The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มโปร1 - 201 พรนิภา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Gunameaon555, 2021-10-08 07:00:40

เล่มโปร1 - 201 พรนิภา

เล่มโปร1 - 201 พรนิภา

แบบบันทึกการฝึกปฏิบัติ
วิชาชีพระหว่างเรียน 1

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

นางสาวพรนิภา หิรัญ

รหัสประจำตัวนั กศึกษา 61115320201
สาขาวิชาดนตรีศึกษา

คณะมนุษยศาสตร์และสั งคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

โรงเรียนวินิ ตศึกษาในพระราชูปถัมภ์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

แบบบนั ทกึ การฝกึ ปฏบิ ตั ิวชิ าชีพระหว่างเรยี น 1

ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

ช่อื -นามสกลุ นางสาวพรนภิ า หิรญั
รหสั ประจาตัวนักศกึ ษา 61115320201

สาขาวชิ า ดนตรศี ึกษา

ชื่อโรงเรยี นวินติ ศกึ ษา ในพระราชปู ถัมภส์ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราช
กมุ ารี

สังกัดสานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน (สช.)
อาเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี

ฝา่ ยฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ครู
คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เทพสตรี

พรนิภา หิรัญ

ส า ข า วิ ช า ด น ต รี ศึ ก ษ า

086-1278910
[email protected]
176 หมู่ 6 ต.ทะเลชุบศร อ.เมือง จ.ลพบุรี 15000

ประวัติส่ วนตัว Pornnipa Hiran
ชื่อ : นางสาวพรนิ ภา หิรัญ

ชื่อเล่น : บังอร pnp.aon
วันเกิด : 5 กรกฎาคม 2542

อายุ : 22 ปี การศึ กษา Pornnipa.aon
สัญชาติ : ไทย
ศาสนา : พุทธ ระดับประถมศึกษา

: โรงเรียนเมืองละโว้วิทยา จ.ลพบุรี

ระดับมัธยมศึกษา

: โรงเรียนวินิ ตศึกษาในพระราชูปถัมภ์ฯ จ.ลพบุรี

ระดับอุดมศึกษา

: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จ.ลพบุรี

คำนำ

เอกสำรฉบับนีเ้ ป็นคู่มือประกอบกำรฝึกปฏิบตั ิวชิ ำชีพระหว่ำงเรียน 1 เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนกำร
ฝึกประสบกำรณ์วิชำชีพครู เพื่อให้นักศึกษำได้มีโอกำสเรียนรู้และเข้ำใจวิชำชีพครู ซึ่งได้แก่ กระบวนกำร
กำรเรียนกำรสอน หลักสูตร ระบบกำรบริหำรงำนกำรศึกษำในโรงเรียนและได้ทำงำนร่วมกับผู้อื่น ซ่ึง
กจิ กรรมเหลำ่ นจี้ ะสำมำรถพัฒนำควำมรู้ ควำมสำมำรถของนกั ศกึ ษำไดเ้ ปน็ อย่ำงดี

กำรฝึกปฏิบัติวิชำชพี ระหว่ำงเรยี น 1 เป็นกำรฝึกประสบกำรณ์วิชำชพี ครูเพื่อเตรียมควำมพร้อมก่อน
ออกปฏิบตั ิกำรสอนในสถำนศกึ ษำโดยกำรสงั เกตสภำพทั่วไปของโรงเรยี น พฤตกิ รรมกำรเรยี นรขู้ องนักเรียน
งำนในหนำ้ ทีค่ รูผู้สอน ครูประจำชน้ั กำรศึกษำงำนด้ำนกำรบรหิ ำรและบรกิ ำร สภำพชุมชนและควำมสัมพนั ธ์
ระหว่ำงโรงเรียนกับชุมชน

โดยเอกสำรฉบับนี้ได้มีกำรปรับปรุงแก้ไขรำยละเอียดกำรบันทึกงำนที่ต้องฝึกปฏิบัติต่ำง ๆ ให้
สอดคล้องกับบริบทสถำนกำรณ์ปัจจุบันในสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของเชื้อไวรัสโคโรนำ-2019 ซึ่งทำให้
นกั ษำไมส่ ำมำรถฝกึ ปฏบิ ตั ิฯ ในสถำนศกึ ษำได้ และใหป้ รบั มำใชก้ ำรฝกึ ปฏิบตั ผิ ำ่ นระบบออนไลน์เพื่อทดแทน
กระบวนกำรต่ำง ๆ

หวังว่ำเอกสำรฉบับนี้คงใหป้ ระโยชน์ในกำรเรียนรู้และเข้ำใจในวิชำชีพครูก่อนท่ีจะออกฝึกปฏิบัติงำน
วชิ ำชพี ครูในขน้ั ตอ่ ไป

ฝำ่ ยฝึกประสบกำรณว์ ิชำชีพครู
คณะครศุ ำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏเทพสตรี

สำรบญั

เรอื่ ง หนำ้

กำรฝกึ ปฏิบัติวชิ ำชพี ระหว่ำงเรยี น 1 ........................................................................................... 1
จุดประสงคข์ องกำรฝกึ ปฏบิ ัติวชิ ำชีพระหว่ำงเรยี น 1.................................................................... 1
ขอ้ เสนอแนะในกำรฝึกและกำรใช้เอกสำร .................................................................................... 2
กำรประเมินผลกำรฝึกปฏบิ ตั วิ ชิ ำชีพระหว่ำงเรียน 1..................................................................... 3
เกณฑใ์ นกำรประเมนิ ผลกำรฝกึ ปฏิบัตวิ ชิ ำชพี ระหวำ่ งเรยี น 1....................................................... 4
ปว.1-1 แบบบนั ทกึ กำรสังเกตสภำพทั่วไปของโรงเรยี น ............................................................... 5
ปว.1-2 แบบบนั ทกึ กำรสังเกตพฤติกรรมนกั เรียน ........................................................................ 9
ปว.1-3 แบบบนั ทกึ กำรจัดกำรเรยี นรู้ (สัมภำษณน์ ักเรยี น) .......................................................... 11
ปว.1-4 แบบบนั ทึกกำรสังเกตสภำพชมุ ชนและควำมสมั พันธ์ระหวำ่ งโรงเรียนกบั ชมุ ชน ............. 13
ปว.1-5 แบบบนั ทึกกำรปฏบิ ัตงิ ำน ............................................................................................... 14
ปว.1-6 แบบสัมภำษณ์ครพู เี่ ล้ียง.................................................................................................... 15
ปว.1-7 แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ ..................................................................................................... 16
ปว.1-8 กำรวจิ ยั ในช้ันเรยี น .......................................................................................................... 18
ปว.1-9 แบบประเมนิ กำรปฏิบตั ติ นของนักศกึ ษำ ......................................................................... 19
ปว.1-10 แบบประเมินแผนกำรจัดกำรเรียนรู้................................................................................ 20
ปว.1-11 แบบประเมนิ ดำ้ นคุณภำพกำรจัดกำรเรียนกำรสอน....................................................... 21
ภำคผนวก ..................................................................................................................................... 27
28
- แบบลงเวลำปฏบิ ตั ิงำนนกั ศึกษำ.............................................................................................

2

กำรฝกึ ปฏบิ ตั วิ ชิ ำชพี ระหวำ่ งเรยี น 1

มหำวิทยำลัยรำชภัฏเทพสตรี เป็นมหำวิทยำลัยที่ทำหน้ำที่ผลิตครูให้กับโรงเรียนประถมศึกษำและ
มัธยมศึกษำในท้องถิ่นเขตรบั ผดิ ชอบ 3 จังหวัด ได้แก่ ลพบรุ ี สระบรุ ี และสิงหบ์ ุรี กำรผลิตครใู ห้มคี ุณภำพสำมำรถ
ปฏิบัติงำนในหน้ำที่ครูได้เป็นอย่ำงดี และมีจิตวิญญำณของควำมเป็นครูขึ้นอยู่กับกระบวนกำรผลิต ซึ่งได้แก่
กระบวนกำรเรยี นกำรสอนหลกั สูตร กำรฝกึ ประสบกำรณ์วิชำชีพครู และกระบวนกำรประเมินผล

กำรฝึกประสบกำรณ์วิชำชีพครูเป็นกิจกรรมที่เป็นหัวใจสำคัญของกำรผลิตครู ในช่วงที่ฝึกประสบกำรณ์
วิชำชีพครู นักศึกษำจะมีโอกำสนำควำมรู้ควำมเข้ำใจในวิชำชีพครู และวิชำเฉพำะที่ศึกษำในมหำวิทยำลัยไป
ฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน นอกจำกนี้ยังได้เรียนรู้เกี่ยวกับระบบกำรบริหำรงำนกำรศึกษำในโรงเรียนและได้ทำงำน
ร่วมกับบุคคลอื่นกิจกรรมเหลำนี้ช่วยให้นักศึกษำได้พัฒนำตนเองให้มีทักษะในวิชำชีพ จนสำมำรถปฏิบัติหน้ำที่ครู
ไดอ้ ย่ำงม่นั ใจและมเี จตคติท่ีดตี อ่ วิชำชีพ งำนวิจัยหลำยเรือ่ งทั้งในและต่ำงประเทศยืนยันตรงกนั วำ่ นกั ศกึ ษำที่ประสบ
ควำมสำเรจ็ ในกำรฝกึ ประสบกำรณว์ ชิ ำชีพครูจะมีเจตคตทิ ่ีดตี ่อวิชำชพี ครูและแนวโนม้ จะเป็นครทู ี่ดใี นอนำคต

จำกแผนหลักกำรปฏิรูปกำรฝึกหัดครู พัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ให้ควำมสำคัญกับกำรฝึก
ประสบกำรณว์ ิชำชีพครู เพรำะเป็นกลไกสำคญั ย่งิ ในกำรสร้ำงบัณฑติ ครทู ่ดี ี มเี จตคติท่ดี ตี อ่ วิชำชีพครู สถำบนั ฝกึ หดั
ครูควรจะต้องปรับปรุงและพัฒนำงำนฝึกประสบกำรณ์วิชำชีพครู ให้เอื้ออำนวยต่อกำรเรียนรู้งำนครู จำกครูที่เป็น
แบบอยำ่ งทมี่ ใี นโรงเรียนและชุมชน นอกจำกนคี้ วรจะพัฒนำเครือข่ำยกำรเรยี นรู้ทส่ี ง่ เสริมกำรฝึกหัดครูให้เปิดกว้ำง
สู่ชุมชนขยำยควำมร่วมมือระหว่ำงมหำวิทยำลัย ขยำยแหล่งเรียนรู้ แหล่งวิทยำกร และแหล่งฝึกประสบกำรณ์
วชิ ำชพี ครูอยำ่ งกวำ้ งขวำง

จดุ ประสงคข์ องกำรฝกึ ปฏบิ ตั วิ ชิ ำชพี ระหวำ่ งเรยี น 1

1. เพื่อให้นกั ศึกษำมคี วำมพร้อมกอ่ นออกปฏบิ ัตกิ ำรสอนในสถำนศกึ ษำ
2. เพือ่ ให้นักศึกษำได้ศกึ ษำสงั เกตสภำพท่ัวไปของโรงเรียนทั้งดำ้ นกำรเรียนกำรสอน ด้ำนสถำนท่ีและด้ำน
กิจกรรม
3. เพอื่ ให้นกั ศกึ ษำได้บูรณำกำรควำมรูท้ ้ังหมดมำใช้ในกำรฝึกประสบกำรณ์วิชำชพี ครูในสถำนศกึ ษำ
4. เพื่อใหน้ กั ศกึ ษำไดศ้ ึกษำและฝกึ ปฏบิ ตั กิ ำรวำงแผนกำรศึกษำผู้เรียนโดยกำรสงั เกต
5. เพ่ือให้นกั ศึกษำได้สมั ภำษณง์ ำนในหน้ำทขี่ องครูผสู้ อน งำนในหนำ้ ที่ของครูประจำชั้น
6. เพื่อให้นักศึกษำได้ศึกษำพฤติกรรมกำรจัดกำรเรียนรู้ วิเครำะห์ลักษณะควำมแตกต่ำงและพฤติกรรม
ของผเู้ รียน งำนบรหิ ำรและบรกิ ำรของโรงเรียน
7. เพื่อให้นักศึกษำได้ทดลองเขียนแผนกำรจัดกำรเรียนรู้วิชำเอก กำรฝึกเป็นผู้ช่วยครูด้ำนกำรจัดกำร
เรยี นรู้หรือสนับสนนุ กำรจัดกำรเรียนรู้ งำนธรุ กำรช้ันเรียน
8. เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษำไดอ้ อกแบบกำรวิจยั ในชัน้ เรยี นตำมบรบิ ทของสำขำวชิ ำทีศ่ ึกษำ เพอ่ื เตรยี มควำมพร้อม
ในกำรนำไปศึกษำวจิ ยั จรงิ เม่อื สำมำรถฝกึ ปฏิบัติวชิ ำชีพ ในสถำนศึกษำได้ตำมปกติ
9. เพื่อให้นักศึกษำได้ทำกำรทดลองสอนในสถำนกำรณ์จำลองผ่ำนระบบออนไลน์ และมีครูพี่เลี้ยงให้
คำแนะนำเพ่ือปรบั ปรงุ พัฒนำกำรสอนของนกั ศึกษำ เพ่อื เตรยี มควำมพร้อมกอ่ นไปทำกำรสอนจรงิ ในสถำนศึกษำ

3

ขอ้ เสนอแนะในกำรฝกึ และกำรใชเ้ อกสำร

กำรประกอบวิชำชีพให้เกิดประสิทธิผล ไม่เพียงแต่จะเรียนรู้ในภำคทฤษฎีควำมรอบรู้ในด้ำนวิชำกำร
เทำ่ นั้น ทสี่ ำคญั ยง่ิ กว่ำอื่นใดคอื กำรฝึกภำคปฏบิ ัตอิ ย่ำงจริงจังและตอ่ เน่ือง

วิชำชีพครูเป็นวิชำชีพชั้นสูง ครูเป็นผู้รับผิดชอบ “ชีวิต” ของมนุษย์ เช่นเดียวกับแพทย์มีหน้ำที่รักษำ
โรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภำพดีทั้งกำยและใจ แต่ครูนอกจำกให้ชีวิตเหล่ำนั้นมีควำมรู้ สำมำรถอยู่ได้ในสังคมอย่ำงมี
ควำมสุข มีคณุ ธรรม เปน็ พลเมืองดีของชำตแิ ล้วยังต้องพัฒนำใหเ้ ขำเหล่ำนั้นมีคุณภำพชีวิตดว้ ย

นักศึกษำแพทยท์ กุ คนตอ้ งฝึกในโรงพยำบำลเปน็ ระยะๆ อยำ่ งต่อเนื่องฉันใดนักศึกษำครยู ่อมฝึกในโรงเรียน
ในสถำนกำรณ์จริงฉันนั้น กำรฝึกประสบกำรณ์วิชำชีพครูตำมหลักสูตรนับเป็นโอกำสดีที่ได้เสริมสร้ำงคุณภำพใน
วิชำชพี ของตน

ข้อเสนอแนะต่อไปนี้จะเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษำและกำรพัฒนำกระบวนกำรฝึกปฏิบัติวิชำชีพระหว่ำง
เรยี น และกำรปฏบิ ัตกิ ำรสอนในสถำนศกึ ษำอย่ำงยง่ิ คือ

1. ศกึ ษำเอกสำรโดยตลอดทำควำมเข้ำใจและปฏบิ ัติตำมขั้นตอนของสงิ่ ทตี่ อ้ งจัดทำตำมแบบรำยงำน
2. เขำ้ ปฐมนเิ ทศชีแ้ จงกำรดำเนนิ งำน และกิจกรรมตำ่ ง ๆ ท่ีกำหนดมอบหมำยไว้
3. ปฏบิ ัตงิ ำนเป็นข้ันตอนตำมกำหนดกำร
4. บนั ทึกลงในแบบฟอรม์ ต่ำงๆ ตำมลำดบั อยำ่ งครบถว้ น
5. ใหผ้ ้รู ับผิดชอบลงชอื่ ในแบบบนั ทึกแต่ละแบบตำมลำดับ (เป็นลำยเซ็นต์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ได้ แต่ต้องมภำพ
ประกอบกำรทำกิจกรรมต่ำง ๆ กบั ครพู เ่ี ลยี้ งประกอบในภำคผนวกดว้ ย)
6. ให้ผู้รับผิดชอบประเมินผลกำรฝึกปฏิบัติวิชำชีพระหว่ำงเรียน เมื่อฝึกปฏิบัติวิชำชีพระหว่ำงเรียนและ
บันทึกกำรปฏิบตั งิ ำนครบถว้ นตำมกำหนด
7. หลงั จำกโรงเรียนประเมินผลกำรฝึกปฏิบัติวชิ ำชีพระหว่ำงเรยี นโดยครูพเ่ี ลี้ยงแล้ว ฝำ่ ยฝกึ ประสบกำรณ์
วชิ ำชพี ครูและอำจำรย์ผสู้ อนจะประเมนิ ผลครง้ั สุดทำ้ ยหลังจำกครบกำหนดเวลำกำรปฏบิ ตั ิงำนวิชำชพี ครู

4

กำรประเมนิ ผลกำรฝกึ ปฏบิ ตั ิวชิ ำชพี ระหวำ่ งเรยี น 1

กำรประเมินผลกำรฝกึ ปฏบิ ตั วิ ิชำชีพระหว่ำงเรยี น ประเมินตำมรำยวชิ ำท่ีฝกึ ทุกปกี ำรศึกษำ นักศึกษำต้อง
ผำ่ นกำรฝกึ เปน็ ขั้นตอนตำมลำดับ หำกไม่ผำ่ นในข้นั ตอนใดต้องซ่อมเสริมให้ “ผำ่ น” จึงฝกึ ในขน้ั ต่อไปได้

กำรประเมินผลกำรปฏบิ ตั งิ ำนวชิ ำชีพครู เปน็ กำรประเมินผลทค่ี รอบคลมุ ท้ังคุณลักษณะควำมเป็นครูและ
เทคนคิ วิธี โดยมีผูป้ ระเมนิ ทง้ั ฝำ่ ยมหำวิทยำลยั และโรงเรียน

ในกำรประเมินผลกำรฝึกประสบกำรณ์ขั้นศึกษำสังเกตและมีส่วนร่วม นับตั้งแต่ปีกำรศึกษำ 2542
เปน็ ต้นไป จะเปลีย่ นระบบกำรประเมินผลจำก ผ่ำนดเี ยีย่ ม, ผำ่ น, ไมผ่ ่ำน เป็นระบบกำรประเมนิ แบบใหเ้ กรดคอื A,
B+, B, C+, C, D+, D และ E

ประเภทของแบบประเมิน
แบบประเมินผลกำรฝึกปฏิบัติวชิ ำชพี ระหว่ำงเรยี น หรือ ปว. มีท้ังหมด 8 ชดุ แบ่งเป็น 2 ประเภท คอื
1. สำหรับนักศกึ ษำ ปว.1-1 ถงึ ปว.1-5 โดยมรี ำยละเอยี ด ดงั น้ี
ปว.1-1 แบบบันทกึ กำรสงั เกตสภำพทวั่ ไปของโรงเรยี น
ปว.1-2 แบบบนั ทึกกำรปฏบิ ัตงิ ำน
ปว.1-3 แบบสมั ภำษณ์กำรจัดกำรเรียนรู้
ปว.1-4 แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ 3 แผน
ปว.1-5 โครงร่ำงกำรวิจยั ในชั้นเรียน
นักศึกษำมหี น้ำท่ีบนั ทึกผลกำรศกึ ษำสงั เกตให้ถกู ตอ้ งตำมควำมเปน็ จริง หลงั จำกนน้ั ให้ครูพ่ีเล้ียง

และอำจำรยน์ เิ ทศกล์ งช่ือรบั รอง
2. สำหรับครูพี่เลย้ี งและอำจำรย์ผูส้ อน ปว.1-6 ถึง ปว.1-8 โดยมรี ำยละเอียด ดังน้ี
ปว.1-6 แบบประเมินกำรปฏิบัติตนของนกั ศึกษำ (โดยครพู ่เี ลยี้ ง)
ปว.1-7 แบบประเมนิ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ (โดยครูพีเ่ ล้ยี ง)
ปว.1-8 แบบประเมนิ ดำ้ นคณุ ภำพกำรจัดกำรเรยี นกำรสอน (โดยครพู ่ีเล้ยี ง)
ครูพีเ่ ล้ยี งทำกำรประเมินตำมแบบฟอร์มแล้วส่งให้กับนักศึกษำเพอ่ื ทำกำรรวบรวมใส่ในเล่มแบบ

บนั ทกึ กำรฝึกปฏิบตั ิวิชำชีพระหวำ่ งเรียน 1

5

เกณฑใ์ นกำรประเมนิ ผลกำรฝกึ ปฏบิ ตั วิ ชิ ำชพี ระหวำ่ งเรยี น 1

1. คะแนน ปว.1-6 ถึง ปว.1-8 ซึ่งได้รับกำรประเมินจำกครูพี่เล้ียงประจำโรงเรียนหนว่ ยฝึกประสบกำรณ์

วชิ ำชพี ครู

2. คะแนนจำกกำรประเมินของอำจำรย์ผู้สอนรำยวิชำฝึกปฏิบัติวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1 ซึ่งประกอบด้วย

คะแนนจำกแบบบนั ทึกกำรปฏิบตั ิงำนของนักศกึ ษำ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ งำนวจิ ยั ในชัน้ เรียน กำรมีส่วนร่วมในช้ัน

เรยี น กำรนำเสนอ บคุ ลิกภำพ และกำรแต่งกำย กำรใช้วำจำ กิรยิ ำท่ำทำง และควำมรับผิดชอบ

3. แนวทำงกำรให้คะแนนรำยวิชำกำรฝึกปฏิบัติวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1 กำหนดเกณฑ์กำรให้คะแนน

ดังน้ี

3.1 อำจำรยผ์ สู้ อน รวม 60 คะแนน

3.1.1 แบบบนั ทึกปฏบิ ัติงำนของนักศึกษำในภำพรวม 30 คะแนน

3.1.2 โครงรำ่ งงำนวิจยั ในช้ันเรยี น 10 คะแนน

3.1.3 กำรมีสว่ นร่วมในกำรจดั กำรเรยี นกำรสอน 10 คะแนน

3.1.4 พฤตกิ รรมกำรเรียนของนกั ศึกษำ 10 คะแนน

3.2 ครูพ่เี ลย้ี ง รวม 40 คะแนน

3.2.1 แบบประเมนิ กำรปฏิบัตติ นของนกั ศกึ ษำ 10 คะแนน

3.2.2 แบบประเมนิ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ 10 คะแนน

3.2.3 แบบประเมินกำรจดั กำรเรียนรู้ 20 คะแนน

รวมทงั้ สิ้น 100 คะแนน

4. นำคะแนนจำกข้อ 1 และ 2 มำรวมกนั แลว้ ประเมินเป็นเกรดโดยมีเกณฑ์ ดงั น้ี

คดิ จำกคะแนนเตม็ 100 คะแนน

คะแนน 90 – 100 ไดร้ ะดบั A

คะแนน 85 – 89 ไดร้ ะดับ B+

คะแนน 80 – 84 ไดร้ ะดับ B

คะแนน 75 – 79 ได้ระดบั C+

คะแนน 70 – 74 ไดร้ ะดบั C

คะแนน 65 – 69 ได้ระดบั D+

คะแนน 60 – 64 ได้ระดับ D

คะแนน 0 – 59 ได้ระดบั E

6

ปว.1-1

แบบบนั ทกึ กำรสงั เกตสภำพทวั่ ไปของโรงเรยี น

คำชี้แจง ให้นักศึกษำบันทึกข้อมูลกำรศึกษำและสงั เกตสภำพทั่วไปตำมควำมเป็นจริงของสถำนศึกษำลงในช่องว่ำง
ตำมหวั ขอ้ ท่ีกำหนด

1. โรงเรียน วินิตศึกษำในพระรำชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี สังกัดสำนักงำน
คณะกรรมกำรส่งเสรมิ กำรศึกษำเอกชน ประเภทมัธยมศึกษำ และเปน็ โรงเรยี นกำรกศุ ลของวดั ในพระพทุ ธศำสนำ

แห่งที่ 1 ตั้งอยู่ที่ เลขท่ี 10 ถนน เพทรำชำ ตำบล ท่ำหิน อำเภอ เมืองลพบุรี จังหวัด ลพบุรี รหัสไปรษณีย์
15000 โทรศพั ท์ 0-3641-1235 , 0-3642-1088 โทรสำร 0-3642-1088

2. ปรชั ญำของโรงเรยี น : อพฺยำปชฺฌ สขุ โลเก กำรช่วยกัน เปน็ สขุ ในโลก
วสิ ัยทัศนข์ องโรงเรยี น : โรงเรยี นวนิ ิตศึกษำ ในพระรำชปู ถัมภ์ฯ เปน็ องค์กรแห่งกำรเรยี นรทู้ ่มี ปี ระสทิ ธิภำพ มงุ่ เนน้
พัฒนำใหผ้ เู้ รยี น มวี ินัย ใฝ่คณุ ธรรม จรยิ ธรรม เลศิ ลำ้ วชิ ำกำร สมู่ ำตรฐำนสำกล บนพ้ืนฐำนควำมเปน็ ไทย

3. ช่อื ผูบ้ ริหำรโรงเรียน : พระเทพเสนำบดี
รองผอู้ ำนวยกำรโรงเรียน
ฝำ่ ยวิชำกำร นำงทพิ วรรณ์ กองสทุ ธ์ิใจ
ฝำ่ ยปกครอง นำยภเิ ศก อินทรอ์ ยู่
ฝำ่ ยธุรกำร นำงนภัสนันท์ ชนะพงษ์ฐิตวิ ัสส์
ฝำ่ ยสมั พนั ธ์ชมุ ชน พระครวู ิธำนธรรมวิสทุ ธิ์
ฝำ่ ยกจิ กำร นำงสำวนิตยำ นฤชำติวรพนั ธ์

4. บุคลำกร สำขำวชิ ำ จำนวน รวม
4.1 ครอู ำจำรย์ ชำย หญงิ
บรหิ ำรกำรศึกษำ 1- 1
ระดบั กำรศกึ ษำ บรหิ ำรกำรศึกษำ 38
นติ ิศำสตร์ 165
ปริญญำเอก วิทยำศำสตรบ์ ัญฑติ
ปริญญำโท 1.ฟสิ กิ ส์
ปริญญำตรี 2.เคมี
3.ชวี ะวทิ ยำ
4.เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

7

ครศุ ำสตรบ์ ญั ฑิต
1.สังคมศึกษำ
2.ภำษำไทย
3.ภำษำองั กฤษ คบ.
4.ดนตรีศกึ ษำ
5.คณติ ศำสตร์
6.พละศกึ ษำ
7.จติ วิทยำและกำรแนะแนว
รวม 204

4.2 คนงำน มีทั้งหมด 48 คน เป็นหญงิ 1,588 คน เป็นชำย 1,248 คน
4.3 นักเรียน มีทงั้ หมด 2,836 คน

แยกตำมลำดับข้ันตำ่ ง ๆ ไดด้ งั นี้ จำนวนหอ้ ง จำนวนนกั เรยี น
หญงิ ชำย รวม
ระดบั ชนั้ 27 536 403 939
24 526 402 928
1. มธั ยมศึกษำปที ่ี 1 23 526 443 969
2. มธั ยมศึกษำปที ี่ 2 74 1,588 1,248 2,836
3. มธั ยมศึกษำปีท่ี 3
รวม

สรปุ อตั รำส่วนระหว่ำงจำนวนครูอำจำรย์ตอ่ จำนวนนกั เรยี น โดยประมำณ คอื
ครอู ำจำรย์ 2 คน ต่อนักเรียน 40 คน

5. อำคำรสถำนที่

5.1 หอ้ งเรียน มีทั้งหมด 74 หอ้ ง

5.2 ห้องพกั ครอู ำจำรย์ มที ั้งหมด 8 ห้อง

5.3 ห้องสง่ เสรมิ วชิ ำกำร มที ้ังหมด 3 ห้อง คือ 1. หอ้ งวชิ ำกำร 2. หอ้ งสำนกั งำน 3. หอ้ งทะเบยี น

6. สภำพแวดล้อม

6.1 สถำนทสี่ ำคัญทอ่ี ยู่ใกลโ้ รงเรียน ได้แก่ วงั นำรำยณ์รำชนิเวศ, วดั เชิงทำ่ , พพิ ธิ ภณั ฑ์หอโสภณศิลป์, วัด

พระศรีมหำธำตุ

6.2 สถำนทีใ่ กลเ้ คียงโรงเรียนทเี่ ป็นแหล่งวิทยำกำรส่งเสริมกำรจัดกำรเรยี นกำรสอน วังนำรำยณร์ ำชนิเวศ,

พพิ ธิ ภณั ฑห์ อโสภณศลิ ป์, วัดพระศรมี หำธำตุ

8

7. สภำพของนักเรียน
7.1 สภำพครอบครัว (อำชพี ฐำนะทำงเศรษฐกจิ )
สภำพครอบครัวของนักเรียนในโรงเรยี นโดยรวมอยู่ในฐำนะปำนกลำง
7.2 พฤตกิ รรมนกั เรยี น
พฤติกรรมโดยวรวมอยู่ในเกณฑ์ดี มคี วำมประพฤตเิ หมำะสมตำมวัย

8. ภำระหน้ำทขี่ องครผู ้สู อน
8.1 ครูประจำชนั้

มธั ยมศึกษำปีท่ี 2/21
8.2 งำนอ่ืนๆ

หวั หน้ำกลุ่มสำระ คุณครเู วรกลำงคืน
9. แผนผังแสดงบริเวณและที่ต้ังของโรงเรยี น

10. ประวตั โิ รงเรียน
วนั ที่ ๒๐ พฤษภำคม ๒๔๘๙ พระเดชพระคณุ หลวงพ่อพระพทุ ธวรญำณ (กิตติ บัวอ่อน ปธ.๘) อดีตเจ้ำคณะ

จังหวัดลพบรุ ีกบั คณะศิษย์ ๔ คน ไดจ้ ดั ต้งั โรงเรยี นวนิ ิตศึกษำขนึ้ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพ่อื ให้เยำวชนไดร้ บั
กำรศึกษำควบค่ไู ปกบั กำรฝึกอบรม คณุ ธรรมตำมหลักธรรมของพระพุทธศำสนำ ใหส้ ำมำรถประกอบสัมมำอำชพี
ได้ และดำรงตนอยูใ่ นสงั คมด้วยคณุ ธรรมอนั ดี เปดิ สอนตง้ั แต่ ชั้นมธั ยมศึกษำปีที่ ๑ ถงึ มัธยมศกึ ษำปที ่ี ๓ มี
นกั เรียน ๑๒๐ คน ครู ๗ คน ใช้ศำลำวดั กวศิ รำรำม และอำคำรสถำนทข่ี องวดั เปน็ ทเ่ี รียน โดยท่ำนเป็น
ผอู้ ำนวยกำร และมี ครูประพนั ธ์ ผลฉำย เปน็ ครใู หญ่

May 20, 1946 Abbot Pra Buddhaworayan (Kittithinnathera) established Winitsuksa School.
There were only 120 students and 7 teachers from Mathayom 1-3.

9

พ.ศ. ๒๔๙๒ กระทรวงศึกษำธิกำรให้กำรรบั รองวิทยฐำนะเทียบเทำ่ โรงเรยี นรฐั บำล ภำยหลังจำกไดด้ ำเนินกำร
สอนตำมหลกั สตู รของกระทรวงศกึ ษำ ได้เพียง ๓ ปี และไดย้ ำ้ ยสถำนที่เรียน มำสรำ้ งอำคำรถำวรด้ำนหลังวัด ซงึ่
เปน็ อำคำรเรียนปจั จบุ นั โดยมี อำจำรย์ประพัฒน์ ตรีณรงค์ เปน็ ครูใหญค่ นท่ี ๒ (ต่อจำกอำจำรย์ ประพนั ธ์ ผล
ฉำย) พร้อมกันนไี้ ดเ้ ปิด สอนช้นั ม.๔ - ม.๖ (มศ.๑ - มศ.๓ ปจั จุบนั ) ในนำมโรงเรียน วทิ ยำประสิทธ์ิ (เพรำะกำรจะ
เปดิ ช้ันเรยี นเพ่มิ สูงขน้ึ น้นั เปดิ ในโรงเรยี นเดิมซงึ่ ไดร้ บั กำรรับรองวิทยฐำนะแล้วไมไ่ ด้ตำมระเบยี บของ
กระทรวงศกึ ษำธิกำรในขณะนั้น) มีอำจำรย์ช้ัน ปำนบัว เปน็ ครูใหญ่ โรงเรียนนเี้ ปดิ ทำกำรสอนไม่นำน
กระทรวงศึกษำธิกำรกร็ ับรองวิทยฐำนะ เทยี บเทำ่ โรงเรียนรัฐบำล ในปี พ.ศ. ๒๔๙๕ และหลังจำกนน้ั ก็ยบุ เป็น "
วนิ ิตศึกษำ " แตเ่ พยี ง โรงเรียนเดยี ว โดยหลวงพ่อพระพทุ ธวรญำณรักษำกำรตำแหน่งครใู หญ่อยู่ ๒ ปี

ตอ่ จำกนั้น อำจำรยจ์ นั ทร์ บัวสนธิ์ กด็ ำรงตำแหนง่ ครใู หญ่ต่อมำจนสน้ิ สดุ ปีกำรศึกษำ ๒๕๓๘ ชน้ั เรยี นเดิม ซง่ึ
เคยมตี ั้งแต่ ชัน้ มธั ยมปที ่ี ๑ ถงึ ชนั้ มธั ยมปีที่ ๖ กเ็ ปลย่ี น เป็นต้ังแต่ชนั้ ประถมปีที่ ๕ ถึงมธั ยมศกึ ษำปีที่ ๓ ตำม
ระบบกำรศึกษำทีเ่ ปลยี่ นแปลงใหม่ และได้เปดิ ชน้ั ม.ศ. ๔ ม.ศ. ๕ และ ม.ศ. ๖

In 1949 The Ministry of Education guaranteed the high standard of Winitsuksa School to
provide education from Mathayom 1-6.

พ.ศ. ๒๔๙๓ ไดโ้ อนเข้ำเปน็ สมบัตขิ องของกวศิ รำรำมมูลนิธแิ ละได้โอนเป็นของวดั กวิศรำรำม ปี พ.ศ. ๒๕๓๐
โรงเรยี นวินติ ศกึ ษำจงึ มีฐำนะเปน็ โรงเรยี นกำรกุศลของวัดในพระพุทธศำสนำ โดยสมบรู ณ์

In 1987 The school became a private (non profit) school of Kawidsararam Temple
๑ มกรำคม พ.ศ. ๒๕๓๒ คณะศษิ ยแ์ ละพุทธศำสนิกชน ผมู้ คี วำมเคำรพนับถือในหลวงพอ่ ไดด้ ำเนนิ กำรสรำ้ ง
อำคำรเรยี น "ธรรมญำณ๘๔" ข้นึ เพอื่ เปน็ อนสุ รณ์ และเปน็ เคร่ืองหมำยแหง่ ควำมกตญั ญขู องศษิ ยำนศุ ษิ ย์ เนอ่ื งใน
โอกำสที่หลวงพอ่ พระพทุ ธวรญำณเจริญอำยไุ ด้ ๘๔ ปี หรอื ๗ รอบอำยุ
๒๐ พฤษภำคม พ.ศ. ๒๕๓๔ สมเด็จพระเทพรตั นรำชสดุ ำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี ทรงรบั โรงเรยี นวนิ ติ ศึกษำไว้
ใน พระรำชปู ถัมภ์ ตัง้ แต่วันท่ี ๒๐ พฤษภำคม ๒๕๓๔ (หนงั สอื จำกกองรำชเลขำนุกำร ในพระองค์ สำนักงำน
เลขำธิกำร สวนจิตรลดำ ที่ รล ๐๐๐๗/๔๕๕๒ ลงวันที่ ๒๑ พฤษภำคม ๒๕๓๔ ) และเสดจ็ มำทรงเปน็ องค์ประธำน
เปดิ อำคำร " ธรรมญำณ ๘๔ " ในวนั ที่ ๒๗ มิถนุ ำยน ๒๕๓๔
May 20, 1991 Winitsuksa School was accepted to be under patronage of Her Royal Highness
Princess Maha Chakri Sirindhorn
พ.ศ. ๒๕๓๘ โรงเรียนวินติ ศึกษำ ไดร้ บั เกียรติบัตรรบั รองมำตรฐำนคุณภำพกำรศกึ ษำระดบั มธั ยมศึกษำ จำก
สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำเอกชน กระทรวงศึกษำธกิ ำร
พ.ศ. ๒๕๓๙ โรงเรยี นได้จดั โครงกำรใชส้ อ่ื กำรสอนเป็นภำษำอังกฤษ สอนบำงรำยวชิ ำเป็นภำษำอังกฤษ
(Bilingual Programme) รวม ๖ รำยวชิ ำ คอื คณติ ศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์ สงั คมศกึ ษำ สขุ ศกึ ษำ งำนบำ้ น พลศึกษำ
ปจั จุบนั ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เปิดสอนเพ่มิ เป็น ๙ รำยวชิ ำ
In 1996 Winitsuksa started the pilot project for the Bilingual Programme
พ.ศ. ๒๕๔๐ โรงเรียนวนิ ติ ศกึ ษำ ไดร้ บั คดั เลอื กจำกกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร ให้เปน็ โรงเรยี นเครือข่ำย (Partner
School) กบั Anderson Secondary School โรงเรียนอนั ดับ ๑ ใน ๕ ของประเทศสิงคโปร์และในอนำคตกับ
ประเทศออสเตรเลยี

10

In 1997 Winitsuksa was selected by the Ministry of Education to be a member of the Thailand

& Singapore Partner School Programme

พ.ศ. ๒๕๔๒ โรงเรยี นวินติ ศึกษำ ไดล้ งนำมขอ้ ตกลงโรงเรียนพโี่ รงเรยี นน้อง (SISTER SCHOOL) กบั ประเทศ

ออสเตรเลยี ระหวำ่ ง PITTWATER HOUSE SCHOOLS, AUSTRALIA กับ WINITSUKSA SCHOOL, THAILAND

In 1999 Winitsuksa & Pittwater House School Australia signed a memorandum to start the Sister

School Programme

ปัจจุบัน โรงเรียนวินิตศึกษำ ในพระรำชูปถัมภ์ฯ เปิดทำกำรสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๑ ถึงระดับช้ัน

มัธยมศึกษำปีที่ ๖ รับทั้งนักเรียนชำย และนักเรียนหญิง และได้รับคัดเลือกเข้ำร่วมโครงกำรพิเศษของ

กระทรวงศึกษำธกิ ำรดงั น้ี

- โครงกำรประกอบอำชพี อสิ ระระหวำ่ งเรียนของกรมวชิ ำกำร

- โรงเรียนร่วมพฒั นำหลักสตู รปรับปรงุ มัธยมศึกษำตอนตน้ และมธั ยมศึกษำตอนปลำย ของกรม วชิ ำกำร

- โรงเรยี นนำร่องประเมนิ มำตรฐำนคณุ ภำพกำรศกึ ษำเอกชนระดับมัธยมศึกษำ

11. ขอ้ มูลโรงเรยี นดเี ดน่

ปี เกียรติประวัติ หน่วยงำนทใี่ ห้กำรยกยอ่ ง

พ.ศ. ไดร้ บั กำรรบั รองวิทยฐำนะเทยี บเทำ่ โรงเรียนรัฐบำล กระทรวงศกึ ษำธิกำร

๒๔๙๒

พ.ศ. ไดโ้ อนโรงเรยี น ใหเ้ ปน็ สมบตั ิของวัดกวิศรำรำมมลู นธิ ิและโอนเปน็ ของวัดกวศิ รำ

๒๔๙๓ รำม รำชวรวิหำร เมือ่ ปี ๒๕๓๐ โรงเรียนวินิตศึกษำจึงมีฐำนะเปน็ โรงเรยี นกำรกศุ ล

ของวดั ในพระพุทธศำสนำตำมระเบยี บของกระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

พ.ศ. สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุดำฯ สยำมบรมรำชกมุ ำรี ได้ทรงพระเมตตำรบั โรงเรียน

๒๕๓๔ วินิตศกึ ษำ ไว้ในพระรำชูปถมั ภ์

พ.ศ. สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำเอกชน รบั รองมำตรฐำนคณุ ภำพกำรศกึ ษำ สำนักบรหิ ำรงำนคณะกรรมกำร

๒๕๓๘ กำรศึกษำเอกชน

พ.ศ. โรงเรียนไดเ้ ลือกเขำ้ โครงกำรเปน็ โรงเรียนเครือขำ่ ย กับ Anderson Secondary กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

๒๕๔๐ School ประเทศสงิ ค์โปร์

พ.ศ. โรงเรียนไดล้ งนำมข้อตกลงเปน็ โรงเรียนพีโ่ รงเรยี นน้อง กับ Pittwater House

๒๕๔๑ School ประเทศออสเตรเลีย

พ.ศ. ได้รับคัดเลอื กจำกกะรทรวงศึกษำธิกำรใหเ้ ปน็ สถำนศกึ ษำทไ่ี ดร้ บั รำงวัล กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร

๒๕๔๘ พระรำชทำน ระดบั มัธยมศึกษำขนำดใหญ่

พ.ศ. ได้รบั กำรรบั รองมำตรฐำนกำรศกึ ษำ ระดับกำรศกึ ษำขนั้ พ้นื ฐำน ดำ้ นมัธยมศึกษำ สำนักงำนรับรองมำตรฐำนและ

๒๕๕๑ ประเมนิ คณุ ภำพกำรศึกษำ(องค์กำร

มหำชน)

พ.ศ. ได้รับกำรรบั รองเป็นโรงเรยี นส่งเสริมสุขภำพ ระดับทอง กองส่งเสริมสุขภำพ

สำนกั อนำมยั

11

แผนภูมโิ ครงสร้ำงกำรบรหิ ำรของโรงเรยี น

โครงสร้ำงกำรบรหิ ำร ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๔

ลงชอ่ื ………………………………………….ผูบ้ นั ทึก
( นำงสำวพรนภิ ำ หริ ญั )

วันที่ 3 เดือนกันยำยน พ.ศ. 2564

ลงชื่อ………………………………………….ครูพเี่ ลย้ี ง

( นำยศกั ดิ์รินทร์ ศรชี มภู .)

วนั ที่ 3 เดอื นกันยำยน พ.ศ. 2564

12

ปว.1-2

แบบบนั ทกึ กำรปฏบิ ัตงิ ำน

คำชแ้ี จง ใหน้ ักศึกษำบันทกึ ผลกำรปฏิบตั งิ ำนในสถำนศึกษำผ่ำนระบบออนไลน์ทุกครัง้ ท่ีปฏบิ ัตงิ ำนตำมทกี่ ำหนดให้

วนั ท่ี 3 เดอื นกนั ยำยน พ.ศ. 2564

งำน รำยกำรทป่ี ฏบิ ตั /ิ ทไี่ ดเ้ รยี นรู้ สงิ่ ทไ่ี ดร้ บั จำกกำร ลงชือ่
ปฏบิ ตั งิ ำนนี้ ครพู เ่ี ลยี้ ง

1.บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับ - ข้อมูลเกี่ยวกับสภำพทั่วไป - ทรำบที่อยขู่ องสถำนศกึ ษำ ,

ส ภ ำ พ ท ั ่ ว ไ ป ข อ ง ของสถำนศึกษำ โครงสร้ำงกำรบริหำร

สถำนศึกษำ - วิธีกำรจัดกำรเรียนกำรสอน สถำนศึกษำ ,ข้อมูลประชำกร

ของโรงเรียน ในสถำนกำรณ์ จำนวนนักเรียน

โควิด - จัดกำรเรียนกำรสอนใน

รูปแบบกำรเรียนออนไลน์

ด้วยโปรแกรม Microsoft

them ซึ่งมีทั้งกำรสอนสด

และกำรอดั เทปกำรสอน

วันท่ี 8 เดอื นกนั ยำยน พ.ศ. 2564

งำน รำยกำรทป่ี ฏบิ ตั /ิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรู้ สงิ่ ทไ่ี ดร้ บั จำกกำร ลงชื่อ
ปฏบิ ตั งิ ำนน้ี ครพู เ่ี ลยี้ ง

1. เรียนรู้โปรแกรม OBS - ศึกษำวิธีกำรใช้โปรแกรม - วธิ ีกำรใช้โปรแกรม OBS ใน

กำรอัดเทปกำรสอน และ OBS ในกำรอัดเทปกำรสอน กำรอดั เทปกำรสอน

กำรจดั ทำแผนกำรสอน - เรียนรู้วิธีกำรอ้ำงอิงจำก - ทรำบวิธีกำรอ้ำงอิงจำก

ตัวชว้ี ัด และวธิ จี ัดทำแผนกำร ตัวชี้วัด และจัดทำแผนกำร

สอน สอน

13

วันที่ 9 เดอื นกันยำยน พ.ศ. 2564

งำน รำยกำรทปี่ ฏบิ ตั /ิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรู้ สง่ิ ทไี่ ดร้ บั จำกกำร ลงชื่อ
ปฏบิ ตั งิ ำนน้ี ครพู เ่ี ลยี้ ง

1. เรียนรู้กำรจัดท ำ - เรยี นรู้วธิ กี ำรจดั ทำแผนกำร - ทรำบกำรจัดทำแผนกำร

แผนกำรสอน สอน สอน

- คิดหัวข้อกำรทำวิจัยในชั้น - กำรทำวิจัยในชั้นเรียน

เรียน

วันที่ 10 เดือนกนั ยำยน พ.ศ. 2564

งำน รำยกำรทปี่ ฏบิ ตั /ิ ทไี่ ดเ้ รยี นรู้ สงิ่ ทไ่ี ดร้ บั จำกกำร ลงช่ือ
ปฏบิ ตั งิ ำนนี้ ครพู เ่ี ลยี้ ง

1. - เรียนรู้โปรแกรม - ศึกษำวิธีกำรใช้โปรแกรม - ว ิ ธ ี ก ำ ร ใ ช ้ โ ป ร แ ก ร ม

Microsoft them Microsoft them ในกำรใช้ Microsoft them ในกำรใช้

- เรียนรู้เทคนิคก่อนกำร สอนออนไลน์ สอนออนไลน์

สอนออนไลน์ - ศึกษำเรียนรู้กำรสอน - เทคนิควธิ ีกำรสอน

- วิธกี ำรเชค็ ชือ่ ในช่องทำง ออนไลน์ - วธิ กี ำรเชค็ ชือ่ ออนไลน์

กำรเรียนออนไลน์ - ศึกษำกำรเช็คชื่อนักเรียน - ทรำบข้อมูลบุคลำกรภำยใน

- ห ำ ข้ อม ู ล บ ุ ค ล ำ กร แบบออนไลน์ โรงเรยี น

ภำยในในโรงเรียน - ศึกษำขอ้ มลู บคุ ลำกรภำยใน

โรงเรยี น

14

วันที่ 11 เดอื นกนั ยำยน พ.ศ. 2564

งำน รำยกำรทป่ี ฏบิ ตั /ิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรู้ สงิ่ ทไ่ี ดร้ บั จำกกำร ลงชอ่ื
ปฏบิ ตั งิ ำนน้ี ครพู เี่ ลย้ี ง

1. ทดลองสอนออนไลน์ - กำรเตรียมควำมพร้อมก่อน - กำรเตรียมควำมพร้อมก่อน

สอน สอน

- กำรตั้งค่ำทดสอบระบบ - กำรแก้ไขปญหำเฉพำะหนำ้

ออนไลน์ - กำรใช้โปรแกรม Microsoft

- สอนนกั เรยี นช้นั ม.2 them ใ น ก ำ ร ส อ น ท ำ ง

- ทดลองสอนออนไลน์ ออนไลน์

หมำยเหตุ : นักศึกษำสำมำรถออกแบบตำรำง หรือเพิ่มรำยละเอียดได้ ตำมหัวข้อรำยละเอียดควำมรู้ที่ต้องเรียนรู้
จำกครพู ่ีเลยี้ ง

ลงชอ่ื ………………………………………..…………….ผบู้ ันทกึ
( นำงสำวพรนภิ ำ หริ ัญ )

ลงชอื่ ………………………………………………..…….ครพู เ่ี ลี้ยง
( นำยศักด์ริ ินทร์ ศรีชมภู )

15

ปว.1-3

แบบสมั ภำษณ์กำรจดั กำรเรยี นรู้ (สมั ภำษณค์ รูพเ่ี ลยี้ ง)

ช่ือนำยศักรนิ ทร์ ศรีชมภู
โรงเรยี นวนิ ติ ศกึ ษำ ในพระรำชูปถมั ภ์ ฯลฯ อำเภอเมอื งลพบรุ ี จงั หวดั ลพบุรี

คำชแ้ี จง ให้นกั ศกึ ษำสมั ภำษณ์กำรจดั กำรเรยี นรู้ของครพู เี่ ลยี้ งและบนั ทึกลงในช่องว่ำงทีก่ ำหนด

1. ท่ำนสอนก่ีรำยวชิ ำ วชิ ำอะไรบำ้ ง จำนวนกี่ชว่ั โมงต่อสัปดำห์
สอน 1 วชิ ำ วิชำดนตรสี ำกล จำนวน 15 ชั่วโมงตอ่ สปั ดำห์

2. ปัญหำทีพ่ บในรำยวชิ ำที่สอน มีอะไรบำ้ ง
- กำรติดตำมงำนของเด็ก
- ทกั ษะพื้นฐำนของนกั เรยี นไมเ่ ทำ่ กัน

3. ท่ำนได้ดำเนินกำรแกไ้ ขอย่ำงไร/มีเทคนิคใดในกำรดำเนินกำรแก้ไข

- ตดิ ตำมงำนผำ่ นคุณครูประจำช้ัน และผ้ปู กครอง

- กำรปูพื้นฐำนทกั ษะของนกั เรยี น ในช่วงต้นเทอม

4. ท่ำนมขี ้อเสนอแนะอย่ำงไรในกำรดำเนินกำรจัดกำรเรยี นรู้ หรอื งำนด้ำนอ่นื ๆ
อยำกใหม้ ีกำรจดั กำรระบบกำรเรยี นกำรสอนในช่วงมัธยมในรูปแบบมหำวิทยำลยั คือมีกำรจดั วชิ ำเสรีขึ้น

เพือ่ ให้นกั เรียนทีม่ ีควำมสนใจท่ีจะเรยี นในสำขำเฉพำะดำ้ นหรอื ตำมควำมต้องกำร เพอ่ื จะได้ค้นหำตัวเองต้ังแต่มัธยม
ตน้

5. ท่ำนมีกำรแลกเปล่ยี นเรยี นรรู้ ะหว่ำงเพื่อนครหู รอื ไมอ่ ย่ำงไร (PLC) ถำ้ มีทำ่ นดำเนนิ กำรอยำ่ งไร และผลกำร
ดำเนินกำรเปน็ อย่ำงไร

จำกกำรสอบถำม ทดสอบ พดู คยุ ฝึกปฏิบตั เิ พื่อแลกเปลี่ยนควำมรู้ สำมำรถนำมำใชส้ อนนกั เรียน เพ่อื ให้
เกดิ ควำมแตกต่ำงในบริบทของในช้นั เรยี นต่อไป

16
ปว.1-4

แผนกำรจดั กำรเรยี นรทู้ ี่ ๑

แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ รำยวิชำ ดนตรี รหสั วชิ ำ ศ ๒๒๑๐๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๒

หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรอื่ ง เสยี ง จำนวน ๑ ชว่ั โมง

.....................................................................................................................................................................................

๑. มำตรฐำนกำรเรยี นรู้

มำตรฐำน ศ ๒.๑ เข้ำใจและแสดงออกทำงดนตรอี ยำ่ งสร้ำงสรรค์วิเครำะห์ วิพำกษ์วิจำรณ์คณุ คำ่ ดนตรี

ถำ่ ยทอดควำมรสู้ กึ ควำมคดิ ตอ่ ดนตรีอยำ่ งอิสระ ชืน่ ชม และประยกุ ต์ใช้ ในชวี ิตประจำวัน

๒. สำระสำคญั
สำมำรถเขำ้ ใจแหลง่ กำเนดิ ของเสยี งจำกแหลง่ กำเนดิ เสยี งทีแ่ ตกต่ำงกนั

๓. ตวั ชวี้ ดั (ถำ้ สำระเพม่ิ เตมิ ใชผ้ ลกำรเรยี นรทู้ ค่ี ำดหวงั )
ศ๒.๑ ม.๒/๑
เปรียบเทยี บกำรใชอ้ งค์ ประกอบดนตรีทมี่ ำจำกวัฒนธรรมตำ่ งกัน

ศ๒.๑ ม.๒/๒
อ่ำน เขยี นรอ้ งโน้ตไทยและโนต้ สำกล ที่มเี ครือ่ งหมำย แปลงเสยี ง

๔. เนื้อหำ

เสยี ง

เป็นคล่ืนเชงิ กลท่เี กดิ จำกกำรสน่ั สะเทือนของวัตถุ เม่ือวตั ถุส่ันสะเทอื น ก็จะทำให้เกดิ กำรอัดตัวและ
ขยำยตัวของคลนื่ เสียง และถูกส่งผ่ำนตวั กลำง เช่น อำกำศ ไปยังหู เสียงสำมำรถเดนิ ทำงผำ่ นสสำรในสถำนะ
กำ๊ ซ ของเหลวและของแข็งกไ็ ด้ แตไ่ มส่ ำมำรถเดินทำงผ่ำนสญุ ญำกำศได้ คล่นื เสยี งเกิดจำก กำรส่นั สะเทือนของวตั ถุ
เมอ่ื วตั ถเุ กดิ กำรส่ันสะเทอื น จะเกดิ กำรถ่ำยโอนพลงั งำนให้กับอนภุ ำคของตวั กลำง ทำให้อนุภำคของตวั กลำงสนั่
แล้วถำ่ ยโอนไปยังอนุภำคอ่ืนๆท่อี ยู่ขำ้ งเคียงให้สัน่ ตำม เปน็ อย่ำงนตี้ อ่ เนอ่ื งไปเรื่อยจนกระทง่ั ถึงอนุภำคตัวกลำงทอี่ ยู่
ตดิ กับเยื่อแก้วหู อนภุ ำคเหลำ่ นส้ี น่ั ไปกระทบเย่อื แก้วหู ทำให้เยื่อแกว้ หูส่ันตำม จงึ ทำให้เรำได้ยนิ เสยี ง

17

ควำมยำวชว่ งคลนื่

ควำมยำวช่วงคลนื่ (wavelength) หมำยถงึ ระยะทำงระหว่ำงยอดคลื่นสองยอดท่ตี ดิ กนั ซ่ึงเกิดขน้ึ ระหวำ่ ง
กำรอัดตัวของคลน่ื เสยี ง (คลำ้ ยคลงึ กับยอดคลื่นในทะเล) ยิง่ ควำมยำวชว่ งคลื่นมมี ำก ควำมถ่ีของเสยี ง (ระดบั เสียง)
ยง่ิ ต่ำลง

๕. สมรรถนะของผเู้ รยี น
๑) ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร
๒) ควำมสำมำรถในกำรคดิ
๓) ควำมสำมำรถในกำรแก้ปญั หำ
๔) ควำมสำมำรถในกำรใชท้ กั ษะชวี ติ
๕) ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี

๖. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
๑) รกั ชำติ ศำสน์ กษตั ริย์
๒) ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ
๓) มวี นิ ัย
๔) ใฝเ่ รียนรู้
๕) อยอู่ ยำ่ งพอเพียง
๖) มงุ่ มั่นในกำรทำงำน
๗) รักควำมเป็นไทย
๘) มีจิตสำธำรณะ

๗. กำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ (บรู ณำกำร / เศรษฐกจิ พอเพยี ง)
ขน้ั นำ
๑) ผสู้ อนแนะนำรหัสวชิ ำ ศ ๒๒๑๐๑ วิชำ ดนตรี ซึ่งเป็นวิชำท่ีอยู่ในกลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ศลิ ปะประกอบด้วย
รำยวชิ ำ ทศั นศลิ ป์ นำฏศลิ ป์ ดนตรี ผเู้ รียนจะไดเ้ รียนรูเ้ กยี่ วกบั ควำมหมำย เทคนิค และกำรปฏิบัตริ อ้ งเพลง
และเครือ่ งดนตรี(เปียโน)
๒) ผูส้ อนอธิบำยและให้นักเรยี นแลกเปลยี่ นควำมคดิ เหน็ ในเรอื่ งควำมหมำยของแหลง่ กำเนดิ ของเสียงและ
ดนตรี โดยยกตัวอย่ำงบทเพลงท่ผี ้เู รยี นช่นื ชอบ
ขน้ั สอน
๓) ผเู้ รยี นอภิปรำยถงึ แหล่งกำเนิดของเสยี ง และระดับของเสยี งจำกวฒั นธรรมของดนตรีไทย และของ
ดนตรสี ำกล
๔) เพือ่ ศกึ ษำค้นคว้ำควำมรจู้ ำกตัวอยำ่ งของแหล่งกำเนดิ เสยี ง และระดับเสียงจำกวฒั นธรรมท่ีต่ำงกัน
จำกแบบเรยี น อินเทอรเ์ น็ต ฯลฯ โดยมคี รูคอยให้คำแนะนำ

18

ขน้ั สรปุ
๕) ผสู้ อนแนะนำเพม่ิ เตมิ เก่ยี วกบั ควำมหมำยแหลง่ กำเนดิ เสยี ง และระดับเสยี งที่มคี วำมแตกต่ำงกนั
๖) ผ้สู อนและผู้เรียนชว่ ยกันสรปุ ประเด็นสำคญั เพ่ือใหเ้ ขำ้ ใจร่วมกัน ผู้สอนสงั เกตสมรรถนะของผเู้ รยี น
และสังเกตคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
๗) ผู้เรยี นทำกิจกรรมหรอื ใบงำนตำมทคี่ รแู นะนำ

๘. สอื่ หรอื แหลง่ กำรเรยี นรู้
๑. หนงั สอื เรยี นรำยวิชำพ้นื ฐำน ดนตรี ช้นั มธั ยมศกึ ษำปีท่ี ๒ ของสำนักพิมพ์เอมพนั ธ์

๙. กำรวดั ผลและประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้
๙.๑ วธิ กี ำรวดั
๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น-หลงั เรยี น
๒) ตรวจแบบทดสอบ
๓) ตรวจสมดุ บันทึกระหวำ่ งเรยี น
๔) สงั เกตพฤตกิ รรมกำรทำงำนกล่มุ
๕) สังเกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
๖) สงั เกตสมรรถนะของนกั เรียน
๗) สงั เกตคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
๙.๒ เครอื่ งมอื
๑) แบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลงั เรียน
๒) แบบทดสอบ
๓) สมดุ บันทึกระหว่ำงเรียน
๔) แบบประเมินพฤติกรรมกำรทำงำนกลมุ่
๕) แบบสังเกตพฤตกิ รรมรำยบคุ คล
๖) แบบสงั เกตสมรรถนะของนักเรยี น
๗) แบบสงั เกตคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
๙.๓ เกณฑก์ ำรประเมนิ
๑) สำหรับช่ัวโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรยี นไม่มีเกณฑ์ผำ่ น เก็บคะแนนไวเ้ ปรียบเทียบ
กับคะแนนท่ไี ด้จำกกำรทดสอบหลงั เรียน
๒) กำรประเมินผลจำกแบบทดสอบ ต้องผำ่ นเกณฑก์ ำรทดสอบเกินร้อยละ ๕๐
๓) กำรประเมินจำกแบบตรวจใบงำน ตอ้ งผำ่ นเกณฑก์ ำรประเมิน เรอื่ งควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจ
กำรนำไปใช้ ทกั ษะ และจติ พิสยั ทุกชอ่ งเกนิ ร้อยละ ๕๐
๔) กำรประเมนิ ผลจำกกำรสงั เกตพฤตกิ รรมกำรทำงำนกลุ่ม ตอ้ งผ่ำนเกณฑก์ ำรประเมนิ
คอื เกนิ ร้อยละ ๕๐
๕) กำรประเมนิ ผลกำรสังเกตพฤตกิ รรมรำยบุคคล เกณฑผ์ ำ่ นกำรประเมิน ตอ้ งไม่มีช่อง

19

ปรับปรุง
๖) กำรประเมนิ ผลกำรสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขนึ้ อยกู่ บั กำรประเมนิ ตำม
สภำพจรงิ
๗) กำรประเมินผลกำรสังเกตคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของนกั เรยี น คะแนนขึน้ อย่กู ับ
กำรประเมินตำมสภำพจรงิ

บนั ทกึ หลงั กำรสอน
เด็กๆใหค้ วำมรว่ มมือเปน็ อย่ำงดี

ลงชอ่ื ........................................................................
(นักศึกษำ)

20

แผนกำรจดั กำรเรยี นรทู้ ี่ ๒

แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ รำยวิชำ ดนตรี รหสั วชิ ำ ศ ๒๒๑๐๑ ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๒

หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ่ี ๒ เรอ่ื ง สญั ลกั ษณม์ อื ทำงดนตรี จำนวน ๑ ชวั่ โมง

.....................................................................................................................................................................................

๑. มำตรฐำนกำรเรยี นรู้

มำตรฐำน ศ ๒.๑ เขำ้ ใจและแสดงออกทำงดนตรีอยำ่ งสรำ้ งสรรคว์ เิ ครำะห์ วพิ ำกษว์ จิ ำรณ์คณุ คำ่ ดนตรี

ถ่ำยทอดควำมรสู้ ึก ควำมคดิ ตอ่ ดนตรีอยำ่ งอสิ ระ ชน่ื ชม และประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวนั

๒. สำระสำคญั
สัญลกั ษณม์ อื ทำงดนตรี สำมำรถบอกระดบั เสยี งทีถ่ กู ต้องในขณะปฏิบตั สิ ัญลักษณม์ อื

๓. มำตรฐำนตวั ชว้ี ดั
ศ๒.๑ ม.๒/๑
เปรียบเทยี บกำรใช้องค์ ประกอบดนตรีที่มำจำกวัฒนธรรมตำ่ งกัน

ศ๒.๑ ม.๒/๒
อำ่ น เขยี นร้องโน้ตไทยและโน้ตสำกล ท่ีมีเครื่องหมำย แปลงเสยี ง

ศ๒.๑ ม.๒/๓
ระบุปจั จยั สำคญั ท่มี ีอทิ ธิพลต่อกำรสรำ้ งสรรคง์ ำนดนตรี

ศ.๒.๑ ม๒/๖
ประเมนิ พัฒนำกำรทักษะทำงดนตรีของตนเอง หลงั จำกกำรฝึกปฏบิ ตั ิ

๔. เนอ้ื หำ
สญั ลกั ษณม์ อื ทำงดนตรี

21

สัญลักษณ์มอื ทำงดนตรี ถกู คิดค้นขึ้นเพอ่ื ใช้ในกำรให้สัญญำณแก่นักรอ้ งประสำนเสยี งในโบสถ์ โดย Guide
D Arezzo และพระชำวอติ ำเลยี นใน ปคี ศ. 990-1050
๕. สมรรถนะของผเู้ รยี น

๑) ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร
๒) ควำมสำมำรถในกำรคดิ
๓) ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ
๔) ควำมสำมำรถในกำรใช้ทกั ษะชีวิต
๕) ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี
๖. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๑) รักชำติ ศำสน์ กษัตรยิ ์
๒) ซ่ือสัตยส์ จุ รติ
๓) มีวินัย

22

๔) ใฝเ่ รยี นรู้
๕) อยู่อย่ำงพอเพยี ง
๖) มุง่ มนั่ ในกำรทำงำน
๗) รักควำมเป็นไทย
๘) มีจติ สำธำรณะ

๗. กำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ (บรู ณำกำร / เศรษฐกจิ พอเพยี ง)
ขนั้ นำ
๑) ผูส้ อนสอบถำมเพ่ือทบทวนเรื่องระดบั เสียง
๒) ผู้สอนอธิบำยถงึ ควำมสำคญั ของระดบั เสยี งทำงดนตรี พร้อมแนะนำเทคนคิ กำรจดจำระดบั เสยี งในวธิ ี
ทีแ่ ตกต่ำงกนั
ขนั้ สอน
๓) ผสู้ อนนำเสนอสญั ลกั ษณม์ ือทำงดนตรี ประวตั คิ วำมเปน็ มำ ควำมสำคญั ในกำรใช้สญั ลกั ษณม์ อื ทำง
ดนตรี
๔) ให้ผเู้ รยี น ปฏบิ ตั สิ ญั ลกั ษณม์ อื เร่ืองระดับเสียงไปพรอ้ มกบั ผสู้ อน โดยใช้เพลง Twingle Twingle
Little Star เข้ำมำประกอบกำรสอน
๕) ใหผ้ ู้เรยี นปฏิบัติสัญลักษณ์มอื ทำงดนตรีด้วยตนเองเพอ่ื เป็นกำรช่วยจำเรอ่ื งระดบั เสียง
ขนั้ สรปุ
๕) ผ้สู อนแนะนำเพมิ่ เตมิ เกยี่ วกบั กำรปฏบิ ตั ิแบบทดสอบ และระดับเสยี งท่มี ีควำมแตกตำ่ งกัน
๖) ผู้สอนและผ้เู รียนช่วยกันสรปุ ประเด็นสำคญั เพื่อใหเ้ ขำ้ ใจรว่ มกนั ผู้สอนสังเกตสมรรถนะของผเู้ รยี น
และสงั เกตคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
๗) ผเู้ รยี นทำกจิ กรรมตำมทีค่ รูแนะนำ

๘. สอ่ื หรอื แหลง่ กำรเรยี นรู้
๑. เคร่ืองดนตรี (เปยี โน)

๙. กำรวดั ผลและประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้
๙.๑ วธิ กี ำรวดั
๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรยี น
๒) ตรวจแบบทดสอบ
๓) สังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุม่
๔) สังเกตพฤตกิ รรมรำยบคุ คล
๕) สังเกตสมรรถนะของนกั เรยี น
๖) สงั เกตคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

23

๙.๒ เครอ่ื งมอื
๑) แบบทดสอบกอ่ นเรยี น-หลังเรียน
๒) แบบทดสอบ
๓) แบบประเมนิ พฤตกิ รรมกำรทำงำนกล่มุ
๔) แบบสงั เกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
๕) แบบสงั เกตสมรรถนะของนกั เรยี น
๖) แบบสงั เกตคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
๙.๓ เกณฑก์ ำรประเมนิ
๑) สำหรับชั่วโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไมม่ ีเกณฑผ์ ำ่ น เกบ็ คะแนนไว้เปรยี บเทยี บ
กบั คะแนนที่ไดจ้ ำกกำรทดสอบหลงั เรียน
๒) กำรประเมนิ ผลจำกแบบทดสอบ ตอ้ งผำ่ นเกณฑก์ ำรทดสอบเกนิ รอ้ ยละ ๕๐
๓) กำรประเมนิ จำกแบบตรวจใบงำน ต้องผำ่ นเกณฑก์ ำรประเมิน เรอ่ื งควำมรูค้ วำมเข้ำใจ
กำรนำไปใช้ ทักษะ และจติ พิสัย ทกุ ช่องเกินรอ้ ยละ ๕๐
๔) กำรประเมนิ ผลจำกกำรสังเกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม ตอ้ งผำ่ นเกณฑ์กำรประเมิน
คือ เกินรอ้ ยละ ๕๐
๕) กำรประเมินผลกำรสังเกตพฤตกิ รรมรำยบุคคล เกณฑผ์ ่ำนกำรประเมนิ ตอ้ งไม่มชี อ่ ง
ปรับปรุง
๖) กำรประเมนิ ผลกำรสงั เกตสมรรถนะของนกั เรียน คะแนนขน้ึ อยกู่ บั กำรประเมินตำม
สภำพจรงิ
๗) กำรประเมนิ ผลกำรสงั เกตคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของนักเรยี น คะแนนขน้ึ อยกู่ ับ
กำรประเมินตำมสภำพจรงิ

24

บนั ทกึ หลังกำรสอน
เด็กนักเรยี นใหค้ วำมรว่ มมือเป็นอย่ำงดีในกำรทำกจิ กรรม เปดิ กล้อง เปิดไมคพ์ ดู คยุ ทำทำ่ ทำงสญั ณำณมอื

แทนตัวโน้ตประกอบเพลง

ลงชอื่ ........................................................................
(นกั ศึกษำ)

25

แผนกำรจดั กำรเรยี นรทู้ ี่ ๓

แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ รำยวชิ ำ ดนตรี รหสั วชิ ำ ศ ๒๒๑๐๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๒

หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ่ี ๕ เรอื่ ง กำรปฏบิ ตั เิ คร่ืองดนตร(ี กตี ำ้ ร)์ จำนวน ๑ ชวั่ โมง

.....................................................................................................................................................................................

๑. มำตรฐำนกำรเรยี นรู้

มำตรฐำน ศ ๒.๑ เข้ำใจและแสดงออกทำงดนตรีอยำ่ งสร้ำงสรรคว์ เิ ครำะห์ วพิ ำกษ์วจิ ำรณ์คณุ ค่ำดนตรี

ถำ่ ยทอดควำมรสู้ ึก ควำมคดิ ต่อดนตรีอยำ่ งอิสระ ชน่ื ชม และประยกุ ต์ใช้ ในชวี ติ ประจำวัน

๒. สำระสำคญั
กำรปฏิบัติเครื่องดนตรี จะต้องฝึกทั้งเครื่องดนตรี กำรฟัง กำรคิดวิเครำะห์ ควำมจำ และทักษะกำร

เคล่ือนไหวร่ำงกำยต่ำงๆ

๓. มำตรฐำนตวั ชวี้ ดั
ม.๒/๔ รอ้ งเพลง และเล่นดนตรีเด่ียว และรวมวง
ม.๒/๕ บรรยำยอำรมณ์ของเพลงและควำมรสู้ กึ ทม่ี ีตอ่ บทเพลงท่ีฟัง
ม.๒/๖ ประเมิน พัฒนำกำรทกั ษะทำงดนตรขี องตนเอง หลงั จำกกำรฝกึ ปฏบิ ตั ิ

๔. เนื้อหำ

กำรปฏบิ ัตกิ ตี ำ้ ร์ โดยกำรฝกึ ไล่น้ิว และกำรจับคอร์ดเบอื้ งต้น ปฏบิ ตั ิในอตั รำจังหวะ 4/4

26

27

๕. สมรรถนะของผเู้ รยี น
๑) ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร
๒) ควำมสำมำรถในกำรคิด
๓) ควำมสำมำรถในกำรแกป้ ญั หำ
๔) ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวติ
๕) ควำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยี

๖. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
๑) รกั ชำติ ศำสน์ กษตั รยิ ์
๒) ซ่อื สัตยส์ จุ รติ
๓) มีวินยั
๔) ใฝเ่ รยี นรู้
๕) อยู่อยำ่ งพอเพยี ง
๖) มุ่งมัน่ ในกำรทำงำน
๗) รักควำมเปน็ ไทย
๘) มีจิตสำธำรณะ

๗. กำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ (บรู ณำกำร / เศรษฐกจิ พอเพยี ง)
ขนั้ นำ
ผสู้ อนกลำ่ วนำในเร่อื งของกำรปฏบิ ตั เิ ครอ่ื งดนตรี ซ่ึงได้แก่ กตี ำ้ ร์ ใหผ้ เู้ รยี นเขียนสว่ นประกอบของ กีตำ้ ร์
รวมทัง้ กำรอธิบำยส่วนประกอบตำ่ งๆ ด้วยเครื่องดนตรีจรงิ
ขน้ั สอน
ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนแบง่ กลุ่ม และนำเครอ่ื งดนตรใี หก้ บั ผู้เรยี นไดป้ ฏิบตั ิ โดยเรม่ิ จำก
1. วิธกี ำรจบั และ กำรจดั ทำ่ นัง่ ในกำรบรรเลง
2. กำรนับสำย และเสียงในสำย เปลำ่ สำยตำ่ งๆ
3. กำรนบั เสียงจำกช่องเสยี งของกตี ำ้ ร์
4. วธิ ีกำรกดสำยในมอื ซำ้ ย วธิ กี ำรดดี สำยในมอื ขวำ
5. กำรกดคอรด์ พืน้ ฐำน โดยใชค้ อร์ด Em C Am G
6. กำรดดี คอรด์ ประกอบกับจังหวะ ในอตั รำจังหวะ 4/4 โดยให้ดดี เป็นโน้ตตวั ดำ 4 จังหวะ สลับกับหยุด
4 จงั หวะจนครบทงั้ 4 คอร์ด
ขนั้ สรปุ
รวบรวมปญั หำของผเู้ รยี นและแนะนำวธิ แี ก้ไขปัญหำนัน้ ๆ

๘. สอ่ื หรอื แหลง่ กำรเรยี นรู้
เครอ่ื งดนตรี ( กตี ำ้ ร์ )

28

๙. กำรวดั ผลและประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้
๙.๑ วธิ กี ำรวดั
๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรยี น
๒) ตรวจแบบทดสอบ
๓) สงั เกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม
๔) สังเกตพฤติกรรมรำยบคุ คล
๕) สังเกตสมรรถนะของนกั เรยี น
๖) สังเกตคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
๙.๒ เครอ่ื งมอื
๑) แบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลงั เรียน
๒) แบบทดสอบ
๓) แบบประเมินพฤตกิ รรมกำรทำงำนกลมุ่
๔) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรำยบคุ คล
๕) แบบสังเกตสมรรถนะของนกั เรยี น
๖) แบบสังเกตคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๙.๓ เกณฑก์ ำรประเมนิ
๑) สำหรับช่ัวโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรยี นไมม่ เี กณฑ์ผำ่ น เก็บคะแนนไวเ้ ปรยี บเทียบ
กับคะแนนที่ไดจ้ ำกกำรทดสอบหลงั เรยี น
๒) กำรประเมินผลจำกแบบทดสอบ ต้องผำ่ นเกณฑ์กำรทดสอบเกินรอ้ ยละ ๕๐
๓) กำรประเมินจำกแบบตรวจใบงำน ต้องผ่ำนเกณฑ์กำรประเมิน เรอื่ งควำมรคู้ วำมเข้ำใจ
กำรนำไปใช้ ทักษะ และจติ พสิ ัย ทุกช่องเกินรอ้ ยละ ๕๐
๔) กำรประเมินผลจำกกำรสงั เกตพฤติกรรมกำรทำงำนกลุ่ม ตอ้ งผำ่ นเกณฑก์ ำรประเมิน
คอื เกนิ ร้อยละ ๕๐
๕) กำรประเมินผลกำรสังเกตพฤตกิ รรมรำยบคุ คล เกณฑผ์ ำ่ นกำรประเมิน ตอ้ งไม่มชี อ่ ง
ปรบั ปรงุ
๖) กำรประเมนิ ผลกำรสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขน้ึ อยกู่ ับกำรประเมินตำม
สภำพจรงิ
๗) กำรประเมนิ ผลกำรสังเกตคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องนกั เรยี น คะแนนขึน้ อยกู่ ับ
กำรประเมนิ ตำมสภำพจริง

29

บนั ทกึ หลังกำรสอน
เดก็ นักเรยี นมคี วำมสนใจในกำรเรยี น เปน็ ผู้ฟงั ทด่ี ี ทำกิจกรรมร่วมกนั

ลงชื่อ........................................................................
(นักศกึ ษำ)

30

ปว.1-5

โครงรำ่ งกำรวจิ ยั ในชนั้ เรยี น

1. ชอ่ื เรอ่ื ง กำรพฒั นำทกั ษะกำรอำ่ นโนต้ สำกลโดยใช้กำรสอนดนตรตี ำมหลักกำรโคดำย ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษำ
ปที ี่ 2 โรงเรยี นวนิ ติ ศกึ ษำในพระรำชูปถัมภ์ฯ จงั หวดั ลพบรุ ี
2. ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั ของปญั หำ

กำรอ่ำนโน้ตที่เป็นสัญลักษณ์ดนตรีได้ก็เหมือนกับกำรพูดภำษำดนตรีได้นั่นเอง พร้อมที่จะนำไปสู่กำร
เรียนรู้ทำงดนตรีที่สูงขึ้น ทำให้เข้ำใจและเล่นทำนองเพลงที่เรำไม่เคยได้ยินมำก่อนได้โดยอำศัยกำรอ่ำนโน้ต ซึ่งถือ
เปน็ หนึง่ ในหัวใจสำคญั ของกำรเรียน ทกั ษะทำงภำษำ “ฟงั พดู อ่ำน และ เขยี น

กำรสอนดนตรีของโคดำย (Kodaly Approach) โซลตำน โคดำย (Zoltan Kodaly , 1882-1967) นกั
กำรศึกษำดนตรีและผู้ประพันธ์เพลงคนสำคัญของฮังกำรี ซึ่งมีหลักกำรสอนดนตรีโดยกำรจัดลำดับเนื้อหำและ
กิจกรรมดนตรีให้สอดคล้องกับพัฒนำกำรของเด็ก โดยมีขั้นตอนจำกง่ำยไปหำยำกเน้นกำรสอนร้องเพลงเป็นหลัก
กำรร้องเพลงเป็นกำรใช้เสียงที่มีอยู่แล้วตำมธรรมชำติซึง่ เด็กคุ้นเคยอยู่แลว้ ฝึกควบคู่กับกำรอ่ำนโน้ต จนสำมำรถ
อำ่ นและเขียนโนต้ ดนตรไี ด้

โคดำยมีควำมคิดว่ำ ดนตรีสำหรับเด็กมีควำมสำคัญและต้องพัฒนำเช่นเดียวกับภำษำ เด็กควรฟังดนตรี
ก่อนแสดงออกทำงกำรร้องหรือกำรเล่น และเมื่อเขำมีประสบกำรณ์เพียงพอก็สำมำรถฝึกกำรอ่ำนและเขียนภำษำ
ดนตรไี ด้

โคดำยมีวิธกี ำรใชส้ ัญลักษณม์ ือในกจิ กรรมกำรสอน และใช้กำรอ่ำนโนต้ ดว้ ยระบบ ซอล –ฟำ ซงึ่ มีขั้นตอน
จำกง่ำยไปหำยำก ซึ่งสำมำรถฝึกโสตประสำททำงดนตรีผู้เรียนได้ทั้งเรื่องจังหวะ ระดับเสียง ทำนอง และกำร
ประสำนเสียง โดยกำรร้องเพลงตำมแบบฝึกหัดของโคดำยซง่ึ มีกำรแบ่งเป็นระดบั ข้นั ตำ่ ง ๆ ให้เหมำะสมกับผ้เู รยี น

ผู้วิจัยคิดว่ำกำรพัฒนำกำรเรียนรู้ของผู้เรียนโดยเริ่มเรียนรู้จำกสิง่ ที่ง่ำยๆไปหำสิ่งที่ยำก จะทำให้ผู้เรียนมี
แรงจูงใจ และมีกำลงั ใจในกำรเรยี น ในกำรพัฒนำทกั ษะ และผลงำนทำงดำ้ นดนตรีสำกลได้

3. วตั ถปุ ระสงคข์ องกำรวจิ ยั
เพอื่ พัฒนำทักษะกำรอำ่ นโนต้ สำกลในรำยวิชำดนตรี-รำฏศลิ ป์ ของนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษำปีที่ 2 โรงเรียน

วนิ ิตศกึ ษำในพระรำชปู ถัมภ์ฯ จังหวดั ลพบรุ ี
4. ขอบเขตของกำรวจิ ยั

ประชำกร นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 2 โรงเรียนวินติ ศกึ ษำในพระรำชปู ถมั ภฯ์ จงั หวัดลพบุรี
เนอ้ื หำ กำรศกึ ษำคร้ังนผ้ี วู้ จิ ยั มุ่งเนน้ กำรพฒั นำกำรอำ่ นโนต้ สำกลโดยใช้กำรสอนดนตรตี ำมหลกั กำรโค

ดำย ของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษำปที ่ี 2 โรงเรยี นวนิ ติ ศกึ ษำในพระรำชูปถัมภฯ์ จังหวัดลพบุรี
5. นยิ ำมศพั ทเ์ ฉพำะ

โน้ตสำกล คือ เครอ่ื งหมำยสญั ลกั ษณช์ นิดหนึ่งทป่ี รำชญ์ทำงดนตรไี ดป้ ระดษิ ฐข์ ึ้น เพ่ือใช้บันทึกบทเพลง
ตำ่ งๆ ไม่ใหส้ ญู หำย และเพอ่ื เผยแพร่ใหก้ ว้ำงขวำงออกไป โดยสำมำรถเปลง่ เสยี งร้องหรอื บรรเลงออกมำเปน็ ทำนอง
เพลงได้ 7 เสียง มชี ื่อเรยี งกันตำมลำดบั คือ โด เร มี ฟำ ซอล ลำ ที

31

6. ประโยชนท์ คี่ ำดวำ่ จะไดร้ บั
นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษำปที ี่ 2 โรงเรยี นวินิตศึกษำในพระรำชปู ถัมภฯ์ จงั หวัดลพบรุ ี มที ักษะกำรอ่ำนโนต้

ดนตรสี ำกลอยใู่ นระดบั ทดี่ ีขน้ึ
7. สมมตฐิ ำนกำรวจิ ยั

นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษำปที ่ี 2 โรงเรยี นวนิ ติ ศึกษำในพระรำชปู ถมั ภฯ์ จงั หวัดลพบรุ ี มที กั ษะกำรอำ่ นโนต้
ดนตรสี ำกลอยู่ในระดับทด่ี ขี ้นึ
8. เอกสำรงำนวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง

ประพันธ์ศักด์ิ พมุ่ อนิ ทร์ สำขำวิชำดุริยำงคศำสตรส์ ำกล คณะศลิ ปกรรมศำสตร์ มหำวทิ ยำลัยศรีนครินทรวิ
โรฒ จำกผลกำรวจิ ยั พบวำ่ วิธีกำรสอนดนตรใี นระบบโคดำย สำมำรถนำไปประยกุ ต์ใช้กบั วิธีกำรสอนปฏบิ ัตเิ ครื่อง
ดนตรใี นระดับพ้ืนฐำนได้ดยี ่ิงขึน้
9. วธิ ดี ำเนนิ กำรวจิ ยั

ประชำกรและกลมุ่ ตัวอยำ่ ง
นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษำปีที่ 2 โรงเรียนวนิ ติ ศึกษำในพระรำชปู ถมั ภฯ์ จงั หวัดลพบุรี จำนวน 10 คน

เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในกำรวจิ ยั
ชุดกจิ กรรมตำมแนวคดิ ของโคดำย

กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู
1. ศึกษำงำนวจิ ัยทเี่ กี่ยวขอ้ ง
2. ผูว้ ิจัยไดส้ รำ้ งแบบทดสอบกอ่ น-หลงั เรียน เร่อื งกำรอ่ำนโนต้ ดนตรสี ำกล
3. เตรียมนักเรยี นทีเ่ ป็นกลมุ่ ตัวอยำ่ งในกำรวจิ ยั
4. ทดสอบก่อนเรยี นกบั กลุ่มตวั อยำ่ ง
5. ดำเนินกำรสอน
6. ทดสอบก่อน-หลังเรยี น เรื่องกำรอำ่ นโนต้ ดนตรสี ำกล
7. นำแบบทดสอบก่อน-หลงั เรยี น มำตรวจให้คะแนน
8. นำคะแนนที่ได้จำกกำรทดสอบมำวเิ ครำะห์หำคำ่ ทำงสถิติ
9. นำผลกำรวเิ ครำะห์มำสรุป

กำรวิเครำะห์ข้อมลู
วิเครำะหจ์ ำกหนงั สือ เอกสำร และกำรใช้วธิ ีกำรสอนดนตรขี องโคดำย และนำมำเปรยี บเทยี บจำกกำร

ทดสอบ

32

ปว.1-6

แบบประเมินกำรปฏบิ ตั ติ นของนักศกึ ษำ

ช่อื นำงสำวพรนภิ ำ หริ ัญ สำขำวชิ ำดนตรศี ึกษำ
รหัสประจำตวั 61115320201 ชื่อโรงเรียน วนิ ติ ศกึ ษำในพระรำชปู ถัมภฯ์

33

34

แบบประเมินดำ้ นคณุ ภำพกำรจดั กำรเรยี นกำรสอน
ชอ่ื นำงสำวพรนภิ ำ หิรัญ
สำขำวชิ ำ ดนตรศี กึ ษำ วชิ ำทสี่ อน ดนตรี ชนั้ มัธยมศกึ ษำปที ี่ 2
โรงเรยี น วนิ ิตศึกษำในพระรำชปู ถัมภฯ์
ชื่อผปู้ ระเมิน นำยศักดร์ิ ินทร์ ศรีชมภู
ประเมินคร้ังที่ 1 วนั ประเมิน วนั ที่ 11 เดือนกนั ยำยน พ.ศ. 2564

คำชแ้ี จง แบบประเมินต่อไปน้เี ปน็ เครอื่ งมอื ในกำรใหค้ ะแนนท่ีมี 2 ลกั ษณะ

1. ขอ้ มลู ในเชิงคณุ ภำพ ใหค้ ะแนนเปน็ 4,3,2 และ 1 ตำมพฤติกรรมท่บี รรยำยในแตล่ ะระดบั

2. ข้อมูลในเชิงปรมิ ำณ หำกแจงนบั ได้ ใหใ้ ช้ลักษณะของปริมำณท่ีปฏิบัตติ ำมจำนวน

ที่กำหนดไวใ้ นแตล่ ะระดับ ดงั น้ี

4 ยอดเย่ยี ม หมำยถึง กำรปฏบิ ตั ิมีปรมิ ำณ 90 - 100 %

3 ดี หมำยถงึ กำรปฏบิ ัติมปี ริมำณ 75 - 89 %

2 พอใช้ หมำยถงึ กำรปฏิบตั ิมปี ริมำณ 60 - 74 %

1 ปรับปรุง หมำยถึง กำรปฏิบัติมปี ริมำณตำ่ กว่ำ 60 %

3. โปรดประเมินใหส้ อดคล้องตำมควำมเปน็ จริงหรือตำมคุณลักษณะของนกั ศกึ ษำ

พร้อมใส่ระดับคะแนนลงในชอ่ งกำรประเมนิ ตำมควำมคิดเห็นของท่ำน

4. โปรดสรปุ จดุ เดน่ จดุ ดอ้ ย และข้อเสนอแนะในทำ้ ยแบบประเมนิ

5. อำจำรย์ผสู้ อนและครูพ่ีเล้ยี ง ประเมินนักศกึ ษำฝกึ สอน

35

36

37

38

ภำคผนวก

39

วันที่ 3 กนั ยำยน 2564

40

วันที่ 8 กนั ยำยน 2564

41

วันที่ 9 กนั ยำยน 2564

42

วันที่ 10 กันยำยน 2564

43

วันที่ 11 กันยำยน 2564

44

แบบลงเวลำฝกึ ปฏบิ ตั วิ ชิ ำชพี ระหวำ่ งเรยี นของนกั ศกึ ษำ

ลำดบั วนั /เดือน/ปี ชอ่ื -สกลุ เวลำปฏบิ ตั งิ ำน รวมชว่ั โมง ลำยมอื ชอ่ื
1 3/9/2564 นกั ศึกษำ 6 ครพู เ่ี ลย้ี ง
2 8/9/2564 พรนภิ ำ หิรญั 09.00-12.00 6
3 9/9/2564 13.00-16.00 6
4 10/9/2564 พรนภิ ำ หริ ญั 09.00-12.00 6
5 11/9/64 13.00-16.00 6
พรนิภำ หริ ัญ 09.00-12.00
13.00-16.00
พรนภิ ำ หิรัญ 09.00-12.00
13.00-16.00
พรนภิ ำ หิรัญ 09.00-12.00
13.00-16.00


Click to View FlipBook Version