Performance Agreement: PA PA Performance Agreement: PA PA
บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนเทศบาล 2 (วัดภูเขาดิน) สังกัดกองการศึกษาเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ ที่ พช 5200๗.๕/ วันที่ ๑๔ กันยายน 256๖ เรื่อง แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement: PA) เรียน ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดภูเขาดิน) ด้วยข้าพเจ้า นางสาวกานดา ไชยวัง ตำแหน่ง ผู้ช่วยครูผู้ช่วย โรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดภูเขาดิน) ปฏิบัติหน้าที่สอนชั้นอนุบาล ๑ ซึ่งตามมติ ก.ค.ศ. ได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง และวิทย ฐานะข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู ตามหลักเกณฑ์ของสำนักงาน ก.ค.ศ. หนังสือราชการ ที่ ศธ ๐๒๐๖.๓/ว๙ เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู มีวิทยฐานะและ เลื่อนวิทยฐานะ ลงวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๔ เพื่อให้การประเมินเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังกล่าว ข้าพเจ้าจึงได้จัดทำแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ตำแหน่ง ครูไม่มีวิทยฐานะ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ รอบการประเมิน ระหว่างวันที่ ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ถึงวันที่ ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ได้นำเสนอต่อผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดภูเขาดิน) เพื่อเป็นข้อตกลงใน การพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง และเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนประจำปี งบประมาณ ๒๕๖๗ ข้าพเจ้าได้จัดทำแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ตามรายละเอียด ดังแนบ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และพิจารณา (นางสาวกานดา ไชยวัง) ตำแหน่ง ผู้ช่วยครูผู้ช่วย ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดภูเขาดิน) ❑ เห็นควร ❑ ไม่เห็นควร เพราะ ............................................................................................................................. ........................................................ .............................................................................................................................................................................. … ....... (ลงชื่อ).................................................... ผู้รับรอง (นายเดชาพัชร การกิ่งไพร) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดภูเขาดิน)
คำนำ แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ตำแหน่ง ครูไม่มีวิทยฐานะ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ รอบการประเมิน ระหว่างวันที่ ๑ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ถึงวันที่ ๓๐ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๗ ฉบับนี้ได้นำเสนอต่อผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดภูเขาดิน) เพื่อเป็นข้อตกลงใน การพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง และเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนประจำปี งบประมาณ ๒๕๖๗ แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน(PA) เล่มนี้ใช้เพื่อประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงาน ครูผู้สอน ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๖ ถึงวันทที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๗ กิจกรรมที่ได้ปฏิบัติไปแล้ว ให้เห็นถึงผลที่ เกิดในด้านต่างๆ ทั้งต่อตนเอง นักเรียน โรงเรียน ชมุชน เพื่อใช้เป็นข้อมลูอ้างอิงในการรายงานผลงานด้วย ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) เล่มนี้จะใช้ เป็นข้อมูลประกอบการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของครูผู้สอนต่อไป นางสาวกานดา ไชยวัง ตำแหน่ง ผู้ช่วยครูผู้ช่วย
สารบัญ หน้า คำนำ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ก สารบัญ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ข แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA)...................................................…… ๑ ข้อมูลผู้จัดทำข้อตกลง........................................................................................................ .......................... ๑ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง......................................................................... ๒ ๑. ภาระงาน............................................................................................................................. ..... ๒ ๒. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งครู..................................................................... ๓ ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน......... ๑๓ ๑. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้ และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน......................................... ๑๔ ๒. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล.................................................................................................. ๑๖ ๓. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง.................................................................................................. ๑๗
แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ตำแหน่ง ครู (ไม่มีวิทยฐานะ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 256๗ ระหว่างวันที่ ๑ เดือน ตุลาคม พ.ศ. 256๖ ถึงวันที่ 30 เดือน กันยายน พ.ศ. 256๗ ผู้จัดทำข้อตกลง ชื่อ นางสาวกานดา นามสกุล ไชยวัง ตำแหน่ง ผู้ช่วยครูผู้ช่วย รับเงินเดือนในอันดับ - อัตราเงินเดือน ๑๕,๐๐0 บาท สถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดภูเขาดิน) สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบูรณ์ อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้(สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัด การเรียนรู้จริง) ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน √ ห้องเรียนปฐมวัย ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ ห้องเรียนสายวิชาชีพ ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 1. ภาระงาน มีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. กำหนด ๑.๑ ชั่วโมงสอนตามตารางสอน จำนวน ๑๕ ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้ - กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ จำนวน ๑ ชั่วโมง ๔๐ นาที/สัปดาห์ - กิจกรรมเสริมประสบการณ์ จำนวน ๒ ชั่วโมง ๓๐ นาที/สัปดาห์ - กิจกรรมสร้างสรรค์ จำนวน ๒ ชั่วโมง ๓๐ นาที/สัปดาห์ - กิจกรรมเสรี/เล่นตามมุม จำนวน ๒ ชั่วโมง ๓๐ นาที/สัปดาห์ - กิจกรรมกลางแจ้ง จำนวน ๒ ชั่วโมง ๓๐ นาที/สัปดาห์ - กิจกรรมเกมการศึกษา จำนวน ๒ ชั่วโมง ๓๐ นาที/สัปดาห์ ๑.๒ งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้จำนวน ๑๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ - การออกแบบและจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ - จัดทำข้อมูลและติดตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ - การจัดหา สร้างและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ - การจัดหา/จัดทำเครื่องมือวัดและประเมินผล จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ - การประเมินพัฒนาการเด็ก จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ - การตรวจผลงาน/ชิ้นงาน จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ - การตรวจสุขภาพนักเรียน - การเข้าร่วมและเป็นผู้นำชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ จำนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ - ๒ – PA 1/ส
๑.๓ งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน ๑๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ - ครูประจำชั้น/ดูแลนักเรียน จำนวน ๕ ชั่วโมง/สัปดาห์ - งานกิจการนักเรียนและงานโภชนาการ จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ - เวรประจำวัน จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ - โครงการที่รับผิดชอบ จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคสาธารสุขในโรงเรียน โครงการวันสำคัญ กิจกรรมวันลอยกระทง - คณะกรรมการดำเนินการตามกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑.๔ งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ - โครงการหนูน้อยพอเพียง จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ - การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning จำนวน ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ - 3 –
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่งครู ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ใน การดำเนินการด้วยก็ได้ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานกำหนด ตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนที่ แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1. ด้านการจัด การเรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ ครอบคลุมถึงการสร้าง และหรือพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการจัดการ เรียนรู้ การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ การสร้างและ หรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่ง เรียนรู้การวัดและ ประเมินผลการจัด การเรียนรู้ การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือ พัฒนาการเรียนรู้ การจัด บรรยากาศที่ส่งเสริมและ พัฒนาผู้เรียน และ การอบรมและพัฒนา คุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน 1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร ข้าพเจ้าได้จัดทำหลักสูตร สถานศึกษและพัฒนาหน่วยการ เรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐาน การเรียนรู้คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ตัวบ่งชี้สภาพที่พึง ประสงค์โดยคำนึงถึง บริบทของเด็ก ปฐมวัย ให้มีความสอดคล้องกับ บริบทของสถานศึกษา และมี การบูรณาการกับท้องถิ่น เพื่อให้ ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะ และ การเรียนรู้เต็มตามศักยภาพ ๑. เด็กมีพัฒนาการ ที่เหมาะสมตามวัย ทั้ง 4 ด้าน ๑. เด็กร้อยละ ๘๐ มีผล การพัฒนาคุณภาพเป็นไป ตามเป้าหมายที่สถานศึกษา กำหนด ๑.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ ๑.๒.๑ ข้าพเจ้าได้นำ นวัตกรรมมาใช้ในการออกแบบ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ ๑.๒.๒ ข้าพเจ้าได้ออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยกิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์ตามแนวเศรษฐกิจ พอเพียงเพื่อพัฒนาความสามารถใน การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ๑.๒.๓ ข้าพเจ้าได้จัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบ Active Learning ๒. เด็กได้รับการฝึก และได้รับการพัฒนา ได้พัฒนาการเรียนรู้ เต็มตามศักยภาพและ มีพัฒนาครบทั้ง ๔ ด้าน ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา และมี คุณธรรมจริยธรรม ๒. เด็กร้อยละ ๘๐ มี พัฒนาการเรียนรู้เต็มตาม ศักยภาพและมีพัฒนาครบ ทั้ง ๔ ด้าน ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา และมีคุณธรรมจริยธรรม - 4 –
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานกำหนด ตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตาม ข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) ให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรม ลงมือ ปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง ๑.๒.๔ ข้าพเจ้ามุ่งเน้น ออกแบบแผนจัดกิจกรรมการเรียรู้ เพื่อให้เด็กได้พัฒนาการเรียนรู้เต็ม ตามศักยภาพและส่งเสริมผู้เรียนได้ พัฒนาครบทั้ง ๔ ด้าน ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา และ ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้แก่ ผู้เรียน ๑.๒.๕ ข้าพเจ้าได้สอดแทรก คุณธรรมจริยธรรมในขณะที่จัด กิจกรรมการเรียนรู้ 1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๑.๓.๑ ข้าพเจ้าได้พัฒนา นวัตกรรมที่ใช้จัดประสบการณ์ที่ สามารถพัฒนาการเรียนรู้และทำ ให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ ๑.๓.๒ ข้าพเจ้าได้จัดกิจกรรม การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมศิลปะ/ สร้างสรรค์ตามที่ได้ออกแบบขึ้น เพื่อพัฒนาความสามารถในการใช้ กล้ามเนื้อมัดเล็ก ๑.๓.๒ อำนวยความสะดวกใน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดเตรียม ๓. เด็กได้รับการฝึก และได้รับการพัฒนา เรียนรู้เต็มตาม ศักยภาพและมี พัฒนาครบทั้ง ๔ ด้าน ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ๓. เด็กร้อยละ ๘๐ พัฒนาการเรียนรู้เต็ม ตามศักยภาพและมี พัฒนาครบทั้ง ๔ ด้าน ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา - ๕ –
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานกำหนด ตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตาม ข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) สื่ออุปกรณ์การเรียนรู้ตามที่ ออกแบบไว้ก่อนการสอนทุกครั้ง มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่างของ ผู้เรียน มีการสอดแทรกด้าน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และ ให้คำปรึกษาช่วยเหลือในการ ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ ผู้เรียนมีความสามารถในการ เรียนรู้และสามารถทำงานร่วมกัน ได้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด ๑.๓.๔ ข้าพเจ้าจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบ Active Learning ให้เด็กมีส่วนร่วมใน กิจกรรม ลงมือปฏิบัติกิจกรรม ด้วยตนเอง ๑.4 สร้างและหรือพัฒนา สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่ง เรียนรู้ ๑.๔.๑ ข้าพเจ้าได้สร้างและ หรือพัฒนาสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้โดยให้ สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ ๑.๔.๒ จัดทำสื่อการสอนให้ ผู้เรียนสนใจในการเรียนรู้ และ ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน ตาม หน่วยการเรียนรู้ เช่น 1. ใบงาน 2. สื่อทำมือ ๔. เด็กได้รับการฝึก และได้รับการพัฒนา เรียนรู้เต็มตาม ศักยภาพและมี พัฒนาครบทั้ง ๔ ด้าน ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ๔. เด็กร้อยละ ๘๐ พัฒนาการเรียนรู้เต็ม ตามศักยภาพและมี พัฒนาครบทั้ง ๔ ด้าน ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา - ๖ –
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานกำหนด ตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตาม ข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 3. เกมการศึกษา 4. ป้ายนิเทศให้ความรู้ตาม หน่วยการเรียนรู้ ๑.๔.๓ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ ภายในห้องเรียนโดยการจัดมุม ประสบการณ์ ดังนี้ 1. มุมหนังสือ 2. มุมเกมการศึกษา 3. มุมดนตรี 4. มุมบล็อก/ตัวต่อเลโก้ 5. มุมศิลปะ/สร้างสรรค์ ๑.๔.๔ ข้าพเจ้าใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่ง เรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรมการ เรียนรู้ เลือกใช้สื่อที่หลากหลาย เช่น สื่อจากธรรมชาติ สื่อของจริง ป้ายนิเทศน์การเรียนรู้ นิทาน รมมถึงสื่อการเรียนรู้ภายใน ท้องถิ่น เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ครบ ทั้ง ๔ ด้าน ๑.๔.๕ ข้าพเจ้านำสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีที่สร้างขึ้น เผยแพร่กับครูในสถานศึกษา เพื่อเป็นแบบอย่างและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ๗ –
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐาน กำหนดตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน(โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) ๑.๕ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ ๑.๕.๑ ข้าพเจ้าได้สร้าง เครื่องมือในการวัดและประเมินผลที่ หลากหลายเหมาะสมและสอดคล้อง กับมาตรฐานคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ตาม หลักสูตรการจัดการศึกษา ปฐมวัย ๑.๕.๒ ข้าพเจ้ามีการวัดและ ประเมินผลการจัดประสบการณ์ ต่อเนื่อง ๑.๕.๓ มีการประเมินผล ตามสภาพจริง และมีความ สอดคล้องกับคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ ตามหลักสูตรการจัดการศึกษา ปฐมวัย ๑๕.๔ มีการนำผลการวัดและ ประเมินผลมาพัฒนาในการจัด ประสบการณ์อย่างต่อเนื่อง ๕. เด็กได้รับการวัด และประเมินผลอย่าง ต่อเนื่อง และตาม สภาพจริง และได้นำ ผลมาใช้ในการ แก้ไข ปัญหาอย่างต่อเนื่อง ๕. เด็กร้อยละ ๘๐ ได้รับการวัด และ ประเมินผลอย่าง ต่อเนื่อง และตาม สภาพจริง - ๘ –
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐาน กำหนดตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 6. ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาการ เรียนรู้ ข้าพเจ้าได้ใช้กระบวนการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ และนำผล การศึกษา วิเคราะห์และสังเคราะห์ จากงานวิจัยที่เกี่ยวกับการจัด กิจกรรมการเรียนรู้มาใช้ในการ พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและ พัฒนาการจัดกิจกรรมศิลปะ/ สร้างสรรค์และพัฒนาคุณภาพการ จัดการเรียนรู้ให้สูงขึ้น โดยการริเริ่ม คิดค้น นวัตกรรม ใหม่ๆ ในการใช้ พัฒนาผู้เรียน ๖. เด็กได้รับ การศึกษา วิเคราะห์ และ สังเคราะห์ เพื่อ แก้ไขปัญหาหรือจัด ประสบการณ์ โดยมี การปรับประยุกต์ให้ สอดคล้อง กับความ แตกต่างของเด็กแต่ ละคนที่ส่งผลต่อ คุณภาพเป็นไปตามที่ สถานศึกษากำหนด ๖. เด็กร้อยละ ๘๐ ได้รับการศึกษา วิเคราะห์ และ สังเคราะห์ เพื่อแก้ไข ปัญหาหรือจัด ประสบการณ์ โดยมี การปรับประยุกต์ให้ สอดคล้อง กับความ แตกต่างของเด็กแต่ละ คนที่ส่งผลต่อคุณภาพ เป็นไปตามที่ สถานศึกษากำหนด 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ พัฒนาผู้เรียน ๑.๗.๑ ข้าพเจ้าได้พัฒนาการจัด บรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มี ความเหมาะสม และสอดคล้องกับ ความแตกต่างของผู้เรียนเป็น รายบุคคล ๑.๗.๒ ข้าพเจ้าเปิดชั้นเรียนให้ เพื่อนครูปฐมวัยได้เข้ามาแลกเปลี่ยน เรียนรู้ บรรยากาศที่ส่งเสริมและ พัฒนาผู้เรียน เพื่อเป็นแบบอย่าง และพัฒนาต่อไป ๗. เด็กได้รับการ พัฒนาการเรียนรู้เต็ม ตามศักยภาพและมี พัฒนาครบทั้ง ๔ ด้าน ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมสติปัญญา ๗. เด็กร้อยละ ๘๐ ได้รับการพัฒนา การเรียนรู้เต็มตาม ศักยภาพและมีพัฒนา ครบทั้ง ๔ ด้าน ด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา - ๙ –
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐาน กำหนดตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) ๑.๘ อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ ดีของผู้เรียน ข้าพเจ้าได้พัฒนารูปแบบการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ โดยสอดแทรก การ อบรมบ่มนิสัยให้เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงอบรม และพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ๘. เด็กได้รับการ พัฒนาการเรียนรู้เต็ม ตามศักยภาพและมี พัฒนาครบทั้ง ๔ ด้าน ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมสติปัญญา ๘. เด็กร้อยละ ๘๐ ได้รับการพัฒนา การเรียนรู้เต็มตาม ศักยภาพและมีพัฒนา ครบทั้ง ๔ ด้าน ด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา 2. ด้านการส่งเสริม และสนับสนุนการ จัดการเรียนรู้ ลักษณะงานที่ เสนอให้ครอบคลุม ถึงการจัดทำข้อมูล สารสนเทศของ ผู้เรียนและรายวิชา การดำเนินการตาม ระบบดูแลช่วยเหลือ ผู้เรียน การ ปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่นๆ ของ สถานศึกษา และการ ประสานความร่วมมือ กับผู้ปกครอง ภาคี เครือข่าย และหรือ สถานประกอบการ 2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เรียนและรายวิชา ข้าพเจ้าได้จัดทำ และพัฒนา รูปแบบการจัดทำข้อมูลสารสนเทศ ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล โดยให้มี ข้อมูลเป็นปัจจุบัน เพื่อใช้ในการ ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ และ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ดังนี้ ๑) จัดทำข้อมูลนักเรียนเป็น รายบุคคล ๒) วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ๓) จัดทำแบบประเมินพัฒนาการ ทั้ง 4 ด้าน ๔) จัดทำข้อมูลสารสนเทศและ เผยแพร่ข้อมูลเพื่อเป็นการให้ ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน/ ผู้ปกครองโดยจัดทำเป็น - บันทึกพัฒนาการเด็กปฐมวัย ๙. เด็กได้รับการดูแล ช่วยเหลือ ส่งเสริม พัฒนา ป้องกันและ แก้ไขปัญหาให้และ พัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ และมี พัฒนาการที่ เหมาะสมตามวัย ๙. เด็กร้อยละ ๘0 ได้รับการดูแลช่วยเหลือ ส่งเสริม พัฒนา ป้องกัน และแก้ไขปัญหาให้และ พัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ และ มีพัฒนาการที่เหมาะสม ตามวัย - ๑๐ –
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐาน กำหนดตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) - สมุดรายงานประจำตัวเด็ก - แบบสังเกตพฤติกรรม รายบุคคลหลังแผนการจัด ประสบการณ์ ข้าพเจ้าดำเนินการ ดูแลช่วยเหลือผู้เรียน อย่างเป็นระบบ โดย ประสานความร่วมมือ กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและ สร้างสรรค์ด้วย วิธิการที่หลากหลาย เพื่อเสริม ป้องกัน และแก้ปัญหาของ ผู้เรียนรายบุคคล 2.2 ดำเนินการตามระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน ๒.๒.๑ ข้าพเจ้าดำเนินการดูแล ช่วยเหลือผู้เรียนอย่างเป็นระบบ โดย ประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหา ผู้เรียน รวบรวมข้อมูลจากแบบ บันทึกข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลของ ผู้เรียน คือผู้เรียนที่ต้องกำกับ ดูแล พฤติกรรมอย่างใกล้ชิด ๒.๒.๒ ข้าพเจ้าออกเยี่ยมบ้าน คัดกรองนักเรียน รวมไปถึง ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการให้ ความช่วยเหลือตามระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน เพื่อเสริม ป้องกัน และแก้ปัญหาของผู้เรียนรายบุคคล ๒.๒.๓ ข้าพเจ้าใช้ข้อมูล สารสนเทศของผู้เรียนรายบุคคล และ ประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วน ๑๐. เด็กได้รับการ ดูแลช่วยเหลือ ส่งเสริม พัฒนา ป้องกันและแก้ไข ปัญหาให้ได้รับการ พัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ มี พัฒนาการที่ เหมาะสมตามวัย ๑๐. ร้อยละ 100 ของ เด็กได้รับการดูแล ช่วยเหลือ ส่งเสริม พัฒนา ป้องกันและ แก้ไขปัญหาให้ได้รับ การพัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ มีพัฒนาการ ที่เหมาะสมตามวัย - ๑๑ –
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐาน กำหนดตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาผู้เรียน และ ริเริ่ม โครงการหรือจัดกิจกรรมเชิง สร้างสรรค์ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน 2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงาน อื่นๆ ของสถานศึกษา ข้าพเจ้าได้ร่วมปฏิบัติงานทาง วิชาการและงานอื่นๆ ของ สถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพ การจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีการพัฒนารูปแบบหรือแนว ทางการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ สูงขึ้น ๑๑. เด็กได้รับการ ดูแลช่วยเหลือ ส่งเสริม พัฒนา ป้องกันและแก้ไข ปัญหาให้ได้รับ การพัฒนาเต็ม ตามศักยภาพ มีพัฒนาการที่ เหมาะสมตามวัย ๑๑. เด็กได้รับการดูแล ช่วยเหลือ ส่งเสริม พัฒนา ป้องกันและ แก้ไขปัญหาให้ได้รับ การพัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ มีพัฒนาการ ที่เหมาะสมตามวัย 2.4 ประสานความร่วมมือกับ ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือ สถานประกอบการ ๒.๔.๑ ข้าพเจ้าได้จัดตั้งกลุ่ม ไลน์ของห้องเรียนเพื่อเป็นการ สื่อสารระหว่างครูและผู้ปกครองใน การจัดกิจกรรม ๒.๔.๒ ประสานความร่วมมือ กับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และ หรือสถานประกอบการ เพื่อร่วมกัน พัฒนาผู้เรียน ๒.๔.๓ ร่วมกิจกรรมประชุม ผู้ปกครอง ๑ ครั้ง/ภาคเรียน ๑๒. เด็กได้รับ การดูแลช่วยเหลือ ส่งเสริม พัฒนา ป้องกันและแก้ไข ปัญหาให้ได้รับการ พัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ มี พัฒนาการที่ เหมาะสมตามวัย ๑๒. เด็กได้รับการดูแล ช่วยเหลือ ส่งเสริม พัฒนา ป้องกันและ แก้ไขปัญหาให้ได้รับ การพัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ มีพัฒนาการ ที่เหมาะสมตามวัย - ๑๒ –
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐาน กำหนดตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 3. ด้านการพัฒนา ตนเองและวิชาชีพ ลักษณะงานที่ เสนอให้ครอบคลุมถึง การพัฒนาตนเอง อย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง การมีส่วน ร่วมในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทางวิชาชีพเพื่อ พัฒนาการจัดการ เรียนรู้ และการนำ ความรู้ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการ พัฒนาตนเองและ วิชาชีพมาใช้ในการ พัฒนาการจัดการ เรียนรู้ การพัฒนา คุณภาพผู้เรียน และ การพัฒนานวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ ๓.๑ พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ๓.๑.๑ ข้าพเจ้าได้จัดทำ แผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) เพื่อพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง ๓.๑.๒ เข้าร่วมการประชุม/ อบรม/สัมมนา ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ ภาระหน้าที่และความรับผิดชอบ และรายงานผลการประชุม/อบรม/ สัมมนา อย่างเป็นระบบ ไม่น้อยกว่า ๒๐ ชั่วโมง ๓.๑.๓ นำผลการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพมาใช้ในการ จัดการเรียนรู้ที่มีผลต่อคุณภาพของ เด็กตามระดับฯ ที่คาดหวัง ๓.๑.๔ นำความรู้ที่ได้จากการ อบรม/ประชุม/สัมมนา เผยแพร่และ ขยายผลในที่ประชุมเพื่อให้ครูใน โรงเรียนได้มีโอกาสได้รับฟังและ แลกเปลี่ยนแนวคิด เพื่อเป็น แบบอย่างที่ดีด้านการพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง ๑๓. เด็กได้รับการ ส่งเสริมและพัฒนา ด้วยกิจกรรมที่ หลากหลายและ เหมาะสมกับวัย ๑๓. เด็กร้อยละ ๑๐๐ ได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาด้วยกิจกรรมที่ หลากหลายและ เหมาะสมกับวัย
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐาน กำหนดตำแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะดำเนินการพัฒนาตามข้อตกลง ใน 1 รอบการประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมกลุ่มชุมชน แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ร่วม แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนา ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัด เล็กโดยใช้กิจกรรมครูกล้ามเนื้อมัด เล็กโดยใช้กิจกรรมศิลปะ/สร้างสรรค์ ร่วมกับคณะครู ๑๔. เด็กได้รับการ พัฒนาความสามารถ ในการใช้กล้ามเนื้อมัด เล็ก จากการเข้าร่วม ชุมชนการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ (PLC) ๑๔. เด็กร้อยละ ๘๐ มีความสามารถในการ ใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก สูงขึ้น 3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพมาใช้ในการ จัดการเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนและพัฒนานวัตกรรมการ จัดการเรียนรู้ที่มีผลต่อคุณภาพ ผู้เรียน ๓.๓.๑ ข้าพเจ้าได้นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จาก การพัฒนาตนเองและวิชาชีพ การเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทาง วิชาชีพ (PLC) ไปใช้สร้างสื่อ ออกแบบการเรียนรู้ กิจกรรม และ พัฒนานวัตกรรม เพื่อนำมาใช้ในการ พัฒนาความสามารถในการใช้ กล้ามเนื้อมัดเล็ก ๓.๓.๒ ข้าพเจ้าได้ศึกษาหา ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการพัฒนา กล้ามเนื้อมัดเล็ก เพื่อนำมาจัด กิจกรรมการเรียนรู้ให้ดียิ่งขึ้น ๑๕. เด็กได้รับการ พัฒนาการเรียนรู้เต็ม ตามศักยภาพและมี พัฒนาครบทั้ง ๔ ด้าน ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมสติปัญญา ๑๕. เด็กร้อยละ ๘๐ ได้รับการพัฒนา การเรียนรู้เต็มตาม ศักยภาพและมีพัฒนา ครบทั้ง ๔ ด้าน ด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา
- ๑๔ – หมายเหตุ 1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการ จัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้อำนวยการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แล้วแต่กรณี และ ครูผู้จัดทำข้อตกลง 2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลักที่ส่งผล โดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลักที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวม ของรายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนา งานตามข้อตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2 3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนา งานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริงสภาพการจัดการ เรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลงเป็น สำคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของวิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ คือ การริเริ่ม พัฒนา การจัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ในวิทยฐานะที่สูงกว่าได้) ประเด็นท้าทาย เรื่อง การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กของนักเรียน ชั้นอนุบาลปีที่ ๑/๓ สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้ และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน เด็กปฐมวัย พัฒนาการเด็กในแต่ละช่วงอายุอาจเร็วหรือช้ากว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้และการพัฒนาจะเป็นไป อย่างต่อเนื่อง ถ้าสังเกตพบว่าเด็กไม่มีความก้าวหน้าอย่างชัดเจนต้องพาเด็กไป ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญหรือแพทย์เพื่อ ช่วยเหลือ และแก้ไขได้ทันท่วงทีเอาว่าผมขอเอาเรื่องพัฒนาการในทุกด้าน อันประกอบด้วยด้านร่างกาย, ด้าน อารมณ์และจิตใจ, ด้านสังคม, และด้านสติปัญญา เป็นอันว่าครบทุกด้าน เด็กปฐมวัยจัดอยู่ในระยะวัยทองของชีวิต โดยเฉพาะ 3 ปีแรก เป็นจังหวะทองของการสร้างเสริมพัฒนาการเด็ก เป็นการวางรากฐานของการพัฒนาความ เจริญเติบโตทุกด้านโดยเฉพาะทางด้านสมอง เพราะสมองเติบโต และพัฒนาเร็วที่สุด ดังนั้นการอบรมเลี้ยงดูในช่วง ระยะนี้มีผลต่อคุณภาพของคนตลอดชีวิต กล้ามเนื้อมัดเล็ก เป็นอวัยวะที่สำคัญในการประกอบกิจวัตรประจำวันต่างๆ เช่น การถอดใส่ กระดุม รูดซิป แปรงฟัน การผูกเชือกรองเท้า การวาดภาพและการเขียน หากลูกมีการใช้กล้ามเนื้อมัด เล็กได้ดีจะส่งเสริม พัฒนาการทางสติปัญญาให้ดีเยี่ยมมากยิ่งขึ้น เพราะกล้ามเนื้อมัดเล็ก มีส่วนช่วยให้เด็กได้ใช้มือ สำรวจ สังเกต จาก
- ๑๕ – การจับต้องสิ่งของในทุกๆกิจกรรม ซึ่งการใช้มือหยิบจับสิ่งของอยู่ บ่อยๆนั้นเป็นการพัฒนาความแข็งแรง ของกล้ามเนื้อมัดเล็กได้เป็นอย่างดี การพัฒนากล้ามเนื้อมัดของ เล็กที่ดี ต้องมีพัฒนาการสอดคล้องสัมพันธ์ไปกับ สายตา แขน ขา และอวัยวะส่วนอื่นๆด้วย ดังนั้นหากกล้ามเนื้อมัดเล็กของลูกมีพัฒนาการล่าช้าหรือผิดปกติ ส่งผล ต่อพัฒนาการของอวัยวะอื่นๆ สะดุดตาม ไปด้วยได้ดังนั้นคุณแม่ควรสำรวจพัฒนาการของกล้ามเนื้อมัดเล็กลูกรัก ตามช่วงวัย กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้เด็กแสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก ความริเริ่มสร้างสรรค์ และจินตนาการผ่านงานศิลปะ เช่น การวาดภาพ การปั้น การตัดปะ การพิมพ์ภาพ การร้อย การประดิษฐ์ นอกจากนี้ยังสามารถใช้วัสดุธรรมชาติมาเป็นส่วนประกอบในการทำกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เช่น นำใบไม้ที่ได้จาก ธรรมชาติมาสร้างสรรค์ผลงานของตนเอง ซึ่งเป็นการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการให้กับเด็กปฐมวัย กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เป็นกิจกรรมที่สามารถส่งเสริมและพัฒนาการทำงานที่ประสานสัมพันธ์กันระหว่างการใช้ กล้ามเนื้อมือนิ้วมือ และประสาทตา ซึ่งเด็กจะได้พัฒนาทั้งกล้ามเนื้อนิ้วมือ ฝ่ามือ ข้อมือ และนิ้วมือ ซึ่งจะส่งผลให้ อวัยวะต่างๆ มีความแข็งแรง และทำงานได้คล่องตัวขึ้นและมีทักษะในการใช้มือได้อย่างคล่องแคล่วต่อไป งาน ศิลปะที่เสร็จแล้วของเด็กจะสะท้อนความสนใจ การรับรู้ และความพร้อมของเด็กแต่ละคนผ่านวัสดุที่เหมาะสม และยังเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายด้านการหยิบจับ นอกจากนี้การฝึกกล้ามเนื้อมือดังกล่าวยังเป็น พื้นฐานของทักษะทางภาษาด้านการเขียนต่อไปในอนาคต การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์สามารถนำวัสดุต่างๆ มาเป็นสื่อประกอบในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ เพราะการจัดกิจกรรมสำหรับเด็กปฐมวัยต้องอาศัยสิ่งเร้าที่อยู่ในรูปของสื่อวัสดุอุปกรณ์ที่หลากหลาย ซึ่งวัสดุ เหล่านั้นจะเป็นตัวเร้าความสนใจในการทำกิจกรรม และสื่อที่จะนำมาใช้สำหรับจัดกิจกรรมทางศิลปะ ได้แก่ วัสดุ อุปกรณ์ที่มาจากธรรมชาติ เช่น ดิน หิน ทราย เมล็ดพืช ข้าวเปลือก เม็ดมะขาม เส้นใยมะขาม เปลือก มะขาม ดอกไม้ พืช ผัก ผลไม้ การทำงานศิลปะสร้างสรรค์เป็นกิจกรรมที่สามารถส่งเสริมและพัฒนาการทำงาน ที่ประสานสัมพันธ์กันระหว่างการใช้กล้ามเนื้อมือนิ้วมือ และประสาทตา ช่วยฝึกกล้ามเนื้อมือให้มีความแข็งแรง ฝึก การประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมือกับสายตา ซึ่งเด็กจะได้พัฒนาทั้งกล้ามเนื้อนิ้วมือ ฝ่ามือ ข้อมือ และนิ้วมือ ซึ่งจะส่งผลให้อวัยวะต่างๆ มีความแข็งแรง และทำงานได้คล่องตัวขึ้นและมีทักษะในการใช้มือได้อย่างคล่องแคล่ว ต่อไป งานศิลปะของเด็กจะสะท้อนความสนใจ การรับรู้ และความพร้อมของเด็กแต่ละคนผ่านวัสดุที่เหมาะสม และ ยังเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายด้านการหยิบจับ นอกจากนี้การฝึกกล้ามเนื้อมือดังกล่าวยังเป็น พื้นฐานของทักษะทางภาษาด้านการเขียนต่อไปในอนาคต
- ๑๖ – ด้วยความสำคัญและเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ข้าพเจ้าจึงมีความสนใจที่จะจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อ พัฒนาความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กให้มีประสิทธิภาพและยังเป็นพื้นฐานของทักษะทางภาษาด้านการ เขียนต่อไปในอนาคต ผู้จัดทำข้อตกลงจึงเสนอข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย ในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผู้เรียน เรื่อง การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ ๑/๓ ๒. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล ผู้จัดทำข้อตกลงกำหนดวิธีการดำเนินงานให้บรรลุผล โดยการกำหนดเครื่องมือในการพัฒนา ดังต่อไปนี้ ๒.๑ เครื่องมือที่จะใช้ในการพัฒนาประเด็นปัญหา ๒.๑.๑ แผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก ๒.๑.๒ แบบทดสอบวัดความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ซึ่งมีทั้งหมด ๔ ชุด ดังนี้ ชุดที่ ๑ แบบทดสอบวัดความสามารถด้านความคล่องแคล่วในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ชุดที่ ๒ แบบทดสอบวัดความสามารถด้านความยืดหยุ่นในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ชุดที่ ๓ แบบทดสอบวัดความสามารถด้านความสามารถในการควบคุมในการใช้ กล้ามเนื้อมัดเล็ก ชุดที่ ๔ แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา ๒.๒ ขั้นตอนการพัฒนาตามประเด็นท้าทาย เข้าร่วมและเป็นผู้นำใน ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ในโรงเรียนเพื่อใช้เป็นแนวทางในการ พัฒนาประเด็นท้าทายให้บรรลุผล ตามลำดับดังต่อไปนี้ ๑) การตั้งชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ บันทึกเสนอผู้อำนวยการสถานศึกษา เพื่อจัดตั้งกลุ่มชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ตาม ประเด็นท้าทายในข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยเสนอให้มีองค์ประกอบของสมาชิกให้ครบตามรูปแบบของ PLC และเชิญมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ ประเมินเครื่องมือ แนะนำ สังเกตและสะท้อนผลการสอน เพื่อพัฒนาประเด็น ท้าทายให้บรรลุผล ๒) กำหนดเป้าหมายการพัฒนาตามประเด็นท้าทาย ทบทวนและกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามประเด็นท้าทายให้ชัดเจนและครอบคลุมทั้งความรู้ ทักษะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนตามหลักสูตร ๓) การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ออกแบบแผนการจัดกิจกรรมและจัดทำเครื่องมือวัดและประเมินผลให้ครบถ้วนตามผลลัพธ์ การเรียนรู้ ๔) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และเปิดชั้นเรียน เปิดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โดยร่วมกับครูปฐมวัย ร่วมกันออกแบบกิจกรรมศิลปะ/
- ๑๗ – สร้างสรรค์ที่เหมาะกับผู้เรียน และเข้าไปสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องในเนื้อหา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้การใช้สื่อการเรียนการสอน การจัดการชั้นเรียน แบบสังเกตพฤติกรรม พร้อมทั้ง เสนอแนะ และสะท้อนผลการจัดกิจกรรมเพื่อนำมาพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัด/พัฒนา ประเด็นท้าทายให้บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ ๕) การสะท้อนคิด แก้ไขและพัฒนา นำผลการสังเกตการสอนมาวิเคราะห์และขอคำแนะนำการสะท้อนผลการสอน จากชุมชน การเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อนำไปพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ เอกสารและเครื่องมือที่เกี่ยวข้อง ใน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามผลลัพธ์การเรียนรู้สูงสุด ๖) การสรุปและรายงานผล วิเคราะห์ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่เป็นผลงานและหรือผลการปฏิบัติงานจากชิ้นงานหรือร่องรอย ที่เชื่อมโยงเป็นความสำเร็จของนักเรียนรายบุคคล เพื่อสรุปและรายงานการบรรลุผลตามประเด็นท้าทาย ๓. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง ๓.๑ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ๑) นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ ๑/๓ ทุกคน ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อพัฒนา กล้ามเนื้อมัดเล็ก ๒) หลังการจัดกิจกรรมเกมสำหรับเด็ก นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ ๑/๓ มีพัฒนาการในการใช้ กล้ามเนื้อมัดเล็กสูงขึ้น ๓.๒ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ ๑/๓ มีพัฒนาการในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กสูงขึ้น โดยสามารถใช้กล้ามเนื้อ มัดเล็กได้อย่างความคล่องแคล่ว กล้ามเนื้อมัดเล็กมีความยืดหยุ่น สามารถควบคุมกล้ามเนื้อมัดเล็กและการประสาน สัมพันธ์ระหว่างมือกับตามีความสัมพันธ์กันมากขึ้น ลงชื่อ...................................................................... (นางสาวกานดา ไชยวัง) ตำแหน่ง ผู้ช่วยครูผู้ช่วย ๑๔ กันยายน ๒๕๖๖
- ๑๘ – ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา ( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไขและเสนอเพื่อพิจารณา อีกครั้ง ดังนี้ ............................................................................................................................. ........................................................ ............................................................................................................................. ........................................................ ............................................................................................................................. ........................................................ ลงชื่อ.................................................................... (นายเดชาพัชร การกิ่งไพร) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๒ (วัดภูเขาดิน) ๑๔ กันยายน ๒๕๖๖