ผู้เรียนสังเกตดู 4. มีผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการสาธิต
12 องค์ประกอบแรกนั้นคือ ผู้สอนและผู้เรียน ผู้สอนต้องเตรียมสิ่งที่จะสาธิตให้พร้อมโดยค านึงถึงการ รับรู้โดยการมองเห็นของผู้เรียนเป็นส าคัญ รวมทั้งต้องค านึงถึงความปลอดภัยด้วย โดยเฉพาะในการสาธิต เกี่ยวกับวัตถุอันตราย ส่วนผู้เรียนก็ต้องมีทักษะในการสังเกต คิดวิเคราะห์ตามการสาธิตนั้นเพื่อให้เกิดความ เข้าใจและเรียนรู้ได้ชัดเจนขึ้น ส่วนองค์ประกอบที่สองคือ เรื่องหรือสิ่งที่จะสาธิต ผู้สอนอาจเชิญบุคคลภายนอก หรือผู้ที่มีความเชี่ยวชาญหรือให้นักเรียนในชั้นเรียนเข้าร่วมในการสาธิตด้วยก็ได้ตามความเหมาะสม ส าหรับ องค์ประกอบที่สาม มีการแสดงหรือลงมือปฏิบัติให้นักเรียนดูนั้น ครูหรือวิทยากรต้องอธิบายประกอบไปตาม ขั้นตอนโดยไม่รีบเร่งจนเกินไป และสุดท้ายองค์ประกอบที่สี่ ซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ส าคัญที่สุดคือผลการเรียนรู้ ของผู้เรียนที่เกิดจากการสาธิต ขั้นตอนของการสอนโดยใช้การสาธิต ขั้นตอนของการสอนโดยใช้การสาธิตนั้น นักวิชาการก าหนดไว้โดยมีรายละเอียดแตกต่างกันดังนี้ ทิศนา แขมมณี (2550: 330) ได้เสนอขั้นตอนของการสอนไว้ดังนี้ 1. ผู้สอนแสดงการสาธิต ผู้เรียนสังเกตการสาธิต 2. ผู้สอนและผู้เรียนอภิปรายและสรุปการเรียนรู้ที่ได้จากการสาธิต 3. ผู้สอนประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ปรีชา คัมภีร์ปกรณ์ (2538 : 246) ได้เสนอขั้นตอนการสอนโดยใช้การสาธิตไว้ ดังนี้ 1. ขั้นเตรียมการสอน 2. ขั้นการสาธิต 3. ขั้นสรุปและประเมินผล จากที่กล่าวมา สรุปได้ว่าขั้นตอนการสอนโดยใช้การสาธิตอาจแบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นเตรียมการสอน ขั้นการสาธิต ขั้นอภิปราย สรุปและประเมินผล โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ขั้นตอนการสอนแบบสาธิต วิธีการสอนแบบสาธิตมีขั้นตอนการสอนดั้งนี้ 1.ขั้นเตรียมการสาธิต เป็นขั้นตอนการท าการสาธิต ซึ่งครูควรเตรียมตัวดังนี้ 1.1 ศึกษาบทเรียนที่จะสาธิตให้เข้าใจแจ่มแจ้ง 1.2 เตรียมอุปกรณ์ที่จะสาธิตให้พร้อม 1.3 ทดลองการสาธิตดูก่อน 1.4 จัดชั้นเรียนให้เหมาะสมกับการสาธิตบทเรียน 1.5 เขียนแผนภูมิแสดงขั้นตอนของการสาธิตไว้ 2.ขั้นสาธิต เมื่อครูเข้าสู่ชั้นเรียนแล้ว จึงด าเนินการสอนตามล าดับดังนี้ 2.1 เราความสนใจของนักเรียน 2.2 ท าการสาธิตใหนักเรียนดู โดยยึดหลักในการสาธิตดังนี้ 2.2.1 สาธิตตามล าดับขั้น 2.2.2 สาธิตช้าๆพร้อมกับบรรยายเพื่อให้นักเรียนติดตามทัน
13 2.2.3 สาธิตเฉพาะเรื่องบทเรียนนั้นๆ 2.2.4 ให้นักเรียนเห็นทั่วถึง หรืออาจให้นักเรียนออกมาสังเกตสาธิตที่ละ กลุ่ม 2.2.5 ครูคอยสังเกตความสนใจและความตั้งใจของนักเรียน 2.2.6 ครูให้นักเรียนมาร่วมท าการสาธิตด้วยได้ 2.2.7เน้นขั้นตอนส าคัญๆของการสาธิตและเขียนสรุปบนกระดานด า 3.ขั้นสรุปและวัดผล 3.1ให้นักเรียนร่วมกันเล่าสรุปเป็นตอนๆ 3.2.ให้นักเรียนทุกคนเขียนข้อสรุปส่งครูเพื่อให้คะแนน 3.3ให้นักเรียนสาธิต เพื่อสังเกตดูว่านักเรียนท าได้และเข้าใจหรือยัง 3.4ทดสอบ นอกจากนั้น ผู้สอนอาจใช้วิธีการสรุปและประเมินผลผู้เรียนในวิธีต่าง ๆ กัน เช่น ให้ผู้เรียนบางคน ออกมาสาธิตสิ่งที่ได้ดูไปแล้ว เพื่อทดสอบความสามารถและความเข้าใจ หรืออาจให้ไปเขียนรายงานเกี่ยวกับ กระบวนการและสิ่งที่ได้รับจากการสาธิตนั้น ๆ ก็ได้ เป็นการประเมินผลผู้เรียนว่าได้เรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับ บทเรียนนั้น ๆ สรุปได้ว่าหลังจากการสาธิตแล้ว ผู้สอนควรให้ผู้เรียนรายงานสิ่งที่สังเกตเห็นพร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ซักถาม อภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดที่แต่ละคนได้รับ และนักเรียนสรุปการเรียนรู้ที่ได้รับ โดยมีครูผู้สอนให้ค าแนะน าในการสรุป ส่วนการประเมินผลการเรียนรู้อาจท าได้โดยใช้ค าถาม และให้นักเรียน บางคนออกมาสาธิตสิ่งที่ดูไปแล้ว หรือการเขียนรายงานเกี่ยวกับกระบวนการหรือสิ่งที่ได้รับจากการสาธิตนั้นๆ จุดเด่นของการสอนโดยใช้การสาธิต นักวิชาการหลายท่านกล่าวถึงจุดเด่นของการสอนโดยใช้การสาธิต ไว้อย่างน่าสนใจ ดังนี้ ทิศนา แขมมณี (2550 : 331-332) ได้เสนอแนะถึงข้อดีของการสอนแบบสาธิต คือ 1.เป็นวิธีการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ตรงเห็นสิ่งที่เรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม ท าให้เกิดความเข้าใจและจะจ าในเรื่องที่สาธิตได้ดีและนาน 2. เป็นวิธีการสอนที่ช่วยประหยัดเวลา อุปกรณ์และค่าใช้จ่าย หากใช้ทดแทนการทดลอง 3. เป็นวิธีที่สามารถสอนผู้เรียนได้จ านวนมาก อาภรณ์ ใจเที่ยง (2550 : 144-145) กล่าวว่า ข้อดีของการสอนโดยใช้การสาธิต มีดังนี้ 1. ประหยัดเวลาการลองผิดลองถูกของนักเรียน และประหยัดวัสดุในการสอนเมื่อสาธิตให้ดู เป็นหมู่หรือทั้งชั้น 2. นักเรียนสามารถเข้าใจวิธีปฏิบัติได้ดี เพราะเป็นประสบการณ์ตรง มีตัวอย่างให้ดูจับต้องได้ และเห็นขั้นตอนในการปฏิบัติอย่างชัดเจน 3. เป็นการกระตุ้นการเรียนการสอน เพราะเปิดโอกาสให้นักเรียนร่วมกิจกรรม 4. เป็นการฝึกนักเรียนให้รู้จักสังเกต หาเหตุผล และสรุปหลักเกณฑ์ได้ วไลพร คุโณทัย (2530 : 24) กล่าวว่า การสอนแบบสาธิต มีข้อดีดังนี้
14 1. การสาธิตเป็นการน าเข้าสู่บทเรียนอย่างหนึ่ง ที่ท าให้ผู้เรียนเกิดความอยากรู้อยากเห็น อยากค้นหาค าตอบต่อไปได้ 2. การสาธิตสามารถสร้างความเข้าใจในความคิดรวบยอด หลักการทฤษฎีโดยผู้เรียนสามารถ มองเห็นได้โดยตรง 3. การสาธิตท าให้เห็นจริง ท าจริง เข้าใจได้ง่าย 4. ประหยัดเวลาของผู้สอนและผู้เรียน เพราะการสาธิตท าให้ผู้เรียนเห็นไปพร้อมๆ กันทั้งห้อง 5. การสาธิตฝึกให้ผู้เรียนรู้จักสังเกต รู้จักคิดหาเหตุผล และรู้จักสรุปหลักเกณฑ์ได้เอง 6. การสาธิตสามารถแสดงซ้ าตรงจุดใดจุดหนึ่ง เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจแจ่มแจ้งในจุดที่ต้องการได้ 7. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน สรุปได้ว่าการสอนโดยใช้การสาธิตมีจุดเด่นที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนหลายประการซึ่ง ประมวลสรุปประเด็นที่น่าสนใจได้ ดังนี้ 1. เป็นการสอนที่เพิ่มความเข้าใจของผู้เรียน เนื่องจากได้เห็นกิจกรรมการสาธิตตามล าดับ ขั้นตอนและผู้เรียนจะจ าเรื่องที่สาธิตได้ดีและนาน 2. เป็นวิธีการสอนที่ช่วยประหยัดเวลา อุปกรณ์และค่าใช้จ่าย หากใช้ทดแทนการทดลอง 3. เป็นวิธีที่สามารถสอนผู้เรียนได้จ านวนมาก 4. สามารถใช้ผสมผสานกับวิธีสอนแบบต่างๆ ได้ เช่น วิธีสอนโดยใช้การบรรยายหรือการ ทดลอง เป็นต้น 5. เป็นการสอนที่เร้าใจผู้เรียน 6. การสาธิตสามารถแสดงซ้ าตรงจุดใดจุดหนึ่ง เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจแจ่มแจ้งในจุดที่ต้องการได้ 7. ผู้เรียนสามารถมีส่วนร่วมในกิจกรรมได้ 8. เป็นการฝึกนักเรียนให้รู้จักสังเกต หาเหตุผล และสรุปหลักเกณฑ์ได้ ข้อดีของการสอนแบบสาธิต 1.นักเรียนมองเห็นตัวอย่าง แบบอย่างขั้นตอนของการปฏิบัติท าให้เข้าใจลึกซึ้งมีเหตุผล 2.ประหยัดเวลาของครูและนักเรียน เพราะเห็นตัวอย่างชัดเจน 3.ประหยัดวัสดุ 4.การสาธิตให้ดูแล้วปฏิบัติย่อมปลอดภัย ข้อจ ากัด 1.การควบคุมชั้นเรียนอาจมีปัญหาเรื่องความสงบเรียบร้อยในชั้นเรียน 2.หากการเตรียมตัวไม่ดีพออาจเกิดอุบัติเหตุหรือผิดพลาด 3.หากการสาธิตไม่เป็นไปตามขั้นตอนอาจท าให้เสียเวลามาก
15 3. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวและจังหวะ ความหมายของการเคลื่อนไหวและจังหวะ การเคลื่อนไหวและจังหวะ หมายถึง กระบวนการและความสามารถในการควบคุมการเคลื่อนไหว ของรางกายและจิตใจ โดยใชร่างกายเป็นสื่อกลางในการแสดงออกทางความคิดริเริ่มสร้างสรรค์นี้จะแสดงออก ทางอารมณ์และการสื่อความหมาย ขวัญแก้ว ด ารงคศิร (2539 :43) กล่าวว่าการเคลื่อนไหว และ จังหวะ เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้เด็กพัฒนาทักษะรางกายและจิตใจด้วยปฏิกิิริยาตอบสนองตอเสียงดนตรีเสียงเพลง และจังหวะช้าหรือเร็ว โดยการแสดงทาทางหรือการเคลื่อนไหวสวนต่างๆ ของรางกายได้อยางอิสระ ซึ่ง สอดคล้องกับ ธูปทอง ศรีท้วม(2538 : 26) กล่าวว่าการเคลื่อนไหวเป็นการเคลื่อนไหวที่ผสมผสานกันอย่าง กลมกลืน ต่อเสียงเพลงและดนตรี โดยใช้ร่างกายเป็นสื่อกลางในการแสดงออกของเด็กในช่วงที่มีการเคลื่อนไหว พิชิต ภูติ จันทร์(2523 : 3) กล่าวว่าการเคลื่อนไหวเป็นจังหวะว่า หมายถึง การที่ร่างกายและจิตใจมีปฏิกิริยาตอบสนอง ต่อดนตรีและจังหวะซึ่งจังหวะนั้นหมายถึงช้าเร็วของการเคลื่อนไหวซึ่งวงจรจะเกิดจากการตบมือ เคาะไม้ เคาะ เหล็ก ตีกลอง ฉิ่ง ฉาบ เป็นต้น กิจกรรมเข้าจังหวะ เป็นกิจกรรมที่เด็กมีปฏิกิริยาตอบต่อจังหวะเสียงดนตรี โดย แสดงท่าทางหรือเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ให้เข้ากับจังหวะไดอย่างอิสระผสมผสานโดยการแสดง ทาทางหรือการ เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายให้เขาจังหวะได้อย่างอิสระ และผสมผสานกลมกลืนเกิดอารมณ์และจิตใจ คล้อยตามไปกับเสียงของดนตรี การเคลื่อนไหวประกอบจังหวะเป็นระบวนการแสดงความสามารถของตนโดยใช้การเคลื่อนไหว ร่างกายเมื่อพบการแกไขปัญหาต่างๆเด็กแต่ละคนต่างได้เข้าร่วมในการวิเคราะห์ปัญหาโดยใช้ความสามารถ ทางร่างกาย และความรูของตนเอง การไดรับการกระตุ้นจากปัญญาเพื่อให้เด็กค้นหาค าตอบด้วยตนเองจุดแห่ง ความสนใจควรอยู่ที่กิจกรรมมากกว่าสิ่งใด (ส าเร็จ มณีเนตร. 2520:1) การเคลื่อนไหวมีความสัมพันธ์กับชีวิตส่วนหนึ่งของเด็ก เด็กรูจักตนเองจากการเคลื่อนไหวของร่างกาย วิธีเคลื่อนไหวหลายๆ วิธี ช่วยให้เด็กเกิดทักษะในการใช้ร่างกาย ทักษะในการควบคุมกล้ามเนื้อ การหยิบจับ และการแก้ปัญหา เพิ่มความรู้และเจตคติ(พวงทอง ไสยวรรณ. 2530 : 56) นอกจากนั้นการเคลื่อนไหวและ จังหวะยังเป็นกิจกรรมที่ ร่างกายและจิตใจมีปฏิกิริยาตอบสนองจังหวะ เสียงดนตรีและเสียงเพลง โดยการ แสดงท่าทาง หรือเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้อย่างแสดงออกทางอารมณ์ความคิดสร้างสรรค์(อธิภัทร สายนาค. 2543) สรุปได้ว่า การเคลื่อนไหวและจังหวะ หมายถึง กิจกรรมที่ร่างกายกายไดเคลื่อนไหวทุกส่วนของ ร่างกายให้สัมพันธ์กับจังหวะ และเสียงเพลงอย่างอิสระ โดยใช้ร่างกายเป็นสื่อในการแสดงออกทางอารมณ์และ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในช่วงที่มีการเคลื่อนที่
16 ความส าคัญของการเคลื่อนไหวและจังหวะ การเคลื่อนไหวและจังหวะมีความส าคัญและจ าเป็นอย่างยิ่งส าหรับมนุษย์ โดยเฉพาะในสภาพความ เป็นอยู่ของมนุษย์ในสังคมปัจจุบันซึ่งเต็มไปด้วยการต่อสู้ดิ้นรนควบคูไปกับความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สมัยใหม่ เพราะจะช่วยให้บุคคลไดระบายออกทางความรูสึกผ่อนคลายตึงเครียดทางร่างกายและจิตใจไดดี สามารถพัฒนาปรับตัวด้านสังคมดีขึ้น และพรอมที่ จะประกอบกิจวัตรในชีวิตประจ าวันไดอย่างมีประสิทธิภาพ และมีชีวิตอย่างสุขสมบูรณในสังคมเป็นอย่างดี( เยาวนา ดลแมน. 2535 : 24) การเคลื่อนไหวและจังหวะเป็นสิ่งจ าเป็นต่อการด ารงชีวิตมนุษย์ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงสิ้น อายุขัยโดยเฉพาะในเด็กแรกเกิดจะมีการเคลื่อนไหวตามธรรมชาติตามธรรมชาติโดยไมตองรับ 7 การฝึกหัด เช่น การดิ้นไปมาการไขว่คว้า ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวที่ช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทางร่างกาย และการสื่อ ความหมาย (วัลลยีภัทรโรภาส. 2533 : 1) ภรณี คุรุรัตนะ ( 2526 : 24-30 ) กล่าวว่า การส่งเสริมให้เด็กมีอิสระในการเคลื่อนไหว ที่เหมาะสมกับ พัฒนาการและวัยของเด็กจะช่วยให้เด็กได้แสดงออกถึงความรูสึกและอารมณ์อย่างเปิดเผยและเป็นธรรมชาติ ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้เด็กมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์การจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะให้กับ เด็กตั้งแต่ยังเล็ก จะช่วยให้เด็กเกิดทักษะ พื้นฐานในการเรียนวิชาต่างๆ เช่น ภาษา ดนตรีนาฏศิลป์ ฯลฯ ขณะเดียวกันท าให้เด็ก มีจังหวะในการเคลื่อนไหว ไม่เกิดปัญหาการวิ่งชนผู้อื่นหรือสิ่งของต่างๆ ในขณะท า กิจกรรม ซึ่งมีผลต่อการปรับตัวของเด็ก เพราะการรูจักจังหวะจะเป็นผลท าให้ไม่กระทบกระทั่งผู้อื่นได สามารถ ด าเนินชีวิตไดถูกต้องและอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข วรศักดิ์ เพียรชอบ. (2527 : 131 – 132) ไดกล่าวถึงความส าคัญของกาเคลื่อนไหว พอจะสรุป ความส าคัญไดดังนี้ 1. ช่วยให้เด็กเรียนรูในเทคนิคและวิธีการคิดค้นและการแก้ปัญหาการเคลื่อนไหวหรือปัญหาอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องไดดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ เพราะว่าการจัดกิจกรรมส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมให้เด็กมีประสบการณ์ด้วยการแก ปัญหาการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายโดยวิธีการต่างๆ ฉะนั้น จึงเป็นโอกาสดีที่เด็กไดเรียนรูและเข้าใจ วิธีการ และเทคนิคในการคิดค้นเหล่านี้ได้ด้วย 2. ช่วยให้เด็กไดเรียนรูการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายสามารถพัฒนา ความสามารถในการ เคลื่อนไหวเหล่านี้ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จนกระทั่งสามารถที่จะมีทักษะ ในการเคลื่อนไหวในแต่ละอย่างได เป็นอย่างดีต่อไป 3. เคลื่อนไหวของส่วนต่างๆ ของร่างกายไดอย่างดีกว่าส่วนต่างๆ ของร่างกายของตนเองนั้นส่วนใดมี ความสามารถและมีความจ ากัดในการเคลื่อนไหวอย่างไร และใน ขณะเดียวกันก็จะไดปรับความสามารถและ ความจ ากัดเหล่านั้นมาใช้เป็นประโยชน์เหมาะสมต่อไป 4. ช่วยให้เด็กมีพัฒนาการในทางสร้างสรรค์และรักษาไว ซึ่งความสามารถในทางสร้างสรรค์นั้นๆ ทั้งนี้ เพราะว่าการเรียนแบบวิธีค้นการเคลื่อนไหวนั้นเป็นกิจกรรมไดแกปัญหาการเคลื่อนไหวของร่างกายด้วยตนเอง อยู่ตลอดเวลา ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้มีพัฒนาการในทางสร้างสรรค์และรักษาไว ซึ่งความสามารถนี้ในตัว เด็กได้เป็นอย่างดี
17 5. ช่วยให้เด็กเข้าใจประโยชนของการเคลื่อนไหวของส่วนต่างๆ ของร่างกายไดเป็นอย่างดีท าให้ สามารถน าประโยชนในการเคลื่อนไหวเหล่านี้ ไปใช้ในชีวิตประจ าวันของตนเองต่อไป เช่น สามารถน าไปใช้ ประโยชน์ในทางนันทนาการในช่วงเวลาว่าง เป็นต้น 6. ช่วยให้เด็กได้เรียนรู้และมีความรู้สึกชอบเคลื่อนไหวหรือออกก าลังกายส่วนต่างๆ ของร่างกายซึ่ง เป็นส่วนส าคัญมากในชีวิตการเป็นอยู่ของสังคมในเมืองปัจจุบันที่เต็มไปด้วยเครื่องผ่อนแรงที่เป็นอยู่การที่จะ ช่วยให้เด็กมีความรักในการเคลื่อนไหวหรือออกก าลังกายส่วนต่างๆ ของร่างกายนับว่ามีความส าคัญที่สุด 7. ท าให้เด็กไดเรียนรู้และเข้าใจลักษณะและความหมายของการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้ เป็นอย่างดีสามารถเรียกชื่อลักษณะการเคลื่อนไหวเหล่านั้นได้ถูกต้องต่อไป จะเห็นได้ว่าการเคลื่อนไหวและ จังหวะมีความส าคัญและจ าเป็นอย่างยิ่ง ส าหรับเด็กปฐมวัยเพราะ เด็กจะเกิดการเรียนรู้จากการเคลื่อนไหว และยังสามารถส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์สังคม สติปัญญา และจินตนาการของเด็กอีกด้วย ทักษะการเคลื่อนไหว นาฏศิลป์เป็นศิลปะการแสดงแขนงหนึ่งที่ใช้การเคลื่อนไหวและการจัดระเบียบร่างกายของมนุษย์ อย่างมีจังหวะลีลาท าให้เกิดภาษาท่าทางที่สามารถสื่อความหมายแทนภาษาพู(สุมนมาลย์นิ่มเนติพันธ์และ สุมนรตี นิ่มเนติพันธ์. ม.ป.ป. : 104) การเคลื่อนไหวท่าทางสื่ออารมณ์ เป็นการเคลื่อนไหวร่างกายโดยการใช้ แขน ขา มือ เท้า ส่วน ต่างๆของร่างกาย สีหน้าแววตาต่างๆ แสดงอารมณ์ความรู้สึกออกมา ซึ่งอารมณ์ที่แสดงออกมานั้นเกิดจาก ธรรมชาติของมนุษย์ที่มีอยู่ในชีวิตประจ าวันเช่น อารมณ์รัก โกรธ เสียใจ เป็นต้น การเคลื่อนไหวท่าทาง เช่น การยืน เดิน วิ่ง สามารถน ามาสร้างสรรค์ประดิษฐ์เป็นท่าทางต่างๆ ให้เกิดความสวยงามเพื่อน ามาใช้เป็นท่า ร าต่างๆ การเคลื่อนไหวท่าทางสื่ออารมณ์ เป็นการเคลื่อนไหวที่น ามาใช้ในการแสดงต่างๆ เพื่อสื่อความหมาย แทนค าพูดของตัวละครให้ผู้ชมเข้าใจได้ว่าตัวละครนั้นมีอารมณ์อย่างไร และเข้าใจท่าทาง อารมณ์ของตัวแสดงได้ ง่ายขึ้น (อรวรรณ ชมวัฒนา และวีร์สุดา บุนนาค. 2553 : 113) หลักการแสดงนาฏศิลป์จะเน้นการแสดงออกทางการเคลื่อนไหวที่มีระบบและงดงามใน 2 ลักษณะ คือ การฟ้อนร าและการเคลื่อนไหวต่างๆ ที่ไม่สื่อความหมายหรืออารมณ์ที่เฉพาะเจาะจง เช่น ร าหน้า พาทย์ ร าเพลงช้า เพลงเร็ว ฯลฯ และการฟ้อนร าที่ประกอบด้วยการเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น แขน ขา มือ เท้า เรือนร่าง และใบหน้าที่แสดงออกถึงอารมณ์และการสื่อความหมาย ซึ่งเป็นลักษณะการร าใช้บท และการ แสดงท่าทางในละคร เช่นร าฉุยฉาย การแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ และการแสดงละครในบทบาท เป็น ต้น จึงเป็นศิลปะในการเคลื่อนไหวร่างกายด้วยการฟ้อนร าและการแสดงท่าทางการเคลื่อนไหวของร่างกายทั้ง 3 ส่วน คือ ส่วนกิ่งของร่างกาย ได้แก่ ศีรษะ แขน ขา มือ เท้า ส่วนตัวเรือนร่าง และส่วนใบหน้าให้ประสาน สัมพันธ์กันอย่างกลมกลืนและสวยงาม ตลอดจนมีการแสดงอารมณ์และความรู้สึกที่สื่อไปยังผู้ชม ด้วย (โกวิท ประวาลพฤกษ์และคณะ. 2545 : 69) สรุปว่าทักษะการเคลื่อนไหว หมายถึง การปฏิบัติท่าทางเคลื่อนไหวที่สื่อทางอารมณ์ความรู้สึก โดย ใช้ อวัยวะส่วนต่างๆ เพื่อสื่อความหมายในการแสดง
18 องค์ประกอบที่เป็นส่วนส าคัญของการเคลื่อนไหวร่างกาย มี 4 องค์ประกอบส าคัญคือ 1.ร่างกาย (Body Part) หมายถึง การพิจารณาว่าอวัยวะส่วนใดบ้างของ ร่างกายที่เคลื่อนไหว 2.พื้นที่ (Space) หมายถึงการพิจารณาว่าอวัยวะที่เคลื่อนไหวนั้นไปในทิศทาง ใด ระดับสูง-ต่ าเพียงใด เพราะการเคลื่อนไหวของอวัยวะนั้นด าเนินไปในอากาศที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา 3.เวลา (Time) หมายถึงการพิจารณาความมาก-น้อย ของจังหวะ หรือเวลาที่ อวัยวะนั้น ๆ เคลื่อนที่ ไป การมองเห็นความแตกต่างของการเคลื่อนไหวมีลักษณะรวดเร็ว กะทันหัน ค้างนิ่ง หรืออย่างต่อเนื่อง และ นอกจากนั้นเวลาสามารถเป็นเครื่องมือในการ ตัดสินของผู้แสดงอีกด้วย 4.รูปแบบ (Style) หมายถึง การพิจารณาลักษณะของการเคลื่อนไหวของ อวัยวะว่าเป็นอย่างไร เช่น เชื่องช้า นุ่มนวล คึกคัก หรือฉวัดเฉวียน เป็นต้น หาดพิจารณา องค์ประกอบทั้ง 4 องค์ประกอบแล้วไม่สามารถ แยกออกจากกันมีความเกื้อกูล สัมพันธ์เป็นไปทั้งระบบ การเคลื่อนไหวร่างกาย: แนวคิดและทฤษฎีของตะวันออก แนวคิดและทฤษฎีของการวิเคราะห์การเคลื่อนไหวร่างกายของทางตะวันออก จะปรากฏอยู่ในต ารา นาฏยศาสตร์ของภรตมุนี ซึ่งเป็นต าราการฟ้อนร าของอินเดียที่ ถ่ายทอดสืบต่อกันมาแบบมุขปาฐะ เกิดขึ้นก่อน คริสตกาล และได้มีการจดบันทึกเป็น ภาษาสันสกฤตมีความยาว 6,000 โศลกแบ่งเป็น 32 อรรธยายหรือ 32 บท ผู้เขียนจึงมุ่งประเด็นศึกษาเฉพาะการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวข้องกับบทความนี้โดยสรุปได้ดังนี้ 1. การฟ้อนร า ในต ารานาฏยศาสตร์ได้กล่าวถึงประเภทของการฟ้อนร า การใช้อวัยวะในการฟ้อนร า โครงสร้างของการฟ้อนร าและคุณลักษณะของการฟ้อนร า แบ่งออกได้ 3 ประเภทใหญ่ๆ 1.1 นาฏยะ เป็นการฟ้อนร าพร้อมกับการแสดงอารมณ์เป็นการผสมผสานการ ฟ้อนร า และ การแสดง 1.2 นฤตตะ เป็นการฟ้อนร าโดยเฉพาะไม่เจือปนด้วยความหมายพิเศษหรือ อารมณ์ใด ๆ หมายถึงเป็นการฟ้อนร าล้วนๆ การเคลื่อนไหวต่างๆ ไม่มีความหมายเฉพาะหรืออารมณ์ เป็นการแสดง กลวิธีที่ละเอียดซับซ้อนของจังหวะท่าทางต่าง ๆ 1.3 นฤตยะ เป็นการฟ้อนร าที่สื่อความหมาย ซึ่งอาจเป็นประโยคสั้นๆ ตอนสั้นๆ หรือละคร ทั้งเรื่อง ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวร่างกายที่ประกอบด้วยรสหรืออารมณ์
19 2. การเคลื่อนไหวอวัยวะอย่างต่อเนื่อง แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ 2.1 อังคะ คืออวัยวะหลักที่ใช้ในการฟ้อนร า ได้แก่ ศีรษะ มือ เอว อก แขน ขา เท้า 2.2 อุปอังคะ คืออวัยวะรองที่ใช้ในการฟ้อนร า ได้แก่ นัยน์ตา คิ้ว จมูก ริมฝีปาก แก้ม และคาง 2.3 ปรัตยังคะ คืออวัยวะส่วนอื่น ๆ ที่ใช้ในการฟ้อนร า เช่น ไหล่ หลัง และ หน้าท้อง 3. การเคลื่อนไหวอวัยวะอย่างต่อเนื่อง แบ่งออกเป็น 4 ส่วนคือ 3.1 มุขจะภินายะ เป็นการแสดงออกด้วยการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของใบหน้าและล าคอ 3.2 สารีรภินายะ เป็นการแสดงออกด้วยการเคลื่อนไหวบางส่วนที่ส าคัญ ของร่างกาย ประกอบกัน โดยร่างกายอาจไม่เคลื่อนที่ 3.3 ชีษตากฤตภินายะ เป็นการแสดงออกโดยการเคลื่อนไหวร่างกายทั้งหมด ไปพร้อมกันเช่น การเดิน การยืน การนอน 3.4 กติประจาระ เป็นการเคลื่อนไหวตามปกติที่ต้องการแสดงอาการหรือ อารมณ์เฉพาะกรณี (ชมนาด กิจขันธ์, 2547: 22-24) 4. โครงสร้างการฟ้อนร า มีการก าหนดท่าร าแม่บทไว้ในต ารานาฏยศาสตร์เรียกว่า กรณะ 108 ท่า ของเทพศิวะนาฏราช (God-Shiva-Nataraja) เทพแห่งนาฏกรรม (Lord of Actor) กิริยาการเคลื่อนไหวของ เทพหมายถึง กิริยาการเคลื่อนที่ของพลัง จักรวาล มีหลายชื่อตามมุมมองของปรากฏการณ์หรืออวตาร ไปสู่สิ่ง หนึ่งสิ่งใดในปรากฏการณ์ตามธรรมชาติของสิ่งนั้น แต่ศูนย์รวมพลังหรือเทพผู้ยิ่งใหญ่สุดคือ เทพศิวะ ซึ่งในการ ฟ้อนร านั้นจะต้องประกอบด้วยกรณะขององคหาระ ค าว่า กรณะ หมายถึง ร าแม่ท่า ส่วนค าว่า องคหาระ หมายถึง การร ารวมแม่ท่าต่าง ๆ หรือเรียกว่า ร าชุด หมายถึงการร าที่เป็นประโยค โดยพระอิศวรเป็นผู้อธิบาย ว่า ประโยคของการฟ้อนร า หรือประโยคขององคหาระ ว่าประกอบไปด้วยการร าแม่ท่าต่าง ๆ เพราะองคหาระ หรือ ประโยคของท่าร านั้น จะส าเร็จลงได้ต้องอาศัยกรณะหรือแม่ท่านั้นเอง (แสง มนวิทูร, ผู้แปล. 2541: 113) การรักษาจุดสมดุลของร่างกาย ความส าคัญประการแรกที่นาฏยศิลปินต้องให้ความสนใจในการฝึกฝนร่างกาย ของตนเองคือการ เคลื่อนไหวร่างกายในลักษณะต่าง ๆ เช่น การเดิน ยืน หัน กระโดดหรือ ล้มตัวลงสู่พื้นด้วยความสมดุล ซึ่งหาก เรากล่าวถึงการรักษาแนวของล าตัวเพื่อการค้นหา จุดสมดุลของร่างกายในลักษณะตั้งตรงนั้นเราสามารถ จินตนาการได้ด้วยการลากเส้น ผ่านตั้งแต่บริเวณด้านหลังหูผ่านจุดศูนย์กลางของร่างกายผ่านบริเวณไหล่ และ สะโพก จนถึงบริเวณด้านหน้าของข้อเท้าและเท้าโดยพยายามรักษาน้ าหนักให้ตกกระจายอยู่บน ฝ่าเท้าทั้งสอง
20 ข้างเท่า ๆ กัน ไม่กลิ้งฝ่าเท้าไปมาก็จะท าให้การจัดระเบียบร่างกายต่าง ๆ เกิดการรวมจุดสมดุลในการร่ายร า หรือเต้นร า แต่ในบางวัฒนธรรมอาจมีการจัดแนวของ ล าตัวในลักษณะอื่น ๆ ที่มีต าแหน่งจุดสมดุลของร่างกาย ที่แตกต่างกันออกไป เช่น การแอ่นอก ตึงหลัง ตึงสะโพก ของนาฏศิลป์ไทย หรือนาฏศิลป์บาหลีเป็นต้น ความ ยืดหยุ่นของร่างกายเป็นคุณสมบัติประการหนึ่งที่นาฏศิลป์ได้รับการฝึกฝนร่างกาย ตั้งแต่ยังเยาว์เพื่อให้ กล้ามเนื้อในส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเกิดความอ่อนตัวแต่เงื่อนไขที่ ส่งผลต่อการพัฒนาความยืดหยุ่นของ ร่างกายคนเราในทางนาฏศิลป์ประกอบด้วย อายุ วิธีการฝึกฝนร่างกาย การดูแลรักษาความสมบูรณ์ ของ ร่างกาย เมื่อร่างกายมีความสามารถในการยืดหยุ่นมากขึ้นก็จะส่งผลดีให้เราสามารถลดอาการบาดเจ็บจาก กรณีกล้ามเนื้อฉีกขาด และอาการบาดเจ็บอื่น ๆ ทั่วไปได้ (ศิริมงคล นาฏยกุล: 2551) องค์ประกอบที่ส าคัญของนาฏยลักษณ์ และทฤษฎีการวิเคราะห์การเคลื่อนไหว ร่างกายของลาบาน (Laban Movement Analysis) คุณลักษณะของอวัยวะเชิงกายภาพ ในด้านลักษณะรูปร่างหน้าตา และการ จัดการกับอวัยวะให้แขนอ่อน นิ้วอ่อน ทิศทางที่ใช้ในการร ามี 16 ทิศทางจ าแนกเป็น 3 ระดับได้แก่ ระดังสูง คือศีรษะ ระดังกลางคือไหล่ และระดับต่ าคือหน้าท้อง ต าแหน่งของแขนที่อยู่ข้างหลังมีเพียงระดับเดียวคือ ระดับต่ า มิติของนาฏลักษณ์อยู่ที่การจัดวางเท้าเฉียงออกด้านข้าง ท าให้เกิดเป็นเหลี่ยมมุมเมื่อย่อ เข่าลง อีกทั้ง ต้องหมุนแขนส่วนล่างเข้าหาตัวและออกจากตัวให้มากที่สุด เพื่อให้เห็นความ โค้งของแขนอันเป็นรูปร่างและ รูปทรงของท่าร าที่มีความภูมฐาน สง่างาม กล้ามเนื้อส าคัญ ที่ใช้คือกล้ามเนื้อเกลียวข้างและเกลียวหลัง ในด้าน ของโครงสร้างของนาฏลักษณ์พบว่า ลักษณะของมือมี 3 แบบคือ มือแบ มือจีบ และมือล่อแก้ว ท าท่าร าที่ เรียกว่าแม่ท่ามี88 ท่า และท่าร ามี 7 ท่า หลักของการเคลื่อนไหวอวัยวะประกอบด้วยการรับน้ าหนักตัว หลักการหมุนกิ่งของร่างกาย ซึ่งพบว่าท่าทางของศีรษะ และล าตัวส่วนบนกับท่าทางของ ขาและเท้าไม่ผูกพัน กับท่าทางของแขน และมือ แต่จะช่วยสร้างความสมดุลของร่างกายในการร าและเป็นส่วนประกอบในการวาง ต าแหน่งท่าทางเชิงทัศนศิลป์ ในด้านไวยากรณ์ของยาฏลักษณ์พบว่าท่าร าประกอบด้วยหน่วยท่าเต้น 49 หน่วย หน่วยท่าต่อ 5 หน่วย และหน่วยท่าตกแต่ง 21 หน่วย การประสมท่าร าเกิดจากการประสมกันของ หน่วยท่าทาง ทั้งสามที่เรียกว่า ท่าต้น ท่าต่อ และท่าตาม ซึ่งท่าตามนั้นจะท าหน้าที่เป็นท่าต้นในกับท่าร าต่อไป ลักษณะของการประสมท่าร าจึงสอดคล้องเกี่ยวพันกันเสมือนลูกโซ่จนจบเพลงร า (ชมนาด กิจขันธ์: 2547) การเคลื่อนไหวร่างกายในทางนาฏศิลป์การเคลื่อนไหวและจังหวะเกิดขึ้นพร้อม ๆ กับที่มนุษย์ได้ก่อ ก าเนิดขึ้นในโลก เพราะมนุษย์เรานั้นมีความเกี่ยวพันกับจังหวะอยู่ตลอดเวลา (Bridgewater and Kurtz 1963: 1443) การเคลื่อนไหวจังหวะที่เกี่ยวพันกับมนุษย์ เกิดขึ้นได้ทั้งภายนอก และ ภายในร่างกาย เช่น การ เคลื่อนไหวที่เกิดจากธรรมชาติ ได้แก่ การขึ้นลงของกระแสน้ า ลมพัด การเปลี่ยนแปลงฤดูกาล กลางวัน กลางคืน การเคลื่อนไหวเหล่านี้เกิดขึ้นโดยไม่ สามารถยับยั้งให้หยุดลงได้ล้วนเป็นไปตามจังหวะนั้น และการ เคลื่อนไหวที่เกิดจาก กิจกรรมประจ าวันของมนุษย์ซึ่งต้องการทักษะและกลไกในการท างาน เช่น การกิน การ เล่น การหมุนตัว การขว้าง เป็นต้น การเคลื่อนไหวเหล่านี้ล้วนต้องใช้จังหวะ และ การเคลื่อนไหวไปตามจังหวะ ทั้งสิ้น ส่วนการเคลื่อนไหวที่เกิดจากภายในตัวเองของมนุษย์คือ กระบวนการทางร่างกายและจิตใจ เช่น การ เต้นของหัวใจ การท างานของปอด การได้ยิน การมองเห็น เป็นต้น การเคลื่อนไหวเหล่านี้เป็นการเคลื่อนไหว และจังหวะที่ ร่างกาย และจิตใจมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม เป็นการเคลื่อนไหวที่จ าเป็น และ ส าคัญ ต่อชีวิตและเป็นจุดเริ่มต้นของการเคลื่อนไหวแบบท่าทาง (Harris: 1961, อ้างใน...) ก่อนที่จะมีพัฒนาการมาถึง
21 การสื่อสารทางวาจา มนุษย์มีวิธีติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน โดยการเต้นร ามนุษย์ให้การเคลื่อนไหวร่างกายแทน ภาษาเพื่อสื่อสารความหมายเพื่อแสดง ความรู้สึกนึกคิด และแสดงความหมายต่าง ๆ (Waterman, 1962: 47) การแปรรูปแถว ในการแสดงประเภทระบ าจะเป็นการแปรแถวในลักษณะต่างๆโดยเน้นความสมดุลของเวทีให้มีการ เคลื่อนไหวแปรแถวในรูปแบบต่างๆ โดยใช้เนื้อที่ต่างๆ ของเวทีให้เกิดความสวยงามสร้างความประทับใจแก่ ผู้ชม ซึ่งลักษณะการแปรแถวของนาฏศิลป์ไทยมีหลากหลายรูปแบบ เช่น แปรแถวเป็นรูปปากพนัง แปรเป็นแถว ตอน แปรแถวเป็นรูปวงกลม แปรแถวเฉียงแปรแถวหน้ากระดาน แปรแถวเป็นรูปสามเหลี่ยม เป็นต้น ซึ่งการ แปรแถวดังกล่าวนั้นขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของผู้ออกแบบท่าร า (สุดใจ ทศพร และคณะ. 2547 : 142) การแสดงนาฏศิลป์ไทยสมัยโบราณไม่นิยมแปรแถวให้หลากหลายเหมือนในปัจจุบันนิยม มักจะนิยม แถวตรง แถวเรียงหน้ากระดาน หรือแถวตอนคู่ หรือลักษณะวงกลม โดยประดิษฐ์ท่าร าให้เหมือนกัน ปัจจุบัน ได้รับอิทธิพลการแสดงของต่างประเทศ จึงน ามาประดิษฐ์ท่าร าของนาฏศิลป์ไทยให้มีการแปรแถว ตั้งซุ้ม ซึ่งผู้ ประดิษฐ์ท่าร าจะต้องค านึงถึงความกลมกลืนเป็นหลักด้วย (สุมนมาลย์ นิ่มเนติพันธ์ และสุมนรตี นิ่มเนติ พันธ์. ม.ป.ป. : 51) จุดประสงค์ในการแปรรูปแถวส าหรับการแสดงหมู่ เพื่อมิให้ผู้ชมเบื่อหน่าย ให้มีการเคลื่อนไหวบ้าง จะได้เห็นลีลา การเคลื่อนไหวที่งดงามแปลกตา มีหลักที่ควรค านึงดังนี้ 1. ถ้าเครื่องแต่งกายหลากสี การแปรรูปแถวควรค านึงถึงสีเครื่องแต่งกายให้เหมาะสม กลมกลืน กันอย่างสวยงามเป็นระเบียบ 2. การแปรรูปแถวไม่ควรแปรถี่จนเกินไป ท าให้ผู้ชมไม่ทันได้เห็น 3. ถ้าผู้แสดงมีสีผิวต่างกัน ควรหลีกเลี่ยงการแปรรูปแถวที่แยกคนต่างผิวให้ห่างกัน อย่าให้มา ชิดกัน 4. ถ้าผู้แสดงมีรูปร่างต่างกัน ในด้านความสูง ควรหลีกเลี่ยงรูปแถวที่เป็นวงกลม 5. ถ้าผู้แสดงฝีมือต่างกันจนเห็นได้ชัด ควรจัดแยกให้ห่างกัน หรือเปลี่ยนลีลาให้ถืออุปกรณ์การ แสดง เช่น ช่อดอกไม้ เป็นต้น 6. การแปรแถวให้งดงามแปลกตา ขึ้นอยู่กับความรู้ความสามารถของผู้ประดิษฐ์ท่าร านั่นเอง 4.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง อาจารย์ปาริชาติ หนูบุญ (2562) ท าวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การจัดการเรียนรู้แบบสาธิตเพื่อ พัฒนาทักษะการปฏิบัติท่าร ามือและเท้าให้ถูกต้องตามแบบแผนท่าร านาฏศิลป์ไทย ของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวส.) วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาทักษะนาฏศิลป์ไทยของนักศึกษา ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยี อรรถวิทย์พณิชยการ ให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์ และเพื่อศึกษาความพึง พอใจต่อการจัดเรียนการสอนโดย วิธีการสอนแบบสาธิตด้านนาฏศิลป์ไทย เรื่อง ร าวงมาตรฐาน ของ นักศึกษาระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ กลุ่ม
22 ตัวอย่าง คือ นักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พาณิชยการ ทั้งระดับชั้น ปวส. ในภาคเรียนที่ 1- 2 ปีการศึกษา 2562 จ านวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถาม ความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ค่า t – test Dependent ผลการวิจัยพบว่า 1. จากการจัดการเรียนรู้แบบสาธิตเพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติท่าร ามือและเท้าให้ถูกต้อง ตามแบบแผนท่าร านาฏศิลป์ไทย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนหลังเรียนสูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงว่า การจัดการเรียนรู้แบบสาธิตท าให้นักศึกษามีพัฒนา ทักษะการปฏิบัติท่าร ามือและเท้าให้ถูกต้องตามแบบแผนท่าร านาฏศิลป์ไทย โดยคะแนนหลังเรียน สูง กว่าคะแนนก่อนเรียน 2. ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบสาธิต โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณา ราย ข้อพบว่า ประเด็น การเรียนโดยวิธีการสอนแบบสาธิตท าให้มีความสนุกสนานต่อการเรียนรู้อยู่ ระดับ มากที่สุด รองลงมา การเรียนโดยวิธีการสอนแบบสาธิตเป็นวิธีการที่มีความเหมาะสม อยู่ใน ระดับมาก ที่สุด และข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ าสุด คือ การเรียนโดยวิธีการสอนแบบสาธิตช่วยให้เข้าใจ เนื้อหาของ บทเรียนมากขึ้น ศลิษา ชุ่มวารี (2552) ได้ศึกษาการจัดการเรียนรูปแบบสาธิตเพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติท่า ร ามือและเท้าให้ถูกต้องตามแบบแผนท่าร านาฏศิลป์ไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลการพัฒนา ทักษะการปฏิบัติท่าร ามือและเท้าให้ถูกต้องตามแบบแผนท่าร านาฏศิลป์ไทย โดยใช้การปฏิบัติ เลียนแบบจากการสาธิตท่าราที่ถูกต้องและการฝึกซ้ าๆ ของนักเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ครั้ง นี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย เชียงใหม่ ปีการศึกษา 2552 จ านวน 12คน ซึ่งมีความสามารถทักษะด้านการปฏิบัติท่าร ามือและเท้าให้ถูกต้องตามแบบ แผนท่าร า นาฏศิลป์ไทยได้ต่ ากว่าเกณฑ์ การเก็บรวบรวมข้อมูลแบบประเมินการปฏิบัติท่าทางการร า ของ นักเรียน บันทึกค่าคะแนนก่อนและหลังการทดลอง โดยผู้วิจัยเลือกเพลงจ านวน 2 เพลง คือ ฟ้อนหริ ภุญชัย (ก่อนการทดลอง) และฟ้อนล้านนาไทย (หลังการทดลอง) ส่วนระหว่างการทดลอง ผู้วิจัยได้ใช้ ท่าทางการสาธิตให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติ คือ ท่าร าเบื้องต้นพื้นฐานนาฏศิลป์ไทย (นาฏยศัพท์) ทั้งมือ และเท้า และน าแบบประเมินมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยการให้คะแนนตามความ พัฒนาของนักเรียนจาก ก่อนการทดลองไปหลังการทดลอง และน าเสนอในรูปแบบตาราง , ความ เรียง ,แผนภูมิแท่งและ กราฟเส้นแสดงพัฒนาของผู้เรียน สรุปผลวิจัยดังนี้ 1. ก่อนการทดลองนักเรียนมีคะแนนทักษะการปฏิบัติท่าร ามือและเท้าให้ถูกต้องตามแบบ แผนท่าร านาฏศิลป์ไทยได้ต่ ากว่าเกณฑ์ คือ ต่ ากว่า 10คะแนน (คะแนนเต็ม 20คะแนน) 2. หลังการทดลองนักเรียนมีคะแนนทักษะการปฏิบัติท่าร ามือและเท้าให้ถูกต้องตามแบบ แผนท่าร านาฏศิลป์ไทยได้มากกว่าเกณฑ์ คือ มากกว่า 10คะแนน
23 3. นักเรียนมีค่าร้อยละความก้าวหน้านักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยรวมความก้าวหน้าเพิ่มขึ้น เท่ากับ 7.92คิดเป็นร้อยละ 39.58 แสดงให้เห็นว่าการการจัดการเรียนรู้แบบสาธิตเพื่อพัฒนาทักษะ การปฏิบัติท่าร ามือและเท้า ให้ถูกต้องตามแบบแผนท่าร านาฏศิลป์ไทย สามารถช่วยให้นักเรียนปฏิบัติ ท่าร าได้ถูกต้อง สวยงาม อ่อนช้อยตามแบบแผนการร่ายร านาฏศิลป์ไทย อาทิตยาพันธ์ เสถียร และ จุมพล ราชวิจิตร(2557)การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยรูปแบบการ สอนแบบสาธิตกลุมสาระการเรียนรูศิลปะสาระนาฏศิลปเรื่องฟอนขอขมาโขงวารีมหานทีฮีตอีสานของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่6 เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์และทักษะการปฏิบัติทาร าจากการจัดกิจกรรมการ เรียนรูโดยรูปแบบการสอนแบบสาธิตกลุมสาระการเรียนรูศิลปะสาระนาฏศิลปเรื่องฟอนขอขมาโขง วารีมหานทีฮีตอีสานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่6โรงเรียนหนองซนพิทยาคมกลุมเปาหมายที่ใชใน การวิจัยในครั้งนี้ไดแกนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนหนองซนพิทยาคมจังหวัดนครพนม จ านวน8คนไดมาดวยการเลือกแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใชในการวิจัยผลการจัดกิจกรรมไดแกแผนการ จัดการเรียนรูโดยใชรูปแบบการการสอนแบบสาธิตจ านวน 6 แผนแบบทดสอบวัดความรูทางการเรียน จ านวน 30 ขอดานทักษะการปฏิบัติทาร าโดยใชแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสถิติที่ใชในการวิ เคราะหขอมูลไดแกรอยละคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการศึกษาพบวานักเรียนมีคะแนน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยรอยละ 83.33 สวนดานทักษะการปฏิบัติทาร ามีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 77.08 ซึ่งผานเกณฑรอยละ 70 จากการท าวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการแก้ไขปัญหาที่ผู้เรียนที่ไม่สามารถปฏิบัติท่าทางการ เคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา๙๒(ชุมชนนาข่า) จ านวน 5 คน ได้ศึกษา ข้อมูลจากทฤษฎีวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้วิธีการสอนแบบสาธิต ซึ่งงานวิจัยฉบับนี้ได้ใช้ ทฤษฎีการสอน แบบสาธิตในการแก้ไขปัญหา ท าให้งานวิจัยมีความสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพมาก ขึ้น
24 บทที่3 วิธีด าเนินการวิจัย วิธีด าเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุและแก้ไขปัญหาผู้เรียนที่เคลื่อนไหว ร่างกายไม่ตรงจังหวะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา๙๒(ชุมชนนาข่า) จ านวน 5 คน ด้วยวิธีการสอนแบบสาธิตในรายวิชานาฏศิลป์ไทย โดยมีขั้นตอนในการศึกษาดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3. ขั้นตอนในการวิจัย 4. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 5. วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล 1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ไดแก นักเรียนโรงเรียนไทยรัฐวิทยา๙๒(ชุมชนนาข่า) ทั้งระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2566 จ านวน 20 คน กลุมตัวอยาง คือ ที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ไดแก นักเรียนโรงเรียนไทยรัฐวิทยา๙๒(ชุมชนนาข่า) ทั้ง ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2566 จ านวน 5 คน ระยะเวลาในการท าวิจัยระหวาง เดือน กันยายน 2566 – เดือน กุมภาพันธ์2567 2.เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 2.1 เครื่องมือ - แบบสัมภาษณ์ - แบบสังเกตพฤติกรรม 2.2 วิธีการสร้างเครื่องมือ 1. ศึกษาเอกสาร/งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. ร่างแบบสังเกตพฤติกรรม 3. ทดลองใช้กับกลุ่มที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง (Try Out) 4. ปรับปรุง/แก้ไขอีกครั้ง 5. น าไปใช้เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
25 3. ขั้นตอนในการวิจัย ระยะที่ 1 การศึกษาสาเหตุ ขั้นตอนที่ 1 ผู้วิจัยสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนพบว่า ผู้เรียนเคลื่อนไหวร่างกายไม่ตรงจังหวะ จ านวน 5 คน ขั้นตอนที่ 2 ผู้วิจัยสัมภาษณ์ผู้เรียนเพื่อศึกษาสาเหตุของปัญหาที่ผู้เรียนเคลื่อนไหวร่างกายไม่ ตรงจังหวะ ขั้นตอนที่ 3 ผู้วิจัยสรุปสาเหตุและวางแผนการสอนแบบสาธิตภายในชั้นเรียน ระยะที่ 2 การน าแผนไปใช้และติดตามผล ขั้นตอนที่ 1 ด าเนินการตามแผนการสอนแบบสาธิต ขั้นตอนที่ 2 ติดตามผลของการด าเนินการโดยใช้แบบสังเกตพบว่า ผู้เรียนเริ่มปฏิบัติได้ดีขึ้น ขั้นตอนที่ 3 มีการปรับเปลี่ยนแผนเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะได้ มาก ยิ่งขึ้นโดยการใช้การฝึกซ้อมเพิ่มเติมหลังเลิกเรียน ระยะที่3 การน าแผนที่ปรับปรุงไปและติดตามผล ขั้นตอนที่ 1 ด าเนินการตามแผนการสอนแบบสาธิต ขั้นตอนที่ 2 ติดตามผลของการด าเนินการโดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมพบว่า ผู้เรียนสามารถ เคลื่อนไหวร่างกายตรงจังหวะได้ดียิ่งขึ้น ขั้นตอนที่ 3 มีการปรับเปลี่ยนแผนเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะมาก ยิ่งขึ้นโดยการใช้การฝึกซ้อมเพิ่มเติมหลังเลิกเรียนแต่ลดเวลาการสอนเพิ่มเติมให้น้อยลง 4. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองในขณะท าการเรียนการสอนปกติ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ด าเนินการสัมภาษณ์ เพื่อศึกษาสาเหตุของปัญหาโดยใช้แบบสัมภาษณ์ 2. ด าเนินการติดตามผลการใช้กระบวนการสอนแบบสาธิตเพื่อแก้ปัญหาผู้เรียนเคลื่อนไหว ร่างกายไม่ตรงจังหวะโดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรม 3. ด าเนินการติดตามผลการใช้กระบวนการฝึกซ้อมเพิ่มเติมหลังเลิกเรียนเพื่อแก้ปัญหาผู้เรียน เคลื่อนไหว ร่างกายไม่ตรงจังหวะในระยะที่ 2โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรม
26 5. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ท าการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้แบบสัมภาษณ์และการสังเกตพฤติกรรมกับกลุ่มเป้าหมาย จากนั้นใช้สถิติพื้นฐานในส่วนข้อมูลพื้นฐาน เช่น จ านวน,ร้อยละ และมีการเปรียบเทียบผลพฤติกรรมก่อนท า กิจกรรมและหลังท ากิจกรรม โดยใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล แบบสังเกตพฤติกรรม การเคลื่อนไหวร่างกายของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หมายเหตุ ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ดีมาก ระดับคุณภาพ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับคุณภาพ 1 หมายถึง ปรับปรุง การเคลื่อนไหวร่างกาย การประเมิน นักเรียนคนที่ 1 นักเรียนคน ที่2 นักเรียนคนที่ 3 นักเรียนคนที่ 4 นักเรียนคนที่ 5 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1. มีความมุ่งมั่น ตั้งใจ 2. จ าท่าเคลื่อนไหว ได้ อย่างแม่นย า 3. ปฏิบัติท่าเคลื่อนไหว ได้ตรงจังหวะ 4. ปฏิบัติท่าเคลื่อนไหว ได้ถูกต้อง 5. ปฏิบัติท่าเคลื่อนไหว ได้สวยงาม รวม ค่าเฉลี่ยร้อยละ
27 แบบสัมภาษณ์ทัศนคติต่อวิชานาฏศิลป์ 1. นักเรียนชื่นชอบวิชานาฏศิลป์หรือไม่ เพราะเหตุใด 2. นักเรียนคิดว่า สาเหตุที่นักเรียนไม่สามารถปฏิบัติท่าทางเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะ เกิดจาก สาเหตุใด 3. ครูผู้สอนส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนหรือไม่ เช่น รู้สึกกลัวครูผู้สอน 4. นักเรียนคิดว่าท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายตามจังหวะ ท่าใดยากที่สุด เพราะเหตุใด 5. นักเรียนมีวิธีพัฒนาตนเองในการปฏิบัติท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังหวะอย่างไร สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ขอมูลทางสถิติเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโดยการจัดการ เรียนรูแบบสาธิตในปการศึกษา 2566 ดังนี้ 1. ค่าเฉลี่ย (Mean) ของคะแนนของนักเรียน โดยใช้สูตร เมื่อ
28 บทที่4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยต้องการแก้ปัญหาผู้เรียนที่เคลื่อนไหวร่างกายไม่ตรงจังหวะ โดยใช้วิธีการสอน แบบสาธิต ของนักเรียนที่เคลื่อนไหวร่างกายไม่ตรงจังหวะมีผลต่อการพัฒนาทักษะการปฏิบัติท่าร าของ นักเรียน ผู้วิจัยได้ท าการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์และแบบสังเกตพฤติกรรม ได้ผลวิเคราะห์ข้อมูลตามหลักการทาง สถิติผลวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ 1. การสัมภาษณ์ จากการสัมภาษณ์ทัศนคติต่อวิชานาฏศิลป์ของผู้เรียนจ านวน 5 คน พบว่านักเรียนจ านวน 4 คน มี ความรู้สึกชอบ สนุกต่อการเรียน ครูผู้สอนใจดีและสอนเข้าใจง่าย มีนักเรียนไม่ชอบวิชานาฏศิลป์ 1 คนผู้วิจัยได้ ทราบสาเหตุที่ ผู้เรียนปฏิบัติท่าเคลื่อนไหวได้ไม่ตรงจังหวะนั้น เนื่องมาจากผู้เรียนไม่ได้มีการทบทวนนอกเวลา เรียน ไม่ตั้งใจฟังขณะครูผู้สอนอธิบายวิธีปฏิบัติและฟังจังหวะไม่ออก ท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายตามจังหวะ มี 3 ท่า คือ ท่าจีบ ท่าตั้งวง และท่าย่ าเท้า นักเรียน จ านวน 4 คนให้ความเห็นว่าท่าที่ยากที่สุดคือท่าย่ าเท้า เพราะนักเรียน จับจังหวะไม่ได้ รองลงมาคือ ท่าถองสะเอวเนื่องจากต้องเคลื่อนไหวร่างกายหลายส่วนไป พร้อมๆกัน และนักเรียนส่วนใหญ่จะมีวิธีพัฒนาตนเองด้วยการถามครูผู้วิจัยจึงเล็งเห็นว่าควรใช้วิธีแก้ปัญหา โดยวิธีการสอนแบบสาธิต เป็นวิธีที่เหมาะสมที่สุด โดยใช้เวลาว่างหลังเลิกเรียนในการฝึกฝนและมีครูเป็นผู้น า ในการสาธิต แบบสัมภาษณ์ทัศนคติต่อวิชานาฏศิลป์ นักเรียนคนที่ 1 1. นักเรียนชื่นชอบวิชานาฏศิลป์หรือไม่ เพราะเหตุใด : รู้สึกชอบ เพราะชอบ 2. นักเรียนคิดว่า สาเหตุที่นักเรียนไม่สามารถปฏิบัติท่าทางเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะเกิดจากสาเหตุใด : ฟังจังหวะไม่ออก จับจังหวะไม่ได้ และคุยกับเพื่อนในขณะที่ครูสอน 3. ครูผู้สอนส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนหรือไม่ เช่น รู้สึกกลัวครูผู้สอน : ไม่รู้สึกกลัว เพราะครูใจดีเข้าถึงง่าย 4. นักเรียนคิดว่าท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังหวะ ท่าใดยากที่สุด เพราะเหตุใด : ท่าย่ าเท้า เพราะรู้สึกว่าท าแล้วไม่ตรงจังหวะ 5. นักเรียนมีวิธีพัฒนาตนเองในการปฏิบัติท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังหวะอย่างไร : ดูครูเป็นตัวอย่างแล้วตั้งใจปฏิบัติตามที่ครูสอน แบบสัมภาษณ์ทัศนคติต่อวิชานาฏ
29 แบบสัมภาษณ์ทัศนคติต่อวิชานาฏศิลป์ นักเรียนคนที่ 2 1. นักเรียนชื่นชอบวิชานาฏศิลป์หรือไม่ เพราะเหตุใด : รู้สึกชอบ เพราะสนุก 2. นักเรียนคิดว่า สาเหตุที่นักเรียนไม่สามารถปฏิบัติท่าทางเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะเกิดจากสาเหตุใด : ฟังจังหวะไม่ออก และไม่ได้ฟังที่ครูสอน 3. ครูผู้สอนส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนหรือไม่ เช่น รู้สึกกลัวครูผู้สอน : ไม่มีผล ไม่มีความรู้สึกกลัวหรืออายเพราะครูผู้สอนใจดี 4. นักเรียนคิดว่าท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังหวะ ท่าใดยากที่สุด เพราะเหตุใด : ท่าย่ า เพราะไม่สามารถปฏิบัติให้ตรงจังหวะได้ 5. นักเรียนมีวิธีพัฒนาตนเองในการปฏิบัติท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังหวะอย่างไร : ฝึกฝนบ่อยๆ และจะพยายามตั้งใจฟังที่ครูสอน แบบสัมภาษณ์ทัศนคติต่อวิชานาฏศิลป์ นักเรียนคนที่ 3 1. นักเรียนชื่นชอบวิชานาฏศิลป์หรือไม่ เพราะเหตุใด : ชอบ เพราะ รู้สึกว่าไม่เครียดและสนุก 2. นักเรียนคิดว่า สาเหตุที่นักเรียนไม่สามารถปฏิบัติท่าทางเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะเกิดจากสาเหตุใด : ไม่ตั้งใจฟังขณะที่ครูสอน และไม่ได้ฝึกซ้อม จับจังหวะไม่ได้ 3. ครูผู้สอนส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนหรือไม่ เช่น รู้สึกกลัวครูผู้สอน : ไม่ เพราะครูใจดี 4. นักเรียนคิดว่าท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังหวะ ท่าใดยากที่สุด เพราะเหตุใด : ท่าตั้งวง เพราะคิดว่ายากในการวัดระดับวง เนื่องจากต้องเคลื่อนไหวร่างกายหลายส่วนพร้อมๆกัน 5. นักเรียนมีวิธีพัฒนาตนเองในการปฏิบัติท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังหวะอย่างไร : ฝึกฝนบ่อยๆด้วยตนเองและสอบถามครู
30 แบบสัมภาษณ์ทัศนคติต่อวิชานาฏศิลป์ นักเรียนคนที่ 4 1. นักเรียนชื่นชอบวิชานาฏศิลป์หรือไม่ เพราะเหตุใด : ไม่ชอบ เพราะคิดว่าตนเองท าไม่ได้ 2. นักเรียนคิดว่า สาเหตุที่นักเรียนไม่สามารถปฏิบัติท่าทางเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะเกิดจากสาเหตุใด : ขาดการทบทวนและการฝึกซ้อม 3. ครูผู้สอนส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนหรือไม่ เช่น รู้สึกกลัวครูผู้สอน : ไม่ส่งผล 4. นักเรียนคิดว่าท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังหวะ ท่าใดยากที่สุด เพราะเหตุใด : ท่าจีบ เพราะคิดว่ายาก เนื่องจากต้องใช้ร่างกายหลายส่วนเคลื่อนไหวพร้อมๆกัน 5. นักเรียนมีวิธีพัฒนาตนเองในการปฏิบัติท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังหวะอย่างไร : ฝึกซ้อมบ่อยๆและถามเพื่อน แบบสัมภาษณ์ทัศนคติต่อวิชานาฏศิลป์ นักเรียนคนที่ 5 1. นักเรียนชื่นชอบวิชานาฏศิลป์หรือไม่ เพราะเหตุใด : ชอบ เพราะ ครูผู้สอนใจดี เรียนแล้วไม่เครียด 2. นักเรียนคิดว่า สาเหตุที่นักเรียนไม่สามารถปฏิบัติท่าทางเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะเกิดจากสาเหตุใด : จับจังหวะไม่ได้ และไม่ได้ตั้งใจฟังครูผู้สอน 3. ครูผู้สอนส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนหรือไม่ เช่น รู้สึกกลัวครูผู้สอน : ไม่กลัวครู เพราะครูเป็นกันเองใจดี 4. นักเรียนคิดว่าท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังหวะ ท่าใดยากที่สุด เพราะเหตุใด : ท่าย่ าเท้า เนื่องจากจับจังหวะไม่ได้ 5. นักเรียนมีวิธีพัฒนาตนเองในการปฏิบัติท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังหวะอย่างไร : ฝึกซ้อมในเวลาว่าง และสอบถามเพื่อน
31 2. การสังเกตพฤติกรรม จากการสังเกตพฤติกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังหวะของผู้เรียน จ านวน 5 คน พบว่า ผู้เรียนมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติท่าร าในทางที่ดีขึ้น ดังตารางต่อไปนี้ แบบสังเกตพฤติกรรม(ครั้งที่1) การปฏิบัติท่าเคลื่อนไหวประกอบจังหวะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4 ตารางที่ 1 ผลการติดตามทักษะการปฏิบัติท่าร าของผู้เรียน หมายเหตุ ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ดีมาก ระดับคุณภาพ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับคุณภาพ 1 หมายถึง ปรับปรุง การเคลื่อนไหวร่างกาย การประเมิน นักเรียนคนที่ 1 นักเรียนคน ที่2 นักเรียนคนที่ 3 นักเรียนคนที่ 4 นักเรียนคนที่ 5 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1. มีความมุ่งมั่น ตั้งใจ 2. จ าท่าเคลื่อนไหว ได้ อย่างแม่นย า 3. ปฏิบัติท่าเคลื่อนไหว ได้ตรงจังหวะ 4. ปฏิบัติท่าเคลื่อนไหว ได้ถูกต้อง 5. ปฏิบัติท่าเคลื่อนไหว ได้สวยงาม รวม 7 6 8 6 6 ค่าเฉลี่ยร้อยละ 47 40 53 40 40
32 จากตารางที่ 1 ผลการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติท่าร าของผู้เรียนพบว่าผู้เรียนยังปฏิบัติท่าร าไม่ ถูกต้องและสวยงาม แต่สามารถร าตรงจังหวะของเพลงได้ดังนี้ นักเรียนที่มีความมุ่งมั่นตั้งใจมากที่สุดอยู่ใน ระดับที่ 2 จ านวน 2คน คือ นักเรียนคนที่ 1 และนักเรียนคนที่ 3 และ นักเรียนที่อยู่ในระดับที่ 1 จ านวน 3 คน คือ นักเรียนคนที่ 2 นักเรียนคนที่ 4 และนักเรียนคนที่ 5 นักเรียนที่จ าท่าร าได้แม่นย ามากที่สุด อยู่ในระดับที่ 2 จ านวน 2 คน คือ นักเรียนคนที่ 2 และนักเรียนคนที่ 3 นักเรียนที่จ าท่าร าได้แม่นย าอยู่ในระดับที่ 1 จ านวน 3 คน คือ นักเรียนคนที่2 นักเรียนคนที่ 4 และนักเรียนคนที่ 5 นักเรียนที่ร าตรงจังหวะมากที่สุดอยู่ในระดับที่ 2 จ านวน4 คน คือ นักเรียนคนที่ 2 นักเรียนคนที่ 3 นักเรียนคนที่ 4 และนักเรียนคนที่ 5 นักเรียนที่ปฏิบัติท่าร า ได้ถูกต้องมาก ที่สุดอยู่ในระดับที่ 1 จ านวน 5 คน และนักเรียนที่ปฏิบัติท่าร าได้สวยงามมากที่สุดอยู่ในระดับที่ 1 จ านวน 5 คน แบบสังเกตพฤติกรรม(ครั้งที่2) การปฏิบัติท่าเคลื่อนไหวประกอบจังหวะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4 ตารางที่ 2 ผลการติดตามทักษะการปฏิบัติท่าร าของผู้เรียนภายหลังการแก้ไขครั้งที่ 1 หมายเหตุ ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ดีมาก ระดับคุณภาพ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับคุณภาพ 1 หมายถึง ปรับปรุง การเคลื่อนไหวร่างกาย การประเมิน นักเรียนคนที่ 1 นักเรียนคน ที่2 นักเรียนคนที่ 3 นักเรียนคนที่ 4 นักเรียนคนที่ 5 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1. มีความมุ่งมั่น ตั้งใจ 2. จ าท่าเคลื่อนไหว ได้ อย่างแม่นย า 3. ปฏิบัติท่าเคลื่อนไหว ได้ตรงจังหวะ 4. ปฏิบัติท่าเคลื่อนไหว ได้ถูกต้อง 5. ปฏิบัติท่าเคลื่อนไหว ได้สวยงาม รวม 12 12 12 10 10 ค่าเฉลี่ยร้อยละ 80 80 66 66 66
33 จากตารางที่2ผลการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติท่าร าของผู้เรียนพบว่าหลังจากที่ผู้วิจัยได้ใช้การ สอน แบบสาธิตผู้เรียนเริ่มปฏิบัติท่าร าได้ถูกต้องและสวยงามมากขึ้นนักเรียนที่มีความมุ่งมั่นตั้งใจมาก ที่สุด อยู่ใน ระดับที่ 3 จ านวน 2 คน คือ นักเรียนคนที่ 1 และนักเรียนคนที่ 3 และ นักเรียนที่อยู่ในระดับที่ 2 จ านวน 3 คน คือ นักเรียนคนที่ 2 นักเรียนคนที่ 4 และนักเรียนคนที่ 5 นักเรียนที่จ าท่าร าได้แม่นย ามากที่สุด อยู่ ใน ระดับที่ 3จ านวน 1 คน คือ นักเรียนคนที่ 1 นักเรียนที่จ าท่าร าได้แม่นย าอยู่ในระดับที่ 2 จ านวน 4 คน คือ นักเรียนคนที่2 นักเรียนคนที่ 3 นักเรียนคนที่ 4และนักเรียนคนที่ 5 นักเรียนที่ร าตรงจังหวะมากที่สุดอยู่ใน ระดับที่ 2 จ านวน 5คน นักเรียนที่ปฏิบัติท่าร าได้ถูกต้องมากที่สุดอยู่ในระดับที่ 2 จ านวน 5 คน และนักเรียนที่ ปฏิบัติท่าร า ได้สวยงามมากที่สุดอยู่ในระดับที่ 2จ านวน 5 คน แบบสังเกตพฤติกรรม(ครั้งที่3) การปฏิบัติท่าเคลื่อนไหวประกอบจังหวะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4 ตารางที่ 3 ผลการติดตามทักษะการปฏิบัติท่าร าของผู้เรียนภายหลังการแก้ไขครั้งที่ 2 หมายเหตุ ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ดีมาก ระดับคุณภาพ 2 หมายถึง พอใช้ ระดับคุณภาพ 1 หมายถึง ปรับปรุง การเคลื่อนไหวร่างกาย การประเมิน นักเรียนคนที่ 1 นักเรียนคน ที่2 นักเรียนคนที่ 3 นักเรียนคนที่ 4 นักเรียนคนที่ 5 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1. มีความมุ่งมั่น ตั้งใจ 2. จ าท่าเคลื่อนไหว ได้ อย่างแม่นย า 3. ปฏิบัติท่าเคลื่อนไหว ได้ตรงจังหวะ 4. ปฏิบัติท่าเคลื่อนไหว ได้ถูกต้อง 5. ปฏิบัติท่าเคลื่อนไหว ได้สวยงาม รวม 15 15 15 14 15 ค่าเฉลี่ยร้อยละ 100 100 100 99 100
34 จากตารางที่ 3 ผลการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติท่าร าของผู้เรียนพบว่า หลังจากที่ผู้วิจัยได้ใช้การ ฝึกซ้อมเพิ่มเติมหลังเลิกเรียน ผู้เรียนสามารถปฏิบัติท่าร าได้ถูกต้องและสวยงามมากยิ่งขึ้น รวมไปถึงมีความ มุ่งมั่น ตั้งใจและจดจ าท่าร าได้ดียิ่งขึ้นอีกด้วยนักเรียนที่มีความมุ่งมั่นตั้งใจมากที่สุด อยู่ในระดับที่ 3 จ านวน 5 คน นักเรียนที่จ าท่าร าได้แม่นย ามากที่สุด อยู่ในระดับที่ 3 จ านวน 5 คน นักเรียนที่ร าตรงจังหวะมากที่สุดอยู่ใน ระดับที่ 3 จ านวน 5 คน นักเรียนที่ปฏิบัติท่าร าได้ถูกต้องมากที่สุดอยู่ในระดับที่ 3 จ านวน 5 คน และนักเรียน ที่ปฏิบัติท่า ร าได้สวยงามมากที่สุดอยู่ในระดับที่ 3 จ านวน 4 คนคือ นักเรียนคนที่ 1 นักเรียนคนที่ 2 นักเรียน คนที่ 3 และ นักเรียนคนที่ 5 นักเรียนที่ปฏิบัติท่าร าได้สวยงามในระดับที่ 2 จ านวน 1 คน คือ นักเรียนคนที่ 4 จากแบบสังเกตพฤติกรรมทั้ง 3 ตางรางที่ปรากกฎในข้างต้น สามารถสรุปได้ว่านักเรียนมีพัฒนาการใน การเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะดีขึ้นตามล าดับ
35 บทที่5 สรุป การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การแก้ไขปัญหาผู้เรียนที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๙๒ (ชุมชนนาข่า) จ านวน 5 คน ด้วยวิธีการสอนแบบสาธิต มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุและแก้ไขปัญหาที่ผู้เรียนที่เคลื่อนไหวร่างกายไม่ตรงจังหวะโดยการใช้วิธีการ สอนแบบสาธิต ซึ่งมีการด าเนินการระหว่าง เดือนกันยายน 2566 กุมภาพันธ์2567และจากการวิเคราะห์ ข้อมูลได้ผล ดังน ี้ จากการศึกษาสาเหตุของผู้เรียนที่เคลื่อนไหวร่างกายไม่ตรงจังหวะโดยการสัมภาษณ์พบว่าผู้เรียนนั้น ขาด การฝึกซ้อม การทบทวน และปัญหาที่พบมากที่สุดคือปัญหาการฟังจังหวะไม่ออกหรือไม่สามารถจับ จังหวะได้และไม่ตั้งใจฟังที่ครูสอนจ านวน 4 คน โดยมีนักเรียนจ านวน 4 คน มีความรู้สึกชื่นชอบวิชานาฏศิลป์ เนื่องจากรู้สึกว่าสนุก ไม่เครียด แต่มีนักเรียน เพียง 1 คนเท่านั้นที่รู้สึกไม่ชื่นชอบวิชานาฏศิลป์ เพราะคิดว่า ตนเองท าไม่ได้จึงไม่อยากท า ภายหลังการใช้วิธีการสอนแบบสาธิตเพื่อแก้ไขปัญหาผู้เรียนที่เคลื่อนไหวร่างกายไม่ตรงจังหวะ พบว่า ผู้เรียนเริ่มเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะและสวยงามมากขึ้นปรากฏผลดังนี้ นักเรียนที่มีความมุ่งมั่นตั้งใจ มากที่สุด อยู่ในระดับที่ 3 จ านวน 5 คน นักเรียนที่จ าท่าร าได้แม่นย ามากที่สุด อยู่ในระดับที่ 3 จ านวน 5 คน นักเรียนที่ร าตรงจังหวะมากที่สุดอยู่ในระดับที่ 3 จ านวน 5 คน นักเรียนที่ปฏิบัติท่าร าได้ถูกต้องมากที่สุดอยู่ใน ระดับที่ 3 จ านวน 5 คน และนักเรียนที่ปฏิบัติท่าร าได้สวยงามมากที่สุดอยู่ในระดับที่ 3 จ านวน 4 คนคือ นักเรียน ที่ปฏิบัติท่าร าได้สวยงามในระดับที่ 2 จ านวน 1 คน การอภิปรายผล จากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ พบว่าสาเหตุที่ผู้เรียนเคลื่อนไหวร่างกายไม่ตรงจังหวะ ทั้งนี้เนื่องมาจากขาด การ ฝึกซ้อมและไม่ตั้งใจฟังครูผู้สอนผู้วิจัยได้ด าเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าวดังนี้ การสอนแบบสาธิตซึ่งเป็นการปฏิบัติเลียนแบบการสาธิตจากครูผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสาธิตเป็นการ สาธิตที่ผู้สอนและผู้เรียนมีส่วนร่วมกันในการสาธิต หรือปฏิบัติตามขั้นตอน โดยให้ผู้เรียนออกมาปฏิบัติ หรือ สาธิตวิธีการท างานซึ่งผู้สอนจะคอยให้ค าปรึกษาการสาธิตแบบนี้ผู้เรียนได้เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม พบว่า ผู้เรียน สามารถปฏิบัติท่าร าได้ดีขึ้นน่าจะเป็นเพราะว่า ผู้เรียนได้รับค าแนะน าจากครูผู้สอนซึ่งการเรียนรู้จากครูท าให้ เด็กนั้นกล้าที่จะถามครูในสิ่งที่ยังไม่เข้าใจ นอกจากการสอนแบบสาธิตแล้วผู้วิจัยใช้การฝึกซ้อมเพิ่มเติมหลังเลิกเรียนพบว่าผู้เรียนสามารถ เคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะขึ้นน่าจะเป็นเพราะว่า ผู้เรียนได้มีการฝึกซ้อมเป็นประจ าหลังเลิกเรียน การ ฝึกซ้อมร าเป็นประจ านั้นส าคัญต่อการเรียนวิชานาฏศิลป์เป็นอย่างมาก เพราะท าให้นักเรียนมีความช านาญ มี ความจ าที่แม่นย าและความมั่นใจในท่าร าและจังหวะในการร ามากยิ่งขึ้น
36 ข้อเสนอแนะจากการท าวิจัย การใช้วิธีการแก้ปัญหาแบบสาธิตเป็นวิธีที่เหมาะสมเนื่องจากนักเรียนขาดทักษะด้านการปฏิบัติ ไม่ เข้าใจจังหวะในการแสดง และนักเรียนชอบให้ครูผู้สอนปฏิบัติเป็นแบบอย่างมากกว่า จึงท าให้การแก้ไขปัญหา ส าเร็จลุล่วงไปด้วยดี ข้อเสนอแนะในการท าวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบพัฒนาการทักษะการปฏิบัติท่าร าของนักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบการ สอน กับสื่อหรือวิธีการสอนอื่นๆ ข้อเสนอแนะในการน าผลวิจัยไปใช้ ควรมีการน าผลวิจัยในครั้งนี้ไปศึกษาและน าไปพัฒนาในการเรียนการสอนของรายวิชานาฏศิลป์ไทย
37 บรรณานุกรม ทิศนา แขมมณี. วิธีสอนโดยใช้การสาธิต (Demonstration). ใน: ทัศนีย์ ผิวข า, บรรณาธิการ. 14 วิธี สอนส าหรับส าหรับครูมืออาชีพ. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551:17-21. เฉลิม วราวิทย์, บุญนาท ลายสนิทเสรีกุล. การสอนแบบสาธิต. ใน: เฉลิม วราวิทย์, เสรี ร่วมสุข, บรรณาธิการ. แพทยศาสตร์ศึกษา Medicaleducation. กรุงเทพฯ: คอมพิวดีไซน์ แอนด์พริ้นท์, 2526:175-85. จินตนา สายทองค า. นาฏศิลป์ไทย ร า ระบ า ละคร โขน พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ :เจปริ้น 2558 ปาริชาติ หนูบุญ. (2562) การจัดการเรียนรู้แบบสาธิตเพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติท่าร ามือและ เท้าให้ ถูกต้องตามแบบแผนท่าร านาฏศิลป์ไทยของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวส.) ของวิทยาลัย เทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ กรุงเทพมหานคร อ.พรรณพัชร์ เกษประยูร.2562 การเคลื่อนไหวร่างกายในการแสดงนาฏยศิลป์ของคณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ศลิษา ชุ่มวารี (2552) การจัดการเรียนรูปแบบสาธิตเพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติท่าร ามือและเท้าให้ ถูกต้องตามแบบแผนท่าร านาฏศิลป์ไทย ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์ วิทยาลัย เชียงใหม่ อาทิตยาพันธ์ เสถียร และ จุมพล ราชวิจิตร(2557) การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยรูปแบบการสอน แบบสาธิตกลุมสาระการเรียนรูศิลปะสาระนาฏศิลปเรื่องฟอนขอขมาโขงวารีมหานทีฮีตอีสาน ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่6
38 ภาคผนวก
39 นักเรียนกลุ่มเป้าหมายการท าวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การแก้ไขปัญหาผู้เรียนที่เคลื่อนไหวร่างกายไม่ตรงจังหวะ โดยใช้วิธีการสอนแบบสาธิต ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 92 (ชุมชนนาข่า) ภาพที่ 1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี่ที่ 4 ก่อนท าการวิจัยในชั้นเรียน จากภาพที่ 1 คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จ านวน 20 คน เป็นการเรียนการสอนในวิชา นาฏศิลป์โดยมีนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะร่วมอยู่ด้วย
40 ภาพที่ 2 นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย จ านวน 5 คน จากภาพที่ 2 คือนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะ เป็นนักเรียนที่มี ความบกพร่องด้านการปฏิบัติท่าทางให้ตรงตามจังหวะมากที่สุด ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะท าการวิจัยด้วยวิธีแก้ปัญหา การสอนนอกเวลาเรียน และแบบสาธิต มีจ านวน 5 คน
41 ภาพที่ 3 การแก้ไขปัญหานักเรียนที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะนอกเวลาเรียน จากภาพที่ 3 ผู้วิจัยสอนเป็นผู้แก้ไขปัญหานักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรง จังหวะ ด้วยตนเอง โดยใช้เวลาว่างหลังรับประทานอาหารกลางวันเพื่อด าเนินการ
42 ภาพที่ 4 การแก้ไขปัญหานักเรียนนักเรียนที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ตรงจังหวะด้วยวิธีการสอนแบบ สาธิต จากภาพที่ 4 ผู้วิจัยได้สาธิตการปฏิบัติ และฝึกซ้อมให้กับนักเรียนกลุ่มเป้าหมายเป็นประจ าทุกวันใช้ เวลา 20 นาทีหลังพักรับประทานอาหารกลางวัน