The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ศุภณัฐ อุทธสิงห์ 116320801056-6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by osu.thailand, 2022-03-14 14:23:29

ศุภณัฐ อุทธสิงห์ 116320801056-6

ศุภณัฐ อุทธสิงห์ 116320801056-6

ดนตรีตะวนั ตก

นายศุภณฐั อทุ ธสิงห์ รหัสนักศึกษา 116320801056-6

รายงานนเี้ ป็ นส่วนหนึง่ ของการศึกษาวิชาการค้นคว้าและการเขียนรายงานเชิงวชิ าการ
ภาควิชาการถ่ายภาพและภาพยนตร์ คณะเทคโนโลยสี ่ือสารมวลชน
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564

คานา

รายงานฉบบั น้ีจดั ทาข้ึนเพือ่ ปฎิบตั ิการเขียนรายงานการคน้ ควา้ ท่ีถกู ตอ้ งอยา่ งเป็นระบบ
อนั เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษารายวชิ า 01-210-017 การคน้ ควา้ และการเขียนรายงานเชิงวิชาการซ่ึง
จะนาไปใชใ้ นการทารายงานคน้ ควา้ สาหรับรายวชิ าอ่ืนไดอ้ ีกต่อไปการที่ผจู้ ดั ทาเลือกทาเร่ือง
ประวตั ิดนตรีตะวนั ตก ซ่ึงเป็นเน้ือหาท่ีอธิบายใหเ้ ขา้ ใจถึงเรื่อง ประวตั ิความเป็นมาของดนตรี
ตะวนั ตกวา่ แตล่ ะยคุ แต่ละสมยั น้นั กาเนิดข้ึนไดอ้ ยา่ งไร ในเน้ือหาน้นั จะทาใหพ้ ดู อา่ นไดร้ ับความรู้
ความเขา้ ใจมากข้ึนเก่ียวกบั ดนตรีตะวนั ตกต้งั แตอ่ ดีตจนถึงปัจจุบนั

ขอขอบคุณผชู้ ่วยศาตราจารย์ ดร.พนิดา สมประกอบ ที่กรุณาใหค้ วามรู้และคาแนะนาโดย
ตลอด และขอขอบคุณเจา้ ของเวบ็ ไซตท์ ่ีใหค้ วามสะดวกในการหาขอ้ มูล ท่ีผเู้ ขียนใชอ้ า้ งอิงทกุ ทา่ น
หากมีขอ้ บกพร่องประการใด ผเู้ ขียนขอนอ้ มรับไวเ้ พ่ือปรับปรุงต่อไป

ศภุ ณฐั อุทธสิงห์
14 มีนาคม 2565

สารบัญ ข
คานา………………………………………………………………………… ก
บทท่ี 1

บทที่ 1 ………………………………………………………………….

ประวตั ิความเป็นมาของดนตรีสากล………………………………………... 1

บทท่ี 2 ………………………………………......................................... 6

ความเป็ นมาของดนตรี ……………………………………………………. 6

บทที่ 3 …………………………………………………………………. 9

กาเนิดและพฒั นาการดนตรีตะวนั ตกในยคุ ต่างๆ…………………………………. 9

ยคุ กลาง ( Middle age ) …………………………………………………………... 9

ยคุ เรเนสซองส์หรือยคุ ฟ้ื นฟศู ิลปวิทยา (The Renaissance Period) 12

ยคุ บาโรค (Baroque Period )……………………………………………………….. 17
ยคุ คลาสสิก (The Classical Period)………………………………………………… 18
ยคุ โรแมนติก (the Romantic Period)………………………………………………. 19

ยคุ อิมเพรสชนั่ นิสติค (The Impressionistic)……………………………………….. 20

ยคุ ศตวรรษท่ี 20 (The Twentieth Century)………………………………………… 21

บทท่ี 4 สรุป ……………………………………………………………………..... 24

บรรณานุกรม……………………………………………………………………………… 26



บทท่ี 1

บทนา

ประวัตคิ วามเป็ นมาของดนตรีสากล

ดนตรีเป็นส่วนหน่ึงของวิถีชีวติ มนุษย์ มนุษยร์ ู้จกั นาดนตรีมาใชป้ ระโยชน์ต้งั แตย่ คุ ก่อน
ประวตั ิศาสตร์ หลงั จากท่ีมนุษยร์ ู้จกั การจดบนั ทึกขอ้ มูล จึงทาใหค้ นรุ่นหลงั ไดท้ ราบประวตั ิความ
เป็นมาของดนตรี การศึกษาประวตั ิศาสตร์ดนตรี ทาใหเ้ ราเขา้ ใจมนุษยด์ ว้ ยกนั มากข้นึ เขา้ ใจวิถีชีวติ
ความเป็นอยู่ และเขา้ ใจการสืบทอดทางวฒั นธรรมดนตรี

การกาเนิดของเคร่ืองดนตรีเกิดข้ึนต้งั แตส่ มยั โบราณ โดยมนุษยร์ ู้จกั การสร้างเครื่องดนตรี
งา่ ยๆ จากธรรมชาติรอบขา้ งคือ เริ่มจากการปรบมือผิวปาก เคาะหิน หรือนากิ่งไมม้ าตีกนั ซ่ึงตอ่ มา
ไดม้ ีการสร้างเครื่องดนตรีที่มีรูทรงลกั ษณะตา่ งๆ ท่ีแตกตา่ งกนั ไปในแตล่ ะชนชาติ โดยมีการ
แลกเปล่ียนศิลปะวฒั นธรรมและลกั ษณะเครื่องดนตรีของชนชาติ ต่างๆ โดยเฉพาะเครื่องดนตรี
สากลท่ีเป็นเครื่องดนตรีของชาวตะวนั ตกที่นามาเลน่ กนั แพร่หลายในปัจจุบนั สาหรับการกาเนิด
ของดนตรีตะวนั ตกน้นั มาจากเครื่องดนตรีของชนชาติ กรีกโบราณท่ี สร้างเครื่องดนตรีข้ึนมา 3
ชนิดคือ ไลราคีธารา และออโรสจนต่อมามีการพฒั นาสร้างเคร่ืองดนตรีประเภทตา่ งๆ ท้งั ประเภท
เครื่องสายเคร่ืองเป่ า เคร่ืองทองเหลือง เครื่องตี และเครื่องดีดหรือเคร่ืองเคาะ เช่นไวโอลิน ฟลตุ
ทรัมเป็ต กลองชุด กีตาร์ ฯลฯโดยพบเคร่ืองดนตรีสากลไดใ้ นวงดนตรีสากลประเภทต่างๆ ต้งั แต่
สมยั โบราณจนถึงปัจจุบนั

การสืบสาวเร่ืองราวเก่ียวกบั ความเป็นมาของดนตรีต้งั แต่สมยั โบรา ณมา นบั วา่ เป็นเรื่อง
ยากท่ีจะใหไ้ ดเ้ ร่ืองราว สมยั ของการรู้จกั ใชอ้ กั ษรหรือสัญลกั ษณ์อ่ืนๆ พ่ึงจะมีปรากฏและเร่ิมนิยม
ใชก้ นั ในสมยั เร่ิมตน้ ของยคุ Middle age คือระหวา่ งศตวรรษท่ี 5-6 และการบนั ทึกมีเพียง
เคร่ืองหมายแสดงเพียงระดบั ของเสียง และจงั หวะ ( Pitch and time ) ดนตรี เกิดข้นึ มาในโลก
พร้อมๆกบั มนุษยเ์ รานน่ั เอง ในยคุ แรกๆมนุษยอ์ าศยั อยใู่ นป่ าดง ในถ้า ในโพรงไม้ แตก่ ็รู้จกั การ
ร้องราทาเพลงตามธรรมชาติ เช่นรู้จกั ปรบมือ เคาะหิน เคาะไม้ เป่ าปาก เป่ าเขา และเปลง่ เสียง
ร้องตามเร่ือง การร้องราทาเพลงไปเพอ่ื ออ้ นวอนพระเจา้ เพ่อื ช่วยใหต้ นพน้ ภยั บนั ดาลความสุขความ

2

อุดมสมบูรณ์ต่างๆใหแ้ ก่ตน หรือเป็นการบูชาแสดงความขอบคุณพระเจา้ ท่ีบนั ดาลให้ตนมี
ความสุขความสบาย

โลกไดผ้ า่ นหลายยคุ หลายสมยั ดนตรีไดว้ วิ ฒั นาการไปตามความเจริญและความคดิ
สร้างสรรคข์ องมนุษย์ เคร่ืองดนตรีที่เคยใชใ้ นสมยั เริ่มแรกกม็ ีการวิวฒั นาการมาเป็นขนั น้ากลายเป็น
เครื่องดนตรี ท่ีเราเห็นอยทู่ ุกวนั เพลงที่ร้องเพื่อออ้ นวอนพระเจา้ กก็ ลายมาเป็นเพลงสวดทาง
ศาสนา และเพลงร้องโดยทว่ั ๆไป

ในระยะแรก ดนตรีมีเพียงเสียงเดียวและแนวเดียวเทา่ น้นั เรียกวา่ Melody ไมม่ ีการ
ประสานเสียง จนถึงศตวรรษท่ี 12 มนุษยเ์ ราเริ่มรู้จกั การใชเ้ สียงตา่ งๆมาประสานกนั อยา่ งง่ายๆ
เกิดเป็นดนตรีหลายเสียงข้นึ มา

การศึกษาวิชาประวตั ิดนตรีตะวนั ตกหลายคนคงคิดวา่ เป็นเร่ืองไกลตวั เหลือเกิน และมกั มี
คาถามเสมอวา่ จะศึกษาไปทาไมคาตอบก็คือ ดนตรีตะวนั ตกเป็นรากเหงา้ ของดนตรีที่เราไดย้ นิ ได้
ฟังกนั ทุกวนั น้ี ความเป็นมาของดนตรีหรือประวตั ิศาสตร์ดนตรีน้นั หมายถึงการมองยอ้ นหลงั ไปใน
อดีตเพือ่ พยายามทาความเขา้ ใจกบั แงม่ ุมตา่ ง ๆ ของอดีตในแต่ละสมยั นบั เวลายอ้ นกลบั ไปเป็นเวลา
หลายพนั ปี จากสภาพสังคมทแ่ี วด ลอ้ มทศั นะคติและรสนิยมของผสู้ ร้างสรรคแ์ ละผฟู้ ังดนตรีในแต่
ละสมยั น้นั แตก ตา่ งกนั อยา่ งไรจากการลองผิดลองถกู ลองแลว้ ลองอีกการจินตนาการตาม แนวคิด
ของผู้ ประพนั ธ์เพลงจนกระทงั่ กลนั่ กรองออกมาเป็นเพลงใหผ้ คู้ นไดฟ้ ังกนั จนถึง ปัจจุบนั น้ี

การศึกษาเร่ืองราวทางประวตั ิศาสตร์ หรือการมองยอ้ นกลบั ไปในอดีตน้นั นอกจากเป็นไป
เพื่อความสุขใจในกา รไดศ้ ึกษา เรียนรู้ และรับทราบเร่ืองราวของอดีตโดยตรงแลว้ ยงั เป็นการศึกษา
เป็นแนวทางเพื่อทาความเขา้ ใจดนตรีท่ีเกิดข้ึนและการเปลี่ยนแปลงในแงข่ องดนตรีในปัจจุบนั และ
เพือ่ นามาใชใ้ นการทานายหรือคาดเดาถึงแนวโนม้ ของดนตรีในอนาคต ดว้ ย

(ทีมา : http://blog.krudontree.info/?p=143)

3
ดนตรีเกิดข้ึนมาพร้อมกบั มนุษย์ และถือไดว้ า่ เป็นส่วนหน่ึงของชีวิตมนุษย์ มนุษยร์ ู้จกั การ
สร้างเสียงดนตรีเพื่อใชเ้ ป็นเครื่องมือส่ือสาร เช่น การตีเกราะ เคาะไม้ การเป่ าเขาสัตว์ การเป่ าใบไม้
เพอ่ื ส่งสัญญาณต่างๆ มนุษยร์ ู้จกั การร้องราทาเพลง เพ่ือใหห้ ายเครียด เพอื่ ความบนั เทิง หรือเพือ่ การ
ประกอบพธิ ีกรรมต่างๆ กิจกรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกบั เร่ืองของเสียงดนตรี มนุษยไ์ ดท้ าใหเ้ กิดข้ึนอยา่ ง
เป็นธรรมชาติของมนุษยม์ าโดยตลอด ตอ่ มาเมื่อมนุษยไ์ ดส้ นใจดนตรีในดา้ นศิลปะ ดนตรีจึงได้
วิวฒั นาการข้นึ ตามลาดบั

ยุคสมยั ดนตรีตะวนั ตก
ยคุ สมยั ต่าง ๆ เป็นตวั แบง่ เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ บนโลก โดยเริ่มตน้ ต้งั แตส่ มยั ดึกดาบรรพ์ สมยั อารย
ธรรมโบราณ สมยั ตน้ และกลางคริสตศ์ ตวรรษ สมยั บาโรค สมยั คลาสสิค สมยั โรแมนติค และสมยั
ปัจจุบนั การดนตรีในยคุ ต่าง ๆ ก็มีเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ที่สามารถบง่ บอกไดว้ า่ มาจากยคุ ใดและมี
บทบาทอยา่ งไร ดงั ที่ ละเอียด เหราปัตย์ (2522: 1 : ออนไลน์) กล่าววา่ ดนตรีในสมยั ดึกดาบรรพม์ ี
ส่วนเกี่ยวขอ้ งกบั ชีวิตประจาวนั ของมนุษยม์ ากกวา่ ในสมยั ปัจจุบนั เป็นการแสดงออกถึงจิตวทิ ยา
สังคม ศาสนา สิ่งสักการะบชู า และภาษา เพลงทุกเพลงในสมยั ด้งั เดิมจะตอ้ งมีความหมายท้งั สิ้น
การจะเขา้ ใจในเพลงน้นั ๆ อยา่ งถูกตอ้ งแทจ้ ริงจะตอ้ งไปศึกษาจากชาวพ้นื เมืองที่เป็นเจา้ ขอ งบท
เพลงน้นั ดนตรีสมยั ดึกดาบรรพม์ ีหนา้ ที่ 2 ประการสาคญั คอื

(1) ก่อใหเ้ กิดความตื่นเตน้ เร้าใจ
(2) ทาใหเ้ กิดความผอ่ นคลาย ความสุข

4

ต่อมาในอารยธรรมโบราณ (Ancient Civilization) ความเจริญของโลกมีอยใู่ นภมู ิภาค
ตะวนั ออก ชาติที่มีความเจริญทางดา้ นศิลปวฒั นธรรม เช่น จีน ไทย อินเดีย ฯลฯ และภูมิภาคยโุ รป
ตะวนั ออก เช่น อียปิ ต์ ซุเมอร์ บาบิโลเนียน จูเดีย และกรีก ดนตรีท้งั ในเอเซีย และยโุ รปตะวนั ออก
ไดเ้ ร่ิมมีวิวฒั นการข้นึ โดยมีการคิดคน้ บนั ไดเสียงเพอื่ แบ่งแยก จดั ระบบเสียงเป็นของแต่ละชนชาติ
ข้นึ มา เอกลกั ษณ์น้ียงั คงมีร่องรอยอยใู่ นยคุ ปัจจุบนั เช่น บันไดเสียงเพนทาโทนิค (Pentatonic
Scale) กย็ งั คงมีใชก้ นั ในดนตรีภมู ิภาคเอเซีย แต่มีความแตกต่างไปในสาเนียงและการจดั ระบบเสียง
ดนตรีกรีกโบราณ เป็นมรดกทางวฒั นธรรมดนตรีของดนตรีตะวนั ตกที่ยง่ิ ใหญ่ คอื เมื่อประมาณ
1000 ปี ก่อนคริสตกาล มีการคดิ คน้ การแบง่ ระบบเสียงอย่างชดั เจนดว้ ยแนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตร์ โดย
นกั ปราชญก์ รีก คอื พธิ ากอรัส และมีการคิดเรื่องเครื่องดนตรีประกอบการร้อง

มีการใชเ้ ทคนิคการประพนั ธ์เพลงโดยใช้ Mode ซ่ึงมีที่มาจากระบบเตตร้าคอร์ด (Tetrachord)
ก่อใหเ้ กิดบนั ไดเสียงโบราณต่างๆ เป็นปัจจยั พ้นื ฐานของการดนตรีในยคุ ตอ่ ๆ มา

Percy A scholes (อา้ งถึงใน นพพร ด่านสกลุ ,2541:ออนไลน์) ไดก้ ล่าวถึงการก่อเกิดบนั ได
เสียงในดนตรีตะวนั ตกไวอ้ ย่างน่าสนใจ สรุปความวา่ ในราวประมาณ 550 ปี ก่อนคริสตกาล
Pythagoras ไดค้ น้ พบวธิ ีคิดการใชม้ าตรวดั เชิงคณิตศาสตร์กบั ดนตรีไดเ้ ป็นคนแ รก โดยใชเ้ สน้ ลวด
เป็นอปุ กรณ์การทดลอง ซ่ึงทาใหเ้ ขาพบวา่ เสียงท่ีเกิดจากการดีดเส้นลวดจะทีการเปล่ียนแ ปลงดงั น้ี
เมื่อแบง่ คร่ึงเสน้ ลวดระดบั เสียงจะสูงข้ึนกวา่ เดิม

1 ชุดระดบั เสียง (Octave) ถือวา่ เป็นความสาคญั ระดบั แรก เมื่อแบง่ เส้นเสน้ ลวดเป็น 3 ส่วนแลว้ 2
ใน 3 ส่วนของเสน้ ลวดจะมีระดบั เสียงสูงข้ึนเป็นข้นั คู่ 5 เพอร์เฟ็ค ในกรณีน้ีถือวา่ เป็นความสาคญั
ระดบั รองลงมา และหากวา่ แบง่ เส้นลวดออกเป็น 4 ส่วน 3 ใน 4 ส่วนดงั กล่าวจะมีระดบั เสียงสูงข้นึ
จากพ้นื เสียงเดิมเป็นข้นั คู่ 4 เพอร์เฟ็ค กรณีน้ีถือเป็นความสาคญั อนั ดบั 3 จากน้นั Pythagoras ยงั
นาเสนอไวว้ า่ ใน 1 ชุดระดบั เสียง ประกอบดว้ ย กลมุ่ เสียง 4 ระดบั (Tetrachord) 2 ชุดเช่ือมต่อกนั
กลุ่มเสียง 4 ระดบั ตามแนวคิดของ Pythagoras มี 3 รูปแบบดงั ท่ีแสดงต่อไปน้ี

1. semitone – tone – tone เรียกวา่ กลมุ่ เสียง 4 ระดบั แบบดอเรียน (Dorian Tetrachord)

2. tone - semitone – tone เรียกวา่ กลมุ่ เสียง 4 ระดบั แบบฟรีเจียน (Phrygian Tetrachord)

5

3. tone – tone – semitone เรียกวา่ กลุ่มเสียง 4 ระดบั แบบลีเดียน (Lydian Tetrachord)

ความท่ีกล่าวมาแลว้ ขา้ งตน้ ทาใหเ้ ราทราบวา่ พิธากอรัส ไดใ้ ชร้ ะเบียบวิธีคดิ อยา่ งสูงเกี่ยวกบั
การแบ่งระบบของเสียงดนตรี และจากการคิด Tetrachord ชนิดหลกั ๆ ท้งั 3 กลุ่ม เม่ือเรียงต่อ
Tetrachord เขา้ ดว้ ยกนั 2 ชุดจะก่อใหเ้ กิดบนั ไดเสียงต่างๆ ซ่ึงบนั ไดเสียงที่ที่คิดข้ึนไดเ้ รียกวา่ บนั ได
เสียงแบบพิธากอรัส (Pythagorian Scale) และเม่ือมีการขยายความรู้ไปใชใ้ นการขบั ร้องหรือเลน่
เคร่ืองดนตรี ก็จะทาให้เกิดความนิยมเฉพาะกล่มุ จนเป็นชื่อเรียกบนั ไดเสียงข้ึน มาเฉพาะ เช่น บนั ได
เสียงไอโอเนียน (Ionian) ก็มาจากกลุม่ ชนไอโอเนียนที่อยแู่ ถบริมทะเล บนั ไดเสียงไอโอเนียนเป็นท่ี
คุน้ กนั ดีวา่ เป็นบนั ไดเสียงเมเจอร์ (Major Scale) ในยคุ ุปัจจุบนั นนั่ เอง อยา่ งไรกด็ ีในเร่ืองของโหมด
(Mode) หรือบนั ไดเสียงโบราณน้ีไดร้ ับแนวคิดมาต้งั แตส่ มยั กรีกของจริงอยแู่ ต่เมื่อถึงยุคกลางแลว้
ชื่อและลกั ษณะของระบบไม่ตรงกบั ระบบของกรีกเลย ดงั เช่น ดอเรียนโหมดของกรีก คือ โนต้ E- E
(เทียบจากคียบ์ อร์ดแป้นสีขาวท้งั สิ้น) แต่ดอเรียนโหมดของยคุ กลาง คอื โนต้ D- D ซ่ึงวิวฒั นาการ
เหลา่ น้ีเป็นผลมาจากความนิยมในการใชท้ ้งั สิ้น ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ีมาจากหนงั สือ The Music of Early
Greece โดย Beatric Perham (1937:ออนไลน์) ไดแ้ สดงบนั ไดเสียงกรีกโบราณท้งั 3 ประเภทดงั น้ี

Dorian = E D CB, A G FE

Phrygian = D CB A G FE D

Lydian = CB A G FE D C

หมายเหตุ การไล่บนั ไดเสียงดงั กล่าวเป็นตามนิยมของกรีกคือ การไลล่ ง (Descending Scale)
และโนต้ ที่ชิดกนั คอื ระยะคร่ึงเสียง

(semitone) โนต้ ท่ีห่างกนั คือ ระยะเตม็ เสียง (tone)

***(ท่ีมา : http://mecbangna.igetweb.com/?mo=3&art=443759)

6

บทท่ี 2
การแบ่งสมยั ดนตรีตะวันตก

ความเป็ นมาของดนตรี หรือประวตั ิศาสตร์ดนตรี หมายถึง การมองยอ้ นหลงั ไป ในอดีตเพือ่
พยายามทาความเขา้ ใจกบั แง่มุมต่างๆ ของอดีตในแต่ละสมยั นบั เวลายอ้ นกลบั ไป เป็นเวลาหลายพนั
ปี จากสภาพสงั คมแวดลอ้ ม ทศั นคติ และรสนิยมของผสู้ ร้างสรรคแ์ ละผฟู้ ังดนตรี ในแตล่ ะสมยั การ
จินตนาการตามแนวคดิ ของผปู้ ระพนั ธเ์ พลง จนกลน่ั กรองออกมาเป็นเพลงใหผ้ คู้ น ไดฟ้ ังกนั จนถึง
ปัจจุบนั น้ี โครงสร้างของดนตรีตะวนั ตกมีการพฒั นาเปล่ียนแปลงเสมอตามแนวคดิ ของผปู้ ระพนั ธ์
เพลง จึงท าใหเ้ กิดเป็นลกั ษณะดนตรีในแต่ละสมยั ซ่ึงแบง่ ประวตั ิดนตรีตะวนั ตกออกเป็นสมยั ตา่ งๆ
ได้ 9 สมยั (ณรุทธ์ สุทธจิตต,์ 2546: ออนไลน์) ไดแ้ ก่

1. สมยั กรีก (Ancient Greek music) เร่ิมตน้ –330 B.C.

2. สมยั โรมนั (Roman) 330 B.C.–450

3. สมยั กลาง (The Middle Ages) 450–1450

4. สมยั ฟ้ื นฟศู ิลปวทิ ยา หรือเรอเนสซองส์ (The Renaissance Period) 1450–1600

5. สมยั บาโรก (The Baroque Age) 1600–1750

6. สมยั คลาสสิก (The Classical Period) 1750–1820

7. สมยั โรแมนติก (The Roamantic Period) 1820–1900

8. สมยั อิมเพรสชนั นิสติก (The Impressionistic) 1890–1910

9. สมยั ศตวรรษที่ 20 และปัจจุบนั (The Twentieth Century)

ในท่ีน้ีจะขอกลา่ วถึงดนตรีตะวนั ตกในสมยั กลาง (The Middle Ages) และสมยั ฟ้ื นฟู ศิลปวทิ ยา
หรือเรอเนสซองส์ (The Renaissance) เป็นสาคญั จากหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ พบวา่ โครงสร้าง
ทางดนตรีตะวนั ตกไดร้ ับอิทธิพลมาจาก ดนตรีของชนชาติกรีกซ่ึงเป็นชนชาติโบราณท่ีมีอารยธรรม

7
ข้นั สูง กรีกไดป้ ระดิษฐ์คิดคน้ สิ่งตา่ งๆ ท่ี เป็นประโยชนต์ ่อมนุษยไ์ วม้ ากมาย ท้งั ในดา้ นคณิตศาสตร์
ดาราศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และศิลปะดนตรี เมื่อกรีกกลายเป็นส่วนหน่ึงของอาณาจกั รโรมนั
วฒั นธรรมดา้ นดนตรีท้งั หมดจึงถูกถา่ ยทอดไปสู่โรมนั เม่ืออาณาจกั รโรมนั ล่มสลาย วฒั นธรรม
ดนตรีท่ีโรมนั รับมาจากกรีกไดแ้ พร่กระจายไปสู่ชนชาติต่างๆ ทว่ั ภาคพ้นื ยโุ รป เม่ือคริสตศ์ าสนา
เกิดข้นึ ดนตรีก็ยงิ่ มีบทบาทควบค่เู ป็นเงาตามตวั ไปดว้ ย

ในช่วงศตวรรษท่ี 5–15 (ราว ค.ศ. 450–1450) อาจเรียกวา่ สมยั เมดิอีวลั (Medieval Period)
เป็นช่วงที่วฒั นธรรมตะวนั ตกเร่ิมเปลี่ยนจากยคุ มืด (The Dark Ages) สมยั น้ีเจริญสูงสุดในช่วง
ประมาณศตวรรษที่ 12–13 ศาสนามีอ านาจสูงมากท้งั ดา้ นปัญญาและสปิ ริต ทาใหค้ นสามารถ
รวมกนั ได้ หลงั จากน้นั ก็เร่ิมเสื่อมลงแลว้ ตามดว้ ยสงครามร้อยปี ระหวา่ งองั กฤษและฝร่ังเศส หลงั
สงครามเกิดการแตกแยกข้นึ ดนตรีสมยั กลางถือเป็นจุดก าเนิดของดนตรีคลาสสิก เริ่มตน้ เมื่อ ค.ศ.
476 ซ่ึงเป็นปี ลม่ สลาย ของจกั รวรรดิโรมนั มีจุดประสงคเ์ พื่อประกอบพธิ ีกรรมที่เกี่ยวขอ้ งกบั
ศาสนา และคาดกนั วา่ มีตน้ ก าเนิด มาจากดนตรีในยคุ กรีกโบราณ รูปแบบดนตรีในสมยั น้ีส่วนใหญ่
เป็นเพลงร้อง โดยเฉพาะเพลงสวด (Chant) เป็นเพลงแบบมีท านองเดียว (Monophony) ระยะแรก
เป็นดนตรีแบบไม่มีอตั ราจงั หวะ (Nonmetrical) แต่ในตอนปลายของสมยั กลางเร่ิมมีการร้องเพลง
แบบที่มีแนวท านองหลายแนว สอดประสานกนั (Vocal polyphony) ซ่ึงพฒั นามาจากเพลงสวด
(Chant) ใชเ้ ป็นอตั ราจงั หวะ 3/4 และ ในศตวรรษที่ 14 มกั ใชเ้ ป็นอตั ราจงั หวะ 2/4 โดยเพลงร้องพบ
ไดท้ ว่ั ไปและเป็นที่นิยมมากกวา่ เพลงบรรเลงดว้ ยดนตรีรูปแบบของเพลงเป็นแบบลอ้ ทานอง
(Canon)

ภาพประกอบการเล่นดนตรีของนกั ดนตรีเรร่อนปลายยุคกลาง

8

การขบั ร้องบทสวด หรือเพลงชานท์ (Chant) แต่เดิมสมยั โรมนั ไม่มีดนตรีประกอบ เป็นการ ขบั ร้อง
แตเ่ พียงอยา่ งเดียวเท่าน้นั สมยั กลางตอนตน้ ในช่วงศตวรรษที่ 9 เป็นตน้ มา เพลงชานทท์ ่ีรู้จกั กนั ใน
นามของเกรกอเรียน ชานท์ (Gregorian Chant) ไดร้ ับการพฒั นามาเป็นรูปแบบของการขบั ร้องแบบ
สอดประสาน (Polyphony) จนถึงศตวรรษที่ 13 ซ่ึงถือเป็นการเร่ิมการประสานเสียงคร้ังแรกแห่ง
ดนตรีตะวนั ตก ทาใหเ้ สียงร้องมีความหนกั แน่นมากข้ึน มีความไพเราะข้ึน

9

บทท่ี 3
กาเนดิ และพฒั นาการดนตรีตะวันตกในยคุ ต่างๆ

1. ยุคกลาง ( Middle age )

เริ่มประมาณปี ค.ศ. 400 - 1400 ในสมยั กลางน้ีโบสถเ์ ป็นศนู ยก์ ลางท้งั ทางดา้ นดนตรี ศิลปะ
การศึกษาและการเมือง วิวฒั นาการของดนตรีตะวนั ตกมีการบนั ทึกไวต้ ้งั แต่เริ่มแรกของคริสต์
ศาสนา บทเพลงทางศาสนาซ่ึงเกิดข้นึ จากกราประสมประสานระหวา่ งดนตรีโรมนั โบราณกบั
ดนตรียวิ โบราณ เพลงแต่งเพ่ือพธิ ีทางศาสนาคริสตเ์ ป็นส่วนใหญ่ โดยนาคาสอนจากพระคมั ภีร์มา
ร้องเป็นทานอง เพ่ือใหป้ ระชาชนไดเ้ กิดอาราณ์ซาบซ้ึง และมีศรัทธาแก่กลา้ ในศาสนา ไม่ใช่เพือ่
ความไพเราะของทานอง หรือความสนุกสนานของจงั หวะ เมื่อศาสนาคริสตแ์ พร่กระจายไปทวั่ โลก
ประเทศต่างๆ ไดน้ าบทเพลงที่ชาติตนเองคุน้ เคยมาร้องในพธิ ีสักการะพระเจา้ ดงั น้นั เพลงท่ีใชร้ ้อง
ในพิธีของศาสนาคริสตจ์ ึงแตกตา่ งกนั ไปตามภมู ิภาคและเช้ือชาติที่นบั ถือ

ภาพประกอบ จากหนงั สือประจาชวั่ โมงแห่งอองเชส์จากคริสตท์ ศวรรษ 1470

10
เม่ือคริสตศ์ าสนาเขม้ แขง็ ข้ึน ไดม้ ีการกาหนดหลกั เกณฑท์ ่ีแน่นอนในการขบั ร้องเพลงสวด ท่ี
เรียกวา่ ชานท์ (Chant) จนเป็นท่ียอมรับในหมูพ่ วกศาสนาคริสต์ สันตะปาปาเกรกอรี (Pope
Gregory the Great) พระผนู้ าศาสนาในยคุ น้นั คือ ผทู้ ่ีรวบรวมบทสวดต่างๆ ที่มีอยู่ ใหเ้ ป็น
หมวดหมู่ เปลี่ยนคาร้องจากภาษากรีกใหเ้ ป็นภาษาละติน กาหนดลาดบั เพลงสวดไวอ้ ยา่ งชดั เจน
เพ่ือใหท้ กุ คนปฏิบตั ิเหมือนกนั ผลงานการรวบรวมบทสวดของสนั ตะปาปาเกรกอรี ถูกเรียกวา่
เกรกอรีชานท์ (Gregory Chant)หรือบทสวดของเกรกอรี ซ่ึงในศาสนาคริสตน์ ิกายโรมนั แคธอลิค
ก็ยงั นามาใชอ้ ยจู่ นปัจจุบนั ชานทเ์ ป็นบทเพลงรองท่ีมีแตท่ านอง ไมม่ ีการประสานเสียงและไม่มีการ
บงั คบั จงั หวะ แตข่ ้ึนอยกู่ บั ความเชี่ยวชาญและรสนิยมของนกั ร้องเอง เพลงประเภทน้ีถูก
เรียกวา่ เพลงเสียงเดยี ว หรือเรียกวา่ โมโนโฟนี (Monophony)

ตัวอย่างโน้ตเพลงโบราณ
ววิ ฒั นาการท่ีสาคญั ที่สุดของดนตรีเกิดข้ึนที่ปลายยคุ กลาง ราวคริสตศ์ ตวรรษท่ี 9 คือ การเพิ่มแนว
ร้องข้ึนอีกแนวหน่ึง เป็นเสียงร้องท่ีเป็นคขู่ นานกบั ทานองหลกั กาหนดใหร้ ้องพร้อมกนั ไป วธิ ีการ
เขยี นเพลงท่ีมี 2 แนวน้ีเรียกวา่ ออร์แกนุม (Organum) จากจุดเริ่มน้ีเองดนตรีสากลก็ไดพ้ ฒั นาไป
อยา่ งมากมาย จากแนวสองแนวท่ีขนานกนั เป็นสองแนวแต่ไมจ่ าเป็นตอ้ งขนานกนั เสมอไป

11
สวนทางกนั ได้ ต่อมาไดเ้ พ่ิมเสียงสองแนวเป็นสามแนวและเป็นสี่แนว จากเพลงร้องด้งั เดิมท่ีมีเพยี ง
เสียงเดียว ไดพ้ ฒั นาข้ึนกลายเป็นเพลงหลายแนวเสียงหรือเรียกวา่ โพลโี ฟนี (Polyphony)

ตวั อย่างโน้ตเพลง 2 แนว
ปลายยคุ กลางไดม้ ีการเลน่ ดนตรีนอกวงการศาสนาข้ึนบา้ ง โดยมีกลมุ่ นกั ดนตรีเร่ร่อนเท่ียวไป
ในท่ีตา่ งๆ เปิ ดการแสดงดนตรีประกอบการเลา่ นิทาน เล่าเร่ืองการต่อสู้ของนกั รบผกู้ ลา้ หาญ ร้อง
เพลง หรือบรรเลงดนตรีประกอบการแสดงมายากล แสดงกายกรรม แสดงการตน้ ระบาต่างๆ
จุดมุ่งหมายคือความบนั เทิง นกั ดนตรีพเนจรเหล่าน้ี กระจายอยทุ่ วั่ ภาคพ้นื ยโุ รป มีชื่อเรียกตา่ งกนั ไป
พวกจองเกลอ (Jonglour) อย่ทู วั่ ไปในยโุ รป พวกมิสสเทรล (Minstrel) เร่ร่อนอยใู่ นองั กฤษ พวกท
รูแวร์ (Trouveres) ทาหนา้ ที่บรรเลงเพลงในราชสานกั ทางตอนเหนือของประเทศฝรั่งเศส และ
พวกทรูบาร์ดวั ร์ (Troubadour) ทาหนา้ ทีบรรเลงเพลงในราชสานกั ทางตอนใตข้ องประเทศฝร่ังเศส

12
2. ยุคเรเนสซองส์หรือยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยา (The Renaissance Period)
สมยั เรเนสซองส์ หรือ สมยั ฟ้ื นฟูศิลปวิทยา เริ่มประมาณ ค.ศ. 1400 – 1600 เพลงศาสนายงั มี
ความสาคญั อยเู่ ช่นเดิม เพลงสาหรับประชาชนทวั่ ไป เพือ่ ใหค้ วามบนั เทิง ความสนุกสนาน ก็เกิดข้ึน
ดว้ ย การประสานเสียงไดร้ ับการพฒั นาใหก้ ลมกลืนข้ึน เพลงศาสนาเป็นรากฐานของทฤษฎีการ
ประสานเสียง เพลงในยคุ น้ีแบง่ เป็นสองแบบ ส่วนใหญจ่ ะเป็นแบบที่เรียกวา่ อิมมิเททีฟโพลีโฟนี
(Imitative Polyphony) คือ มีหลายแนว และแต่ละแนวจะเร่ิมไมพ่ ร้อมกนั ทกุ แนวเสียงมี
ความสาคญั แบบที่สองเรียกว่า โฮโมโฟนี (Homophony) คือ มีหลายแนวเสียงและบรรเลงไปพร้อม
กนั มีเพียงแนวเสียงเดียวท่ีเด่น แนวเสียงอ่ืนๆ เป็นเพียงเสียงประกอบ เพลงในสมยั น้ี ยงั ไมม่ ีการ
แบ่งจงั หวะท่ีแน่นอน คือ ยงั ไม่มีการแบ่งหอ้ งออกเป็น 3/4 หรือ 4/4 เพลงส่วนใหญ่ก็ยงั เก่ียวขอ้ งกบั
คริสตศ์ าสนาอยเู่ พลงประกอบข้นั ต อนต่างๆ ของพิธีทางศาสนาท่ีสาคญั คอื เพลงแมส (Mass) และ
โมเตท็ (Motet) คาร้องเป็นภาษาละติน เพลงท่ีไมใ่ ช่เพลงศาสนากเ็ ริ่มนิยมกนั มากข้ึน ไดแ้ ก่ เพลง
ประเภท แมดริกลั (Madrigal) ซ่ึงมีเน้ือร้องเก่ียวกบั ความรัก หรือยกยอ่ งบคุ คลสาคญั และมกั จะมี
จงั หวะสนุกสนาน นอกจากน้ียงั ใชภ้ าษาประจาชาติของแต่ละชาติ
เพลงบรรเลงเริ่มมีบทบาทในยคุ น้ี เครื่องดนตรีท่ีนามาใชใ้ นการบรรเลง คือ ลูท ออร์แกนลม
ฮาร์พซิคอร์ด เวอจินลั ขลยุ่ เรคอร์เดอร์ ซอวิโอล องคป์ ระกอบสาคญั อยา่ งหน่ึงของดนตรียคุ น้ีท่ีถกู
นามาใช้ คอื ความดงั - เบาของเสียงดนตรี (Dynamic)

ภาพการเลน่ ดนตรียคุ เรเนสซองส์

13

ภาพ The Birth of Venus
คาวา่ “Renaissance” แปลวา่ “การเกิดใหม่ ” (Re-birth) ซ่ึงหมายถึงช่วงเวลาท่ีปัญญาชนในยโุ รปได้
หนั ความสนใจจากกิจการฝ่ายศาสนาท่ีไดป้ ฏิบตั ิมาอยา่ งเคร่งครัดตล อดสมยั กลาง มาสู่การฟ้ื นฟู
ศิลปวทิ ยา
ซ่ึงมีแนวความคดิ อ่านและวฒั นธรรมตามแบบกรีก และโรมนั โบราณ สมยั แห่งการฟ้ื นฟศู ิลปวทิ ยา
น้ี ไดเ้ ริ่มข้นึ คร้ังแรกตามหวั เมืองภาคเหนือของแหลมอิตาลี
โดยไดเ้ ริ่มข้นึ ที่เมืองฟลอเรนซ์ ก่อนแลว้ จึงแพร่ไปยงั เวนิช ปิ สา เจนวั จนทวั่ แควน้ ทสั คานีและลอม
บาร์ดี จากน้นั จึงแพร่ไปทว่ั แหลมอิตาลีแลว้ ขยายตวั เขา้ ไปในฝรั่งเศส เยอรมนี เบลเยยี่ ม
เนเธอร์แลนด์ และองั กฤษ

ลกั ษณะของดนตรีในสมยั น้ียงั คงมีรูปแบบคลา้ ยในสมยั ศิลป์ ใหม่ แต่ไดม้ ีการปรับปรุงพฒั นา
รูปแบบมากข้ึน ลกั ษณะการสอดประสานทานอง ยงั คงเป็นลกั ษณะเด่น เพลงร้องยงั คงนิยมกนั แต่
เพลงบรรเลงเริ่มมีบทบาทมากข้นึ ในช่วงศตวรรษที่ 15 และ 16 รูปแบบของดนตรีมีความแตกต่าง
กนั ดงั น้ี (ไขแสง ศุขะวฒั นะ,2535:ออนไลน์)

14

1. สมยั ศตวรรษท่ี 15

ประชาชนทว่ั ไปไดห้ ลุดพน้ จากการปกครองระบอบศกั ดินา (Feudalism) มนุษยนิยม (Humanism)
ไดก้ ลายเป็นลทั ธิสาคญั ทางปรัชญา ศิลปิ นผมู้ ีชื่อเสียง คอื ลอเร็นโซ กิแบร์ตี โดนาเต็ลโล เลโอนาร์
โด ดา วินชิ ฯลฯ เพลงมกั จะมี 3 แนว โดยแนวบนสุดจะมีลกั ษณะน่าสนใจกวา่ แนวอ่ืน ๆ เพลงท่ี

ประกอบดว้ ยเสียง 4 แนว ในลกั ษณะของโซปราโน อลั โต เทเนอร์ เบส

เริ่มนิยมประพนั ธ์กนั ซ่ึงเป็นรากฐานของการประสานเสียง 4 แนว ในสมยั ต่อ ๆ มา เพลงโบสถ์
จาพวก
แมสซ่ึงพฒั นามาจากแชนทม์ ีการประพนั ธ์กนั เช่นเดียวกบั ในสมยั กลาง เพลงโมเตต็ ยงั มีรูปแบบ
คลา้ ยสมยั ศิลป์ ใหม่ ในระยะน้ีเพลงคฤหสั ถเ์ ริ่มมีการสอดประสานเกิดข้นึ คือ เพลงประเภทซงั ซอง
แบบสอดประสาน (Polyphonic chanson) ซ่ึงมีแนวทานองเด่น 1 แนว และมีแนวอ่ืนสอดประสาน
แบบลอ้ กนั (Imitative style) ซ่ึงมีแนวโนม้ เป็นลกั ษณะของการใส่เสียงประสาน (Homophony)

ลกั ษณะลอ้ กนั แบบน้ีเป็นลกั ษณะสาคญั ของเพลงในสมยั น้ี นอกจากน้ีมีการนารูปแบบของโมเตต็ มา
ประพนั ธ์เป็นเพลงแมสและการนา หลกั ของแคนนอนมาใชใ้ นเพลงแมสดว้ ย

15

2. สมยั ศตวรรษที่ 16

มนุษยนิยมยงั คงเป็นลทั ธิสาคญั ทางปรัชญา การปฏิรูปทางศาสนาและการตอ่ ตา้ นการปฏิรูปทาง
ศาสนาของพวกคาทอลิก เป็นเหตกุ ารณ์สาคญั ยงิ่ ของคริสตศ์ าสนาเพลงร้อง แบบสอดประสาน
ทานองพฒั นาจนมีความสมบูรณ์แบบเพลงร้องยงั คงเป็นลกั ษณะเด่น แต่เพลงบรรเลงก็เร่ิมนิยมกนั
มากข้นึ เพลงโบสถย์ งั มีอิทธิพลจากเพลงโบสถข์ องโรมนั แต่กม็ ีเพลงโบสถข์ องนิกายโปรแตส
แตนทเ์ กิดข้นึ การประสานเสียงเริ่มมีหลกั เกณฑม์ ากข้นึ การใชก้ ารประสานเสียงสลบั กบั การลอ้ กนั
ของทานองเป็นลกั ษณะหน่ึงข องเพลงในสมยั น้ี การแต่งเพลงแมสและโมเตต็ นาหลกั ของการลอ้
กนั ของทานองมาใชแ้ ต่เป็นแบบฟิ วก์ (Fugue) ซ่ึงพฒั นามาจากแคนนอน คือ การลอ้ ของทานองท่ีมี
การแบ่งเป็นส่วน ๆ ที่สลบั ซบั ซอ้ น
มีหลกั เกณฑม์ ากข้ึนในสมยั น้ีมีการปฏิวตั ิทางดนตรีเกิดข้ึนในเยอ รมนั ซ่ึงเป็นเร่ืองของความขดั แยง้

ทางศาสนากบั พวกโรมนั แคธอลิก จึงมีการแต่งเพลงข้นึ มาใหมโ่ ดยใชก้ ฏเกณฑใ์ หมด่ ว้ ยเพลงท่ีเกิด
ข้นึ มาใหม่เป็นเพลงสวดท่ีเรียกวา่ “โคราล” (Chorale) ซ่ึงเป็นเพลงท่ีนามาจากแชนทแ์ ต่ใส่อตั รา
จงั หวะเขา้ ไป นอกจากน้ียงั เป็นเพลงท่ีนามาจากเพลงคฤหสั ถโ์ ดย ใส่เน้ือเป็นเรื่องศาสนาและเป็น
เพลงท่ีแตง่ ข้นึ ใหม่ดว้ ย เพลงในสมยั น้ีเร่ิมมีอตั ราจงั หวะแน่นอน เพลงคฤหสั ถม์ ีการพฒั นาท้งั ใชผ้ ู้
ร้องและการบรรเลง กลา่ วไดว้ า่ ดนตรีในศตวรรษน้ีมีรูปแบบ ใหม่ ๆ เกิดข้นึ และหลกั การตา่ ง ๆ มี
แบบแผนมากข้นึ

ในสมยั น้ีมนุษยเ์ ร่ิมเห็นความสาคญั ของดนตรีมาก โดยถือวา่ ดนตรีเป็นส่วนหน่ึงของชีวิต

16

นอกจากจะใหด้ นตรีในศาสนาสืบเน่ืองมาจากสมยั กลาง (Middle Ages) แลว้ ยงั ตอ้ งการดนตรีของ
คฤหสั ถ์ (Secular Music) เพ่ือพกั ผอ่ นในยามวา่ ง เพราะฉะน้นั ในสมยั น้ีดนตรีของคฤหสั ถ์ (Secular
Music)

และดนตรีศาสนา (Sacred Music) มีความสาคญั เท่ากนั

สรุปลกั ษณะบทเพลงในสมยั น้ี

1. บทร้องใชโ้ พลีโฟนี (Polyphony) ส่วนใหญ่ใช้ 3-4 แนว ในศตวรรษที่ 16 ไดช้ ื่อวา่

“The Golden Age of Polyphony”

2. มีการพฒั นา Rhythm ในแบบ Duple time และ Triple time ข้ึน
3. การประสานเสียงใชค้ ู่ 3 ตลอด และเป็นสมยั สุดทา้ ยที่มีรูปแบบของขบั ร้องและบรรเลง
เหมือนกนั

เครื่องดนตรีสมยั รีเนซองส์

- เคร่ืองดนตรีในสมยั น้ีที่นิยมใชก้ นั ไดแ้ ก่ เครื่องสายท่ีบรรเลงดว้ ยการใชค้ นั ชกั
ไดแ้ ก่ ซอวโิ อล (Viols) ขนาดต่าง ๆ ซอรีเบค (Rebec) ซ่ึงตวั ซอมีทรวดทรงคลา้ ยลกู แพร์เป็น
เครื่องสายที่ใชค้ นั ชกั ลูท เวอร์จินลั คลาวิคอร์ด ขลยุ่ รีคอร์เดอร์ ปี่ ชอม ปี่ คอร์เนต็ แตรทรัมเปต และ
แตรทรอมโบนโบราณ เป็นตน้

17

3.ยุคบาโรค (Baroque Period )

เป็นยคุ ของดนตรีในระหวา่ งศตวรรษท่ี17-18 (ราว ค.ศ. 1600-1750) การสอดประสาน
เป็นลกั ษณะที่พบไดเ้ สมอในปลายยคุ ช่วงตน้ ยคุ มีการใชล้ กั ษณะการใส่เสียงประสาน
(Homophony) เริ่มนิยมการใชเ้ สียงเมเจอร์ และไมเนอร์ แทนการใชโ้ หมดตา่ งๆ การประสาน
เสียงมีหลกั เกณฑเ์ ป็นระบบ มีการใชเ้ สียงหลกั (Tonal canter) อตั ราจงั หวะเป็นส่ิงสาคญั ของบท
เพลง การใชล้ กั ษณะของเสียงเก่ียวกบั ความดงั ค่อย เป็นลกั ษณะของความดงั -คอ่ ย มากกวา่ จะใช้
ลกั ษณะค่อยๆ ดงั ข้ึนหรือค่อยๆลง (Crescendo, diminuendo)ไมม่ ีลกั ษณะของความดงั ค่อยอยา่ ง
มาก (Fortissimo, pianisso) บทเพลงบรรเลงดว้ ยเคร่ืองดนตรีเป็นที่นิยมมากข้นึ บทเพลงร้อง
ยงั คงมีอยแู่ ละเป็นทีนิยมเช่นกนั นิยมการนาวงดนตรีเล่นผสมกบั การเลน่ เดี่ยวของกลมุ่ เครื่อง
ดนตรี 2-3 ชิ้น(Concerto grosso) นกั ดนตรีที่ควรรู้จกั คือ มอนเมแวร์ดี คอเรลลี ววิ ลั ดี บาค ฮนั เดล
(ไขแสง ศขุ ะวฒั นะ,2535:ออนไลน์)

18

4. ยุคคลาสสิก (The Classical Period)

เริ่มประมาณ ค.ศ. 1750 – 1820 สมยั น้ีดนตรีไดเ้ ร่ิมออกมาแพร่หลายถึงประชาชนมากยงิ่ ข้ึน
สถาบนั ศาสนามิไดเ้ ป็นศนู ยก์ ลางของดนตรีอีกตอ่ ไป ดนตรีในยคุ น้ีถือวา่ เป็นดนตรีบริสุทธ์ิ

(Pure Music หรือ Absolute Music) เพลงต่างๆ นิยมแตง่ ข้นึ เพื่อการฟังโดยเฉพาะ มิใช่เพอ่ื ประกอบ
พธิ ีศาสนาหรือพิธีอ่ืนๆ เป็นระยะเวลาแห่งดนตรีเพ่ือดนตรี เพลงส่วนใหญ่เป็นเพลงบรรเลง เพอื่ ฟัง
ความไพเราะของเสียงดนตรีอยา่ งแทจ้ ริง เป็นลกั ษณะดนตรีที่ตอ้ งใชแ้ สดงความสามารถในการ
บรรเลงมากข้ึน การประสานทานองแบบโพลีโฟนีใชน้ อ้ ยลงไป การประสานทานองแบบโฮ
โมโฟนีถูกนามาใชม้ ากข้นึ มีการนากฎเกณฑม์ าใชใ้ นการแตง่ เพลงอยา่ งเคร่งครัด รวมท้งั นาเอา
องคป์ ระกอบของดนตรีมาใชอ้ ยา่ งครบถว้ น มีการกาหนดอตั ราจงั หวะ กาหนดใหจ้ านวนจงั หวะ
สม่าเสมอเทา่ กนั ทกุ หอ้ ง การเขยี นเพลงในยคุ น้ีสนใจความแตกต่าง (Contrast) การใชจ้ งั หวะ มีท้งั
จงั หวะชา้ และเร็ว สลบั กนั ไปตามจานวนของท่อนเพลงการเขียนทานองเพลง มีการพฒั นาใหม้ ี
หลกั เกณฑแ์ ละมีความสมดุล เช่น ทานองประโยคหน่ึงจะแบ่งเป็น 2 วรรค คอื วรรคถาม และวรรค
ตอบ ใหม้ ีความยาวเทา่ ๆ กนั ดา้ นเสียงประสานน้นั ก็ไดพ้ ฒั นากา้ วหนา้ ตอ่ ไปอีก นาการเปลี่ยน
บนั ไดเสียงในระหวา่ งบทเพลงมาใชแ้ ลว้ จึงกลบั มาหาบนั ไดเ้ สียงเดิมในตอนจบเพลง ในดา้ น
น้าเสียงน้นั ยคุ น้ีใหค้ วามสนใจเป็นพิเศษ การจดั วงออร์เคสตรา ใชเ้ ครื่องดนตรีครบทุกประเภท ไดม้ ี
การประดิษฐ์เคร่ืองดนตรีใหม่ๆ ที่ไดใ้ ชก้ นั มาจนถึงปัจจุบนั หลายเครื่องที่สาคญั ที่สุด คือ เปี ยโน
(Piano)

เพลงที่นิยมแตง่ ก็พฒั นามาจากสมยั บาโรค แต่ไดม้ ีการปรับปรุงใหย้ ง่ิ ใหญ่ข้นึ รวมท้งั เพลง
ประเภทอุปรากร โอราทอริโอ คอนแชร์โต โซนาตา และเพลงซิมโฟนี ซ่ึงต่อมานิยมแตง่ มากท่ีสุด
คือเพลงซิมโฟนี

19

5. ยุคโรแมนติก (the Romantic Period)

ความหมายของคาวา่ “โรแมนติก” กวา้ งมากจนยากที่จะหานิยามส้ัน ๆ ใหไ้ ด้ ในทางดนตรีมกั ให้
ความหมายวา่ ลกั ษณะที่ตรงกนั ขา้ มกบั ดนตรีคลาสสิก กลา่ วคอื ขณะที่ดนตรีคลาสสิกเนน้ ที่
รูปแบบอนั ลงตวั แน่นอน (Formality)โรแมนติกจะเนน้ ท่ีเน้ือหา(Content) คลาสสิกเนน้ ความมี
เหตุผลเกี่ยวขอ้ งกนั (Rationalism)โรแมนติกเนน้ ท่ีอารมณ์ (Emotionalism) และคลาสสิกเป็น
ตวั แทนความคดิ แบบภววสิ ยั (Objectivity) โรแมนติกจะเป็นตวั แทนของอตั วิสยั (Subjectivity)
(ณรุทธ์ สุทธจิตต,์ 2535 :184)

นอกจากน้ียงั มีคานิยามเกี่ยวกบั ดนตรีสมยั โรแมนติก ดงั น้ี
- คณุ ลกั ษณะของการยอมใหแ้ สดงออกไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่ซ่ึงจินตนาการ อารมณ์ที่หวน่ั ไหว และ
ความรู้สึกทางใจ
- ในดนตรีและวรรณกรรม หมายถึง คาท่ีตรงกนั ขา้ มกบั คาวา่ “Classicism” เสรีภาพที่พน้ จากการ
เหนี่ยวร้ังทางจิตใจ หรือจารีตนิยมเพือ่ ที่จะกระทาการในเรื่องใด ๆ

ดนตรีสมยั น้ีเริ่มประมาณปี ค.ศ. 1820 – 1900 ถือวา่ เป็นยคุ ทองของดนตรี ดนตรีมิไดเ้ ป็นเอกสิทธ์ิ
ของผนู้ าทางศาสนาหรือการปกครอง ไดม้ ีการแสดงดนตรี (Concert) สาหรับสาธารณชนอยา่ ง
แพร่หลาย นกั ดนตรีแต่ละคนมีโอกาสแสดงออกซ่ึงความรู้สึกของตนเองไดเ้ ตม็ ที ่่ และตอ้ งการ
สร้างสไตลก์ ารเขียนเพลงของตนเองดว้ ย ทาใหเ้ กิดสไตล์การเขยี นเพลงของแต่ละทา่ นแตกตา่ งกนั
อยา่ งมาก ในยคุ น้ีใชด้ นตรีเป็นเครื่องแสดงออกของอารมณ์อยา่ งเตม็ ท่ี ทกุ ๆ อารมณ์สามารถ

20

ถ่ายทอดออกมาไดด้ ว้ ยเสียงดนตรีอยา่ งเห็นไดช้ ดั ดนตรีในยคุ น้ีจึงไม่คานึงถึงรูปแบบ และความ
สมดุล แต่จะเนน้ เน้ือหา วา่ ดนตรีกาลงั จะบอกเร่ืองอะไร ใหอ้ ารมณ์อยา่ งไร เช่น แสดงออกถึงความ
รัก ความโกรธ ความเศร้าโศกเสียใจ

6. ยคุ อมิ เพรสช่ันนสิ ติค (The Impressionistic)

ในตอนปลายของศตวรรษท่ี 19 จนถึงตอนตน้ ของศตวรรษที่ 20 (1890 - 1910) ซ่ึงอยใู่ นช่วงของยคุ
โรแมนติกน้ี มีดนตรีท่ีไดร้ ับการพฒั นาข้ึนโดยเดอบสู ซี ผปู้ ระพนั ธเ์ พลงชาวฝรั่งเศสโดยการใช้
ลกั ษณะของบนั ไดเสียงแบบเสียงเตม็ (Whole-tone Scale) ทาใหเ้ กิดลกั ษณะของเพลงอีกแบหน่ึงข้นึ
เนื่องจากลกั ษณะของบนั ไดเสียงแบบเสียงเตม็ น้ีเองทาใหเ้ พลงในยคุ น้ีมีลกั ษณะ ลกึ ลบั ไมก่ ระจ่าง
ชดั เพราะคอร์ดที่ใชจ้ ะเป็นลกั ษณะของอ๊อกเมนเตด็ (Augmented) มีการใชค้ อร์ดคู่ 6 ขนาน
ลกั ษณะของความรู้สึกที่ไดจ้ ากเพลงประเภทน้ีจะเป็นลกั ษณะของความ รู้สึก “คลา้ ยๆ วา่ จะ
เป็น” หรือ “คลา้ ยๆ วา่ จะเหมือน” มากวา่ จะเป็นความรู้สึกท่ีแน่ชดั ลงไปวา่ เป็นอะไร ซ่ึงเป็นความ
ประสงคข์ องการประพนั ธเ์ พลงประเภทน้ี ชื่ออิมเพรสชน่ั นิสติค หรือ อิมเพรสชนั่ นิซึมน้นั เป็นชื่อ
ยคุ ของศิลปะการวาดภาพที่เกิดข้นึ ในฝร่ังเศส โดยมี Monet,Manet และ Renoir เป็นผสู้ ร้างสรรค์
ข้นึ มา ซ่ึงเป็นศิลปะการวาดภาพท่ีประกอบดว้ ยการแตม้ แตง่ สีเป็นจุดๆ มิใช่เป็นการระบายสีทว่ั ๆ
ไป แต่ผลท่ีไดก้ ็เป็นรูปลกั ษณะของคนหรือภาพววิ ได้ ทางดนตรีไดน้ าช่ือน้ีมาใช้ ผปู้ ระพนั ธ์เพลง
ในแนวน้ีนอกไปจากเดอบสู ซีแลว้ ยงั มี ราเวล ดูคาส เดลิอุส สตราวนิ สกี และโชนเบิร์ก (ผลงาน
ระยะแรก) เป็นตน้

ดนตรีอิมเพรสชนั่ นิสติกไดเ้ ปลี่ยนแปลงบนั ไดเสียงเสียใหมแ่ ทนท่ี จะเป็นแบบเดียโทนิค
(Diatonic) ซ่ึงมี 7 เสียงอยา่ งเพลงทว่ั ไป

21
กลบั เป็นบนั ไดเสียงที่มี 6 เสียง (ซ่ึงระยะห่างหน่ึงเสียงเต็มตลอด) เรียกวา่ “โฮลโทนสเกล” (Whole

– tone Scale)

นอกจากน้ีคอร์ดทกุ คอร์ดยงั เคล่ือนไปเป็นค่ขู นานที่เรียกว่า “Gliding Chords” และส่วนใหญ่ของ
บทเพลงจะใชล้ ีลาที่เรียบ ๆ
และนุ่มนวล เนื่องจากลกั ษณะของบนั ไดเสียงแบบเสียงเต็มน้ีเองบางคร้ังทาใหเ้ พลงในสมยั น้ีมี
ลกั ษณะลึกลบั ไมก่ ระจ่างชดั
ลกั ษณะของความรู้สึกที่ได้ จากเพลงประเภทน้ีจะเป็นลกั ษณะของความรู้สึก “คลา้ ย ๆ วา่ จะเป็น…”
หรือ
“คลา้ ย ๆ วา่ จะเหมือน…” มากกวา่ จะเป็นความรู้สึกที่แน่ชดั ลงไปวา่ เป็นอะไร

(ณรุทธ์ สุทธจิตต,์ 2535 :174)

7. ยุคศตวรรษที่ 20 (The Twentieth Century)

เริ่มจากปี ค.ศ. 1900 จนถึงปัจจุบนั ดนตรีในยคุ น้ีมีความหลากหลายมาก เนื่องจากสภาพสังคม
ท่ีเป็นอยู่ คีตกวพี ยายามท่ีจะสร้างองคค์ วามรู้ใหมข่ ้ึนมา มีการทดลองการใชเ้ สียงแบบแปลกๆ การ
ประสาน ทานองเพลงมีท้งั รูปแบบเดิม และรูปแบบใหม่ คีตกวีเริ่มเบ่ือและรู้สึกอึดอดั ที่จะตอ้ งแต่ง
เพลงไปตามกฎเกณฑ์ ที่ถกู บงั คบั โดยระบบกุญแจหลกั และบนั ไดเสียงเมเจอร์ และไมเนอร์ จึง
พยายามหาทางออกต่างๆ กนั ไป มีการใชเ้ สียงประสานอยา่ งอิสระ ไมเ่ ป็นไปตามกฎของดนตรี
จดั ลาดบั คอร์ดทาตามความตอ้ งการของตน ตามสีสันของเสียงที่ตนตอ้ งการ ทานองไม่มีแนวท่ี
ชดั เจนรัดกุม เหมือนทานองยคุ คลาสสิค หรือโรแมนติค ฟังเพลงเหมือนไม่มีกลุ่มเสียงหลกั ในคร่ึง
หลงั ของสมยั น้ี การดนตรีรุดหนา้ ไปอยา่ งไมล่ ดละ นอกจากมีการฝ่าฝืนกฎเกณฑท์ างดา้ นทฤษฎี
แลว้ ยงั มีการใชเ้ ครื่องไฟฟ้าเขา้ มาประกอบดว้ ย เช่น มีการใชเ้ สียงซ่ึงทาข้นึ โดยระบบไฟฟ้า เป็น
สญั ญาณเสียงในระบบอนาล็อกหรือดิจิตอล หรือใชเ้ ทปอดั เสียงในส่ิงแวดลอ้ มตา่ งๆ มาเปิ ดร่วมกบั
ดนตรีที่แสดงสดๆ บนเวที และเสียงอ่ืนๆ อีกมากยคุ น้ีจึงเป็นสมยั ของการทดลองและบกุ เบิก

หลงั จากดนตรีสมยั โรแมนติกผา่ นไป ความเจริญในดา้ นตา่ ง ๆ กม็ ีความสาคญั และมีการพฒั นา
อยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดมา ความเจริญทางดา้ นการคา้ ความเจริญทางดา้ นเทคโนโลยี ความกา้ วหนา้

22
ทางดา้ นวิทยาศาสตร์ การขนส่ง การส่ือสาร ดาวเทียม หรือ แมก้ ระทง่ั ทางดา้ นคอมพิวเตอร์ ทาให้
แนวความคิดทศั นคติของมนุษยเ์ ราเปลี่ยนแปลงไปและแตกตา่ งจาก แนวคิดของคนในสมยั ก่อน ๆ
จึงส่งผลใหด้ นตรีมีการพฒั นาเกิดข้ึนหลายรูปแบบ คตี กวีท้งั หลายต่างก็ไดพ้ ยายามคิดวธิ ีการแตง่
เพลง การสร้างเสียงใหม่ ๆ รวมถึงรูปแบบการบรรเลงดนตรี เป็นตน้

จากขา้ งตน้ น้ีจึงส่งผลโดยตรงต่อการพฒั นาเปล่ียนแปลงรูปแบบของดน ตรีในสมยั ศตวรรษที่ 20
ความเปล่ียนแปลงในทางดนตรีของคีตกวใี นศตวรรษน้ีก็คอื คตี กวมี ีความคิดที่จะทดลองสิ่งใหม่ ๆ
แสวงหาทฤษฎีใหม่ ๆ ข้นึ มาเพือ่ รองรับความคิดสร้างสรรคก์ บั สิ่งใหม่ ๆ ใหก้ บั ตวั เอง
ดนตรีในศตวรรษที่ 20 น้ี กล่าวไดว้ า่ เป็นลกั ษณะของดนตรีที่มีหลายรูปแบบนอกจากน้ียงั มีกา รใช้
บนั ไดเสียงมากกวา่ 1 บนั ไดเสียงในขณะเดียวกนั ท่ีเรียกวา่ “โพลีโทนาลิต้ี” (Polytonality) ในขณะท่ี
การใชบ้ นั ไดเสียงแบบ 12 เสียง ที่เรียกวา่ “อโทนาลิต้ี” (Atonality) เพลงจาพวกน้ียงั คงใชเ้ ครื่อง
ดนตรีท่ีมีมาแต่เดิมเป็นหลกั ในการบรรเลง
ลกั ษณะของบทเพลงในสมยั ศตวรรษท่ี 20
ดนตรีในศตวรรษที่ 20 น้ีไม่อาจท่ีจะคาดคะเนไดม้ ากนกั เน่ืองจากมีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว
ตามความเจริญกา้ วหนา้ ทาง ดา้ นเทคโนโลยกี ารเล่ือนไหลทางวฒั นธรรม คนในโลกเริ่มใกลช้ ิดกนั
มากข้ึน (Globalization) โดยใชเ้ ครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ หรืออินเตอร์เน็ต (Internet) ในส่วนของ
องคป์ ระกอบทางดนตรีในศตวรรษน้ีมีความซบั ซอ้ นมากข้นึ มาตรฐานของรูปแบบที่ใชใ้ นการ

23

ประพนั ธแ์ ละการทาเสียงประสานโดยยดึ แบ บแผนมาจากสมยั คลาสสิก ไดม้ ีการปรับปรุง
เปล่ียนแปลงและสร้างทฤษฎขี ้ึนมาใหมเ่ พอ่ื รองรับ

ดนตรีอีกลกั ษณะคอื บทเพลงที่ประพนั ธข์ ้ึนมาเพ่ือบรรเลงดว้ ยเครื่องดนตรีอีเลคโทรนิ ค ซ่ึงเสียง
เกิดข้ึนจากคลื่นความถ่ีจากเคร่ืองอิเลคโทรนิค (Electronic) ส่งผลใหบ้ ทเพลงมีสีสันของเสียง
แตกตา่ งออกไปจากเสียงเครื่องดนตรีประเภทธรรมชาติ (Acoustic) ท่ีมีอยู่

อยา่ งไรก็ตามการจดั โครงสร้างของดนตรียงั คงเนน้ ท่ีองคป์ ระกอบหลกั 4 ประการเหมือนเดิม
กลา่ วคอื ระดบั เสียงความดงั ค่อยของเสียง ความส้ันยาวของโนต้ และสีสนั ของเสียง

(ณรุทธ์ สุทธจิตต,์ 2535 : ออนไลน์)

24

บทที่ 4

สรุป

ดนตรีมีตน้ กาเนิดมาจากภาษาพูด จากการเลียนเสียงธรรมชาติต่างๆ จนวิวฒั นาการมาเป็น
ดนตรีขบั ร้อง หรือดนตรีท่ีใชน้ ้าเสียงมนุษยเ์ ช่นเดียวกบั ดนตรีในซีกโลกอื่นๆ จากดนตรีขบั ร้องได้
พฒั นาไปตามลาดบั พฒั นาการของสงั คมตะวนั ตก ดนตรีประกอบพธิ ีกรรมจึงพฒั นาไปเป็นดนตรี
ศาสนาในสมยั ตน้ คริสตศ์ ตวรรษ ( ค.ศ. 300 – 850 ) ดนตรีสมยั น้ีไดแ้ ก่ Chants และ Gregorian
Chants จากปี ค.ศ. 850 – 1450 เป็นดนตรีสมยั กลางท่ีแบง่ ยอ่ ยเป็น

ดนตรีสมัยกลาง ยคุ น้ีคอื ช่วงเวลาระหวา่ งศตวรรษที่ 5-15 (ราว ค.ศ. 450-1400) อาจ
เรียกวา่ ยคุ เมดิอีวลั (Medieval Period) ดนตรีในยคุ น้ีเป็น vocal polyphony คือ เป็นเพลงร้องโดยมี
แนวทานองหลายแนวสอดประสานกนั ซ่ึงพฒั นามาจากเพลงสวด (Chant) และเป็นเพลงแบบมี
ทานองเดียว (Monophony) ในระยะแรกเป็นดนตรีที่ไม่มีอตั ราจงั หวะ (Non-metrical) ในระยะ
ตอ่ มาใชอ้ ตั ราจงั หวะ ¾ ต่อมาในศตวรรษท่ี 14 มกั ใชอ้ ตั ราจงั หวะ 2/4 เพลงร้องพบไดท้ ว่ั ไป และ
เป็นท่ีนิยมมากกวา่ เพลงท่ีบรรเลงดว้ ยเครื่องดนตรี รูปแบบของเพลงเป็นแบบลอ้
ทานอง (Canon) นกั ดนตรีที่ควรรู้จกั คอื มาโซทแ์ ละแลนดินี

ดนตรีสมัยบาร็อค เป็นยคุ ของดนตรีในระหวา่ งศตวรรษที่17-18 (ราว ค.ศ. 1600-1750) การ
สอดประสาน เป็นลกั ษณะท่ีพบไดเ้ สมอในปลายยคุ ช่วงตน้ ยคุ มีการใชล้ กั ษณะการใส่เสียง
ประสาน(Homophony) เริ่มนิยมการใชเ้ สียงเมเจอร์ และไมเนอร์ แทนการใชโ้ หมดตา่ งๆ การ
ประสานเสียงมีหลกั เกณฑเ์ ป็นระบบ มีการใชเ้ สียงหลกั (Tonal canter) อตั ราจงั หวะเป็นส่ิงสาคญั
ของบทเพลง การใชล้ กั ษณะของเสียงเกี่ยวกบั ความดงั ค่อย เป็นลกั ษณะของความดงั -
คอ่ ย มากกวา่ จะใชล้ กั ษณะค่อยๆ ดงั ข้ึนหรือค่อยๆลง (Crescendo, diminuendo)ไม่มีลกั ษณะของ
ความดงั ค่อยอยา่ งมาก (Fortissimo, pianisso) บทเพลงบรรเลงดว้ ยเคร่ืองดนตรีเป็นที่นิยมมาก
ข้นึ บทเพลงร้องยงั คงมีอยู่และเป็นทีนิยมเช่นกนั นิยมการนาวงดนตรีเลน่ ผสมกบั การเลน่ เด่ียว
ของกลมุ่ เครื่องดนตรี 2-3 ชิ้น(Concerto grosso) นกั ดนตรีที่ควรรู้จกั คือ มอนเมแวร์ดี คอเรล
ลี วิวลั ดี บาค ฮนั เดล

25

มาจนถึง ดนตรีร่วมสมยั หรือดนตรีศตวรรษท่ี 20 (ค.ศ. 1930 – ปัจจุบนั ) เป็นดนตรีท่ีมี
พลงั งานไฟฟ้า เครื่องดนตรีไฟฟ้าเขา้ ไปมีบทบาทเหนือเคร่ืองดนตรีท่ีใหเ้ สียงตามธรรมชาติ

26

บรรณานุกรม

Warawut : 2555 ประวัตดิ นตรีตะวนั ตก ออนไลน์
เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://sites.google.com/site/nonghongmusic/prawati-dntri-tawan-tk

ไขแสง ศขุ ะวฒั นะ. 2554. สังคตี นิยมวา่ ดว้ ย: ดนตรีตะวนั ตก. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานิช.

ชาติชาย ชนชีวฒั น.์ n.d. ยคุ สมยั ของดนตรีตะวนั ตก. ครูไทยหวั ใจศิลปะ[Online].

เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://www.kruchatchai.com/westmusic.html
https://sites.google.com/site/28846dd/yukh-smay-dntri-tawan-tk

ณรุทธ์ สุทธจิตต.์ 2546. สงั คีตนิยม ความซาบซ้ึงในดนตรีตะวนั ตก. พิมพค์ ร้ังที่ 4 ฉบบั ปรับปรุง
แกไ้ ข. กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

Pantown. n.d. เคร่ืองดนรีในยคุ กลาง[Online] ม.ป.ป
เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://www.pantown.com/board.php?id=13220&area=4&name=board10&topic=24&

ดนตรีสมยั รีเนซองส์ [Online]. ม.ป.ป
เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://www.sadetmusic.com/music/soth4.htm

ดนตรีสมยั กลาง[Online] ม.ป.ป
เขา้ ถึงไดจ้ าก: (google.com)

ประวตั ิดนตรีตะวันตก [Online]. ม.ป.ป
เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://old-book.ru.ac.th/e-book/m/MU103(54)/MU103-
7.pdf?fbclid=IwAR1elRjjaVTYaltwqQciNTU9wk58hJH0umJEJEcs8Y1IS1UAuF9JaAMZ
Mpc

ยคุ อิมเพรสชนั่ นิสติค (The Impressionistic) [Online]. ม.ป.ป
https://sites.google.com/site/28846dd/yukh-smay-dntri-tawan-tk/6-yu-khxim-phe-rs-chan-ni-sti-
kh-the-impressionistic

ยคุ ศตวรรษท่ี 20 (The Twentieth Century) [Online] ม.ป.ป
เข้าถึงได้จาก: https://sites.google.com/site/28846dd/yukh-smay-dntri-tawan-tk/7-yukh-stwrrs-
thi-20-the-twentieth-century


Click to View FlipBook Version