The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปรายงานผลโครงการเสริมสร้างคุณธรรมฯ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สรุปรายงานผลโครงการเสริมสร้างคุณธรรมฯ

สรุปรายงานผลโครงการเสริมสร้างคุณธรรมฯ



คาํ นํา
สํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 26 ไดจ ัดทําโครงการเสริมสรา งคุณธรรม
จรยิ ธรรม และธรรมมาภิบาลใน สถานศึกษา “ปอ งกนั การทุจริต” (กิจกรรมสาํ นักงานเขตพนื้ ท่ี
การศึกษาสุจรติ ) โดยไดร ับงบประมาณจากสํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน เพ่อื พัฒนา
บุคลากรขององคกรใหป ฏิบัติหนา ท่อี ยา งมีคุณธรรม จริยธรรม ความโปรง ใสเพ่ือเปน พ้นื ฐานทนี่ าํ ไปสู
การพัฒนาองคกรใหมีความเจริญกา วหนา สอดคลองกบั นโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขั้นพ้ืนฐานและสาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหง ชาติ ซ่ึงการดาํ เนินงาน
โครงการไดเสร็จส้นิ แลว จงึ ไดจดั ทําเอกสาร รายงานผลการดําเนนิ งานโครงการเสริมสรา งคณุ ธรรม
จรยิ ธรรม และธรรมมาภิบาลใน สถานศึกษา “ปอ งกนั การทุจรติ ” (กิจกรรมสํานักงานเขตพนื้ ท่ี
การศกึ ษาสจุ ริต) สํานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 26 ข้ึน ทง้ั น้ีไดร ับความรวมมอื จาก
บคุ ลากรในสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ครู และผูบ รหิ ารสถานศึกษาในสงั กดั ท่ีเสนอแนะใหข อมูลเพ่อื
การปรับปรุงพัฒนาเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาใหเ ปนเขตพืน้ ท่ีการศึกษาสุจรติ และพฒั นาสูค วามย่งั ยืนใหเกิด
ความโปรงใส มคี วามพรอมรับผิดชอบ ปลอดจาการทุจริตในการปฏบิ ัติงาน มวี ัฒนธรรม และคณุ ภาพใน
การทาํ งาน
ขอขอบคุณ คณะกรรมการทุกฝา ย ทีไ่ ดจดั ทํารายงานการดําเนนิ งานโครงการ เสรมิ สราง
คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและธรรมมาภิบาลใน สถานศกึ ษา “ปอ งกนั การทจุ ริต” (กิจกรรมสํานักงานเขตพน้ื ท่ี
การศกึ ษาสุจริต) สาํ นกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 26 ปงบประมาณ 2562 เพ่อื เปน
ประโยชนแ ละเผยแพรสูสาธารณชนตอ ไป

สำ�นักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 26 ก1

สารบัญ

คำ�นำ� หน้า
สารบัญ ก
สารบัญตาราง ข
บทที่ 1 บทน�ำ ง
1
ความเป็นมา 1
วตั ถปุ ระสงค์ 3
ขอบเขตการรายงาน 3
กลุ่มเป้าหมาย 4
เคร่ืองมอื ที่ใช้ 4
บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎแี ละเอกสารท่ีเกยี่ วขอ้ ง 5
บริบทส�ำ นกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 26 6
ความเปน็ มาของสำ�นกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาสจุ ริต 8
วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ ยุทธศาสตร์ ส�ำ นักงานเคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 19
ปฏญิ ญาสำ�นักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาสุจริต 21
แนวคดิ เกีย่ วกับการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการทำ�งาน 22
การประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนนิ งาน 38
การบรหิ ารจัดการเขตสจุ รติ ส�ำ นักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 26 44
บทที่ 3 วธิ ีการดำ�เนินการโครงการ 47
ศึกษาเอกสารทีเ่ กย่ี วข้องกบั การดำ�เนนิ โครงการ 47
กลุม่ เป้าหมาย 47
เครอื่ งมือทีใ่ ชใ้ นการรายงาน 48
วิธกี ารดำ�เนินการ 48
การด�ำ เนนิ การตามโครงการ 50
การวิเคราะหข์ อ้ มูล 53
สถิติทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล 54
บทท่ี 4 วิเคราะห์สรุปการดำ�เนนิ งาน ปัญหา ข้อเสนอแนะแนวทางการแกป้ ัญหา 57
ผลคะแนนการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการท�ำ งาน 57
ผลการด�ำ เนินงานโครงการตามแบบตรวจการเปิดเผยข้อมลู สาธารณะ 60
ผลการสำ�รวจความคิดเห็นสำ�หรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสฯ 77
ผลการประเมนิ โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จรยิ ธรรมและธรรมภบิ าลฯ 93
ส่งิ ทีค่ วรปรบั ปรงุ
100

ข2 สำ�นักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 26

สารบญั (ตอ่ ) หน้า
ส่งิ ทปี่ ระทบั ใจ 100
ขอ้ เสนอแนะ 100
บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะในการพัฒนา 103
สรุปผล 109
อภิปรายผล 115
ปัญหาและอุปสรรคภาพรวมของเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 26 117
วธิ แี ก้ไขปัญหาภาพรวมของเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 26 118
ขอ้ เสนอแนะ 118
บรรณานุกรม 119
ภาคผนวก 121

สำ�นกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ค3

สารบญั ตาราง

ตารางที่ หน้า
2.1 ตารางแสดงสัดสว่ นนำ้�หนกั คะแนน 42
2.2 แสดงผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ�เนินงานของส�ำ นัก
งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 26 ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2559–2561 43
4.1 ผลคะแนนการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ�เนนิ งาน
ของส�ำ นักงานเขตพ้นื ที่ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 26 ปงี บประมาณ 2562 43
4.2 ดัชนีความโปร่งใส 62
4.3 ตวั ชีว้ ัดที่ 2 การใชง้ บประมาณ 80
4.4 ตัวชี้วดั ที่ 3 การใช้อ�ำ นาจ 81
4.5 ตัวช้ีวัดที่ 4 การใชท้ รัพยส์ นิ ของราชการ 82
4.6 ตวั ชว้ี ัดที่ 5 การแกไ้ ขปญั หาการทจุ รติ 83
4.7 ตัวชี้วัดที่ 6 คณุ ภาพการด�ำ เนินงาน 84
4.8 ตัวชี้วัดท่ี 7 ประสิทธภิ าพการส่อื สาร 86
4.9 ตวั ชว้ี ัดที่ 8 การปรับปรงุ ระบบการทำ�งาน 87
4.10 ตัวชว้ี ัดท่ี 9 การเปดิ เผยขอ้ มลู 88
4.11 ตวั ชี้วัดที่ 10 การปอ้ งกันการทุจรติ 91
4.12 ท่านตดิ ตอ่ ราชการ/ขอรบั บรกิ ารผา่ นช่องทาง 92
4.13 เรอ่ื งทม่ี าตดิ ต่อราชการ 92
4.14 ระดบั ความพงึ พอใจในการให้บรกิ าร 93
4.15 ผลการประเมนิ กิจกรรมจดั กจิ กรรมการประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารพัฒนา
บคุ ลากรส�ำ นักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 26 94
4.16 ผลการประเมนิ กจิ กรรมการประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการ จัดท�ำ มาตรการภายใน
เพอ่ื ป้องกันการทจุ รติ 95
4.17 ผลการประเมนิ กิจกรรมประชมุ สร้างความเข้าใจและประเมิน ITA Online 97
4.18 ผลการประเมนิ กิจกรรมการประชมุ การรายงานผลแบบสำ�รวจเผยแพร่
ข้อมลู สาธารณะ (OIT) 98
4.19 การขยายผลการดำ�เนินการจัดทำ�ฐานขอ้ มูลโครงการโรงเรยี นสุจริต 99

4ง ส�ำ นักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 26

บทท่ี 1
บทนํา
ความเปน มา
การทจุ ริตในสังคมไทยระหวางชว งเวลากวาทศวรรษ สงผลเสียตอประเทศอยา งมหาศาลและเปน
อุปสรรคสาํ คญั ตอการพัฒนาเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง ในทุกมิติ รูปแบบการทุจริตจากเดมิ ท่เี ปนทุจริต
ทางตรงไมซบั ซอน อาทิ การรับสินบน การจัดซื้อจัดจา ง ในปจจุบนั ไดปรับเปล่ียนเปนการทุจรติ ท่ซี ับซอน
มากข้ึนตัวอยา งเชน การทจุ ริตเชิงนโยบาย การทจุ รติ ขามแดนขามชาติ ซ่งึ เช่ือมโยงไปสูอาชญากรรมอน่ื ๆ
มากมายและสงผลกระทบทางลบในวงกวาง
รัฐบาลไดต ระหนักในสถานการณก ารทุจริตท้ังในภาครฐั และในระดับชาติ พลเอกประยุทธ จันทรโอชา
นายกรัฐมนตรี ไดป ระกาศนโยบายในการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ ปรากฏในดานการสง เสรมิ
การบริหารราชการแผน ดนิ ท่ีมธี รรมาภบิ าลและการปองกันปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบใน
ภาครัฐขอ 10.5 ใชมาตรการทางกฎหมาย การปลกู ฝงคา นิยม คุณธรรม จริยธรรมและจิตสํานกึ ในการรักษา
ศักด์ิศรีของความเปนขาราชการและความซ่ือสตั ยส ุจรติ ควบคกู บั การบรหิ ารจดั การภาครฐั ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ
เพ่ือปองกนั และปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมิชอบของเจา หนา ที่ของรฐั ทุกระดับอยางเครง ครัด
ยกเลิกหรือแกไขกฎหมาย ระเบยี บ ขอ บังคับตาง ๆ ที่ไมจําเปน สรา งภาระแกป ระชาชนเกินควร หรอื เปด
ชอ งโอกาสการทุจริต เชน ระเบยี บการจดั ซ้ือจัดจา ง การอนุญาต อนมุ ตั ิ และการขอรับบริการจากรฐั ซง่ึ มี
ขนั้ ตอนยดื ยาวใชเวลานาน ซํ้าซอนและเสียคา ใชจา ยทั้งของภาครัฐและประชาชน ประกอบกบั ยุทธศาสตร
ชาตวิ า ดวยการปอ งกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (2560 – 2564) ซ่ึงเปนกรอบทศิ ทางการ
ดาํ เนนิ การของทุกภาคสวนในการปองกันและปราบปรามการทจุ รติ และนโยบายปราบปรามการทุจรติ ของ
รัฐบาล ทมี่ งุ สงเสรมิ ปลกู จิตสํานกึ ใหสงั คมไทยมีวินยั และยึดมัน่ ในคุณธรรม จรยิ ธรรม ควบคูกบั การพัฒนา
เครอื ขายปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตอยางบูรณาการโดยใหป ระชาชนมีบทบาทสาํ คัญในกระบวนการ
ดาํ เนินงานอยา งมีสว นรว ม โปรงใส เสมอภาคและเปน ธรรม สรา งระบบและกลไกที่มีอิสระอยา งแทจ รงิ ใน
การตรวจสอบ ควบคมุ กระจาย ถว งดลุ อํานาจ ควบคูกับการพัฒนากฎหมายกฎระเบยี บ ตลอดจนพฒั นา
ทรพั ยากรมนษุ ย ระบบขอมลู สารสนเทศ รวมทง้ั พฒั นาและเผยแพรอ งคความรูดานการปองกันและ
ปราบปรามการทุจริตอยางมีจรรยาบรรณและตอเนอื่ ง โดยยุทธศาสตรด ังกลาวเปนผลจากสถานการณ
การทจุ รติ ท่ีมกี ารเปลย่ี นแปลงอยา งรวดเรว็ ตอเน่ือง และบทเรยี นทไ่ี ดร ับจากการแปลงยุทธศาสตรช าตวิ า ดวย
การปองกนั และปราบปรามการทุจรติ ทั้งสองฉบับท่ีผา นมาสูการปฏบิ ัติจงึ ไดม ีการริเริม่ แนวคิดในการปรบั ปรุง
ยทุ ธศาสตรช าตวิ า ดวยการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริตใหส อดคลองกบั สภาพปญหาและสถานการณ
การดําเนนิ งานดานการปองกันและปราบปรามการทุจรติ ทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปในปจจบุ นั โดยจะตองสามารถ
ตอบโจทยต อปญหาหรอื สถานการณการทจุ รติ ท่ีประชาชนและหนว ยงานตา ง ๆ ตอ งเผชิญอยจู รงิ ตอ งมีการ

ส�ำ นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 26 1

2

คํานงึ ถงึ บทบาทของทกุ ภาคสวนไมว าจะเปน หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ องคกรสาธารณะ
สอื่ มวลชน และภาคประชาสังคม เพ่ือใหเขามามสี วนรวมในทกุ กระบวนการ ตัง้ แตก ระบวนการจัดทํา
ยุทธศาสตรชาติฯ การแปลงยุทธศาสตรช าตฯิ ไปสูการปฏิบตั ิการตดิ ตามประเมนิ ผลและรายงานผลการดาํ เนินการ
ตามยทุ ธศาสตรช าติฯ ใหรฐั สภาและสาธารณชนไดร บั ทราบในทุกปงบประมาณ ทงั้ น้ี เพ่ือใหเกดิ การบรู ณาการ
ความรวมมือจากทุกภาคสว นในการตอตานการทุจริตทุกรปู แบบอยา งเขม แขง็ เพือ่ ใหประเทศไทยเปน
ประเทศท่มี มี าตรฐานความโปรง ใสเทยี บเทาสากล

สํานกั งาน ป.ป.ช. รว มกบั สพฐ. ไดกาํ หนดแนวทางการจดั ทาํ แผนปฏิบัตกิ ารปองกนั และ
ปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ เพ่อื ใหส วนราชการและหนว ยงานภาครัฐแปลงแนวทางและ
มาตรการตามยุทธศาสตรช าติฯ ไปสูการปฏบิ ตั ิโดยกาํ หนดไวในแผนปฏิบัติราชการ 4 ป และแผนปฏิบัติ
ราชการประจําป โดยใหย ดึ กรอบยทุ ธศาสตรห ลักทใี่ ชใ นการจัดทําแผนปฏิบัตกิ ารปองกันการทจุ รติ และ
ประพฤตมิ ชิ อบใหค าํ นึงถึงความสอดคลองกับยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) ยทุ ธศาสตรช าติ
วา ดวยการปองกันและปราบปรามการทุจรติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) และแผนแมบ ทบูรณาการ
ปองกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579)

สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน (สพฐ.) ไดอนุมัตใิ ห สาํ นกั พฒั นานวัตกรรมการจดั
การศกึ ษา ดําเนินงานโครงการเสริมสรา งคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ปองกันการ
ทจุ ริต” (กิจกรรมสํานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาสุจรติ ) เพื่อตรวจสอบคุณธรรมและความโปรงใสในการ
ดําเนินงานของหนว ยงานภาครฐั ซ่ึงรวมกบั สํานักงานคณะกรรมการรปองกนั และปราบปราม การทจุ รติ
แหงชาติ (สํานักงาน ป.ป.ช.) จดั ทาํ แบบประเมินคุณธรรมและความ โปรง ใส ในการดําเนินงานของ
หนวยงานภาครฐั (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ขึน้ เพ่ือใหการดําเนนิ งานของ
หนวยงานภาครัฐมคี วามเปนเอกภาพ ลดความซาํ้ ซอน สามารถใชขอ มูลเปน กรอบในการพฒั นาและ
ยกระดบั การบริหารจดั การใหเปน ไปตามหลักธรรมภบิ าล เกิดการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการใหบ รกิ าร
และการอาํ นวยความสะดวกตอประชาชนใหเ ขา ถึงการบริการสาธารณะดวยความเปนธรรมผานการ
ปฏิบัติงานอยางมมี าตรฐาน มีการประกาศขั้นตอนและระยะเวลาในการใหบ ริการ โดยสาํ นกั งานเขตพื้นที่
การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 26 ไดด าํ เนนิ การพฒั นาตามแนวทางของโครงการฯ โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู
ระหวางสํานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา และเชิญวิทยากรใหค วามรูแ ละสรา งความตระหนักแกบุคลากรใน
สํานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 26 และไดรับความรว มมอื จาก สาํ นกั งานคณะกรรมการ
ปอ งกันและปราบปรามการทุจริตแหง ชาติจงั หวดั มหาสารคาม อนเุ คราะหว ทิ ยากร ใหความรแู ละสรางความ
ตระหนกั อยางตอเน่ือง สง ผลใหสาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 26 ไดร บั คะแนนในการ
ประเมินโดยคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ในการศึกษาดําเนนิ การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง ใส
ในการดาํ เนินงานของหนว ยงานภาครฐั (Integrity & Transparency Assessment: ITA) ในปง บประมาณ
2562 มรี ะดบั คะแนน 85 เปนลาํ ดบั ที่ 121 จาก 225 เขต

2 สำ�นกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 26

3

วตั ถุประสงค
1. เพือ่ สรปุ ผลการดําเนนิ งานโครงการเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภบิ าลใน

สถานศกึ ษา “ปองกันการทุจริต” (กิจกรรมสํานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาสุจริต) สาํ นักงานเขตพื้นที่
การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 26

2. เพอื่ ศึกษาขอเสนอแนะแนวทางการพัฒนาบคุ ลากรและการดําเนินงานของสาํ นักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 26 ตามโครงการเสริมสรา งคุณธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษา
“ปอ งกนั การทจุ ริต” (กจิ กรรมสาํ นกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาสุจริต) สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา
เขต 26
ขอบเขตของการรายงานโครงการเสรมิ สรา งคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และธรรมมาภบิ าลใน สถานศกึ ษา
“ปอ งกนั การทุจริต” (กิจกรรมสาํ นกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาสุจรติ )

1.1 ขอบเขตดา นเนื้อหา
1. ศกึ ษาเอกสาร แผนงานโครงท่เี กีย่ วของกบั การเสริมสรา งคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และ

ธรรมมาภบิ าลในสถานศึกษา “ปอ งกันการทจุ ริต” (กจิ กรรมสาํ นักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาสุจริต)
2. เนอ้ื หาในการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง ใสในการดําเนินงานของหนว ยงานภาครัฐ

โดยมเี น้อื หาของการประเมิน ประกอบดว ย 5 ดัชนี ประกอบดวย
1.) ดัชนีความโปรงใส (Transparency Index)
2.) ดชั นคี วามพรอมรบั ผดิ (Accountability Index)
3.) ดชั นคี วามปลอดจากการทุจริตในการปฏบิ ตั งิ าน (Corruption – Free Index)
4.) ดชั นีวฒั นธรรมคณุ ธรรมในองคกร (Integrity Culture Index)
5.) ดชั นีคณุ ธรรมการทํางานในหนวยงาน (Work Integrity Index)

1.2 ขอบเขตดานระยะเวลาในการจัดโครงการ
สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ดาํ เนินการประเมินคุณธรรมและความ

โปรงใสในการดาํ เนินงานของสาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาออนไลน ระหวางเดือน มีนาคม 2562-
กรกฎาคม 2562

1.3 ขอบเขตดานวธิ กี ารศึกษา
1. การศกึ ษาผลการดาํ เนนิ งาน 1 โครงการ 5 กิจกรรม
2. การศึกษาจากเอกสาร โดยจดั เก็บขอมลู เอกสารหรือหลักฐาน ตามแบบสํารวจใช

หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ (Evidence-based Integrity and Transparency Assessment (EBIT) โดย
สาํ นักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 26 กรอกแบบสาํ รวจตามคมู ือการประเมนิ คณุ ธรรมและความ
โปรง ใสในการดําเนนิ งานของสํานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาออนไลน ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2562

สำ�นกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 3

4
(O1-O48) และมหี ลกั ฐานประกอบทมี่ ีคุณลกั ษณะทีด่ ีตามหลักธรรมาภบิ าล คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและความ
โปรงในสาํ หรบั หนวยงาน และรายงานโครงการ

3. การศกึ ษาจากการสํารวจกลุม ตัวอยาง โดยจัดเกบ็ ขอมูลเกี่ยวกับขอคิดเหน็ การรับรแู ละ
ประสบการณจากกลุมตัวอยางท่ตี อบแบบสาํ รวจความคิดเหน็ Internal Integrity and Transparency
Assessment (IIT) และ (External Integrity and Transparency Assessment (EIT) เก่ยี วกับการ
รายงาน
กลมุ ผูใหขอ มลู

กลุม ผูใหขอมูลของการรายงาน แบงออกเปน 2 กลุม ไดแก
1. ผูบ รหิ าร เจาหนาท่ี บคุ ลากรทางการศกึ ษาและผูมสี วนไดสวนเสียภายในสาํ นักงานเขตพ้นื ที่
การศกึ ษาที่กรอกแบบสาํ รวจ จาํ นวน 40 คน
2. ผบู รหิ าร ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในโรงเรยี น สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาผมู ี
สว นไดส ว นเสยี ภายนอกสํานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาจํานวน 80 คน
เคร่ืองมอื ทใ่ี ช
1. แบบสาํ รวจใชหลกั ฐานเชิงประจกั ษ Evidence-based Integrity and Transparency
Assessment (EBIT) สําหรบั การประเมินคุณธรรมและความโปรง ใสในการดาํ เนินงาน ของสาํ นกั งาน
เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 (O1-O48)
2. แบบประเมินผลการดําเนินงาน 1 โครงการ 5 กิจกรรม
3. แบบสาํ รวจความคดิ เห็นผูมสี วนไดส วนเสียภายใน Internal Integrity and Transparency
Assessment (IIT) เปน การสํารวจความคิดเห็น โดยจะจัดเกบ็ ขอมูลจากเจา หนา ทขี่ องหนวยงาน
4. แบบสาํ รวจความคิดเหน็ ผมู สี ว นไดส วนเสยี ภายนอก (External Integrity and
Transparency Assessment (EIT) เปน การสาํ รวจแบบสาํ รวจความคิดเห็น โดยจะจัดเก็บขอ มลู จาก
ผมู ีสว นไดสวนสยี ของหนว ยงาน
5. แบบสาํ รวจความพงึ พอใจในการปฏิบัตงิ านของบุคลากรในสาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา
มธั ยมศกึ ษา เขต 26

4 สำ�นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26

บทท่ี 2
แนวคิด ทฤษฎแี ละเอกสารท่เี กีย่ วของ
การนาํ เสนอแนวคิด ทฤษฎแี ละเอกสารที่เก่ียวของกับการดําเนินงานโครงการเสริมสราง
คณุ ธรรมจรยิ ธรรม และธรรมมาภบิ าลในสถานศึกษา “ปองกันการทจุ รติ ” (กจิ กรรมสํานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาสจุ ริต) สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 มีดังน้ี
1. บรบิ ทสาํ นักเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษาเขต 26
2. ความเปน มาของสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสจุ ริต
3. วิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตรส าํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
4. ปฏญิ ญาสํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาสจุ รติ
5. แนวคิดเกย่ี วกบั การประเมินคุณธรรมและความโปรงใสการดําเนนิ งานของหนว ยงานภาครัฐ
(Integrity & Transparency Assessment : ITA)
5.1 ความเปน มาของ ITA
5.2 รายละเอยี ดเกณฑการประเมิน
6. การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง ใสในการดําเนนิ งานของสาํ นักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา
6.1 กรอบการดําเนนิ การประเมินคณุ ธรรมและความโปรง ใส
6.2 การประมวลผลคะแนน
6.3 การรายงานผลการประเมิน
6.4 6.4 ผลการประเมิน ITA ประจาํ ปงบประมาณ 2560 – 2562 สาํ นักงานเขตพน้ื ที่
การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 26
7. การบรหิ ารจดั การเขตสจุ ริตของสํานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26

สำ�นกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 26 5

6

1. บรบิ ทสาํ นักเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 26
สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 จัดตงั้ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่

3) พ.ศ. 2553 และ พระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553
กาํ หนดใหม เี ขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา และเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา อาศยั อาํ นาจในมาตรา 5 และ
37 วรรคสอง แหงพระราชบัญญตั ิการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งแกไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญัติการศึกษา
แหง ชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 และมาตรา 8 และมาตรา 33 วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการ กระทรวง ศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546 ซึง่ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2553 รฐั มนตรวี า การกระทรวงศกึ ษาธิการ โดยคาํ แนะนาํ ของสภาการ
ศกึ ษา เม่ือคราวประชุม คร้งั ท่ี 2/2553 วนั ที่ 17 สงิ หาคม พ.ศ. 2553 จึงกําหนดเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
และทีต่ ง้ั ของสาํ นกั งาน เขตพืนทีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เพือบรหิ ารและจดั การศกึ ษาขัน้ พืนฐาน ระดบั
มัธยมศกึ ษา จํานวน 42 เขต โดยมี ผลบังคบั ใชตง้ั แตว นั ที่ 18 สงิ หาคม 2553 ซงึ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
เลม 127 ตอนพเิ ศษ 98 ง ราชกจิ จา นเุ บกษา 18 สงิ หาคม 2553 ตงั้ อยทู ่ี 134 ถนนเล่ียงเมอื งสารคาม-รอ ยเอด็
ตาํ บลแวงนา ง อําเภอเมือง จงั หวัด มหาสารคาม รบั ผิดชอบ 13 อําเภอ มีโรงเรยี นในสังกดั จํานวน 35 โรงเรยี น

วิสยั ทศั น (Vision)
เปนองคกรที่บริหารจดั การศึกษาอยางมีคุณภาพ ไดม าตรฐาน สูความเปนสากล บนพื้นฐานของ

ความเปนไทย
พันธกิจ (Mission)

1. สง เสริม และสนบั สนุนการพฒั นาคุณภาพผูเรียน
2. สง เสรมิ ใหผูเรยี นมีโอกาสเขาถงึ บริการ การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
3. สงเสรมิ และพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใหป ฏบิ ตั ิงานไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ
4. สนับสนุนการพฒั นาระบบการบริหารจัดการการศึกษาอยา งมีประสทิ ธภิ าพ
5. สนับสนุนการพฒั นาวนิ ัยเขมแข็ง วิชาการ เขมขน บนความพอเพียง
เปาประสงค (Goal)
1. ผเู รยี นระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐานทุกคนไดรบั การพฒั นาเต็มตามศักยภาพและมคี ุณภาพ
2. ผูเ รยี นระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานทกุ คนไดรบั โอกาสในการศึกษาขั้นพน้ื ฐานอยา งทวั่ ถึง
มคี ุณภาพและเปนธรรม
3. ครู ผบู รหิ ารสถานศึกษาและบุคลากรทางการศึกษา มที ักษะและมีวัฒนธรรมการทาํ งาน
มงุ เนน ผลสัมฤทธิ์
4. สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศกึ ษามกี ารบริหารจัดการที่มปี ระสิทธภิ าพ และเปน
กลไกขับเคลื่อนการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานสคู ณุ ภาพระดบั มาตรฐานสากล

6 ส�ำ นกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26

7

5. สํานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาและสถานศึกษาไดรับการสง เสรมิ และพฒั นาวินัยเขมแข็งวิชาการ
เขม ขนบนความพอเพียง
คา นิยม (Value)
SESAO26 (Secondary Educational Service Area Office 26)
S = Service Mind จติ บริการ
E = Effectiveness ทาํ งานมงุ ประสทิ ธผิ ล
S = Smart ประพฤติตนเปน แบบอยางทดี่ ี
A = Accountability มีความรับผิดชอบ
O = Okay ตอบรบั ขอเสนอแนะ
2 = Two Ways Communication สอื่ สารสองทาง
6 = Six Networks การบริหารจดั การแบบกระจายอํานาจและรวมมอื กนั เปน 6 สหวทิ ยาเขต

จุดเนน การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาสคู วามเปนเลศิ ของสาํ นกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 26
สํานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาจะสนบั สนุนสถานศกึ ษาในทุกมติ ิ เลกิ กําหนดกรอบการทํางาน สง เสรมิ

ใหสถานศึกษามีอิสระทางความคดิ ในเชิงบรหิ ารจดั การศึกษา กําหนดจุดเนน การพฒั นาคุณภาพการศึกษา
15 จดุ เนน ประกอบดว ย

1) การขบั เคลื่อนศาสตรพระราชาสสู ถานศกึ ษาระดบั ชนั้ เรยี น
2) การพัฒนาการอาน การเขียน และสงเสรมิ นิสยั รกั การอาน
3) การพัฒนาระบบดูแลชว ยเหลือนักเรียนบรู ณาการกิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผูบําเพญ็
ประโยชน และรกั ษาดนิ แดน
4) การพัฒนาทักษะการประคองชีพ : 1 คน 1 กีฬา 1 ศลิ ปะ 5 ผักสวนครวั 2 สัตว เล้ียงเพ่ือเปนอาหาร
5) การสงเสริมการเรยี นการสอนทักษะอาชพี
6) การสง เสรมิ การเรียนรเู พ่ือพัฒนากระบวนการคิดของนกั เรยี น
7) การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคแ ละคานิยมทด่ี ีงาม
8) การยกระดับคุณภาพการเรยี นรูภ าษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร
9) การสง เสริมการแนะแนวอาชีพและการศึกษาตอในระดับทสี่ ูงข้นั
10) การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและ O-NET สู TOP 20
11) การพัฒนาการจดั การเรียนรยู คุ ไทยแลนด 4.0 ดวย Active Learning (DLIT/STEM/MCMK)
12) การสง เสรมิ และพัฒนาครทู ั้งระบบสูการเปนครมู ืออาชีพ
13) การสงเสริมชว ยเหลือโรงเรยี นขนาดเลก็
14) การสง เสรมิ และพัฒนาระบบการนิเทศภายในและเครือขา ยชุมชนวิชาชพี ของ สถานศึกษา
15) การสรางความเขมแข็งดานการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

ส�ำ นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 26 7

8
บรบิ ทสํานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 26 ท่ีกลาวมาสรุปวา หนว ยงานทางการศึกษาท่ี
อยูภายใตการกํากับดแู ลของสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธกิ าร
ตงั้ อยูท่ี 134 ถนนเลี่ยงเมืองสารคาม-รอยเอ็ด ตาํ บลแวงนาง อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั มหาสารคาม รบั ผดิ ชอบ
13 อาํ เภอ มโี รงเรียนในสังกดั จํานวน 35 โรงเรยี น โดยไดจัดทาํ กรอบทศิ ทางในการบรหิ ารจัดการสาํ นักงาน
เขตพื้นทช่ี ดั เจนเพ่ือใหมีการพัฒนาองคและสถานศกึ ษาที่มีประสทิ ธภิ าพ
2. ความเปน มาของสาํ นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาสจุ รติ
โครงการเสรมิ สรางคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและธรรมมาภบิ าล“ปอ งกนั การทุจรติ ” ระดับเขตพนื้ ที่การศกึ ษา
เกิดข้นึ เนอื่ งจากยทุ ธศาสตรช าตวิ าดว ยการปอ งกนั ปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564)
ไดก ําหนด
วิสยั ทัศน

“ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทงั้ ชาตติ านทจุ ริต (Zero Tolerance & Clean Thailand)”
พันธกิจ

สรางวัฒนธรรมตอตานการทุจรติ ยกระดบั ธรรมาภบิ าลในการบริหารจัดการทุกภาคสว นแบบ
บรู ณาการและปฏริ ูปกระบวนการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริตทงั้ ระบบ ใหม ีมาตรฐานสากล

เปา ประสงคเชิงยทุ ธศาสตร
ระดับคะแนนของดชั นีการรับรูการทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) สูงกวารอยละ 50

วัตถุประสงคหลกั
1) สังคมมีพฤตกิ รรมรวมตานการทุจริตในวงกวา ง
2) เกดิ วัฒนธรรมทางการเมือง (Political Culture) มุงตานการทุจริตในทุกภาคสวน
3) การทุจรติ ถกู ยบั ยงั้ อยา งเทาทันดว ยนวัตกรรมกลไกปองกนั การทจุ รติ และระบบบริหาร

จัดการตามหลกั ธรรมาภบิ าล
4) การปราบปรามการทุจริตและการบงั คับใชก ฎหมาย มีความรวดเร็ว เปน ธรรม และไดร ับ

ความรว มมอื จากประชาชน
5) ดชั นกี ารรับรูการทุจรติ (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทยมีคา

คะแนนในระดบั ท่สี ูงขนึ้
ยุทธศาสตรห ลกั
ยทุ ธศาสตรมคี วามครอบคลุมกระบวนการดําเนินงานดา นการปอ งกัน ปราบปรามการทจุ รติ และ

ประพฤติมิชอบ โดยกําหนดยุทธศาสตรการดําเนินงานหลกั ออกเปน 6 ยุทธศาสตร ดงั นี้

8 สำ�นักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 26

9
ยุทธศาสตรที่ 1 “สรา งสงั คมทีไ่ มทนตอการทุจริต” เปน ยทุ ธศาสตรทมี่ งุ เนน ใหค วามสาํ คัญใน
กระบวนการการปรบั สภาพสังคมใหเ กดิ ภาวะที่ “ไม ทนตอการทุจรติ ” โดยเร่มิ ตัง้ แตก ระบวนการกลอ ม
เกลาทางสงั คม ในทุกระดับชวงวยั ตง้ั แตป ฐมวยั เพ่อื สรางวฒั นธรรมตอตา นการทุจริต และปลูกฝงความ
พอเพียง มวี นิ ัย ซื่อสัตย สุจรติ เปนการดําเนนิ การ ผา นสถาบันหรือกลุม ตวั แทนทท่ี ําหนาทใี่ นการ
กลอมเกลาทางสังคมใหมีความเปน พลเมืองท่ีดี ทมี่ จี ติ สาธารณะ จิตอาสา และความเสยี สละเพือ่ สวนรวม
และเสรมิ สรางใหทุกภาคสว นมีพฤติกรรม ที่ไม ยอมรบั และตอ ตา นการทจุ รติ ในทกุ รูปแบบ
ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 กาํ หนดกลยุทธแ ละแนวทางตามกลยุทธด งั นี้

ยุทธศาสตรท ่ี 1 สรางสงั คมท่ีไมทนตอการทุจรติ
กลยทุ ธ
1. ปรบั ฐานความคิดทุกชว งวัย ต้ังแตป ฐมวัยใหส ามารถแยก ระหวา งผลประโยชนสว นตวั และ
ผลประโยชนสว นรวม
แนวทางตามกลยุทธ

1.1 พฒั นาหลกั สูตร บทเรยี น การเรียนการสอน การนาํ เสนอ และรูปแบบ การปองกันการ
ทจุ ริตตามแนวคิดแยกระหวา งผลประโยชนส วนตวั และ ผลประโยชนสว นรวม ในทุกระดับ

1.2 การกาํ หนด พฒั นา หรือปรบั ปรงุ มาตรฐานทางจริยธรรมและ จรรยาบรรณวชิ าชพี และมี
การประกาศใชอยา งจรงิ จัง

2. สง เสรมิ ใหม รี ะบบและ กระบวนการกลอมเกลาทางสังคมเพื่อตา นทจุ รติ
แนวทางตามกลยุทธ

2.1 กลอ มเกลาทางสงั คมในทุกชวงวยั ตง้ั แตปฐมวยั เพอื่ สรางพลเมืองทดี่ ี
2.2 พัฒนานวตั กรรมและส่อื การเรียนรูสาํ หรับทุกชวงวยั ตง้ั แตปฐมวัย
2.3 พฒั นาจติ สํานกึ สาธารณะ
2.4 การใชเครื่องมือการสื่อสารทางสังคมเพื่อปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรม
2.5 การเสรมิ บทบาทการกลอ มเกลาทางสังคมของสื่อมวลชนและองคกร วชิ าชีพ
2.6 พัฒนามาตรวัดทางสังคม เพื่อเปน เคร่ืองมอื ในการขัดเกลาพฤตกิ รรม
3. ประยกุ ตห ลักปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพยี งเปนเครื่องมือ ตา นทุจรติ
แนวทางตามกลยุทธ
3.1 นาํ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรบั ใชในการกลอมเกลาทางสงั คมและการปฏบิ ตั งิ าน
ตอตา นการทจุ ริต
3.2 พฒั นาหลักสูตร บทเรยี น การเรียนการสอน การนําเสนอ และรปู แบบ การปองกนั การ
ทจุ ริตตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงในการเรยี น การสอนในทุกระดบั

ส�ำ นกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 26 9

10
3.3 พัฒนาระบบและจัดการองคความรูการปองกนั การทุจริตตามแนวทาง ปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพียง
4. เสรมิ พลงั การมสี ว นรวมของ ชุมชน (Community) และ บรู ณาการทุกภาคสวนเพื่อ ตอตา น
การทุจริต
แนวทางตามกลยุทธ
4.1 สรา งชมุ ชนเฝาระวงั ตอ ตานทุจริต
4.2 สรางความตนื่ ตวั ในการแสดงออกตอเหตุการณทางสงั คมที่ผดิ ตอ จรยิ ธรรมทางสังคมหรือ
กฎหมาย และผลกั ดนั ใหเ กิดการลงโทษทางสงั คม (Social Sanction) และทางกฎหมาย บนพ้นื ฐานของ
ขอเท็จจรงิ และ เหตผุ ล
4.3 บูรณาการทุกภาคสวนเพ่ือตอตานการทจุ ริต
ยุทธศาสตรท่ี 2 “ยกระดับเจตจํานงทางการเมืองในการตอ ตา นการทจุ ริต” จากสถานการณค วาม
ขัดแยง ในสังคมไทยในหว งระยะกวา ทศวรรษท่ผี า นมา จะเห็นไดวา ประชาชนทุกกลมุ ทุกฝา ยตางมีขอ
เรยี กรองทสี่ อดคลองรว มกนั ประการหน่ึงคือการตอตา นการทจุ รติ ของ รฐั บาลและเจา หนาทรี่ ฐั การ
แสดงออกซงึ่ เจตจาํ นงทางการเมืองของประชาชนทกุ กลมุ ทุกฝายที่ไม ยอมรบั และไมอดทนตอ การทุจริต
ประพฤติมชิ อบไมวาจะเปนรฐั บาลใดกต็ าม ยอมสะทอนใหเห็นถงึ เจตจาํ นงทางการเมืองอันแนว แนของ
ประชาชนไทยทุกกลุม ทกุ ฝา ยท่ีตองการใหการบริหารราชการ แผนดินของรัฐบาลและการปฏิบัติงานของ
เจาหนา ที่รัฐเปน ไปดว ยความโปรง ใสปราศจากการทจุ รติ ประพฤติมชิ อบ ดังนนั้ เพื่อเปนการสนองตอบตอ
เจตจํานงทางการเมืองในการตอตานการทุจริตอันแนวแนของประชาชน จงึ ไดกาํ หนดใหมียทุ ธศาสตรการนาํ
เจตจํานงทางการเมืองในการตอตานการทจุ รติ ไปสูการปฏิบตั อิ ยา งเปน รูปธรรมและสอดคลองเปน หนงึ่
เดยี วกนั โดยเปนยุทธศาสตรท ่ีมุงเนนให ประชาชนและรฐั บาลมีการนําเจตจาํ นงทางการเมืองในเร่ืองการ
ตอ ตานการทจุ รติ ไปสูการปฏิบัตอิ ยาง เปนรปู ธรรมและสอดคลอ งเปน หนึ่งเดียวกนั
ยทุ ธศาสตรท่ี 2 กาํ หนดกลยุทธ และแนวทางตามกลยทุ ธ ดงั นี้
ยุทธศาสตรท ่ี 2 ยกระดบั เจตจาํ นงทางการเมืองในการตอ ตานการทุจรติ
กลยุทธ
1. พฒั นากลไกการกําหนดให นักการเมืองแสดงเจตจาํ นงทาง การเมืองในการตอตานการทจุ รติ
ตอสาธารณชน
แนวทางตามกลยุทธ
1.1 กําหนดใหน ักการเมืองตองแสดงเจตจาํ นงทางการเมอื งในการตอตา นการทจุ รติ ตอ
สาธารณชนกอ นลงสมัครรับเลอื กตงั้ หรือกอนดาํ รงตาํ แหนง ทางการเมือง
1.2 กาํ หนดใหพ รรคการเมอื งจัดทาํ เอกสารแสดงเจตจาํ นงทางการเมอื งของ พรรคการเมืองใน
การตอตานการทจุ ริตและเผยแพรใ หแ กป ระชาชน

10 ส�ำ นักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 26

11
2. เรงรัดการกาํ กับตดิ ตาม มาตรฐานทางจรยิ ธรรมของ นกั การเมืองและเจาหนาท่ีรฐั ในทกุ ระดับ
แนวทางตามกลยุทธ

2.1 ศึกษาและกําหนดแนวทาง/ขน้ั ตอนการกํากับติดตามมาตรฐานทาง จริยธรรมของ
นกั การเมืองและเจาหนา ท่ีรฐั

2.2 การกํากบั ตดิ ตามมาตรฐานทางจรยิ ธรรมของนักการเมืองและ เจา หนาท่ีรฐั โดยประชาชน
2.3 การประเมินมาตรฐานทางจริยธรรมและคณุ ธรรมของนักการเมือง และเจา หนาทีร่ ัฐ
3. สนับสนนุ ใหท ุกภาคสว น กําหนดกลยุทธแ ละมาตรการ สําหรบั เจตจํานงในการตอตาน การ
ทจุ รติ
แนวทางตามกลยทุ ธ
3.1 ศึกษาและวเิ คราะหแนวทางการกําหนดกลยุทธและมาตรการ ในการปฏิบัตเิ จตจํานงทาง
การเมืองในการตอตานการทุจรติ ทัง้ ในระดบั ชาติและทองถิน่
3.2 ประสานความรว มมือระหวา งภาคสว นตา ง ๆ ในการกําหนดกลยุทธ และมาตรการในการ
ปฏบิ ตั ิเจตจําานงทางการเมืองในการปองกันและปราบปรามการทุจริต
3.3 การสง เสริมเจตจาํ นงทางการเมืองในระดับประชาชน
4. พัฒนาระบบการบริหาร งบประมาณดา นการปองกนั และ ปราบปรามการทจุ ริตเพอ่ื ให ไดรับ
การจดั สรรงบประมาณ รายจายประจ าปท่ีมีสดั สวน เหมาะสมกบั การแกป ญ หา
แนวทางตามกลยุทธ
4.1 ศึกษาวเิ คราะหแ นวทางการปฏิรูประบบการจัดสรรงบประมาณ ดานการปองกันและ
ปราบปรามการทจุ รติ ท่เี พยี งพอและเหมาะสม
4.2 จัดทาํ แผนการปฏริ ูประบบการจัดสรรงบประมาณดา นการปองกนั และปราบปรามการ
ทจุ รติ ทเี่ พียงพอและเหมาะสม
5. สงเสรมิ การจัดตงั้ กองทุน ตอ ตานการทจุ ริตสําหรับ ภาคเอกชนและภาคประชาชน โดยรฐั ให
การสนับสนนุ ทุนต้งั ตน
แนวทางตามกลยุทธ
5.1 การศกึ ษาแนวทางการจดั ต้งั กองทุนตอตานการทจุ ริตในรูปแบบ นติ ิบคุ คล
5.2 พัฒนาตวั แบบกองทนุ ตอตานการทุจรติ สําหรับภาคเอกชนและ ภาคประชาชน
6. ประยุกตน วัตกรรมในการ กํากบั ดูแลและควบคมุ การ ดาํ เนินงานตามเจตจาํ นงทาง การเมอื ง
ของพรรคการเมืองท่ีได แสดงไวต อ สาธารณะ
แนวทางตามกลยุทธ

6.1 กาํ หนดใหพรรคการเมืองตอ งแสดงแนวทางในการดําเนนิ นโยบาย และการใช
งบประมาณตอนโยบายน้ัน ๆ กอนทจ่ี ะจดั ใหมีการเลอื กต้งั

สำ�นักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 11

12
6.2 จดั ทําระบบฐานขอมลู แนวทาง/มาตรการในการปองกันการทจุ ริต ในแตล ะโครงการท่ี
พรรคการเมอื งไดหาเสียงไวก ับประชาชน
ยุทธศาสตรท ี่ 3 “สกดั ก้นั การทจุ รติ เชงิ นโยบาย” การทุจริตเชิงนโยบาย (Policy Corruption) เปน
ปญ หาท่พี บมากข้นึ ในปจ จุบนั กอใหเ กดิ ผลเสยี ตอ การพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอยา งมหาศาล
ซงึ่ จากผลการวิจัยทผี่ านมาพบวา การทุจรติ เชงิ นโยบาย มกั เกดิ จากการใชช องวางทางกฎหมายเขา แสวงหา
ประโยชนสว นตน โดยพบ ตัง้ แตขั้นตอนการกาํ หนดนโยบายของพรรคการเมือง การใชอํานาจอยา งไม
โปรง ใส ยทุ ธศาสตรช าติวา ดว ยการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่ 3 จึงไดกําหนดใหม ี
ยทุ ธศาสตร “สกดั กนั้ การทจุ ริตเชิง นโยบาย” ซ่ึงเปนยทุ ธศาสตรท ม่ี ุงปองกันการทจุ รติ ตลอดกระบวนการ
นโยบาย ผา นการกาํ หนด มาตรการกลไก เสรมิ สรา งธรรมาภิบาลตงั้ แตเ รม่ิ ข้ันกอตัวนโยบาย (Policy
Formation) ขั้นการกาํ หนด นโยบาย (Policy Formulation) ขั้นตดั สนิ ใจนโยบาย (Policy Decision)
ขน้ั การนํานโยบายไปปฏบิ ตั ิ (Policy Implementation) ขั้นการประเมนิ นโยบาย (Policy Evaluation)
และขน้ั ปอนขอมูลกลับ (Policy Feedback)
ยุทธศาสตรท ี่ 3 กาํ หนดกลยุทธ และแนวทางตามกลยุทธ ดงั น้ี
ยุทธศาสตรท ่ี 3 สกัดกั้นการทุจรติ เชงิ นโยบาย
กลยุทธ
1. วางมาตรการเสรมิ ในการสกดั ก้นั การทุจริตเชิงนโยบายบนฐาน ธรรมาภบิ าล
แนวทางตามกลยุทธ
1.1 การตรวจสอบแนวนโยบายหาเสียงของพรรคการเมือง
1.2 การพัฒนากระบวนการฉันทามตใิ นการกอตวั นโยบาย
1.3 การเผยแพรขอ มลู ขาวสารท่เี กยี่ วขอ งกับนโยบาย
1.4 พัฒนากรอบชีน้ ําการกาํ หนดนโยบายตามหลกั ธรรมาภบิ าล
1.5 พฒั นาเกณฑช ีว้ ัดความเสี่ยงของนโยบาย Policy Risk Indicator (PRI)
1.6 พัฒนาแนวปฏิบัตใิ นการยอมรับนโยบายท่ผี ิดพลาดและแสดงความ รบั ผิดชอบตอสังคม
1.7 กําหนดมาตรการวเิ คราะหค วามเส่ียงและการใชจายงบประมาณ
1.8 เสรมิ สรางความโปรงใสในกระบวนการพจิ ารณารางกฎหมาย ท่ีเกี่ยวของ
1.9 การกาํ หนดความรับผดิ ชอบทางการเมืองของผดู ํารงตาํ แหนง ทางการเมอื งเกี่ยวกบั การ
ทุจริตเชิงนโยบาย
1.10 การกําหนดบทลงโทษในกรณที ่มี ีการฝา ฝนจรยิ ธรรม หรอื เปน ความผิดในทางบริหาร
1.11 การสรางกลไกการตรวจสอบการใชอํานาจของฝา ยบริหาร
1.12 พัฒนานวัตกรรมเพ่ือเสรมิ สรางความโปรง ใสในการนํานโยบาย ไปสกู ารปฏิบัติ
1.13 บูรณาการการติดตามและประเมินนโยบาย

12 ส�ำ นกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 26

13
2. การรายงานผลสะทอนการ สกดั ก้ันการทจุ ริตเชงิ นโยบาย (Policy Cycle Feedback)
แนวทางตามกลยุทธ

- บรู ณาการและประมวลผลขอมูลเพ่ือการรายงานนโยบาย
3. การพฒั นานวตั กรรมสําหรบั การรายงานและตรวจสอบ ธรรมาภิบาลในการนํานโยบาย ไปปฏิบัติ
แนวทางตามกลยุทธ

- การพฒั นานวตั กรรมสาํ หรับการสงเสริมภาคธรุ กิจเอกชน ส่อื มวลชน และประชาชนใหเขา
มามสี ว นรวมในการตรวจสอบ

4. สง เสรมิ ใหมีการศึกษา วิเคราะห ตดิ ตาม และตรวจสอบ การทจุ ริตเชิงนโยบายในองคกร
ปกครองสวนทอ งถน่ิ

แนวทางตามกลยุทธ
4.1 ศึกษา วเิ คราะห เพ่ือสรางองคความรูในการตรวจสอบการทุจริต เชงิ นโยบายขององคก ร

ปกครองสว นทองถิน่
4.2 เผยแพรอ งคความรูในการดาํ เนินนโยบายอยา งโปรงใสและไรการทุจริตใหแกองคกร

ปกครองสว นทอ งถนิ่
ยทุ ธศาสตรที่ 4 “พฒั นาระบบปอ งกนั การทุจริตเชงิ รุก” ยุทธศาสตรน ้มี งุ เนนการพฒั นากลไกและ

กระบวนงานดา นการปองกันการทจุ รติ ของประเทศ ไทยใหมีความเขมแข็งและมปี ระสทิ ธิภาพมากย่ิงขน้ึ
เพอ่ื ลดโอกาสการทจุ ริตหรอื ทําใหก ารทุจรติ เกิด ยากข้ึนหรือไมเกดิ ข้ึนโดยอาศัยทง้ั การกําหนดกลไกดา น
กฎหมาย กลไกทางการบริหาร และกลไกอ่นื ๆ ตลอดจนเสริมสรางการปฏบิ ัตงิ านของหนวยงานทง้ั ภาครัฐ
และเอกชนใหม ี ธรรมาภบิ าลมากยง่ิ ขึ้น

ยุทธศาสตรที่ 4 กําหนดกลยุทธ และแนวทางตามกลยุทธ ดังนี้
ยุทธศาสตรท ่ี 4 พฒั นาระบบปองกันการทุจริตเชิงรุก
กลยุทธ
1. เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพระบบงาน ปองกนั การทจุ รติ
แนวทางตามกลยุทธ
1.1 พฒั นามาตรการเชงิ รุกทส่ี ามารถแกไ ขปญ หาการทุจริตในแตละระดับ
1.2 พัฒนาระบบการทํางานแบบบรู ณาการระหวา งภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม
1.3 เพมิ่ บทบาทของภาคเอกชน และภาคประชาสงั คมในการเขา มา มสี ว นรว มกบั ระบบการ

ปองกันการทจุ รติ
1.4 ยกระดบั กลไกการกํากบั ติดตาม และประเมินผลการปองกนั การทจุ ริต

สำ�นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 26 13

14
2. สรา งกลไกการปอ งกนั เพอ่ื ยับยั้งการทจุ รติ
แนวทางตามกลยุทธ

2.1 สรางกลไกปองกันเพื่อยบั ย้ังการทุจรติ
2.2 นาํ ขอ เสนอแนะจากกลไกปอ งกนั เพ่ือยับย้ังการทุจริตสูการปฏบิ ตั ิ
2.3 กาํ หนดกลไกการติดตามและประเมินผลการนําขอเสนอแนะไปสู การปฏิบตั ิ
3. พฒั นานวตั กรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือลด ปญหาการทุจริต
แนวทางตามกลยทุ ธ
3.1 พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ในระบบบรหิ ารงาน สาธารณะ เพื่อลด
ขนั้ ตอน หรอื กระบวนการใชด ุลยพนิ จิ ของเจาหนา ทร่ี ฐั
3.2 พฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารท่ีเปดโอกาสให ประชาชนสามารถศึกษา
เรียนรู และหาขอมลู เกี่ยวกับการปอ งกนั การทจุ ริต (กาํ หนดเร่ืองทป่ี ระชาชนใหค วามสนใจ)
4. พฒั นารปู แบบการสื่อสาร สาธารณะเชิงสรา งสรรคเพื่อปรบั เปลย่ี นพฤติกรรม
แนวทางตามกลยุทธ
4.1 พฒั นาและยกระดับรูปแบบการส่อื สารสาธารณะเพื่อปรับเปลี่ยน พฤตกิ รรม
4.2 กําหนดแผนการติดตอสื่อสารการตลาด (Integrated Marketing Communication :
IMC) เพอื่ การปรบั เปลย่ี นพฤติกรรม
5. การพฒั นา วเิ คราะหแ ละบูรณาการระบบการประเมินดาน คณุ ธรรมและความโปรง ใส ในการ
ดําเนินงานของหนวยงาน เพื่อเชอ่ื มโยงกับแนวทางการ ยกระดับคะแนนดชั นกี ารรับรู การทจุ รติ ของ
ประเทศไทย
แนวทางตามกลยุทธ
5.1 พฒั นาเกณฑม าตรฐานการประเมนิ ดานคณุ ธรรมและความโปรง ใส ในการดําเนินงานของ
หนวยงาน
5.2 การบรู ณาการระบบการประเมินดา นคุณธรรมและความโปรง ใส ในการดาํ เนินงานของ
หนว ยงาน
6. สนับสนุนใหภ าคเอกชน ดําเนินการตามหลัก บรรษทั ภิบาล
แนวทางตามกลยุทธ
6.1 สง เสริมการดําเนนิ งานตามหลักบรรษทั ภบิ าล
6.2 สรางแรงจงู ใจในการเปนตัวอยา งองคกรภาคเอกชนทป่ี ฏิบัติตาม หลกั ธรรมาภิบาล
6.3 กําหนดบทลงโทษกบั ภาคเอกชนท่ีมสี วนเกี่ยวของกับการทจุ รติ อยา งเดด็ ขาดและรุนแรง
7. พฒั นาสมรรถนะและ องคความรเู ชิงสรางสรรคข อง บคุ ลากรดานการปองกัน การทจุ รติ

14 สำ�นักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 26

15
แนวทางตามกลยุทธ

7.1 พฒั นาและยกระดับการพัฒนาบุคลากรดา นงานปองกนั และ ปราบปรามการทจุ ริต ใหมี
ความเปนมืออาชีพและเปน ไปตาม มาตรฐานสากล

7.2 ตอยอด ขยายผล องคความรูเชิงสรา งสรรค สําหรบั การปองกัน การทจุ ริต
8. การพฒั นาระบบและสง เสรมิ การดาํ เนินการตามอนุสัญญา สหประชาชาติวาดว ยการตอตา น
การทุจริต ค.ศ. 2003 (United Nations Convention against Corruption : UNCAC)
แนวทางตามกลยทุ ธ

8.1 นโยบายและแนวปฏบิ ัตเิ ชงิ ปอ งกันเพือ่ ตอ ตานการทุจริต
8.2 ปรบั ปรงุ ประมวลจรยิ ธรรมสําหรับเจาหนา ท่ขี องรฐั ใหรองรับ การปองกนั การทจุ ริต
8.3 สรางแนวทางการปองกันการจดั ซ้อื จดั จางและการจัดการคลงั ของรัฐ
8.4 การรวบรวม การแลกเปลี่ยน การวิเคราะหขอมลู ขาวสารเกยี่ วกบั การ ทจุ ริต
ยุทธศาสตรท ี่ 5 “ปฏริ ปู กลไกและกระบวนการการปราบปรามการทุจรติ ” ยทุ ธศาสตรการปฏิรปู
กลไกและกระบวนการการปราบปรามการทจุ ริตเปน ยุทธศาสตรท ่ีมงุ เนน การปรับปรุงและพัฒนากลไกและ
กระบวนการตาง ๆ ของการปราบปรามการทจุ ริตทัง้ ระบบใหสามารถดําเนนิ การไดอยางรวดเรว็ ซง่ึ ในการ
ปฏริ ูปกลไกและกระบวน การปราบปรามการทจุ ริตดงั กลา ว จะมุงเนนการเพิ่มประสิทธภิ าพในการตราเปน
กฎหมาย (Legislation) การบังคบั ใชก ฎหมาย (Enforcement) การตัดสนิ คดแี ละลงโทษผกู ระทําผดิ
(Judiciary) การบรู ณาการรว มกนั ของหนวยงาน ตา ง ๆ ในกระบวนการปราบปรามการทุจริต และจะมกี าร
ใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารท่ี ทนั สมยั ในการพัฒนากลไกการดาํ เนนิ งานใหมีประสทิ ธิภาพมาก
ยงิ่ ข้ึนซึ่งยทุ ธศาสตรน ้ีจะทําใหการ ปราบปรามการทจุ ริตเปนไปอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขน้ึ
คดกี ารทจุ รติ จะถูกดําเนินการ อยา งรวดเร็ว และผกู ระทาํ การทจุ ริตจะไดรับการลงโทษสาธารณชนและ
สงั คมเกดิ ความตระหนกั และ เกรงกลัวทจ่ี ะกระทาํ การทจุ ริต อันจะสง ผลใหค ดีการทุจริตมอี ัตราลดลงไดใน
ท่ีสดุ
ยุทธศาสตรที่ 5 กาํ หนดกลยุทธแ ละแนวทางตามกลยุทธ ดังน้ี
ยทุ ธศาสตรท่ี 5 “ปฏริ ูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทจุ รติ ”
กลยุทธ
1. ปรับปรงุ ระบบรับเรอ่ื ง รองเรียนการทุจรติ ใหม ี ประสิทธิภาพ
แนวทางตามกลยุทธ

1.1 การปรับปรุงระบบการรบั เรอื่ งรอ งเรยี นของหนว ยงานตอตา น การทจุ ริตตา ง ๆ ใหมี
ความรวดเร็ว เขาถึงไดโ ดยงา ย

1.2 การสรางความเช่ือม่นั และความไวว างใจตอ ระบบการรับเรื่องรองเรยี น
2. ปรบั ปรงุ การตรวจสอบ ความเคลอ่ื นไหวและความ ถูกตองของทรัพยส ินและหนีส้ ิน

สำ�นักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 15

16
แนวทางตามกลยุทธ

2.1 การพัฒนาระบบการตรวจสอบความเคล่ือนไหวและการตรวจสอบ ความถูกตองของ
ทรพั ยส ินและหนสี้ ิน รวมไปถึงระบบการตดิ ตามทรัพยสิน คนื จากการทุจรติ

2.2 การกาํ หนดกลมุ เปา หมายในการตรวจสอบทรัพยสนิ และหนีส้ นิ ให ครอบคลมุ ถึงโอกาส
ในการทจุ รติ

3. ปรับปรงุ กระบวนการและพัฒนากลไกพเิ ศษในการ ปราบปรามการทุจรติ ท่มี ี ความรวดเร็ว
และมปี ระสิทธิภาพ

แนวทางตามกลยุทธ
3.1 การปรับปรงุ กระบวนการปราบปรามการทจุ รติ ใหม ีความรวดเร็วยิง่ ขน้ึ
3.2 การสรางมาตรฐานการด าเนนิ การปราบปรามการทจุ ริต
3.3 การพฒั นากลไกพเิ ศษ (Fast Track) ในการปราบปรามการทจุ รติ
3.4 การเพ่มิ บทบาทในการปราบปรามการทุจริตของหนว ยงานภาครัฐตน สังกดั

4. ตรากฎหมายและการบงั คับใช กฎหมายในการปราบปรามการ ทจุ ริตใหเ ทา ทนั ตอพลวตั
ของการ ทุจริตและสอดคลองกับ สนธสิ ญั ญาและมาตรฐานสากล

แนวทางตามกลยุทธ
4.1 การตรากฎหมายหรือปรับปรงุ กฎหมายใหเ ทาทันตอพลวัตของ การทุจริต
4.2 การตรากฎหมายหรือปรับปรงุ กฎหมายเพื่อสนับสนุนใหหนว ยงานใน กระบวนการ

ปราบปรามการทจุ รติ ดาํ เนนิ การไดอยา งมีประสิทธภิ าพและ สอดคลองกับสนธิสัญญาและมาตรฐานสากล
4.3 การประเมินติดตามการอนวุ ตั ิการตามสนธสิ ญั ญา เพ่ือใหค วามเหน็ ทางกฎหมายใน

การเสนอแกไขกฎหมายและกระบวนการปราบปรามการทุจรติ ใหเปน ไปตามมาตรฐานสากล
4.4 การบังคับใชกฎหมายและดําเนนิ คดีตามระดบั ความเสียหายความ เรงดว น และสถิติ

การทุจรติ
4.5 การบังคบั ใชกฎหมายและดําเนนิ คดีเฉพาะในแตล ะพื้นทข่ี องประเทศ
4.6 การบรู ณาการกบั หนว ยงานภาครฐั ตน สงั กดั ในการบงั คับใชกฎหมาย และลงโทษทาง

อาญาหรือทางวนิ ัยในความผิดเกย่ี วกบั การทุจริตหรอื จรยิ ธรรมของเจาหนา ทร่ี ฐั
5. บูรณาการขอมลู และขา วกรอง ในการปราบปรามการทุจริต
แนวทางตามกลยุทธ
5.1 พฒั นาระบบฐานขอ มลู ประกอบการปราบปรามการทุจริตระหวา ง หนว ยงาน

ปราบปรามการทจุ รติ
5.2 จัดต้ังประชาคมขา วกรองดานการปราบปรามการทุจรติ

16 สำ�นกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26

17
5.3 การประสานความรวมมือกบั องคก รสื่อมวลชน ส่อื สาธารณะหนวยงาน ประชาสังคม
และหนว ยงานธรุ กจิ เอกชน เก่ียวกบั ขอมลู และขาวกรอง ประกอบการปราบปรามการทุจรติ
6. การเพิม่ ประสทิ ธิภาพในการ คมุ ครองพยานและผแู จงเบาะแส (Whistleblower) และ
เจา หนาท่ี ในกระบวนการปราบปรามการ ทุจริต
แนวทางตามกลยุทธ
6.1 การมมี าตรการในการคุมครองพยาน (Witness) และผูใหเบาะแส (Whistleblower)
ทม่ี คี วามนา เชื่อถือและสรา งความม่ันใจแกผ ูถกู คุม ครองได
6.2 การมีมาตรการในการคมุ ครองเจาหนาทผ่ี ูปฏบิ ัติงานในกระบวนการ ปราบปรามการ
ทจุ รติ
6.3 การกําหนดรางวัลหรอื สิง่ จูงใจในการแจงเบาะแสในคดี
7. พฒั นาสมรรถนะและองค ความรูเ ชิงสหวิทยาการของ เจาหนาทใ่ี นกระบวนการ
ปราบปรามการทุจรติ
แนวทางตามกลยทุ ธ
7.1 การพัฒนาองคความรู ทักษะ และขดี ความสามารถ รวมไปถึงความรใู น เชิง
สหวิทยาการใหแกเ จาหนาท่ปี ราบปรามการทุจริต (Non-training)
7.2 การพฒั นาเจาหนาทป่ี ราบปรามการทุจรติ ใหมคี วามรู ทักษะและขีด ความสามารถที่
เปน มาตรฐานและเทาทันตอพลวัตของการทุจรติ (Training)
7.3 การแบง ปนความรู (Knowledge Sharing) และแลกเปลย่ี นเจา หนา ท่ี ปราบปรามการ
ทุจริต
8. การเปด โปงผกู ระทาํ ความผดิ ใหส าธารณชนรบั ทราบและ ตระหนกั ถงึ โทษของการกระทาํ
การทุจรติ เม่ือคดีถงึ ที่สดุ
แนวทางตามกลยุทธ
- การเปด โปงการทจุ ริตอยา งสรา งสรรคแ ละพัฒนาชอ งทางในการเผยแพร เปดโปงการ
ทจุ ริตทีเ่ ขา ถึงการรับรูของสาธารณชนอยางกวา งขวาง
9. การเพมิ่ ประสิทธิภาพในการ ดําเนินคดที ุจริตระหวา งประเทศ
แนวทางตามกลยุทธ
- จัดใหมที รพั ยากรที่เหมาะสมเพ่ือรองรับการเพ่มิ ข้ึนของปรมิ าณคดีทุจริต ระหวา ง
ประเทศตามกรอบความรวมมือทางเศรษฐกจิ และสังคมที่ เปลยี่ นแปลงไป

ส�ำ นกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 26 17

18
ยทุ ธศาสตรท่ี 6 “ยกระดับคะแนนดัชนกี ารรบั รูการทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI)
ของประเทศไทย” เปนการกาํ หนดยุทธศาสตรท่มี ุงเนน การยกระดบั มาตรฐานดา นความโปรง ใสและการ
จดั การ การยกระดับคา ดัชนีการรบั รูก ารทุจริตของประเทศไทย โดยการศึกษาวิเคราะหประเด็นการประเมนิ
และวธิ กี ารสาํ รวจตามแตล ะแหลง ขอ มูล และเรง รดั กาํ กบั ติดตามใหห นวยงานท่เี กย่ี วของปฏิบตั หิ รือ
ปรับปรงุ การทํางาน รวมไปถึงการ บูรณาการการทํางานรว มกนั ระหวา งภาครัฐ หนวยงานในกระบวนการ
ยตุ ธิ รรมภาคเอกชน และ ตางประเทศโดยมีกลยุทธการดําเนินงาน ไดแก
ยทุ ธศาสตรท ี่ 6 กําหนดกลยุทธ และแนวทางตามกลยุทธ ดงั นี้

ยุทธศาสตรที่ 6 “ยกระดับคะแนนดชั นีการรับรกู ารทจุ รติ ของประเทศไทย”
กลยทุ ธ
1. ศกึ ษา และกํากับตดิ ตามการ ยกระดับดชั นกี ารรบั รูก ารทจุ ริต (Corruption Perceptions
Index :CPI) ของประเทศไทย
แนวทางตามกลยุทธ

1.1 ศึกษา วเิ คราะหป ระเด็นการประเมินและวิธกี ารสํารวจตามแตละ แหลงขอ มูลท่ใี ชส ําหรับ
การจัดอันดบั ดัชนกี ารรับรกู ารทุจรติ (CPI)

1.2 บูรณาการหนว ยงานที่เก่ียวของเพือ่ ยกระดับดัชนกี ารรับรูการทุจริต ของประเทศ (CPI)
1.3 เรง รัด และกํากบั ตดิ ตามการดาํ เนินการยกระดับดัชนีการรบั รูการทุจรติ ของประเทศ
(CPI)
1.4 การจัดการการรับรู (Perceptions)
2. บูรณาการเปา หมายยุทธศาสตร ชาตวิ าดวยการปองกันและ ปราบปรามการทุจริตเพ่ือ
ยกระดับ ดชั นกี ารรับรูการทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย
แนวทางตามกลยุทธ
2.1 วิเคราะหแ ละเช่ือมโยงเปาหมายยทุ ธศาสตรช าติวาดว ยการปอ งกัน และปราบปรามการ
ทจุ ริต ระยะที่ 3 (ยุทธศาสตรท่ี 1 - ยุทธศาสตรท ่ี 5) เพ่ือยกระดับดชั นีการรบั รกู ารทุจริต (CPI) ของ
ประเทศ
2.2 กํากบั ติดตาม และประเมนิ ผลการดาํ เนนิ การตามยุทธศาสตร
ความเปนมาของสํานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาสุจรติ สามารถสรุปไดว า เกิดขึน้ จากยุทธศาสตร
ชาติวา ดวยการปองกนั ปราบปรามการทจุ รติ ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 -2564) ซง่ึ ประกอบดว ย 6 ยทุ ธศาสตร
เปน กรอบทศิ ทางในการดาํ เนินงานเพ่ือใหเปนสาํ นกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาสจุ ริต

18 สำ�นกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 26

19

3. วิสัยทัศน พันธกจิ ยุทธศาสตร สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ในการดาํ เนนิ โครงการเสรมิ สรางคณุ ธรรม จริยธรรมและธรรมาภบิ าล “ปอ งกนั การทจุ ริต” ระดบั เขต

พ้ืนที่การศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานไดกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตรเ ปน
แนวทางการดําเนนิ งานใหส าํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษานาํ ไปสกู ารปฏบิ ตั ิดังตอ ไปนี้

วสิ ยั ทศั น
“สพฐ. เปน องคกรแหง การเรียนรู อยูอยา งพอเพยี ง หลกี เลี่ยงอบายมุข ทุกหนว ยงาน รับผิดชอบ

ตอบสนองการปองกันการทจุ รติ ”
พันธกจิ
1. พฒั นาสํานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาใหเ ปน องคการแหง การเรียนรู
2. พฒั นากระบวนการเรียนรูทเ่ี ทาทนั ตอการเปลีย่ นแปลง รวมทง้ั ปลูกจติ สาํ นกึ ใหบุคลากร ใน

สังกัดสํานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษา มีทักษะกระบวนการคิด มวี นิ ัย ซอ่ื สตั ยส ุจรติ อยูอ ยางพอเพยี ง และจิต
สาธารณะ

3. พัฒนาบคุ ลากรใหมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภิบาล
4. สง เสรมิ และสนับสนนุ ดา นการปองกันและตอตานการทุจริตอยา งเปน ระบบ มเี ครือขายที่
เขมแข็ง กาวหนาอยางมีพลวัตร ยึดมน่ั ในคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและปองกันการทุจริต
ยุทธศาสตรท่ี 1 : สํานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษารวมพลังรวมสรางองคกรแหง การเรยี นรู
1.1 สรา งองคกรแหงการเรียนรู ระบบและวถิ ีพอเพยี ง สจุ รติ รับผิดชอบ ปลอดอบายมุขใน
สาํ นักงาน

1.1.1 จัดทาํ แผนการสรางองคก รแหง การเรยี นรู ระบบและวิถพี อเพียง สุจริต รับผิดชอบ
ปลอดอบายมขุ ปองกันการทจุ รติ ในทุกหนว ยงาน

1.1.2 จัดสรางองคกรทางกายภาพและโครงสรางระบบการบริหารจัดการแบบพอเพียง
1.1.3 จัดทําหลักสูตรการพฒั นาบุคลากร
1.1.4 จดั การอบรมพัฒนาบุคลากร
1.1.5 ดาํ เนินการขับเคลอ่ื นการพัฒนาระบบอยา งเปน รูปธรรมทุกหนว ยงาน
1.1.6 ประเมนิ และพัฒนาระหวา งและหลังดาํ เนนิ การในแตล ะปอยา งตอ เน่ือง
1.2 ประชาสมั พันธป องกันและตอตานการทจุ ริต
1.2.1 จดั ทําแผนแมบทดานการประชาสัมพันธปองกนั และตอ ตา นการทุจรติ
1.2.2 รวบรวมขอมลู ขา วสาร งานวจิ ยั และงานวชิ าการดานการปองกันและตอ ตานการทุจรติ
1.2.3 จดั ทาํ และเผยแพรส่อื สรา งสรรคใ นการปองกันและตอตานการทุจรติ

ส�ำ นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 26 19

20
ยทุ ธศาสตรที่ 2 : สรา งองคความรูและกระบวนการเรียนรูท่ีเทา ทนั ตอการเปล่ียนแปลง ปลูก
จติ สํานกึ มีทักษะกระบวนการคดิ มีวินัยซ่ือสตั ยส จุ ริต อยูอยางพอเพียงและจติ สาธารณะ ยดึ ม่นั ใน
คณุ ธรรมจรยิ ธรรม แกบคุ ลากร

2.1 สรางองคความรแู ละกระบวนการเรียนรทู ่ีเทาทนั ตอ การเปล่ยี นแปลง
2.1.1 พฒั นาคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนนิ งานของหนวยงานภาครัฐ (Integrity &

Transparency Assessment : ITA)
2.1.2 สงเสริมและพฒั นาคณุ ลักษณะ 5 ประการ ตามมาตรฐานเขตพื้นท่ีการศึกษา

2.2 สง เสริมการดาํ เนนิ ชีวิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2.2.1 นอ มนําหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการพฒั นาระบบการบรหิ าร สํานักงานเขต

พื้นท่ีการศกึ ษา
2.2.2 สง เสรมิ ใหค วามรูเกย่ี วกับการดาํ เนนิ ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2.2.3 ประยกุ ตใ ชหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงใหเกดิ ผลในทางปฏิบตั ิอยางเปน วถิ ชี ีวิต

2.3 สงเสรมิ การเรยี นรูแ ละปฏิบตั ติ ามประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี
2.3.1 สงเสรมิ การประพฤติปฏบิ ัติตนตามประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี
2.3.2 กํากบั ดูแลการประพฤติปฏบิ ตั ติ นใหเ ปน ไปตามประมวลจริยธรรมและ จรรยาบรรณ

วชิ าชพี
2.3.3 ยกยอ งเชดิ ชูเกยี รติบุคลากรท่ปี ระพฤติปฏบิ ตั ิตนเปนแบบอยางทีด่ ตี ามประมวล

จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี
2.4 ผลักดันใหคานยิ มเชิดชูความดี ความซื่อสตั ย สุจรติ และรังเกยี จการทุจริตเปน คานยิ มรวม

ของชาติ
2.4.1 เสริมสรางแรงบันดาลใจในการกระทาํ ความดี
2.4.2 รณรงคป ระชาสัมพันธเชิดชูบคุ ลากรตน แบบ

ยุทธศาสตรที่ 3 : สรา งผบู ริหารการศึกษา ผบู รหิ ารสถานศึกษาครู บุคลากรทางการศึกษา มืออาชพี
และเครือขา ยการมีสวนรว ม เพื่อเปนรากฐานในการปองกันและตอตานการทจุ ริตอยา งมี จติ สํานึก

3.1 สงเสริมการประพฤติตนตามมาตรฐานจรรยาบรรณวชิ าชพี ของผูบ รหิ ารการศึกษา ผูบริหาร
สถานศึกษา ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาในสงั กัดอยางเครง ครัด

3.1.1 สง เสรมิ สนบั สนุนใหบ ุคลากรปฏบิ ัติงานตามมาตรฐานจรรยาบรรณวชิ าชีพ
3.1.2 ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานจรรยาบรรณวชิ าชพี
3.1.3 สรา งศนู ยข อมูลสารสนเทศเก่ยี วกับการปองกันและตอตานการทุจรติ

20 สำ�นักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 26

21

3.2 สรา งศูนยข อมลู สารสนเทศเกยี่ วกับการปองกนั และตอตา นการทุจรติ
3.2.1 สนบั สนุนการจัดต้ังศนู ยข อมลู สารสนเทศ
3.2.2 สงเสรมิ การพัฒนาฐานขอ มลู สารสนเทศ

3.3 ฝกอบรมดชั นีคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงานภาครฐั
3.3.1 สง เสริมใหมกี ารฝก อบรมตามหลกั สตู ร
3.3.2 สง เสรมิ ใหจดั ตัง้ ศนู ยฝก อบรมภายในสาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา
3.3.3 สนบั สนนุ งบประมาณในการดําเนนิ งาน

3.4 เสรมิ สรา งกระบวนการมีสวนรว ม
3.4.1 สรางกระบวนการเรยี นรรู ว มกนั ในการปองกนั และตอตา นการทจุ รติ
3.4.2 กําหนดชองทาง/วธิ ีการในการแจง เบาะแสการทจุ ริต
3.4.3 กําหนดมาตรการจูงใจผูแจง ขอ มลู เบาะแสการทุจรติ

3.5 เสรมิ สรา งความเขมแข็งและกาวหนา ของเครือขาย
3.5.1 สนบั สนนุ ระบบการจดั การของเครือขา ย
3.5.2 เสริมสรางขวญั กาํ ลงั ใจแกเ ครือขายทุกภาคสวน
3.5.3 กาํ กับ ติดตาม ประเมินผลและพฒั นาการดาํ เนินงานของเครือขายอยางตอ เน่ือง
3.5.4 พัฒนาเครือขา ยใหมปี ระสทิ ธภิ าพ

วิสยั ทัศน พันธกจิ ยทุ ธศาสตร สาํ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาสุจริต ทกี่ ลา วมาสรุปไดวา สาํ นักงาน
เขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาสจุ รติ จดั ทาํ วิสยั ทศั น พันธกิจ ยุทธศาสตรตามท่ี สพฐ.กาํ หนด
4. ปฏิญญาสํานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาสจุ ริต

เพอ่ื ใหสํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาสจุ ริตทีเ่ ขารว มโครงการเสริมสรางคณุ ธรรม จริยธรรมและ
ธรรมาภบิ าล “ปองกันการทุจริต” ระดับเขตพื้นทกี่ ารศึกษา ไดขับเคลื่อนไปในทศิ ทางเดียวกนั สาํ นกั พัฒนา
นวัตกรรมการจดั การศึกษา สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร จงึ ได
กาํ หนด ปฏิญญาสาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาสุจรติ (Upright Education Office Service Area
Declaration) ขึ้น โดยใชขอความวา คณะผูบริหารการศกึ ษา ครู และบุคลากรทางการศึกษา ทุกคนขอให
คาํ มน่ั สญั ญาตอพนั ธกรณี ในการตอ ตานการทจุ รติ ทุกรปู แบบ ดว ยการขับเคลื่อนโครงการ เสริมสราง
คณุ ธรรม จริยธรรมและ ธรรมาภิบาล “ปอ งกันการทุจรติ ” ในสาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา ดงั น้ี

1. เราจะรว มปองกันและตอตานการทุจริตทุกรปู แบบ
2. เราจะปลูกฝงคา นิยมความซอื่ สตั ยส ุจริต ใหเปน วถิ ชี ีวติ ในสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
โรงเรยี น และชมุ ชน

สำ�นักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 26 21

22
3. เราจะสรางเครอื ขายความซื่อสตั ยส จุ รติ ระหวา งสาํ นกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษากบั โรงเรยี น
องคกร และหนว ยงานทเี่ กีย่ วขอ ง ใหเปนรูปธรรมและมีความยง่ั ยืนท้งั นี้ เพือ่ ธาํ รงชาติไทย ใหสถิตเสถยี ร
สถาพร ตลอดจิรัฐติ ิกาล
5. แนวคดิ เกี่ยวกับการประเมนิ คุณธรรมและความโปรงใสการดาํ เนินงานของหนว ยงานภาครฐั
(Integrity & Transparency Assessment : ITA)
5.1 ความเปนมาของ ITA การประเมินคุณธรรมและความโปรง ใสในการดําเนินงานของหนว ยงาน
ภาครฐั (Integrity & Transparency Assessment : ITA) เปน การประยุกตแนวคดิ ของการประเมิน
คณุ ธรรมการดําเนินงาน ของหนว ยงานภาครัฐ (Integrity Assessment) ขององคก ารตางประเทศที่ประสบ
ความสาํ เรจ็ คอื องคการตอตานการทจุ ริตและสิทธิพลเมือง (Anti-Corruption and Civil Rights
Commission : ACRC) จากสาธารณรฐั เกาหลี บูรณาการเขา กบั ดชั นีวัดความโปรงใสของหนว ยงานภาครฐั
ของ สาํ นักงาน ป.ป.ช. โดยไดก าํ หนดเปนกรอบแนวคิดการประเมินคุณธรรมและความโปรง ใสในการ
ดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ และสังเคราะหเปน ดัชนหี ลกั ท่สี ําคัญและจําเปน ในการประเมินโดย จําแนก
ดัชนีเปน ตวั ชี้วัด ตัวชว้ี ดั ยอ ย ประเดน็ ในการสํารวจ และแปลงไปสคู าํ ถามท่ีใชในการสอบถาม ความคดิ เหน็
หรือรวบรวมจากขอมลู เอกสาร/หลกั ฐานของหนว ยงาน (สํานกั งานคณะกรรมการปองกัน และปราบปราม
การทุจรติ แหงชาต,ิ 2560 : 3)
5.2 เกณฑการประเมินคุณธรรมและความโปรง ใสในการดาเนินงานของสํานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา
ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 น้ัน สํานักงาน ป.ป.ช. ไดใหค วามสําคญั ในการพัฒนาเกณฑ การประเมิน
ใหเ กดิ การสนบั สนนุ ตอการยกระดบั คา คะแนนดชั นกี ารรบั รูก ารทุจริต (Corruption) ซ่ึงการวจิ ยั ดงั กลาวได
สังเคราะหประเดน็ การสาํ รวจของแตล ะแหลงขอการปรบั ปรุงและแนวการพฒั นาเครื่องมือการประเมิน
คณุ ธรรมและความโปรงใส ในการดาเนินงาน ของหนวยงานภาครฐั เพื่อนาไปสกู ารยกระดบั คะแนนดัชนี
การรับรกู ารทุจรติ (CPI) Perceptions (Transparency International) นํามาใชใ นการประเมนิ ดชั นกี าร
รับรกู ารทุจรติ ประกอบกบั การศึกษาขอมูล ทางวิชาการเพิ่มเตมิ การเชื่อมโยงใหเกิดความตอเนื่องกับเกณฑ
การประเมินเดิม และการเชือ่ มโยงกบั เครื่องมือ อืน่ ทเี่ กยี่ วของ ทําใหเกณฑการประเมนิ มเี น้ือหาครอบคลมุ
หลายดา น ซ่ึงเกี่ยวของกับคณุ ธรรม ความโปรง ใส และการทจุ ริต ท้งั ที่มลี ักษณะการทจุ ริตทางตรงและการ
ทจุ รติ ทางออ ม รวมไปถึงบรบิ ทแวดลอ มที่เก่ียวของกับ การทจุ รติ ซึ่งจะเปน ประโยชนต อหนว ยงานในการนา
ไปสูการปรบั ปรงุ แกไข ลดโอกาสหรือความเสยี่ งท่จี ะเกิด การทจุ รติ ในหนว ยงานภาครฐั และสงผลตอการ
ยกระดบั คะแนน CPI ของประเทศไทยในระยะยาวได โดยจาํ แนกออกเปน 10 ตวั ชีว้ ดั ไดแ ก

22 ส�ำ นกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 26

23

1) การปฏิบัตหิ นา ท่ี 2) การใชง บประมาณ
3) การใชอํานาจ 4) การใชท รัพยส ินของราชการ
5) การแกไขปญ หาการทุจริต 6) คณุ ภาพการดาํ เนนิ งาน
7) ประสิทธภิ าพการส่อื สาร 8) การปรับปรุงระบบการทํางาน
9) การเปดเผยขอมูล 10) การปองกนั การทจุ รติ

เครือ่ งมอื ท่ีใชในการประเมิน จําแนกออกเปน 3 เคร่ืองมือ ดงั น้ี
1) แบบวดั การรบั รขู องผูมสี วนไดสวนเสียภายใน (Internal integrity and Transparency

Assessment: IIT) มวี ตั ถุประสงคเ พื่อเปน การประเมินระดับการรับรขู องผมู ีสวนไดสว นเสียภายในท่ีมตี อ
หนวยงานตนเอง ในตัวชว้ี ัดการปฏบิ ัติหนา ท่ี การใชงบประมาณ การใชอํานาจ การใชท รัพยสนิ ของราชการ
และการแกไ ขปญ หาการทุจริต

2) แบบวัดการรับรูของผูมีสวนไดส ว นเสยี ภายนอก (External Integrity and Transparency
Assessment: EIT) มีวัตถุประสงคเพ่อื เปนการประเมินระดบั การรบั รขู องผมู ีสวนไดสว นเสียภายนอกทม่ี ีตอ
หนวยงานที่ประเมนิ ในตัวชีว้ ัดคณุ ภาพการดาํ เนนิ งาน ประสทิ ธิภาพการสอื่ สาร และการปรบั ปรงุ ระบบ
การทํางาน

3) แบบตรวจการเปดเผยขอมลู สาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency
Assessment: OIT) มวี ตั ถปุ ระสงคเ พ่อื เปน การประเมินระดับการเปด เผยขอมูลตอสาธารณะของหนว ยงาน
เพอื่ ใหประชาชนท่ัวไปสามารถเขาถึงได ในตัวชี้วดั การเปดเผยขอมูล และการปองกนั การทุจริต

ส�ำ นักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 26 23

24 ส�ำ นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 26

25
แหงขอมูล ผูมีสว นไดสว นเสยี ภายใน
ประเดน็ สํารวจ ประกอบดวยขอคําถามจํานวน 6 ขอดงั น้ี
1 Iบุคลากรในหนวยงานของทาน ปฏบิ ัติงาน/ใหบรกิ ารแกผ ูมาติดตอ ตามประเดน็ ดังตอ ไปนี้
มากนอยเพยี งใด

- โปรง ใสเปน ไปตามขน้ั ตอนท่ีกําหนด
- โปรงใสเปน ไปตามระยะเวลาท่กี ําหนด
I2 บุคลากรในหนวยงานของทาน ปฏิบัตงิ าน/ใหบ ริการแกผมู าตดิ ตอทวั่ ๆ ไป กับผมู าติดตอ ที่
รูจกั เปนการสว นตวั อยางเทาเทียมกัน มากนอ ยเพียงใด
I3 บคุ ลากรในหนว ยงานของทาน มีพฤตกิ รรมในการปฏบิ ัติงาน ตามประเด็นดงั ตอไปน้ี อยางไร
- มุงผลสาํ เร็จของงาน
- ใหความสาํ คัญกบั งานมากกวาธุระสว นตวั
- พรอมรบั ผิดชอบ หากความผิดพลาดเกดิ จากตนเอง
4 Iบุคลากรในหนวยงานของทา น มกี ารเรยี กรบั สิง่ ดงั ตอ ไปนี้ จากผูมาติดตอ เพอ่ื แลกกบั
การปฏบิ ตั ิงาน การอนุมตั ิ อนญุ าต หรอื ไมบ รกิ าร หรือไม
- เงิน
- ทรพั ยสนิ
- ประโยชนอนื่ ๆ ทอี่ าจคํานวณเปน เงนิ ได เชน การลดราคา การรบั ความบันเทงิ เปน ตน
I5 ในชวงเทศกาลหรอื วาระสําคัญตา ง ๆ ตามขนบธรรมเนยี ม ประเพณี บคุ ลากรในหนว ยงานของ
ทา น มกี ารรบั สง่ิ ดังตอไปนี้ นอกเหนือจากการรับโดยธรรมจรรยาหรือไม
- เงนิ
- ทรัพยสนิ
- ประโยชนอ่นื ๆ ทอ่ี าจคาํ นวณเปน เงินได เชน การลดราคา การรับความบนั เทิง เปนตน
I6 บคุ ลากรในหนวยงานของทา น มีการใหสง่ิ ดังตอไปนี้ แกบุคคลภายนอกหรือภาคเอกชน เพือ่
สรางความสมั พันธที่ดแี ละคาดหวงั ใหม ีการตอบแทนในอนาคตหรอื ไม
- เงนิ
- ทรัพยสิน
- ประโยชนอ ่นื ๆ ท่อี าจคํานวณเปน เงนิ ได เชน การยกเวนคาบริการ การอาํ นวยความสะดวก
เปนกรณีพเิ ศษ เปน ตน

สำ�นกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 26 25

26
ตัวชว้ี ดั ที่ 2 การใชงบประมาณ
คาํ อธิบาย เปนตวั ชว้ี ดั ท่มี ีวตั ถุประสงคเพื่อประเมนิ การรบั รูของบุคลากรภายในหนว ยงานตอการ
ดําเนนิ การตาง ๆ ของหนวยงานของตนเอง ในประเดน็ ทเ่ี กยี่ วของกับการใชจ า ยเงนิ งบประมาณนับตง้ั แต
การจัดทาํ แผนการใชจา ยงบประมาณประจําปและเผยแพรอ ยา งโปรง ใส ไปจนถึงลักษณะการใชจ าย
งบประมาณของหนว ยงานอยางคมุ คา เปนไปตามวตั ถปุ ระสงค และไมเอ้ือประโยชนแ กตนเองหรือพวกพอง
การเบกิ จายเงินของบคุ ลากรภายในในเรอ่ื งตาง ๆ เชน คาทาํ งานลว งเวลา คาวัสดอุ ปุ กรณ หรอื คาเดนิ ทาง
ฯลฯ ตลอดจนกระบวนการจัดซ้ือจดั จางและการตรวจรับพัสดุดวย
นอกจากนี้ ยงั ใหค วามสาํ คญั กับการเปด โอกาสใหบคุ ลากรภายในมสี ว นรวมในการตรวจสอบการใช
จา ยงบประมาณของหนวยงานตนเองได
แหลง ขอมลู ผูม ีสวนไดสวนเสียภายใน
ประเดน็ สาํ รวจ ประกอบดวยขอคําถามจํานวน 6 ขอดังตอไปนี้

I7 ทา นรูเ กีย่ วกบั แผนการใชจายงบประมาณประจําปข องหนว ยงานของทา น มากนอยเพียงใด
I8 หนวยงานของทาน ใชจายงบประมาณ โดยคํานึงถึงประเดน็ ดังตอ ไปน้ี มากนอ ยเพยี งใด

- คมุ คา
- ไมบ ดิ เบอื นวตั ถปุ ระสงคข องงบประมาณทตี่ ้ังไว
I9 หนว ยงานของทา น ใชจา ยงบประมาณเพ่ือประโยชนส ว นตวั กลมุ หรือพวกพอง มากนอย
เพียงใด
I10 บุคลากรในหนว ยงานของทา น มีการเบิกจา ยเงนิ ที่เปนเท็จ เชน คา ทํางานลวงเวลา คาวัสดุ
อปุ กรณ หรือ คา เดินทาง ฯลฯ มากนอ ยเพียงใด
I11 หนว ยงานของทาน มกี ารจดั ซื้อจัดจา ง/การจดั หาพสั ดุ และการตรวจรับพสั ดุในลักษณะ
ดังตอ ไปนม้ี ากนอยเพียงใด
- โปรง ใส ตรวจสอบได
- เอื้อประโยชนใหผปู ระกอบการรายใดรายหนง่ึ
I12 หนวยงานของทาน เปด โอกาสใหทา น มีสว นรว มในการตรวจสอบการใชจา ยงบประมาณ
ตามประเดน็ ดังตอไปน้ี มากนอยเพียงใด
- สอบถาม
- ทักทวง
- รอ งเรยี น

26 สำ�นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 26

27
ตัวชว้ี ัดท่ี 3 การใชอํานาจ
คาํ อธิบาย เปนตวั ช้วี ัดท่ีมวี ัตถปุ ระสงคเพ่ือประเมินการรบั รขู องบุคลากรภายในหนวยงานตอการใช
อํานาจของผบู ังคบั บญั ชาของตนเอง ในประเดน็ ท่ีเกย่ี วของกบั การมอบหมายงาน การประเมนิ ผลการ
ปฏิบัตงิ าน การคัดเลือกบุคลากรเพ่ือใหป ระสิทธิประโยชนต า ง ๆ ซง่ึ จะตองเปน ไปอยางเปนธรรมและไม
เลือกปฏบิ ัติ รวมไปถึงการใชอ าํ นาจส่งั การใหผใู ตบังคับบัญชาทาํ ในธุระสวนตัวของผบู ังคบั บัญชาหรือทําใน
ส่ิงท่ีไมถกู ตองนอกจากน้ี ยงั ประเมินเก่ยี วกบั กระบวนการบริหารงานบุคคลท่ีอาจเกดิ การแทรกแซงจาก
ผมู ีอาํ นาจ การซื้อขายตาํ แหนง หรือการเอ้ือผลประโยชนใ หกลุมหรือพวกพอง
แหลง ขอมลู ผูมสี วนไดสว นเสยี ภายใน
ประเด็นสํารวจ ประกอบดว ยขอคาถามจานวน 6 ขอ ดงั ตอไปนี้
คํานยิ าม ผูบงั คบั บัญชาของทาน หมายถงึ ผูบังคับบัญชาตามสายงานในลําดบั ทส่ี งู กวาทา น
และทาํ หนา ท่ีมอบหมายงานแกท า นโดยตรง

I13 ผูบงั คับบญั ชาของทาน มอบหมายงานแกทานอยา งเปนธรรม มากนอยเพยี งใด
I14 ทา นไดร บั การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน ตามระดบั คุณภาพของผลงาน มากนอยเพียงใด
I15 ผูบ ังคับบญั ชาของทา น มีการคัดเลือกผเู ขารบั การฝกอบรม การศึกษาดงู าน หรอื การให
ทุนการศึกษาอยางเปน ธรรม มากนอยเพียงใด
I16 ผูบ ังคับบญั ชาของทาน มีการสง่ั การใหทานทาํ ธรุ ะสว นตวั ของผูบังคับบญั ชา มากนอยเพียงใด
17I ผบู งั คบั บัญชาของทา น มีการสงั่ การใหท า นทำในส่งิ ท่ีไมถ กู ตอง หรือมีความเส่ียงตอการทุจริต
มากนอ ยเพยี งใด
I18 การบรหิ ารงานบคุ คลของหนว ยงานของทานมีลักษณะดงั ตอ ไปน้ี มากนอยเพยี งใด

- ถกู แทรกแซงจากผูมีอํานาจ
- มกี ารซ้ือขายตาํ แหนง
- เออ้ื ประโยชนใหก ลุมหรือพวกพอง
ตวั ชว้ี ัดท่ี 4 การใชท รพั ยส ินของราชการ
คาํ อธิบาย เปนตวั ชวี้ ัดท่ีมวี ัตถปุ ระสงคเ พื่อประเมินการรับรูของบุคลากรภายในหนวยงาน
ตอ การใชทรพั ยส ินของราชการ ในประเดน็ ทเี่ กย่ี วของกบั พฤตกิ รรมของบุคลากรภายใน ในการนําทรัพยสนิ
ของราชการของหนว ยงานไปเปนของตนเองหรือนําไปใหผอู ื่น และพฤตกิ รรมในการขอยืมทรัพยสนิ ของ
ราชการท้ังการยืมโดยบคุ ลากรภายในหนว ยงานและการยืมโดยบคุ คลภายนอกหนว ยงาน ซง่ึ หนวยงาน
จะตอ งมกี ระบวนการในการขออนุญาตทีช่ ดั เจนและสะดวกนอกจากน้ี หนว ยงานจะตองมีการจัดทาํ แนวทาง
ปฏิบตั ิเก่ียวกบั การใชทรพั ยสินของราชการท่ีถูกตอ ง เพ่ือเผยแพรใหบคุ ลากรภายในไดร บั ทราบและนําไป
ปฏบิ ตั ิ รวมไปถงึ หนวยงานจะตอ งมีการกํากับดแู ลและตรวจสอบการใชทรัพยสนิ ของราชการของหนวยงาน
ดว ย

สำ�นักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 26 27

28
แหลงขอมูล ผูมสี วนไดส ว นเสยี ภายใน
ประเด็นสํารวจ ประกอบดว ยขอคาถามจํานวน 6 ขอ ดงั ตอไปน้ี
19I บุคลากรในหนวยงานของทาน มีการเอาทรัพยส นิ ของราชการ ไปเปนของสว นตวั หรอื นำไป
ใหก ลมุ หรอื พวกพอง มากนอยเพยี งใด

I20 ขั้นตอนการขออนญุ าตเพื่อยมื ทรัพยส นิ ของราชการ ไปใชปฏบิ ัติงานในหนว ยงานของทาน มี
ความสะดวก มากนอยเพียงใด

I21 กรณีที่ตองมีการขอยืมทรัพยสนิ ของราชการไปใชปฏบิ ัตงิ าน บคุ ลากรในหนว ยงานของทา น มี
การขออนญุ าตอยางถกู ตอ ง มากนอ ยเพียงใด

I22 บคุ คลภายนอกหรอื ภาคเอกชน มกี ารนำทรพั ยส ินของราชการไปใช โดยไมไดขออนุญาตอยา ง
ถกู ตองจากหนวยงานของทาน มากนอยเพียงใด

I23 ทา นรูแ นวปฏบิ ตั ขิ องหนวยงานของทา น เกย่ี วกับการใชทรพั ยสนิ ของราชการทีถ่ กู ตอ ง
มากนอยเพียงใด

I24 หนวยงานของทาน มกี ารกำกบั ดแู ลและตรวจสอบการใชท รพั ยส นิ ของราชการ เพอื่ ปองกัน
ไมใ หมีการนำไปใชประโยชนสวนตวั กลมุ หรอื พวกพองมากนอ ยเพยี งใด

ตวั ชี้วัดที่ 5 การแกไขปญหาการทจุ ริต
คาํ อธบิ าย เปนตวั ชีว้ ัดทม่ี วี ัตถปุ ระสงคเพื่อประเมนิ การรบั รขู องบุคลากรภายในหนวยงาน
ตอ การแกไขปญหาการทจุ ริตของหนว ยงาน ในประเดน็ ท่เี ก่ียวขอ งกับการใหความสาํ คัญของผูบรหิ ารสูงสุด
ในการตอตา นการทุจรติ อยางจริงจงั โดยหนวยงานจะตอ งทบทวนนโยบายท่เี กยี่ วของกับการปอ งกนั การ
ทุจริตในหนวยงานใหม ปี ระสิทธภิ าพ และจดั ทาํ แผนงานดานการปองกันและปราบปรามการทจุ รติ ของ
หนวยงานเพอ่ื ใหเ กดิ การแกไขปญ หาการทุจรติ ไดอยา งเปนรูปธรรม รวมไปถงึ การประเมินเก่ียวกับ
ประสทิ ธภิ าพการแกไขปญหาการทุจริตของหนว ยงาน ทจ่ี ะตอ งทาํ ใหก ารทุจริตในหนว ยงานลดลงหรือไมมี
เลย และจะตองสรางความเชอ่ื มน่ั ใหบ ุคลกรภายใน ในการรองเรยี นเม่ือพบเห็นการทจุ ริตภายในหนวยงาน
ดวยนอกจากนี้ หนวยงานจะตอ งมีกระบวนการเฝา ระวัง ตรวจสอบการทุจริตภายในหนวยงานรวมถงึ การนาํ
ผลการตรวจสอบของฝายตรวจสอบ จากทง้ั ภายในและภายนอกหนว ยงาน ไปปรับปรุงการทํางานเพื่อ
ปองกันการทจุ ริตในหนวยงาน
แหลงขอมูล ผูมสี ว นไดสวนเสียภายใน
ประเดน็ สํารวจ ประกอบดวยขอคําถามจํานวน 6 ขอ ดังตอไปนี้

I25 ผูบริหารสงู สดุ ของหนว ยงาน ของทาน ใหความสาํ คญั กับการตอตานการทุจรติ มากนอย
เพยี งใด

I26 หนวยงานของทาน มีการดาเนนิ การ ดงั ตอไปน้ี หรือไม
- ทบทวนนโยบายหรือมาตรการปอ งกนั การทุจริตในหนวยงานใหม ปี ระสทิ ธิภาพ
- จดั ทาํ แผนงานดานการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ ของหนว ยงาน

I27 ปญ หาการทุจริตในหนว ยงานของทาน ไดรับการแกไข มากนอยเพียงใด

28 สำ�นักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 26

29
I28 หนวยงานของทาน มกี ารดําเนินการดังตอไปนี้
ตอการทจุ รติ ในหนวยงาน มากนอยเพียงใด

- เฝา ระวัง
- ตรวจสอบ
- ลงโทษทางวินัย
I29 หนวยงานของทาน มกี ารนำผลการตรวจสอบของฝายตรวจสอบ ทัง้ ภายในและภายนอก
หนวยงานไปปรับปรุง การทํางาน เพอ่ื ปองกนั การทุจรติ ในหนว ยงาน มากนอยเพียงใด
I30 หากทา นพบเหน็ แนวโนม การทจุ ริตท่จี ะเกดิ ขนึ้ ในหนวยงานของทา น ทานมีความคิดเห็นตอ
ประเด็นดังตอไปนี้ อยา งไร
- สามารถรองเรยี นและสง หลักฐานไดอยางสะดวก
- สามารถตดิ ตามผลการรองเรยี นได
- ม่ันใจวาจะมีการดําเนินการอยา งตรงไปตรงมา
- มัน่ ใจวา จะปลอดภยั และไมมีผลกระทบตอตนเอง
ตวั ชีว้ ดั ท่ี 6 คุณภาพการดาํ เนนิ งาน
คําอธบิ าย เปนตัวช้วี ัดท่ีมีวตั ถปุ ระสงคเ พื่อประเมนิ การรบั รูข องผรู บั บรกิ าร ผูม าติดตอ หรอื
ผูม สี ว นไดส วนเสียของหนวยงานตอ การคณุ ภาพการดาํ เนนิ งาน ในประเดน็ ทเ่ี กีย่ วของกับการปฏบิ ตั หิ นา ที่
ของเจาหนาที่ โดยยึดหลกั ตามมาตรฐาน ขน้ั ตอน และระยะเวลาที่กาหนดไวอ ยางเครง ครดั และจะตอง
เปน ไปอยางเทา เทยี มกนั ไมเลือกปฏบิ ตั ิ รวมถงึ จะตองใหข อมูลเกย่ี วกบั การดาํ เนินการ/ใหบริการของ
หนว ยงานแกร บั บรกิ าร ผมู าติดตอ หรอื ผูมีสวนไดส ว นเสียอยา งตรงไปตรงมา ไมป ด บังหรือบดิ เบือนขอมูล
ซงึ่ สะทอนถึงการปฏบิ ัตหิ นาท่ีอยางมีคณุ ธรรม และยังประเมนิ การรบั รเู กีย่ วกับประสบการณตรงในการถูก
เจา หนาที่เรยี กรบั เงนิ ทรัพยส ิน หรือประโยชนอ่ืน ๆ เพ่ือแลกกับการปฏบิ ัติหนาทด่ี วยนอกจากนี้ ยัง
ประเมินการรับรูเกี่ยวกบั การบริหารงานและการดาํ เนินงานในภาพรวมของหนว ยงาน ท่ีจะตอ งคํานงึ ถึง
ประโยชนของประชาชนและสวนรวมเปนหลกั ไมม ีการเอ้ือประโยชนใหก บั บุคคลใดบุคคลหน่ึง หรือกลุม ใด
กลุมหนึ่ง
แหลงขอมูล ผูมสี ว นไดสวนเสียภายนอก
ประเดน็ สํารวจ ประกอบดว ยขอคําถามจํานวน 5 ขอ ดังตอไปนี้
E1 เจาหนา ท่ีของหนว ยงานที่ทา นติดตอ ปฏิบตั งิ าน/ใหบริการแกทา น ตามประเดน็ ดงั ตอไปน้ี
มากนอยเพียงใด
- โปรงใสเปนไปตามข้ันตอนท่ีกาํ หนด
- โปรง ใสเปนไปตามระยะเวลาท่ีกาํ หนด
E2 เจา หนาทีข่ องหนว ยงานท่ีทานตดิ ตอ ปฏิบัตงิ าน/ใหบ ริการแกทาน กับผมู าติดตอ คนอน่ื ๆ
อยางเทา เทยี มกนั มากนอยเพยี งใด

สำ�นักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26 29

30
E3 เจาหนาทขี่ องหนว ยงานที่ทา นติดตอ ใหข อมลู เกีย่ วกับการ ดําเนินการ/ ใหบริการ แกทาน
อยา งตรงไปตรงมา ไมป ดบงั หรอื บิดเบอื นขอ มลู มากนอ ยเพียงใด
E4 ในระยะเวลา 1 ปท ผ่ี า นมา ทา นเคยถูกเจา หนาที่ของหนว ยงานที่ทานติดตอ
รองขอใหจา ยหรือใหส ิ่งดังตอไปน้ี เพ่ือแลกกบั การปฏบิ ัติงาน การอนุมัติ อนญุ าต
หรอื ใหบ รกิ าร หรือไม

- เงิน
- ทรพั ยส ิน
- ประโยชนอน่ื ๆ ทีอ่ าจคาํ นวณเปน เงินได เชน การลดราคา การใหค วามบนั เทิงเปน ตน
E5 หนวยงานท่ีทา นตดิ ตอ มกี ารดาํ เนินงาน โดยคํานึงถึงประโยชนของประชาชนและสวนรวม
เปน หลัก มากนอยเพียงใด
ตวั ชี้วัดที่ 7 ประสิทธภิ าพการสอ่ื สาร
คําอธิบาย เปนตัวชี้วัดทมี่ วี ัตถุประสงคเพ่ือประเมินการรับรูข องผูร ับบริการ ผมู าตดิ ตอ หรอื ผูม ีสว น
ไดส วนเสียของหนวยงานตอประสทิ ธภิ าพการส่ือสาร ในประเด็นทเ่ี กย่ี วของกับการเผยแพรขอมูลของ
หนว ยงานในเร่ืองตา ง ๆ ตอ สาธารณชน ผานชองทางท่หี ลากหลาย สามารถเขาถึงไดงาย และไมซบั ซอนโดย
ขอ มลู ที่เผยแพรจ ะตอ งครบถวนและเปนปจ จุบัน โดยเฉพาะอยางยงิ่ ผลการดาํ เนินงานของหนวยงานและ
ขอ มลู ที่สาธารณชนควรรบั ทราบ รวมถึงการจดั ใหมีชองทางใหผ รู บั บริการ ผูมาติดตอ หรอื ผมู ีสว นไดสว น
เสยี สามารถสง คาํ ติชมหรือความคิดเห็นเกยี่ วกับการดําเนนิ งาน/การใหบริการ และมีการชแ้ี จงในกรณที ี่มีขอ
กงั วลสงสยั ไดอยางชัดเจน นอกจากน้ี ยังประเมนิ การรับรูเ ก่ียวกับการจดั ใหม ีชองทางใหผูมาตดิ ตอสามารถ
รอ งเรยี นการทจุ ริตของเจาหนาท่ีในหนวยงานดวย ซงึ่ สะทอนถงึ การส่ือสารกับผรู บั บรกิ าร ผมู าตดิ ตอ หรือผู
มีสวนไดสวนเสยี อยา งมีประสิทธภิ าพ
แหลงขอมูล ผูมีสว นไดสวนเสียภายนอก
ประเด็นสาํ รวจ ประกอบดว ยขอคําถามจาํ นวน 5 ขอ ดงั ตอไปน้ี
E6 การเผยแพรขอ มลู ของหนวยงานที่ทา นติดตอมีลักษณะดังตอ ไปน้ี มากนอยเพยี งใด
- เขาถึงงา ย ไมซ บั ซอน
- มชี องทางหลากหลาย
E7 หนว ยงานทท่ี า นตดิ ตอ มกี ารเผยแพรผ ลงานหรือขอ มูลท่ีสาธารณชนควรรับทราบอยา งชดั เจน
มากนอยเพยี งใด
E8 หนว ยงานท่ที า นตดิ ตอ มีชองทางรับฟงคําตชิ มหรอื ความคิดเหน็ เกยี่ วกับการดําเนินงาน/การ
ใหบริการ หรอื ไม
E9 หนว ยงานทท่ี า นตดิ ตอ มกี ารชี้แจงและตอบคาํ ถามเม่ือมีขอกังวลสงสัยเกยี่ วกับการดําเนนิ งาน
ไดอยางชดั เจน มากนอยเพยี งใด
E10 หนวยงานท่ีทา นตดิ ตอ มีชองทางใหผ มู าตดิ ตอรองเรียนการทุจริตของเจา หนา ที่ในหนวยงาน
หรอื ไม

30 ส�ำ นักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 26

31
ตวั ช้ีวัดที่ 8 การปรบั ปรุงระบบการทาํ งาน
คําอธิบาย เปน ตัวชว้ี ัดที่มวี ัตถุประสงคเ พ่ือประเมินการรับรูของผูร บั บริการ ผมู าตดิ ตอ หรือผูมสี วน
ไดสว นเสียของหนว ยงานตอการปรบั ปรุงระบบการทํางาน ในประเด็นท่ีเกีย่ วของกบั การปรบั ปรุงพัฒนา
หนวยงาน ท้ังการปฏิบตั ิงานของเจา หนา ที่และกระบวนการทาํ งานของหนว ยงานใหด ยี ่ิงข้ึน รวมไปถึงการนํา
เทคโนโลยีมาใชในการดาํ เนนิ งานเพ่ือใหเ กิดความสะดวกรวดเรว็ มากย่งิ ข้ึน โดยควรมีกระบวนการเปด
โอกาสใหผ รู ับบรกิ ารหรือผูมาตดิ ตอ เขา มามีสว นรวมในการปรับปรงุ พฒั นาการดาํ เนนิ งานเพื่อใหส อดคลอง
กบั ความตองการดว ย ทัง้ น้ี นอกจากหนวยงานจะตองปรบั ปรงุ พฒั นาการดาํ เนินงานใหดีขนึ้ แลว ยงั ควรให
ความสาํ คญั กบั การปรบั ปรงุ การดําเนนิ งานใหมีความโปรง ใสมากขน้ึ อีกดวย
แหลง ขอมลู ผูมีสว นไดส ว นเสียภายนอก
ประเด็นสํารวจ ประกอบดว ยขอ คําถามจํานวน 5 ขอ ดงั ตอไปนี้

E11 เจาหนา ท่ขี องหนวยงานท่ที านตดิ ตอ มกี ารปรับปรงุ คุณภาพการปฏิบตั ิงาน/การใหบรกิ ารให
ดขี ้ึนมากนอยเพยี งใด

E12 หนว ยงานทีท่ า นตดิ ตอ มีการปรบั ปรงุ วธิ ีการและขน้ั ตอนการดําเนินงาน/การใหบรกิ ารใหด ี
ข้นึ มากนอยเพียงใด

E13 หนวยงานที่ทานตดิ ตอ มีการนาํ เทคโนโลยีมาใชใ นการ ดาํ เนนิ งาน/การใหบริการ ใหเกิด
ความสะดวกรวดเร็วมากข้นึ หรือไม

E14 หนว ยงานทท่ี านตดิ ตอ เปด โอกาสใหผ รู ับบรกิ ารผูมาติดตอ หรือผูมีสวนไดสว นเสีย เขาไปมี
สวนรว มในการปรับปรุงพัฒนาการดาํ เนนิ งาน/การใหบริการของหนว ยงานใหด ีขึน้ มากนอยเพยี งใด

E15 หนวยงานท่ที านตดิ ตอ มีการปรบั ปรงุ การดาํ เนนิ งาน/การใหบรกิ าร ใหมคี วามโปรงใสมาก
ขึ้นมากนอยเพยี งใด

ตวั ชว้ี ดั ท่ี 9 การเปดเผยขอมูล
คําอธบิ าย เปน ตวั ชี้วัดที่มีวตั ถปุ ระสงคเ พื่อประเมนิ การเผยแพรขอมูลที่เปนปจ จบุ นั บนเว็บไซตข อง
หนว ยงาน เพือ่ เปด เผยขอมูลตา ง ๆ ของหนว ยงานใหส าธารณชนไดรบั ทราบ ใน 5 ประเดน็ คอื
(1) ขอมูลพน้ื ฐาน ไดแ ก ขอมูลพน้ื ฐาน ขาวประชาสมั พันธ และการปฏสิ ัมพันธขอ มูล (2) การบริหารงาน
ไดแ กแผนดาํ เนนิ งาน การปฏิบตั งิ าน และการใหบ รกิ าร (3) การบริหารเงนิ งบประมาณ ไดแก แผนการใช
จายงบประมาณประจําป และการจัดซื้อจดั จา งหรือการจัดหาพสั ดุ (4) การบริหารและพัฒนาทรพั ยากร
บคุ คลไดแก นโยบายการบรหิ ารทรัพยากรบุคคล การดาํ เนินการตามนโยบายการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล
และหลักเกณฑการบรหิ ารและพัฒนาทรพั ยากรบคุ คล และ (5) การสงเสรมิ ความโปรงใสในหนว ยงาน ไดแก
การจัดการเรื่องรองเรยี นการทจุ ริต และการเปดโอกาสใหเกิดการมีสวนรวม ซง่ึ การเผยแพรขอมลู ใน
ประเด็นขางตนแสดงถงึ ความโปรงใสในการบรหิ ารงานและการดาเนนิ งานของหนว ยงาน

สำ�นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 26 31

32
แหลงขอมูล เว็บไซตหนวยงาน
ประเด็นสํารวจ ประกอบดวย 5 ตวั ชีว้ ดั ยอย (33 ขอ มูล) ดังตอไปนี้
ตวั ชวี้ ดั ยอยที่ 9.1 ขอ มลู พืน้ ฐาน

O1 โครงสรา งหนวยงาน  โครงสรางหนวยงาน จะตองมีขอ มลู การแบง สวนงานภายใน
ของหนวยงาน

O2 ขอมลู ผูบรหิ าร  ขอ มลู ผบู รหิ าร จะตองมีขอมลู ช่ือ–นามสกลุ และตาํ แหนงของผูบรหิ าร
สูงสดุ และรองผูบริหารสูงสดุ

O3 อาํ นาจหนา ท่ี  อํานาจหนา ที่ จะตอ งมขี อมูลเกี่ยวกับอาํ นาจหนา ท่ีหรือภารกจิ ของ
หนวยงานตามทีก่ ฎหมายกาํ หนด เชน การแบง สวนราชการภายในสาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา พ.ศ. 2560
เปนตน

O4 แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ของสานักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษา จะตองมขี อมูลเก่ยี วกับแผนพฒั นาหนวยงานมากกวา 1 ป พรอมรายละเอยี ด

O5 ขอมูลการติดตอ  ขอมลู การติดตอหนวยงาน อยา งนอ ยจะตองประกอบดว ย
1) ที่อยู 2) หมายเลขโทรศพั ท 3) หมายเลขโทรสาร 4) ที่อยไู ปรษณียอิเล็กทรอนิกส (e–mail)

5) แผนท่ีตงั้ ของหนว ยงาน
O6 กฎหมายท่ีเก่ียวของ  กฎหมายที่เก่ยี วของ จะตอ งมีขอมลู กฎหมายตาง ๆ ทีเ่ กยี่ วขอ ง

กบั หนว ยงาน เชน พระราชบัญญตั ิ พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวงขอบญั ญัติ ประกาศ ระเบยี บ หรอื มติ
คณะรฐั มนตรี เชน

- พรบ.การศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไขเพ่ิมเตมิ (ฉบับที่ 2)
- พรบ.ระเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
- ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา ดวยการจัดตงั้ รวม หรอื เลิกสถานศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พ.ศ.
2550
- ระเบยี บกระทรวงศึกษาธิการ วาดว ยการขยายช้ันเรียนในสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. 2553
เปน ตน
ขา วประชาสัมพันธ
O7 ขา วประชาสัมพันธ  ขาวประชาสัมพันธ จะตองมีขอมูลขาวสารตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับการ
ดาํ เนินงานตามอํานาจหนาท่ีหรือภารกจิ ของหนวยงานโดยจะตอ งเปนขอมูลภายในปงบประมาณ พ.ศ. 2562
การปฏสิ มั พันธขอ มลู
O8 Q&A  Q&A มีชอ งทางทผ่ี ูรับบริการ หรอื ผมู ีสว นไดสวนเสียสามารถสอบถามขอมูลหรือ
ขอกังวลสงสัย และหนวยงานสามารถตอบขอสอบถามหรือสื่อสารโตต อบกันได โดยจะตองเปนชองทางผา น
ทางเวบ็ ไซตของหนว ยงาน

32 ส�ำ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 26

33
O9 Social Network Social Network จะตองมีชองทางการเช่อื มโยงไปสูเครือขาย
สังคมออนไลนของหนวยงาน เชน Facebook Twitter Instagram Line เปน ตน โดยจะตอ งเปน
ชอ งทางผา นทางเวบ็ ไซตของหนวยงาน
ตัวช้วี ดั ยอ ยที่ 9.2 การบริหารงาน
แผนดาํ เนินงาน
O10 แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาํ ป แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาํ ปจ ะตองมีขอมูลแผนดําเนนิ งาน
ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ของหนวยงานพรอมรายละเอยี ด
O11 รายงานการกํากบั ติดตามการดําเนนิ งาน รายไตรมาส รายงานการกาํ กบั ติดตามการ
ดําเนินงาน รายไตรมาส จะตองมีขอมูลแสดงวาหนวยงานมกี ารกาํ กับตดิ ตามการดาํ เนนิ งานใหเปน ไปตาม
แผนดําเนินงานประจาํ ป งบประมาณ พ.ศ.2562 ของหนวยงานเปน รายไตรมาส
O12 รายงานผลการดาํ เนินงานประจําป  รายงานผลการดาํ เนินงานประจาป จะตองมขี อ มูล
สรุปผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ปข องหนวยงาน ในปงบประมาณ พ.ศ.2561 ทผ่ี า นมาการปฏิบัติงาน
O13 คมู ือหรือมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน  คูมอื หรือมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน จะตองมีขอ มูล
เกย่ี วกบั คมู ือหรือมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของขา ราชการ และพนักงานราชการรายบุคคล ทุกกลมุ งาน
พรอมรายละเอยี ด
การใหบริการ*
O14 คมู ือหรือมาตรฐานการใหบ รกิ าร  คมู อื หรือมาตรฐานการใหบรกิ าร จะตองมขี อมลู
เกยี่ วกบั คมู ือหรือมาตรฐานการใหบ ริการตามอาํ นาจหนา ที่หรอื ภารกิจของหนวยงาน ทผี่ ูมารบั บริการ
จะตอ งรบั ทราบซึง่ ประกอบดวย ประเภทงานใหบ รกิ าร ขั้นตอนการใหบริการแผนผงั /แผนภูมิการใหบ รกิ าร
ระยะเวลาทใ่ี ชใ นการใหบรกิ ารและผูรับผิดชอบในการใหบรกิ าร
O15 ขอ มลู เชิงสถิตกิ ารใหบ ริการ  ขอมูลเชิงสถติ ิการใหบริการ จะตองมีขอ มลู สถิติการ
ใหบริการตามอํานาจหนา ทหี่ รือภารกจิ ของหนว ยงาน และจะตองเปน ขอมลู ภายในปงบประมาณ พ.ศ.
2562
O16 รายงานผลการสํารวจความพึงพอใจการใหบริการ  รายงานผลการสํารวจความพงึ พอใจ
การใหบ รกิ าร จะตองมีขอมูลสรปุ ผลการสํารวจความพงึ พอใจการใหบริการตามอํานาจหนาท่ีหรอื ภารกิจ
ของหนวยงาน ในปงบประมาณ พ.ศ.2561 ทีผ่ านมา
O17 E–Service  E–Service จะตองมชี องทางท่ผี ูรบั บรกิ าร หรอื ผูมสี วนไดสว นเสยี
สามารถขอรบั บริการตามอาํ นาจหนาทห่ี รือภารกิจของหนว ยงาน ตามภารกิจของหนวยงานโดยจะตอ งเปน
ชองทางผานทางเว็บไซตของหนวยงาน เชน Smart OBEC ,My office, AMSS++, Smart Area, Smart
Office เปน ตน

สำ�นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26 33

34
แผนการใชจา ยงบประมาณประจําป

O18 แผนการใชจ า ยงบประมาณประจําป  แผนการใชจ า ยงบประมาณประจําป จะตองมี
ขอ มลู เกย่ี วกับแผนการใชจายงบประมาณประจาํ ป พ.ศ. 2562 พรอมรายละเอยี ด

O19 รายงานการกาํ กบั ติดตามการใชจา ยงบประมาณ  รายไตรมาส รายงานการกํากับตดิ ตาม
การใชจายงบประมาณ รายไตรมาสจะตอ งมีขอมูลการกํากับติดตามการใชจ ายงบประมาณของหนว ยงาน
ตามแผนการใชจ า ยงบประมาณประจําป พ.ศ. 2562 ของหนว ยงานเปนรายไตรมาส

O20 รายงานผลการใชจ า ยงบประมาณ  รายงานผลการใชจายงบประมาณประจําป จะตองมี
ขอมูลสรปุ ผลการใชจ ายงบประมาณตามแผนการใชจ า ยงบประมาณประจําปของหนวยงาน ในป
งบประมาณ พ.ศ. 2561 ที่ผานมาประจําป

การจัดซ้ือจดั จา งหรือการจัดหาพสั ดุ
O21 แผนการจดั ซ้ือจัดจางหรือแผนการจัดหาพสั ดุ  แผนการจดั ซื้อจัดจางหรอื แผนการจดั หา

พสั ดุ จะตองมีแผนการจัดซื้อจดั จา งหรอื แผนการจดั หาพสั ดุ ตามท่หี นวยงานจะตอ งดําเนินการตาม
พระราชบัญญตั ิการจัดซื้อจดั จา งและการบริหารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560 และจะตอ งเปน ขอ มลู ภายใน
ปงบประมาณ พ.ศ. 2562

O22 ประกาศตา ง ๆ เกี่ยวกบั การจดั ซอ้ื จัดจางหรือการจัดหาพัสดุ ประกาศตาง ๆ เก่ียวกับ
การจดั ซือ้ จัดจางหรือการจดั หาพัสดุ จะตองมปี ระกาศตามท่ีหนว ยงานตอ งดําเนินการตามพระราชบัญญัติ
การจัดซ้อื จัดจางและการบริหารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 เชน ประกาศเชิญชวน ประกาศผลการจดั ซ้อื
จัดจา ง เปนตน และจะตองเปนขอ มลู ภายในปงบประมาณ พ.ศ. 2562

O23 สรปุ ผลการจดั ซอื้ จดั จางหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน  สรุปผลการจดั ซ้อื จดั จา งหรอื การ
จัดหาพสั ดุรายเดือน จะตองมีขอมูลสรุปผลการจัดซ้ือหรือจัดจา งตามแบบ สขร.1 และจะตอ งเปน ขอมลู
ภายในปงบประมาณ พ.ศ. 2562

O24 รายงานผลการจัดซื้อจัดจางหรอื การจัดหาพัสดุประจาํ ป  รายงานผลการจดั ซอื้ จัดจา ง
หรือการจดั หาพัสดุประจาปจ ะตองมขี อมูลสรุปผลการจดั ซื้อจดั จา งหรอื การจดั หาพสั ดใุ นปงบประมาณ พ.ศ.
2561 ทผ่ี านมา อยางนอยจะตองประกอบดว ย

1) สรปุ ผลการจดั ซอ้ื จดั จา งหรือการจัดหาพัสดุ
2) ปญ หาและอปุ สรรคของการจัดซ้ือจดั จา งหรือการจดั หาพัสดุ
3) ขอเสนอแนะการปรบั ปรุงพฒั นาการจดั ซื้อจดั จางหรือการจดั หาพสั ดุ
การบรหิ ารและพัฒนาทรพั ยากรบคุ คล
O25 นโยบายการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล นโยบายการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล จะตองมี
นโยบายหรือทิศทางของหนวยงานเกี่ยวกับการบรหิ ารทรัพยากรบุคคลที่มีความโปรง ใส สอดคลองกบั การ
ขับเคลอ่ื นภารกจิ ของหนว ยงานและทิศทางการปฏริ ปู ประเทศ
O26 การดำเนนิ การตามนโยบายการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล การดําเนนิ การตามนโยบายการ
บริหารทรัพยากรบคุ คลจะตอ งมีการดาํ เนนิ การตามนโยบายการบริหารทรพั ยากรบคุ คล เชน การวางแผน
กาลังคน การสรรหาคนดคี นเกงเพื่อปฏิบัติงานตามภารกิจของหนว ยงาน การพฒั นาบุคลากร

34 สำ�นกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 26

35
(การพฒั นาบุคลากร การสรา งทางกาวหนา ในสายอาชพี ) การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ การบรรจแุ ละแตงตั้ง
บุคลากรการประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน การสงเสรมิ จรยิ ธรรมและรักษาวินยั ของบคุ ลากรในหนวยงาน
เปน ตน ทั้งน้ีตองเปนไปตามกฎ ระเบียบ และขอ บงั คบั ท่ีเก่ยี วของ

O27 หลักเกณฑการบรหิ ารและพฒั นาทรัพยากรบุคคล  หลกั เกณฑการบรหิ ารและพฒั นา
ทรพั ยากรบุคคล จะตองมีการกาํ หนดหลักเกณฑการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลซึ่งเปน ไปตามกฎ
ระเบยี บ และขอบังคบั ท่ีเก่ยี วของ ไดแกห ลักเกณฑการสรรหาและคดั เลือกบุคลากร หลกั เกณฑการ
บรรจุและแตง ต้ังบุคลากร หลักเกณฑการพัฒนาบุคลากรหลกั เกณฑการประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน
หลักเกณฑการใหคุณใหโทษและการสรา งขวญั กาํ ลงั ใจ

O28 รายงานผลการบรหิ ารและพฒั นาทรัพยากรบุคคลประจําป  รายงานผลการบริหารและ
พัฒนาทรัพยากรบุคคลประจาปจะตอ งมีการประเมินผลการบริหารและพฒั นาทรัพยากรบุคคลประจาํ ปและ
จัดทาํ เปน รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ปของหนว ยงาน ในปง บประมาณ พ.ศ. 2561 ทีผ่ า นมา

การจดั การเรอ่ื งรองเรยี นการทจุ ริต
O29 แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องรองเรยี นการทจุ ริต  แนวปฏบิ ตั ิการจดั การเร่อื งรอ งเรียนการ

ทจุ ริต จะตอ งมแี นวปฏบิ ตั ิหรือเน้อื หาเกีย่ วกับรายละเอียดการจดั การตอเร่อื งรองเรียนท่ีเกย่ี วของกบั การ
ทุจรติ ของเจาหนาที่ในหนว ยงาน

O30 ชองทางแจง เรื่องรอ งเรียนการทจุ รติ  ชอ งทางแจง เรอื่ งรอ งเรียนการทุจริต จะตอ งมี
ชองทางท่ีผรู บั บริการ ผมู าติดตอ หรอื ผูม ีสว นไดส วนเสยี สามารถแจงเรื่องรองเรียนการทุจริตของเจาหนา ท่ี
ในหนว ยงาน โดยจะตองเปนชอ งทางผานทางเว็บไซตของหนวยงาน

3O1 ขอมลู เชงิ สถติ เิ รื่องรองเรยี นการทจุ รติ ประจําป ขอ มูลเชงิ สถติ เิ รือ่ งรองเรยี นการทจุ ริต
ประจําป จะตอ งมีขอ มลู สรปุ จำนวนและประเภทเรอ่ื งรอ งเรยี นการทุจริตของเจาหนา ทใ่ี นหนวยงาน ใน
ปง บประมาณ พ.ศ. 2561 ท่ผี า นมา

การเปด โอกาสใหเ กิดการมสี วนรวม
O32 ชองทางการรับฟงความคิดเหน็  ชองทางการรับฟงความคิดเหน็ จะตอ งมีชอ งทางท่ี

ผรู บั บรกิ ารผมู าติดตอ หรอื ผูมีสว นไดสวนเสยี สามารถใหค วามคดิ เห็นหรอื ขอ เสนอแนะท่ีเกี่ยวของกับการ
ดาํ เนนิ งานของหนวยงานใหม ีประสทิ ธิภาพมากยงิ่ ขึน้ โดยจะตอ งเปน ชอ งทางผานทางเวบ็ ไซตข องหนวยงาน

3O3 การเปดโอกาสใหเกิดการมีสว นรวม  การเปดโอกาสใหเ กดิ การมสี วนรว ม จะตอ งมกี าร ดาํ
เนินการหรอื กิจกรรมที่แสดงถึงการเปด โอกาสใหผ ูมสี วนไดสว นเสยี ไดมสี วนรว มในการดำเนินงานตาม
ภารกจิ ของหนว ยงาน เชน รวมวางแผน รว มดาํ เนินการ รว มแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ รว มติดตามประเมนิ ผล
เปนตน และจะตอ งเปนขอ มูลภายในปงบประมาณ พ.ศ. 2562

ตวั ชี้วัดท่ี 10 การปองกนั การทจุ รติ
คําอธบิ าย เปน ตัวช้ีวดั ทม่ี วี ัตถุประสงคเ พื่อประเมนิ การเผยแพรข อมลู ท่เี ปนปจจุบันบนเวบ็ ไซตข อง
หนวยงาน เพ่ือเปด เผยการดาํ เนินการตา ง ๆ ของหนว ยงานใหสาธารณชนไดรบั ทราบใน 2 ประเด็น คือ (1)
การดาํ เนนิ การเพ่ือปอ งกันการทจุ ริต ไดแก เจตจํานงสุจริตของผูบรหิ าร การประเมินความเสย่ี งเพ่ือการ
ปองกนั การทจุ ริต การเสริมสรางวฒั นธรรมองคกร และแผนปฏบิ ตั กิ ารปองกนั การทุจรติ และ (2) มาตรการ

สำ�นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 35

36
ภายในเพ่อื ปองกันการทุจรติ ไดแ ก มาตรการภายในเพ่ือสง เสริมความโปรง ใสและปองกันการทจุ ริต ซ่งึ การ
เผยแพรข อมูลในประเดน็ ขางตนแสดงถงึ ความพยายามของหนว ยงานทจี่ ะปองกันการทจุ รติ ในหนวยงานให
ลดนอยลงหรือไมส ามารถเกดิ ขึ้นได

แหลงขอมลู เวบ็ ไซตห นว ยงาน
ประเดน็ สํารวจ ประกอบดว ย 2 ตัวช้ีวดั ยอย (15 ขอมลู ) ดังตอ ไปน้ี
ตัวชี้วัดยอยท่ี 10.1 การดําเนินการเพื่อปอ งกนั การทจุ รติ
เจตจํานงสุจริตของผูบรหิ าร

O34 เจตจํานงสุจริตของผูบริหาร เจตจํานงสุจรติ ของผบู ริหาร จะตองมกี ารแสดงเจตนารมณ
หรือคำม่ันของผูบ ริหารสูงสดุ คนปจ จบุ ัน วา จะปฏิบัตหิ นา ที่ และบรหิ ารหนวยงานอยางซอ่ื สัตยส ุจรติ
โปรง ใสและเปน ไปตามหลกั ธรรมาภิบาล โดยจัดทาอยางนอย 2 ภาษา ไดแก ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

O35 การมีสว นรว มของผบู รหิ าร การมีสวนรวมของผบู ริหาร จะตอ งมีการดาํ เนินการหรอื
กิจกรรมที่แสดงถึงการมีสว นรวมของผบู รหิ ารสูงสุดคนปจจุบนั ในการใหความสําคญั กับการปรับปรงุ พัฒนา
หนว ยงานดานคุณธรรมและความโปรง ใส และจะตองเปนขอมูลภายในปง บประมาณ พ.ศ. 2562

การประเมนิ ความเส่ียงเพือ่ การปอ งกันการทจุ ริต
O36 การประเมนิ ความเสี่ยงการทจุ รติ ประจาํ ป  การประเมินความเสยี่ งการทุจริตประจำป

จะตองมกี ารประเมินความเสี่ยงของการดำเนินงานทอี่ าจกอ ใหเกิดการทจุ รติ หรือการขดั กันระหวาง
ผลประโยชนสวนตนกบั ผลประโยชนสวนรวมของหนวยงาน และจะตองเปนขอมลู ภายในปงบประมาณ
พ.ศ. 2562

O37 การดําเนนิ การเพื่อจดั การความเสย่ี งการทุจริต  การดาํ เนนิ การเพ่อื จดั การความเสย่ี ง
การทุจริต จะตองมกี ารดําเนินการหรอื กจิ กรรมที่แสดงถึงการจดั การความเสีย่ งของการดําเนินงานที่อาจ
กอ ใหเกดิ การทุจรติ หรอื การขัดกันระหวา งผลประโยชนสว นตนกบั ผลประโยชนส วนรวมของหนว ยงาน และ
จะตอ งเปน ขอมูลภายในปงบประมาณ พ.ศ.2562

การเสรมิ สรางวัฒนธรรมองคกร
O38 การเสริมสรางวฒั นธรรมองคก ร การเสรมิ สรางวัฒนธรรมองคกร จะตองมีการ

ดําเนนิ การหรือกจิ กรรมทแ่ี สดงถงึ การเสริมสรา งวัฒนธรรมองคกรใหเจาหนา ทีใ่ นหนวยงานมีทัศนคติ
คานิยม ในการปฏบิ ัติงานอยางซ่อื สตั ยสุจริต และจะตองเปนขอ มูลภายในปงบประมาณ พ.ศ. 2562

แผนปฏบิ ัตกิ ารปอ งกันการทุจริต
O39 แผนปฏิบัติการปองกนั การทุจรติ ประจาํ ป  แผนปฏบิ ัตกิ ารปอ งกันการทุจรติ ประจาํ ป

จะตอ งมีขอมูลแผนปฏิบตั กิ ารปอ งกันการทุจรติ ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2562 ของสานกั งานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา พรอมรายละเอยี ด

O40 รายงานการกํากับติดตามการดําเนินการปองกนั การทุจรติ รายไตรมาส รายงานการ
กาํ กับตดิ ตามการดําเนินการปองกนั การทจุ ริตรายไตรมาส จะตอ งมีขอมูลสรปุ ผลการดําเนินการปองกนั การ
ทุจรติ ของหนวยงาน รายไตรมาส และจะตองเปนขอมูลภายในปงบประมาณ พ.ศ. 2562

36 สำ�นักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 26

37
O41 รายงานผลการดาํ เนนิ การปอ งกนั การทจุ ริตประจาํ ป รายงานผลการดาํ เนนิ การปอ งกัน
การทุจรติ ประจําป จะตองมีขอมูลสรุปผลการดําเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการปองกันและปราบปรามการ
ทุจรติ ของสํานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561
ตัวชีว้ ดั ยอย 10.2 มาตรการภายในเพอ่ื ปองกันการทจุ ริต
มาตรการภายในเพือ่ สง เสรมิ ความโปรงใสและปองกันการทจุ รติ
O42 มาตรการเผยแพรขอ มลู ตอสาธารณะ มาตรการเผยแพรข อ มลู ตอ สาธารณะ จะตองมี
แนวปฏิบัติของหนวยงาน เชน การกำหนดข้ันตอน วธิ กี าร และสว นงาน/เจา หนา ทีท่ เ่ี ก่ียวของกบั การ
เผยแพรข อมูลตอ สาธารณะ
O43 มาตรการใหผ ูมีสวนไดสวนเสยี มีสว นรวม มาตรการใหผูมีสวนไดส ว นเสียมสี วนรวม
จะตองมีแนวปฏิบัตขิ องหนว ยงาน เชน การกำหนดข้นั ตอน วิธีการ และสว นงาน/เจาหนาท่ี ที่เก่ียวขอ งกบั
การใหผ ูมสี ว นไดส วนเสยี มีสวนรว มในการดำเนนิ งาน
O44 มาตรการสง เสริมความโปรง ใสในการจดั ซ้อื จดั จาง มาตรการสงเสรมิ ความโปรง ใสในการ
จัดซอื้ จดั จา ง จะตองมแี นวปฏบิ ัตขิ องหนวยงาน เชน การกำหนดข้ันตอน วธิ กี ารและสว นงาน/เจา หนา ท่ี ที่
เกี่ยวขอ งกบั การสงเสริมความโปรงใสในการจัดซ้อื จัดจา งหรือการจัดหาพสั ดุ
O45 มาตรการจัดการเรอ่ื งรองเรียนการทจุ รติ  มาตรการจดั การเรื่องรองเรียนการทุจริต
จะตอ งมแี นวปฏิบตั ขิ องหนวยงาน เชน การกำหนดขนั้ ตอน วิธีการ และสวนงาน/เจา หนาที่ ท่เี กี่ยวขอ งกับ
การจดั การเรื่องรองเรยี นการทุจริตของเจาหนา ทใี่ นหนวยงาน
O46 มาตรการปองกันการรบั สินบน มาตรการปองกันการรับสินบน จะตองมีแนวปฏิบัติของ
หนวยงานเชน การกาหนดขน้ั ตอน วิธกี าร และสวนงาน/เจาหนาทท่ี ่เี กยี่ วของกับการปองกนั การรับสินบน
O47 มาตรการปองกนั การขดั กนั ระหวา งผลประโยชนสวนตนกบั ผลประโยชนสวนรวม
มาตรการปองกนั การขัดกนั ระหวางผลประโยชนสว นตนกับผลประโยชนส ว นรวม จะตองมแี นวปฏบิ ัตขิ อง
หนว ยงาน เชนการกาหนดขัน้ ตอน วิธีการ และสว นงาน/เจาหนา ทีท่ เ่ี กี่ยวของกบั การปองกนั การขัดกนั
ระหวางผลประโยชนส วนตนกบั ผลประโยชนส วนรวม
O48 มาตรการตรวจสอบการใชด ุลพนิ ิจ  มาตรการตรวจสอบการใชดุลพินิจ จะตอ งมีแนว
ปฏบิ ตั ขิ องหนวยงาน เชน การกาหนดขน้ั ตอน วธิ กี าร และสว นงาน/เจา หนาที่ ทเ่ี กี่ยวของกบั การตรวจสอบ
การปฏิบตั งิ านของเจาหนาทีใ่ หเ ปนไปตามมาตรฐานเพื่อลดการใชดลุ พินจิ
โดยสรปุ แนวคดิ การประเมนิ คุณธรรมและความโปรง ใสในการดําเนนิ งานของหนวยงานภาครัฐ ได
กําหนดดชั นใี นการประเมนิ ที่คํานงึ ถงึ หลักธรรมาภบิ าล จรรยาบรรณสากล และวฒั นธรรม ของประเทศไทย
เปน หลกั รวมถงึ ขอเท็จจรงิ ของการทจุ รติ ท่ีเกิดข้ึนภายในหนวยงานภาครัฐ สาเหตุ สว นมากเกดิ จาก การ
ดาํ เนนิ งานของระดับบคุ คล หรอื เกิดจากปจ จยั ทางวฒั นธรรมขององคก ร หรือเกดิ จากลักษณะงานและการ
รับสิง่ ของตาง ๆ ทเ่ี อื้อใหเ กดิ การทุจริต ดงั นั้นวิธกี ารบรหิ ารจดั การภายในองคก รทีน่ าํ ไปสูการปรบั เปลี่ยน
พฤติกรรม คา นิยมและวัฒนธรรมขององคกรใหกลายเปนส่ิงทยี่ อมรับได ของผูบรหิ ารและเจาหนาท่ภี ายใน
องคกร โดยการสรา งความตระหนักถึงความรบั ผิดชอบและการมีสว นรว มในการตอตานการทจุ รติ ภายใน

ส�ำ นกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 26 37

38
องคกรของผบู ริหารและเจา หนา ทถ่ี งึ แมจ ะเปนสิ่งที่ยากตอการดาํ เนินงานกต็ าม แตเ ปนสง่ิ สําคญั ทหี่ นวยงาน
ตองสรางใหเกิดการเปล่ยี นแปลงเพอื่ นําไปสูองคกรท่ีมี คุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงาน
ตลอดจนเปน การสรา งแนวรว มในการตอตา นการทุจริตอันจะสง ผลตอ สงั คม ชมุ ชน และประเทศเกิดความ
ตระหนักถึงภยั จากการทุจริตและปฏิเสธการทจุ รติ ในทุกรปู แบบ

ผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ ถือเปนจุดเรม่ิ ตน
ของการรณรงคแ ละเสรมิ สรา งวัฒนธรรมขององคกร เปน การใหค วามสาํ คญั กบั การดําเนินงานทีม่ ี ความ
โปรงใส ความพรอ มรบั ผิด คุณธรรมการใหบ ริการการทํางานในหนว ยงาน และวฒั นธรรมคุณธรรมในองคก ร
องคกรจะทราบถึงประเด็นในการแกไข ปรบั ปรงุ และพฒั นา วธิ ีการดําเนนิ งานภายในองคก รทจี่ ะนําไปสู
การยกระดับคุณธรรมและความโปรง ใสในการดําเนินงานใหส ูงขึน้ ไดร บั การยอมรับจากผรู ับบรกิ ารจากทุก
ภาคสวน และเปนหนว ยงานภาครัฐตน แบบในการดาํ เนินงานดว ยความซ่ือสัตยส ุจรติ ใหก ับหนวยงาน
ภาครฐั อื่น ๆ ตอไป ประการสาํ คัญคือ การประเมนิ คุณธรรมและความโปรง ใสในการดําเนินงานของ
หนว ยงาน ภาครฐั จะเปน กลไกในการปองกันการทจุ รติ ของประเทศ เปนโครงการสาํ คัญทีจ่ ะสงผลตอการ
จัดอันดบั ดชั นภี าพลกั ษณของประเทศ (Corruption Perception Index: CPI) โดยองคกรความโปรงใส
นานาชาติ ใหมีคะแนนเพมิ่ ขึ้นนาํ ไปสกู ารจัดอนั ดบั ที่ดีขึน้ ไดอกี ทางหนง่ึ
6. การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง ใสในการดําเนินงานของสํานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา

6.1 กรอบการดาํ เนินการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง ใส ของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
สามารถสรปุ เปน กรอบการดําเนินการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง ใสในการดําเนินงานของ สาํ นักงาน
เขตพน้ื ท่ีการศึกษาดังน้ี

เครอ่ื งมอื ในการประเมิน การประเมินคุณธรรมและความโปรง ใสในการดําเนินงานของหนวยงาน
ภาครฐั เปน การประเมินท่มี ุงเนน การสาํ รวจพฤติกรรมของหนว ยงาน ท้งั ในระดบั หนวยงาน คอื การสาํ รวจ
เก่ียวกบั กระบวนการดาํ เนินงานและการบรหิ ารของหนวยงาน โดยใชแนวทางการวจิ ยั เชิงผสมผสาน
(Mixed Methods Research) ในการออกแบบเคร่อื งมือในการสํารวจ ดงั น้ี

เคร่ืองมือที่ใชในการประเมิน จําแนกออกเปน 3 เคร่ืองมือ ดังน้ี
1) แบบวดั การรบั รขู องผูมสี วนไดสว นเสยี ภายใน (Internal integrity and Transparency

Assessment: IIT) มวี ัตถุประสงคเพื่อเปนการประเมนิ ระดับการรับรขู องผูม ีสวนไดส ว นเสียภายในท่ีมีตอ
หนวยงานตนเอง ในตวั ชี้วดั การปฏิบัตหิ นา ที่ การใชง บประมาณ การใชอํานาจ การใชท รัพยสินของราชการ
และการแกไขปญ หาการทจุ ริต

2) แบบวัดการรับรูของผูมีสวนไดส วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency
Assessment: EIT) มวี ตั ถุประสงคเ พ่ือเปนการประเมนิ ระดับการรบั รูของผมู สี ว นไดสว นเสยี ภายนอกท่ีมีตอ
หนว ยงานทปี่ ระเมนิ ในตวั ชว้ี ัดคุณภาพการดําเนินงาน ประสทิ ธิภาพการสือ่ สาร และการปรับปรงุ ระบบ
การทํางาน

38 ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26

39
3) แบบตรวจการเปด เผยขอมลู สาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency
Assessment: OIT) มีวัตถุประสงคเพ่ือเปน การประเมนิ ระดบั การเปด เผยขอมูลตอสาธารณะของหนวยงาน
เพอ่ื ใหประชาชนทั่วไปสามารถเขา ถึงได ในตัวชี้วดั การเปด เผยขอ มลู และการปองกันการทจุ ริต
กลุม ประชากร กลุมตัวอยา ง และการเกบ็ รวบรวมขอมูล
1) ผูมีสวนไดส วนเสยี ภายใน (สําหรบั แบบ IIT)

ผมู ีสว นไดส วนเสียภายใน หมายถงึ บุคลากรของสํานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา ตั้งแตระดับ
ผบู รหิ าร ผอู านวยการ/หัวหนา ขาราชการ/พนักงาน ไปจนถึงลกู จา ง/พนกั งานจาง ท่ีทาํ งานใหกบั หนวยงาน
มาเปน ระยะเวลาไมนอยกวา 1 ป การกําหนดขนาดตัวอยางขนั้ ตาํ่ เกบ็ ตวั อยา งจากผูมสี วนไดส วนเสีย
ภายในไมน อยกวา 50 ตวั อยาง กรณสี ํานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามผี ูม ีสว นไดส วนเสยี ภายใน จาํ นวน
นอยกวา 50 คน ใหเ กบ็ ขอมูลจากผูมีสว นไดส ว นเสยี ภายในทง้ั หมด การเก็บขอมูลตวั อยาง ผูมีสว นไดสวน
เสยี ภายในตอบแบบวัดการรบั รู IIT ดว ยตนเอง

2) ผูม ีสว นไดส ว นเสยี ภายนอก (สําหรบั แบบ EIT)
ผมู สี วนไดสว นเสียภายนอก หมายถึง ผบู ริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศกึ ษาในสงั กดั

ทม่ี ารบั บรกิ ารหรือมาติดตอตามภารกจิ ของสํานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ในปงบประมาณ พ.ศ. 2562
การกําหนดขนาดตวั อยางข้ันตํา่ เก็บตวั อยางจากผมู ีสวนไดสวนเสยี ภายนอกไมนอยกวา 50 ตวั อยาง
การเก็บขอมูลตวั อยาง ผมู ีสวนไดส ว นเสยี ภายนอกตอบแบบวดั การรบั รู EIT ดวยตนเอง

3) สาํ นักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา (สาํ หรับแบบ OIT)
เกบ็ ขอมูลจากสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาท่เี ขารับการประเมินทงั้ หมด และไมมีการคดั เลือก

กลมุ ตวั อยา ง โดยผูดแู ลระบบของสาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามีหนา ท่ีในการตอบแบบสาํ รวจ หนวยงานละ
1 ชุด การตอบแบบสาํ รวจ OIT ในแตล ะขอ คาถาม โดยเลือก “มี” หรือ “ไมม ”ี โดยหากเลือก“มี” ใหร ะบุ
URL ของหนาใดหนา หน่ึงบนเว็บไซตข องสาํ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา ซึ่งเน้ือหาขอความหรอื ลิงคส าํ หรบั
เชอ่ื มโยงไปยงั ขอมูลตามที่แตละขอคาํ ถามกาํ หนด สวนชอง “คาํ อธบิ าย” สามารถกรอกคาํ อธิบายเพม่ิ เติม
หรอื ไมกไ็ ด โดยสาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาสามารถสงลงิ คไดม ากกวา 1 ลงิ คใ นแตล ะขอ กรณีทีส่ าํ นกั งาน
เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามขี อจํากัดหรือเหตุผลความจําเปน ทาํ ใหเผยแพรข อมลู ไดไมตรงตามรายละเอยี ดท่ี
กําหนดหรอื ไมสามารถเผยแพรขอมูลตามรายละเอยี ดท่ีกําหนดตามแบบสาํ รวจ OIT ไดใหหนวยงานอธบิ าย
เหตุผลความจาํ เปน ประกอบโดยละเอียด

แนวทางการปฏิบัติในการกําหนดกลุม ประชากรเปา หมาย IIT และ EIT
ผสู ํารวจขอ มลู จะตองศึกษาพันธกิจ ภารกจิ และโครงสรา งของหนว ยงานที่ไดรบั การ ประเมนิ ใหเกิด
ความเขาใจในบรบิ ทการดาํ เนินงานและปจจัยตา ง ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ ง เพ่อื วิเคราะหป ระชากร เปาหมายในการ
สํารวจขอมลู ดงั น้ี

ส�ำ นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 26 39

40

(1) ผมู ีสวนไดสวนเสียภายใน โดยผรู ับผิดชอบสํารวจขอ มลู จาํ นวนบุคลากรสาํ นกั งานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 26 แจง ไปยงั สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานเพ่ือรับแบบสอบถาม
IIT

(2) ผูมสี วนไดส ว นเสียภายนอก โดยผูร บั ผดิ ชอบสาํ รวจขอ มูล กําหนดกลมุ ผมู สี วนไดส วนเสยี ที่
สอดคลอ งตามบทบาทภารกจิ ของหนว ยงาน และรวบรวมขอมลู ขอขอมูลรายชอื่ E-mail ผูมีสวนไดส ว นเสยี
ดงั กลาวท้งั หมดหรือ มากท่ีสุด

แนวทางปฏบิ ัตใิ นการกาํ หนดกลุมตัวอยาง IIT และ EIT
(1) ผูมีสวนไดส ว นเสียภายใน โดยผรู บั ผิดชอบสาํ รวจขอ มูลจะตองกําหนดขนาดตัวอยา งและ วิธีการ
คดั เลือกกลุมของแตละหนวยงานตามหลกั วชิ าการ โดยคํานึงถงึ คุณสมบัตคิ วามเปนตัวแทนที่ดีแต จะตอ ง
ครอบคลุมตามโครงสรา ง ระดับตําแหนง และสวนงานภายในระดับพืน้ ท่กี ารศึกษา
(2) ผูมสี วนไดส ว นเสยี ภายนอก โดยผรู บั ผดิ ชอบสํารวจขอ มูลจะตอ งกําหนดขนาดตัวอยา ง และ
วิธีการคัดเลอื กกลมุ ของแตล ะหนว ยงานตามหลักวชิ าการ โดยคํานงึ ถงึ คณุ สมบัติความเปนตวั แทนท่ี ดแี ต
จะตอ งครอบคลมุ ภารกจิ การใชบริการการมีสว นรวมของหนวยงานและสว นงานภายในระดบั พนื้ ทีก่ ารศกึ ษา

การเก็บรวบรวมขอมูล

OIT IIT EIT
หนวยงานทรี่ ับการประเมิน แบบสํารวจออนไลนการ แบบสาํ รวจออนไลนการ
ทัง้ หมดจะตองตอบ คําถาม สัมภาษณแบบ เผชิญหนา สมั ภาษณแ บบ เผชิญหนา
พรอมแนบเอกสารหลักฐาน โทรศพั ท ไปรษณยี  โทรศพั ท ไปรษณีย
และจัดสง ใหแ กผ รู บั ผิดชอบ อิเล็กทรอนกิ ส หรือการสํารวจ อิเล็กทรอนิกส หรือการสาํ รวจ
ขอมูล ทางอน่ื ๆ ทเ่ี หมาะสมในการเกบ็ ทางอืน่ ๆ ท่เี หมาะสมในการเก็บ
ขอ มลจากกลมุ ตัวอยา ง จัด ขอมลจากกลมุ ตัวอยางแจง
ประชมุ ชีแ้ จงรายละเอียดท่ี หนังสอื ราชการไปสถานศึกษา
ตอ งการในแบบสาํ รวจ เพอ่ื ขอขอ มูล
แนวทางปฏิบตั ิในการเก็บรวบรวมขอ มลู IIT และ EIT
(1) ผูรับผิดชอบขอมูลตองอธิบายวตั ถปุ ระสงค ขัน้ ตอน และการรักษาความลับแกผูตอบกอนเรมิ่
การเก็บขอมูลทกุ คร้งั
(2) ผรู ับผิดชอบขอมูลจะตองดําเนนิ การเกบ็ ขอมูลดว ยตนเอง ไมนําแบบสาํ รวจสง มอบ
ใหหนวยงานทีไ่ ดร ับการประเมินดาํ เนินการเก็บขอมลู
(3) ผรู ับผดิ ชอบขอมูลจะตอ งใหผตู อบตอบแบบสาํ รวจดวยตนเองโดยอิสระ ไมช ้นี าํ หรือกดดนั
ผตู อบ

40 สำ�นักง�นเขตพนื้ ทกี่ �รศึกษ�มัธยมศึกษ� เขต 26

41

(4) ผรู บั ผดิ ชอบสาํ รวจขอ มลู จะตอ งไมร ะบุตัวตนของผตู อบ ไมระบชุ ่ือ ตําแหนง หรือเบอร
โทรศพั ทบ นแบบสํารวจ ไมกําหนดรหัสใด ๆ ทีเ่ ขอื่ มโยงระหวา งแบบสํารวจกับผตู อบ และหลีกเลีย่ ง
การเกบ็ ขอมลู ในสภาวะทผี่ ตู อบอาจถูกรับรวู าเปนกลุมตัวอยา ง

แนวทางการปฏิบตั ิในการจดั ทาํ และจดั สงแบบสาํ รวจ OIT
(1) หนว ยงานทรี่ ับการประเมินควรดาํ เนินการตามแบบสํารวจ OIT ใหแลว เสรจ็ ภายใน

ไตรมาสท่ี 2 เน่ืองจากจะทําใหส งผลตอการรบั รขู องการสาํ รวจแบบสาํ รวจ IIT และ EIT
(2) หนว ยงานทรี่ บั การประเมินจะตองจัดทาํ เอกตามแบบสํารวจ OIT นําข้ึนแสดงหนาเวบ็ ไซต

ทกุ ตัวชว้ี ัดแลว นําสงผูป ระเมินเปน ราย URL ซ่งึ จะสงในระบบเวบ็ ไซต โครงการโรงเรยี นสุจริต

http://www.uprightschool.net/

6.2 การประมวลผลคะแนน
การประมวลผลคะแนน จะมีการคํานวณคะแนนทั้งรายตวั ชว้ี ดั รายเครอื่ งมือ และคะแนนรวม

ตามลาํ ดบั โดยมีข้นั ตอน ดงั นี้

คะแนน แบบ IIT แบบ EIT แบบ OIT
คะแนนขอ คําถาม คะแนนเฉลย่ี ของขอคาํ ถาม คะแนนเฉลยี่ ของขอ คะแนนของขอคาํ ถาม
คะแนนตัวชว้ี ดั ยอย จากผูต อบทุกคน คําถามจากผูตอบทกุ คน คะแนนเฉลี่ยของทุกขอ
คะแนนตวั ชวี้ ัด - - คาํ ถามในตัวช้ีวัดยอย
คะแนนแบบสาํ รวจ คะแนนเฉล่ียของทุก
นา หนักแบบสาํ รวจ คะแนนเฉลย่ี ของทกุ ขอ คา คะแนนเฉล่ียของทุกขอ ตัวชีว้ ัดยอยในตัวชี้วัด
คะแนนแบบสาํ รวจ ถามในตวั ชวี้ ัด คาํ ถามในตวั ชี้วัด คะแนนเฉล่ียของทุก
ท่ีถวงนา หนกั แลว คะแนนเฉลย่ี ของทกุ ตวั ชี้วัดใน คะแนนเฉลี่ยของ ตวั ช้ีวัดในแบบสาํ รวจ
คะแนนรวม แบบสํารวจ ทกุ ตัวชี้วัดในแบบสาํ รวจ รอยละ 40
รอ ยละ 30 รอ ยละ 30 คะแนนแบบสํารวจ x
คะแนนแบบสํารวจ x0.30 คะแนนแบบสาํ รวจ x0.30 0.40

ผลรวมของคะแนนแบบสํารวจที่ถวงนา หนักแลว

ส�ำ นักง�นเขตพ้ืนทกี่ �รศึกษ�มัธยมศกึ ษ� เขต 26 41

42

ตารางท่ี 2.1 ตารางแสดงสดั สวนน้ําหนกั คะแนน

แบบ นาํ้ หนกั ตวั ช้ีวัด ตัวชวี้ ดั ยอ ย จํานวนขอคาํ ถาม
IIT 30 การปฏบิ ตั หิ นา ที่ - 6
การใชง้ บประมาณ - 6

การใชอ้ ํานาจ - 6
6
การใชท้ รพั ยส์ นิ ของราชการ - 6
5
การแกไ้ ขปัญหาการทจุ รติ - 5
5
EIT 30 คุณภาพการดาํ เนินงาน - 9
8
ประสทิ ธภิ าพการสอ่ื สาร - 7

การปรบั ปรงุ การทาํ งาน - 4

OIT 40 การเปด เผยขอมลู ขอ้ มลู พน้ื ฐาน 5

การบรหิ ารงาน 8

การบรหิ ารเงนิ 7
งบประมาณ
การบรหิ ารและพัฒนา
ทรพั ยากรบุคคล
การสงเสรมิ ความ
โปรง ใส
การปอ งกนั การทจุ ริต การดาํ เนินการเพื่อ
ปอ งกนั การทจุ รติ
มาตรการภายในเพือ่
ปองกนั การทุจรติ

42 สำ�นักง�นเขตพ้ืนที่ก�รศกึ ษ�มธั ยมศกึ ษ� เขต 26

สำ�นักง�นเขตพ้ืนทีก่ �รศกึ ษ�มธั ยมศกึ ษ� เขต 26 43

44
7. การบรหิ ารจัดการเขตสุจรติ สํานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 26

สาํ นักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 26 ไดดําเนินการพฒั นาคณุ ภาพการดําเนินงาน
ตามโครงการเสรมิ สรา งคณุ ธรรมจริยธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษา “ปองกันการทุจรติ ” (ภายใต
ช่อื เขตสจุ รติ ) ตามแผนปฏบิ ัติการปองกนั การทจุ รติ สาํ นักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 26
ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 เพื่อใหสอดคลองกบั ยทุ ธศาสตร ยทุ ธศาสตรชาติวาดวยการปองกนั และ
ปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 - 2564)

วสิ ัยทัศน : สํานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ใสสะอาด ปราศจากคอรร ปั ชนั
พนั ธกจิ :

1. สรางวฒั นธรรมและคา นยิ มการตอตา นการทุจริตในองคกร
2. เสรมิ สรางระบบบรหิ ารจัดการภายในองคก รอยางมธี รรมาภิบาล
3. พฒั นาระบบและกลไกในการปอ งกนั การควบคุม และการตรวจสอบการทจุ ริต
เปาประสงค :
เพ่อื ผลักดนั ใหดชั นภี าพลกั ษณค อรรปั ชนั (CPI) ของประเทศไทยเพม่ิ สูงขน้ึ
ตัวชีว้ ดั เชิงยุทธศาสตร ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2562 :
1. ระดบั คะแนนการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง ใสในการดําเนนิ งานของสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษา (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ไมนอยกวา รอยละ 85
2. รอยละของผเู ขา รวมโครงการ/กิจกรรมเขามามสี ว นรวมในการผลกั ดนั ใหเกิดสังคมที่ไมทนตอ
การทุจริตไมนอยกวารอ ยละ 80 (เชงิ ปรมิ าณ)
3. รอยละของผเู ขา รวม โครงการ/กจิ กรรมสรา งความตระหนักรูใ นการปองกันและปราบปราม
การทจุ ริตมีคา นยิ มรวมตา นทุจรติ มจี ติ สํานึกสาธารณะ และสามารถแยกแยะระหวางผลประโยชนสว นตนกบั
ผลประโยชนสว นรวม รอยละ 80 (เชงิ คณุ ภาพ)
ยทุ ธศาสตรที่ 1 : สรางสังคมที่ไมทนตอการทจุ ริต
การดาํ เนินการตามยทุ ธศาสตรท ่ี 1 มเี ปา หมายมงุ เนนใหความสาํ คญั ในกระบวนการการปรับ
สภาพสังคมใหเกดิ ภาวะที่ไมท นตอการทจุ รติ โดยเรม่ิ ตง้ั แตการปอ งกันและการสรางสงั คมดว ยกระบวนการ
กลอมเกลาทางสงั คมในทุกระดับชวงวยั ตั้งแตป ฐมวัย เพือ่ สรา งวัฒนธรรมตอตา นการทุจริต และปลูกฝง ความ
พอเพยี ง มวี นิ ยั ซ่ือสตั ยสุจริตเปนการดาํ เนนิ การผานสถาบันหรือกลุมตวั แทนท่ที าํ หนา ที่ในการกลอมเกลา
ทางสงั คมใหมคี วามเปนพลเมืองที่ดีทม่ี จี ติ สาธารณะ จติ อาสา และความเสียสละเพ่ือสว นรวม และ
เสรมิ สรา งใหทุกภาคสวนมีพฤตกิ รรมท่ีไมย อมรบั และตอตา นการทจุ รติ ในทุกรูปแบบ การดําเนนิ การจะ
กาํ หนดกลยทุ ธ แนวทางการดําเนนิ การตามกลยุทธและตัวช้ีวดั ความสําเร็จเพ่ือใหท ุกสว นราชการในสังกัด
กระทรวงศึกษาธิการนาํ ไปกาํ หนดเปนแผนงานโครงการของสว นราชการตอไป

44 สำ�นักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 26


Click to View FlipBook Version