The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิเคราะห์บริบทสถานศึกษา_ชัยวุฒิ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaiwooth2, 2022-05-05 04:11:39

วิเคราะห์บริบทสถานศึกษา_ชัยวุฒิ

วิเคราะห์บริบทสถานศึกษา_ชัยวุฒิ

สรปุ ใบงาน ระหว่างฝึกประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา

ชือ่ วิทยากรพีเ่ ลี้ยง..........ผอ.อดุลชัย โคตะวรี ะ....ผอ.ศนั สนยี ์ สายะสนธ.ิ .......กลุ่มที่... 11.......................
ชอื่ – สกลุ ...นายชัยวุฒิ สุวรรณเรือง.........................กลมุ่ ท.ี่ ........11..................เลขท.ี่ .................4..............

สถานศึกษาแหง่ ที่ 1 วิทยาลยั การอาชพี มหาสารคาม
1.) ขอ้ มูลพน้ื ฐานสถานศกึ ษา

ข้อมูลพ้ืนฐานของวิทยาลัยการอาชีพมหาสารคาม ประกอบด้วยสาระที่สำคญั ดงั นี้

ทีอ่ ยู่ เลขท่ี ๘๔ หมู่ท่ี ๖ ตำบลแก่งเลงิ จาน อำเภอเมอื งมหาสารคาม จงั หวดั มหาสารคาม
รหัสไปรษณีย์ ๔๔๐๐๐ โทรศพั ท์ ๐๔๓-๙๗๑๒๐๓ โทรสาร ๐๔๓-๙๗๑๒๐๔

E-mail mpc.mahasarakham๒๐๒๑@gmail.com Website http://www.mpc.ac.th

ปรัชญา ทักษะเดน่ เน้นจรยิ ธรรม นำสังคม
อตั ลกั ษณ์ มวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ และมีจิตอาสา
เอกลักษณ์ แหล่งทักษะอาชีพสชู่ มุ ชน
วิสยั ทศั น์

มงุ่ เน้นจัดการศกึ ษาวชิ าชพี ทีห่ ลากหลาย ให้ได้มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา โดยได้มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา โดย
ใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยี สู่สถานศึกษาคุณธรรม โดยใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ประวัติสถานศึกษา

วิทยาลยั การอาชีพมหาสารคาม เดมิ เปน็ ท่ดี ินสาธารณประโยชน์ “โคกหนองผักแวน่ ” โดยกรม
อาชีวศึกษา (สมัยนนั้ ) ขอใชพ้ ื้นที่เป็นที่ตัง้ วิทยาลยั สารพัดช่างมหาสารคาม ตามหนงั สอื ท่ี มท ๐๗๑๘/๐๔๑๐๖ ลง
วนั ท่ี ๑๗ มีนาคม ๒๕๔๐ มเี น้ือท่ี ๕๐ ไร่ ตามหนังสือ สำคัญสำหรับทีห่ ลวง ฉบบั ท่ี ๑๐๒๘/๒๕๐๕ ลงวันที่ ๑๗
กันยายน ๒๕๐๕

ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ กองการศึกษาอาชีพ กระทรวงศึกษาธกิ าร กรมอาชีวศกึ ษามนี โยบายในการขยายโอกาส
ทางการศกึ ษาดา้ นวิชาชพี ไปสู่ภูมิภาค เน่ืองจากบตุ รหลานที่สำเร็จการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้นต้องเดินทาง
ไปศกึ ษาต่อในวทิ ยาลยั เทคนิคมหาสารคาม และวทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษามหาสารคาม แต่สถานศกึ ษาทั้งสองแหง่
ดังกล่าวไมส่ ามารถรองรบั กบั ความตอ้ งการของผูเ้ รยี นท่ีมปี รมิ าณมากเน่ืองจากเปิดรบั ในจำนวนจำกดั ประกอบกับ
บริบทสถานศึกษาท่ีมีอยู่ไม่สามารถเปิดการเรยี นการสอนได้สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของประชาชนทีต่ ้องการ
ศึกษาและเรียนร้ดู า้ นวิชาชพี เฉพาะสาขาเพือ่ ใช้ประโยชนใ์ นการประกอบอาชพี จงึ เป็นแรงบันดาลใจให้ประชาชน
ในพืน้ ท่ีอำเภอเมืองบางส่วน อำเภอบรบือ อำเภอนาเชือก ก่ิงอำเภอกุดรงั และอำเภอโกสุมพิสัยทจ่ี ะสรา้ งโอกาส
ทางการศึกษาวชิ าชพี ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรวิขาชีพระยะส้ันให้กับประชาชนในพ้ืนท่ี
ดังกลา่ ว

วนั ที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ กระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศจัดตงั้ วทิ ยาลยั สารพดั ช่างมหาสารคาม
โดย แต่งต้งั นายอนันต์ สิทธไิ ชยยากลุ ดำรงตำแหน่งผอู้ ำนวยการวิทยาลยั สารพดั ชา่ งมหาสารคาม

วันที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ ประสานขอใช้ที่ดิน สาธารณประโยชน์ “โคกหนองผกั แว่น” โดยกรม
อาชีวศึกษา (สมัยนนั้ ) ขอใชพ้ ้ืนทเ่ี ป็นวิทยาลยั สารพัดช่างมหาสารคาม

วนั ที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ ไดร้ บั อนุมตั ทิ ่ดี ิน สาธารณประโยชน์ “โคกหนองผกั แว่น” เปน็ พืน้ ท่ีตัง้

วทิ ยาลยั สารพัดช่างมหาสารคาม และได้รบั จดั สรรงบประมาณ จำนวน ๓๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท เปน็ งบประมาณ
ก่อสร้างอาคารเรียนและอาคารปฏบิ ตั กิ าร อาคารสำนกั งานและหอประชุม บา้ นพักผบู้ ริหาร บ้านพักครู บา้ นพัก
ภารโรง ห้องน้ำ-หอ้ งส้วม

วันท่ี 26 มกราคม พ.ศ. 2549 ไดร้ ับการจัดสรรงบประมาณ 2,990,000 บาท สรา้ งอาคาร
เอนกประสงค์พื้นที่ใช้สอย 816 ตารางเมตร

วันท่ี 2 ตลุ าคม พ.ศ. 2550 ไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณ 1,498,000 บาท สรา้ งรว้ั คอนกรตี
และ ปี พ.ศ. 2556 ได้ก่อสรา้ งอาคารเรยี นจวั่ คู่ อาคารอาคารอเนกประสงค์ อาคารโดม อาคารวทิ ยบริการและ
ห้องสมดุ และมีการพัฒนาอย่างตอ่ เนื่องมาจนถึงปัจจุบัน

การจดั การศึกษา
วทิ ยาลยั การอาชีพมหาสารคาม จัดการศึกษาในระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) ระบบปกติ จำนวน

๙ สาขางาน ทวศิ กึ ษา จำนวน ๑๐ สาขางาน และระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชั้นสงู (ปวส.) ระบบทวภิ าคี
จำนวน ๘ สาขางาน
2.) ข้อมูลคา่ นยิ ม วัฒนธรรมท้องถน่ิ
สภาพสงั คม

การบรหิ ารสว่ นท้องถิน่ มี ๔ รปู แบบ ไดแ้ ก่
๑. องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัด เป็นหนว่ ยงานส่วนท้องถิ่นครอบคลุมพื้นทจี่ งั หวดั ยกเว้นเทศบาลและสุขาภิบาล
๒. เทศบาลเมืองมหาสารคามเป็นหนว่ ยงานส่วนท้องถ่ิน ท่ีจดั ต้ังขึน้ เพอื่ ให้ประชาชนมสี ่วนร่วมในการปกครอง
มีอำนาจในการบรหิ ารโดยอสิ ระ
๓. เทศบาลตำบล
๔. องค์การบรหิ ารสว่ นตำบล
สภาพชมุ ชน

มหาสารคาม เป็นจงั หวดั ทีต่ ั้งอยูใ่ จกลางของภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ มเี น้ือท่ี 5,291.68 ตาราง
กิโลเมตร อยู่หา่ งจากกรงุ เทพฯ ประมาณ 470 กิโลเมตร เปน็ จังหวดั ศูนยก์ ลางทางด้านการศึกษาของภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ เนื่องจากมีสถาบันการศึกษาหลายแห่งจึงไดช้ ื่อวา่ เป็น “ตกั สิลาแหง่ อีสาน”

สภาพเศรษฐกจิ

จงั หวดั มหาสารคาม มีภูมิประเทศเปน็ ทร่ี าบลูกคลื่น ไมม่ ีภูเขา มีแม่น้ำชีไหลผ่าน พนื้ ที่
สว่ นใหญ่เป็นทุ่งนา อาชีพทสี่ ำคญั ของชาวมหาสารคาม คอื การเพาะปลกู และเลยี้ งสัตว์ อาชพี ในครวั เรอื นทที่ ำกัน
มาก คือ การเลยี้ งไหมและทอผา้ ไหม
สภาพสงั คม

จังหวดั มหาสารคาม แบง่ การปกครองออกเป็น 13 อำเภอ คือ อำเภอเมือง
อำเภอกนั ทรวิชัย อำเภอโกสุมพสิ ัย อำเภอพยัคฆภูมิพสิ ัย อำเภอบรบือ
อำเภอวาปปี ทุม อำเภอนาเชอื ก อำเภอเชยี งยืน อำเภอนาดูน อำเภอแกดำ
อำเภอยางสสี รุ าช อำเภอกุดรัง และอำเภอชื่นชม มีอาณาเขตติดต่อดงั น้ี

ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กับจังหวดั กาฬสนิ ธุ์ ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับจังหวัดสุรินทร์และจังหวดั บุรรี ัมย์
ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกับจังหวัดรอ้ ยเอด็ ทิศตะวันตก ตดิ ต่อกบั จงั หวัดขอนแกน่

3.) วิเคราะห์บรบิ ทสถานศึกษา จดุ เด่น, จุดดอ้ ย และ 4 ประเดน็ ดงั น้ี
พนั ธกิจ

๑. จัดและสง่ เสริมการอาชวี ศึกษาให้มคี ณุ ภาพมาตรฐาน
๒. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานก่ ำลังคนสายอาชีพสสู่ ากล
๓. ขยายโอกาสทางการศึกษาสายอาชพี ใหท้ ่วั ถงึ เสมอภาค
๔. เปน็ แกนกลางในการจัดการอาชีวศึกษาระดับฝีมือ เทคนิค และเทคโนโลยี
๕. สรา้ งเครือข่ายความรว่ มมือและการมสี ่วนร่วม
๖. วจิ ยั สรา้ งนวตั กรรม จัดการองค์ความรู้ เพื่อการพัฒนาอาชีพ
๗. ส่งเสริม พัฒนาครแู ละบคุ ลากรอาชีวศึกษาให้มีความเป็นเลิศ

เป้าประสงค์
๑. ผเู้ รยี นมสี มรรถนะตามมาตรฐานวชิ าชพี ตรงความต้องการตของตลาดแรงงาน
๒. ผเู้ รียนมีจติ อาสา บรกิ ารสงั คม และกฬี า
๓. ผู้เรยี นในระบบและระบบทวิภาคี มีสมรรถนะในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยนี วัตกรรม
๔. คุณภาพห้องเรยี น ห้องปฏิบตั กิ าร แหล่งเรียนร้แู ละสภาพแวดล้อมในวิทยาลัยมีความเหมาะสม ทนั สมัย

กลยุทธ์
กลยุทธท์ ่ี ๑ ยกระดบั คุณภาพผเู้ รยี น โดยอิงผลการประเมนิ ระดับชาติ (V-Net) และการประเมินมาตรฐานวชิ าชพี
กลยทุ ธท์ ่ี ๒ พฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนด้วยกจิ กรรมองค์การวิชาชีพ การบริการสงั คม จิตอาสาและกีฬา
กลยุทธท์ ี่ ๓ สง่ เสรมิ การจัดการเรียนรใู้ นระบบและระบบทวิภาคี โดยบูรณาการเทคโนโลยีนวตั กรรม เพื่อมุง่ พฒั นา
สมรรถนะผู้เรียน
กลยุทธท์ ี่ ๔ ยกระดบั คุณภาพหอ้ งเรียน หอ้ งปฏบิ ตั ิการ แหล่งเรยี นรู้ และสภาพแวดล้อมในวิทยาลยั ฯ

4. การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
4.๑ ผลสัมฤทธิ์

ผลผลิต (Output)
- คณุ ลักษณะของผู้สำเร็จการศกึ ษาที่พงึ ประสงค์ ระดับคุณภาพการศึกษา ยอดเย่ียม
- การจัดการอาชีวศึกษา ระดับคุณภาพการศึกษา ยอดเยี่ยม
- การสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรู้ ระดับคุณภาพการศึกษา ยอดเยย่ี ม
ผลลพั ธ์ (Outcome)
- สรปุ ผลการประเมินภาพรวมของสถานศึกษาทง้ั ๓ มาตรฐาน ระดบั คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา
- ผลสะท้อน (Impact)
- สรุปผลการประเมินภาพรวมของสถานศกึ ษาทงั้ ๓ มาตรฐาน ระดบั คุณภาพการศกึ ษาชองสถานศึกษา
ระดับคุณภาพ ดี

4.๒ จุดเด่น
4.2.1 สถานศึกษามีคุณภาพในการดำเนินการ ดา้ นความรู้ อยู่ในระดับยอดเยยี่ ม
4.2.2 สถานศึกษามคี ุณภาพในการดำเนินการ ด้านการจัดการเรยี นการสอนอาชีวศึกษาอย่ใู นระดับยอดเยี่ยม
4.2.3 สถานศกึ ษามีคุณภาพในการดำเนนิ การ ด้านการบรหิ ารจดั การอยู่ในระดับยอดเยยี่ ม
4.2.4 สถานศึกษามคี ุณภาพในการดำเนินการ ด้านการนำนโยบายสู่การปฏิบตั อิ ยใู่ นระดบั ยอดเยี่ยม

4.2.5 สถานศึกษามีคุณภาพในการดำเนินการ ด้านความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ อยู่ในระดบั
ยอดเยยี่ ม

4.2.6 สถานศึกษามคี ุณภาพในการดำเนนิ การ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะ อยใู่ นระดับยอด
เยยี่ ม

4.2.7 สถานศึกษามีคุณภาพในการดำเนินการ ด้านทักษะและการประยุกต์ใช้อยู่ในระดับ ยอดเย่ยี ม
4.2.8 สถานศึกษามคี ุณภาพในการดำเนนิ การ ด้านหลกั สตู รอาชีวศึกษา อยู่ในระดับ ยอดเยยี่ ม
4.๓ จดุ ทคี่ วรพัฒนา
4.3.1 สนบั สนุนครู บุคลากรทางการศึกษา รวมถงึ ผูเ้ รยี นจัดทำผลงานสงิ่ ประดิษฐ์ นวัตกรรม งานวิจยั ให้
เพม่ิ มากขึน้
4.3.2 สนับสนนุ ครู บคุ ลากรทางการศึกษา จดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้ให้ครอบคลุมทุกรายวชิ า
4.3.3 พฒั นาทักษะวชิ าชพี ผ้เู รยี นให้มีทักษะในการแก้ไขปัญหายง่ิ ขึน้
4.๔ ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพัฒนา
4.4.1 ควรติดตามตรวจสอบการแกป้ ัญหาและตดิ ตามผูเ้ รยี นออกกลางคันและผเู้ รยี นทไี่ มส่ ำเรจ็ การศึกษา
อยา่ งต่อเน่อื ง
4.4.2 ควรจดั สรรงบประมาณในการจัดทำสิง่ ประดิษฐ์ นวตั กรรมและงานวิจัยให้กับครูและผเู้ รียนเพื่อเพ่ิม
จำนวนชนิ้ งาน และสนับสนุนให้นำชนิ้ งานไปใช้ประโยชน์หรอื เผยแพรใ่ ห้มากยิ่งขน้ึ
4.4.4 ควรจดั โครงการเขา้ ค่ายฝึกทักษะวิชาชีพอย่างเข้มข้น

5 การสร้างความเชอื่ ม่นั ใหแ้ ก่ผู้มสี ่วนเกีย่ วข้อง
การมสี ว่ นรว่ มของสถานศกึ ษา และสถานศกึ ษาและองค์กรท้งั ภาครฐั และเอกชน โดยการลงนามความ

รว่ มมอื (MOU) ในการพัฒนาหลักสตู ร การกำหนดแผนพฒั นาผู้เรียน และแผนการฝึกปฏิบตั ใิ นสถานประกอบการ
ใหผ้ เู้ รยี นมีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ มีคณุ ภาพตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน สถานประกอบการมคี วาม
เช่อื ม่ันในการจดั การศึกษาชองสถานศกึ ษา เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นเข้ารับการฝึกงานและฝึกประสบการณส์ มรรถนะ
วิชาชพี ในสถานประกอบการตา่ งๆ โดยนกั เรยี น นกั ศึกษา สามารถสร้างรายได้ระหวา่ งเรียน และผู้สำเร็จ
การศึกษาสามารถบรรจุทำงานในสถานประกอบการอย่างต่อเนือ่ ง เพ่ือสรา้ งความเชื่อม่นั ให้แก่ผูม้ สี ว่ นเกยี่ วข้อง
และสถานประกอบการต่อไป

สถานศึกษาแห่งที่ 2 วิทยาลยั อาชีวศึกษามหาสารคาม
1. ข้อมูลพ้นื ฐานของสถานศึกษา
ชอื่ สถานศึกษา วิทยาลยั อาชีวศึกษามหาสารคาม สงั กัด สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
ทต่ี ง้ั วทิ ยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม ตง้ั อย่เู ลขท่ี 579 ถนนนครสวรรค์ ตำบลตลาดอำเภอเมือง
จังหวัดมหาสารคาม 44000 มีเนื้อที่ 13 ไร่ 68.6 ตารางวา ด้านหน้าติดกับถนนนครสวรรค์ด้านข้างติดกับกุด
นางใยและวัดอภสิ ิทธิ์ ดา้ นหลังตดิ กับถนนสาธารณะ
โทรศัพท์ 0-4371-1371 โทรสาร 0-4372-1865
Website www.mvc.ac.th E-mail [email protected]

ปรชั ญา ทักษะเย่ียม เปยี่ มความรู้ คคู่ ุณธรรม นำวถิ ีชวี ติ พอเพียง
อัตลักษณ์ ผเู้ รยี นมีคุณธรรม รจู้ รงิ ทำได้ บนพื้นฐานความพอเพียง
เอกลกั ษณ์ สามัคคี มสี ว่ นรว่ ม

ประวตั คิ วามเปน็ มา
วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามจัดตั้งขึน้ ตามความคิดเห็นของหลวงอังคณานุรกั ษ์ ข้าหลวงประจำ

จังหวัดมหาสารคามในสมัยนั้นเมื่อปี พ.ศ. 2479 เดิมชื่อ “โรงเรียนประถมอาชีพช่างปั้น อำเภอเมือง
มหาสารคาม” รับผู้ที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เข้าเรียนหลักสูตร 2 ปี เรียกว่า หลักสูตรประโยคอาชีวศึกษา
เบื้องต้น มีนายเที่ยง ภวภูตานนท์ เป็นครูใหญ่ ต่อมาเปิดสอนอีก 2 แผนกวิชา คือ แผนกช่างจักสานและแผนก
ชา่ งเยบ็ เสอื้ ผา้

พ.ศ. 2480 ยกฐานะเป็นโรงเรยี นรฐั บาล สงั กดั กรมวชิ าการ
พ.ศ. 2482 ย้ายแผนกช่างจักสานและแผนกช่างปั้นไปรวมกับแผนกช่างไม้ท่ีโรงเรียนการช่าง
มหาสารคามหรือวิทยาลัยเทคนิคมหาสารคามในปัจจุบัน เหลือเฉพาะแผนกช่างเย็บผ้า ปีนี้เปิดแผนกช่างทอผ้า
เพิ่มขึ้น และเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น “โรงเรียนช่างเย็บเสื้อผ้ามหาสารคาม” มีนายอุ่น ภวภูตานนท์ เป็นครูใหญ่
พ.ศ. 2494 ขยายหลักสูตรเป็น 3 ปี เรียกว่า “หลักสูตรประโยคอาชีวศึกษาชั้นกลาง” ปีนี้ยุบ
แผนกช่างทอผ้าเนื่องจากไม่อยู่ในความนิยมของท้องถิ่นสมัยนั้นและเปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนการช่างสตรี
มหาสารคาม” มนี างมะลิ หนโชติ เปน็ ครใู หญ่
พ.ศ. 2500 เปิดสอนหลกั สูตรประโยคอาชีวศึกษาชั้นสงู ซึ่งเป็นหลักสตู ร 3 ปี 2 แผนกวิชา คอื แผนก
วิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย และแผนกวิชาอาหารและโภชนาการ รับผู้จบชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 เข้าเรียนเม่ือสำเรจ็
การศกึ ษาจะได้รบั “ประกาศนยี บัตรประโยคอาชีวศึกษาชน้ั สูง”
พ.ศ. 2507 โรงเรยี นเขา้ โครงการยูนเิ ซฟ เปิดสอนแผนกวชิ าคหกรรมศาสตร์ แผนกวิชาอาหารและ
โภชนาการ และแผนกวิชาศิลปหัตถกรรม (ช่างเคลือบดินเผา) เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “โรงเรียนอาชีวศึกษา
มหาสารคาม” จนถึงวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ได้รวมกับโรงเรียนการช่างมหาสารคาม ยกฐานะเป็นวิทยาลยั
และเปลี่ยนชื่อเปน็ “วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม วิทยาเขต 2” ต่อมาเมื่อวนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2522แยกวิทยา
เขตและใชช้ อ่ื ว่า “วิทยาลยั อาชีวศกึ ษามหาสารคาม” มาจนถงึ ปัจจุบนั
พ.ศ. 2523 แผนกวิชาศิลปหัตถกรรม เปลี่ยนเป็นแผนกวิชาศิลปกรรม เปิดสอนเฉพาะสาขาวิชา
วิจติ รศลิ ป์
พ.ศ. 2524 เปดิ สอนสาขาวิชาการบัญชี
พ.ศ. 2530 เปิดสอนสาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจระดบั ปวช. และ ปวส.
พ.ศ. 2536 เปิดสอนสาขาวิชาการประชาสัมพันธ์
พ.ศ. 2537 เปิดสอนสาขางานการเลขานกุ ารและหลกั สูตรประกาศนียบัตรครเู ทคนิคช้ันสูง(ปทส.)
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ซึ่งเป็นหลักสูตรเทียบเท่าปริญญาตรี รับผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส.สาขาวิชา
คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ เข้าเรียน
พ.ศ. 2546 จัดตั้งคณะวิชาใหม่ 2 คณะวิชา คือ คณะวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเปิดสอนประเภท
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และคณะวิชาอุตสาหกรรมและการ
ท่องเที่ยว เปิดสอนประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว สาขาวิชาการโรงแรมและบริการ ระบบทวิภาคีในระดับ
ปวส. ส่วนระดับ ปวช. เปิดสอนสาขางานใหม่ 1 สาขางาน คือ สาขางานคอมพิวเตอร์กราฟิก ซึ่งต่อมาปี พ.ศ.
2549 ได้เปดิ สอนเปน็ สาขาวิชาคอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ ในระดับ ปวส.
พ.ศ. 2548 เปิดสอนสาขาวิชาการเงนิ และการธนาคาร ระดับ ปวส.

พ.ศ. 2550 ปรับเปลี่ยนโครงสร้างการบริหารตามระเบียบการบริหารสถานศึกษา สำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

พ.ศ. 2549 ปีนี้มีการจัดตั้งแผนกวิชาใหม่ 2 แผนกวิชา คือ แผนกวิชาเสริมสวยกับแผนกวิชา
อุตสาหกรรมอาหาร แยกแผนกวิชาผ้าและเครื่องแต่งกาย ออกเป็น 3 แผนกวิชา คือ แผนกวิชาเทคโนโลยีการ
ออกแบบเครื่องแต่งกาย แผนกวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม และแผนกวิชาเทคโนโลยี การ
ออกแบบเคร่อื งแต่งกาย และเปลีย่ นช่อื แผนกวชิ าการเลขานกุ ารเปน็ แผนกวิชาการจัดการท่วั ไป

พ.ศ. 2552 ปรับเปลี่ยนโครงสร้างการบริหารตามระเบียบการบริหารสถานศึกษาสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2552 ปิดแผนกวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มและแผนกวิชา
อุตสาหกรรมอาหาร เนื่องจากไม่มีผู้สมัครเรียน ได้รวม 3 แผนกวิชาเข้าด้วยกัน คือ แผนกวิชาเทคโนโลยีการ
ออกแบบเคร่ืองแต่งกาย แผนกวิชาเทคโนโลยีผ้าและเคร่ืองแต่งกาย และแผนกวชิ าผ้าและเคร่ืองแต่งกาย เป็นแผนก
วชิ าผ้าและเคร่ืองแต่งกายเพยี งแผนกวิชาเดยี ว

พ.ศ. 2553 จัดตั้งแผนกวิชาพื้นฐานธุรกิจโดยให้ครูที่สังกัดแผนกวิชาการเงินและการธนาคาร
แต่ไม่จบสาขาการเงนิ และการธนาคารโดยตรงมาสังกัดแผนกวชิ าพืน้ ฐานธรุ กิจ

พ.ศ. 2557 เปดิ สอนสาขาวิชาโลจิสติกส์ ระดบั ปวส.
พ.ศ. 2558 เปดิ สอนสาขาวชิ าธรุ กิจค้าปลีก ทวภิ าคี ระดับ ปวช. และ ปวส.
พ.ศ. 2562 เปดิ สอนสาขาวิชาภาษาต่างประเทศ ทวิภาคี ระดบั ปวส.
พ.ศ. 2562 เปดิ สอนสาขาวชิ าการท่องเที่ยว ระดับ ปวส.
สภาพชมุ ชน เศรษฐกจิ สงั คม
มหาสารคามเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ใจกลางของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 5,291.68 ตาราง
กิโลเมตร อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 470 กิโลเมตร เป็นจังหวัดศูนย์กลางทางด้านการศึกษาของภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ เนื่องจากมีสถาบันการศกึ ษาหลายแห่งจึงได้ชื่อวา่ เป็น “ตักสลิ าแห่งอสี าน”ภมู ปิ ระเทศเป็นที่
ราบลูกคลื่น ไม่มีภูเขา มีแม่น้ำชีไหลผ่าน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทุ่งนา อาชีพที่สำคัญของชาวมหาสารคาม คือการ
เพาะปลูกและเลีย้ งสัตว์ อาชีพในครัวเรือนท่ีทำกันมาก คือ การเลีย้ งไหมและทอผา้ ไหม แบง่ การปกครองออกเป็น
13 อำเภอ คือ อำเภอเมือง อำเภอกันทรวิชัย อำเภอโกสุมพิสัย อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย อำเภอบรบืออำเภอวาปี
ปทุม อำเภอนาเชือก อำเภอเชียงยืน อำเภอนาดูน อำเภอแกดำ อำเภอยางสีสุราช อำเภอกุดรัง และอำเภอชืน่ ชม
มีอาณาเขตตดิ ตอ่ ดงั น้ี
ทศิ เหนือ ติดต่อกับจังหวดั กาฬสนิ ธุ์ ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับจังหวัดสรุ นิ ทร์และจงั หวดั บรุ รี ัมย์
ทศิ ตะวันออก ติดต่อกบั จังหวดั ร้อยเอด็ ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกับจังหวดั ขอนแก่น
คำขวญั ประจำจังหวัด
“พุทธมณฑลอสี าน ถิ่นฐานอารยธรรม ผา้ ไหมลำ้ เลอคา่ ตักสิลานคร”

2. ผู้บรหิ ารสถานศึกษา

วิทยาลัยอาชวี ศึกษามหาสารคาม แบ่งโครงสรา้ งการบรหิ ารงานออกเปน็ 4 ฝ่าย ประกอบด้วย

1. นางทิพย์วรรณ อู่ทรัพย์ ผูอ้ ำนวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม

2. นายปริญญา ญาณโภชน์ รองผ้อู ำนวยการ ฝา่ ยบริหารทรพั ยากร

3. นายบัญชา โคตรแกว้ รองผอู้ ำนวยการ ฝ่ายวชิ าการ

4. นางอรอนงค์ ชมก้อน รองผู้อำนวยการ ฝา่ ยแผนงานและความร่วมมือ

5. นายสวุ ิทย์ สวัสดี รองผ้อู ำนวยการ ฝา่ ยกิจการนกั เรยี นนักศึกษา

3. ระดบั ทเี่ ปดิ สอน

วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม จัดการศึกษา 2 ระบบ คือ ระบบปกติและระบบทวิภาคีโดย

เปิดทำการสอน 3 หลักสตู ร ไดแ้ ก่ หลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพ พ.ศ. 2562 หลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ

ชน้ั สงู พ.ศ. 2563 และหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) ดังนี้

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เปดิ สอน 4 ประเภทวิชา 13 สาขาวิชา ดงั น้ี

1. ประเภทวิชาพาณิชยกรรม เปิดสอน 5 สาขาวชิ า ได้แก่

1) สาขาวชิ าการบัญชี 2) สาขาวิชาการตลาด

3) สาขาการเลขานุการ 4) สาขาวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ

5) สาขาวิชาธุรกจิ ค้าปลกี

2. ประเภทวชิ าศิลปกรรม เปิดสอน 4 สาขาวิชา ได้แก่

1) สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์กราฟิก 2) สาขาวชิ าวจิ ติ รศลิ ป์

3) สาขาวชิ าการออกแบบ 4) สาขาวิชาการถา่ ยภาพและวีดทิ ัศน์

3. ประเภทวิชาคหกรรม เปดิ สอน 3 สาขาวิชา ได้แก่

1) สาขาวชิ าแฟชั่นและสิ่งทอ 2) สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ

3) สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์

4. ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรมท่องเที่ยว เปดิ สอน 1 สาขาวิชา ได้แก่

1) สาขาวชิ าการโรงแรม

ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพช้นั สงู (ปวส.) เปดิ สอน 4 ประเภทวชิ า 18 สาขาวิชา ดังน้ี

1. ประเภทวชิ าบรหิ ารธุรกิจ เปิดสอน 8 สาขาวชิ า ไดแ้ ก่

1) สาขาวิชาการบญั ชี 2) สาขาวชิ าการตลาด

3) สาขาวิชาการจดั การสำนักงาน 4) สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ

5) สาขาวชิ าการเงนิ และการธนาคาร 6) สาขาวชิ าการจัดการโลจิสตกิ ส์

7) สาขาวิชาการจดั การธุรกิจคา้ ปลีก 8) สาขาวชิ าภาษาต่างประเทศ

2. ประเภทวชิ าศิลปกรรม เปิดสอน 4 สาขาวิชา ไดแ้ ก่

1) สาขาวชิ าออกแบบ 2) สาขาวิชาวจิ ิตรศลิ ป์

3) สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารถา่ ยภาพและวิดีทัศน์ 4) สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์กราฟิก

3. ประเภทวิชาคหกรรม เปดิ สอน 4 สาขาวิชา ไดแ้ ก่

1) สาขาวิชาเทคโนโลยีแฟชัน่ และสิ่งทอ 2) สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ

3) สาขาวิชาการบริหารงานคหกรรมศาสตร์ 4) สาขาวชิ าการดแู ลผู้สูงอายุ

4. ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรมทอ่ งเทีย่ ว เปดิ สอน 2 สาขาวิชา ไดแ้ ก่

1) สาขาวิชาการโรงแรม

2) สาขาวิชาการทอ่ งเทีย่ ว

ระดับปริญญาตรี เทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) เปิดสอน 5 สาขาวชิ า ดังน้ี

1) สาขาวชิ าการบญั ชี 2) สาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ

3) สาขาวิชาการตลาด 4) สาขาวิชาดิจิทลั กราฟกิ

5) สาชาการจดั การสำนักงาน

2. การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
2.1 ผลสมั ฤทธิ์

วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษามหาสารคาม ไดบ้ รหิ ารจัดการศึกษาอยา่ งเป็นระบบ โดยการมีส่วนรว่ ม ของทุกภาค
ส่วน จัดทำแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ทสี่ อดคล้องกบั นโยบายการจัดการศกึ ษาของสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และนโยบาย การจดั การศกึ ษาของชาติ ทง้ั ใน
ดา้ นวิชาการ วชิ าชพี และมุ่งเนน้ พัฒนาผ้เู รยี นให้เป็นผู้มคี วามรคู้ ่คู ุณธรรม ในการจัดทำแผนพฒั นาการจดั
การศึกษามีการกำหนดเป้าหมายของสถานศึกษาอยา่ งมที ิศทาง ภายใต้ วิสยั ทศั น์ “ผลติ และพฒั นากำลังคนด้าน
อาชีวศึกษาให้ได้มาตรฐาน กอปรด้วยคณุ ธรรม นำวถิ ชี ีวิตอยา่ งพอเพียง” เพ่ือให้ผสู้ ำเรจ็ การศึกษามี
คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ตาม อตั ลกั ษณ์ “ผ้เู รียนมีคุณธรรม รู้จรงิ ทำได้ บนพน้ื ฐานความพอเพียง” กำหนด
พนั ธกจิ ไว้ 6 ประเดน็ คือ 1) ผลิตและพัฒนากำลังคนดา้ นวิชาชพี ใหไ้ ดม้ าตรฐานและกอปรด้วยคณุ ธรรม 2)
ส่งเสรมิ งานวิจัยเพือ่ สรา้ งและพฒั นาองค์ความรบู้ ริการวิชาการ และวิชาชพี 3) บริหารอาชวี ศึกษาตามหลักธรร
มาภิบาล ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ตลอดจน
นโยบายชาติ 4) สง่ เสริมความรว่ มมือในการจดั การศึกษาวิชาชีพ กบั สถานประกอบการท้ังภาครัฐ เอกชน และ
องค์กรวชิ าชพี 5) พัฒนาระบบและกลไกการประกนั คณุ ภาพทางการศึกษาท้ังภายในและภายนอก และ 6) ทำนุ
บำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม อนรุ ักษส์ งิ่ แวดลอ้ ม และสง่ เสริมสขุ ภาพอนามยั

การดำเนนิ การพฒั นาคณุ ภาพของวิทยาลัยอาชีวศกึ ษามหาสารคาม มกี ารวางระบบการบรหิ ารภายใน
แบบมสี ว่ นรว่ ม ยึดหลักธรรมาภบิ าล มกี ารประสานความร่วมมือกับสถานประกอบการ ชมุ ชน และเครือขา่ ยความ
ร่วมมือจากหนว่ ยงานตา่ งๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน จัดทำแผนปฏิบัตริ าชการประจำปีงบประมาณ ดำเนนิ การตาม
โครงการทีบ่ รรจุในแผนปฏบิ ตั ิการฯ มรี ะบบการนเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล และพัฒนางานอยา่ งเปน็
ระบบตามวงจรคุณภาพ PDCA ซ่งึ ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม มโี ครงการ/กจิ กรรมท่ี
สำคัญในการสง่ เสริม สนบั สนนุ พฒั นาผู้เรียนให้มีคุณภาพ อาทเิ ช่น โครงการพัฒนาสมาชกิ องค์การนักวชิ าชพี ฯ
ให้เป็นคนดี คนเกง่ และมีความสขุ โครงการสถานศึกษาวถิ ีพทุ ธ โครงการสง่ เสรมิ ทักษะภาษาต่างประเทศ
โครงการลดปัญการการออกกลางคันของผู้เรยี นอาชวี ศึกษา โครงการพัฒนาศักยภาพผ้เู รียนในการเปน็
ผู้ประกอบการและเขยี นแผนธุรกจิ โครงการส่งเสริมการจัดทำนวัตกรรม สง่ิ ประดษิ ฐ์ โครงการแข่งขนั ทักษะ
วชิ าชพี และทักษะพืน้ ฐาน โครงการพัฒนารูปแบบ และยกระดับคุณภาพศูนย์ซอ่ มสรา้ งชมุ ชน (Fix it Center)
โครงการพฒั นาระบบแมข่ ่ายและเครือข่ายไรส้ ายรองรับการใช้อนิ เทอรเ์ น็ต โครงการพฒั นาระบบการจดั การเรยี น
การสอนออนไลน์ สำหรบั ครูผู้สอน และโครงการ/กิจกรรมท่ีสำคญั อ่ืนๆ มีการจัดนิทรรศการแสดงผลงานวิชาการ
ของผเู้ รียนและครูผู้สอนเผยแพร่ใหก้ บั บุคคลภายนอกได้รับทราบ

จากการบรหิ ารงานโดยยดึ หลักธรรมาภิบาลและการมสี ่วนรว่ มของทุกภาคสว่ นส่งผลให้วิทยาลัย
อาชีวศึกษามหาสารคาม ได้รับการยอมรบั จากหน่วยงาน ชุมชน สถานประกอบการ บุคคล องค์กรต่างๆ ท้ัง
ภายในและภายนอกสถานศึกษา เปน็ ศูนยก์ ลางการแลกเปลีย่ นเรยี นรทู้ างวชิ าการและวิชาชีพ ได้รบั รางวลั
สถานศึกษาตน้ แบบการพัฒนาชดุ การเรียนการสอนออนไลน์ (VEC Online Couse) จากสำนักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา รางวัลยกย่องเชิดชเู กยี รตเิ ครอื ขา่ ยวฒั นธรรมดีเดน่ ดา้ นการสนบั สนุนส่งเสริมการแต่งกายดว้ ยผา้
ไทย รางวัล “องค์กรคุณธรรม” ตามโครงการสง่ เสริมชมุ ชน องคก์ รอำเภอ และจงั หวดั คุณธรรม ของจงั หวดั
มหาสารคาม ผเู้ รยี นมรี างวัลจากการแข่งขนั ทักษะวชิ าชพี ในระดับภาค จำนวน 25 รายการ ผเู้ รยี นมรี างวัลจาก
การส่งผลงานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสรา้ งสรรคเ์ ขา้ ประกวดแขง่ ขันในระดับจงั หวดั รวมทงั้ สิ้น 16 รายการ
เมือ่ พิจารณาผลการประเมนิ คุณภาพของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา ในภาพรวมมคี ุณภาพอยใู่ น
ระดบั ยอดเย่ยี ม (ร้อยละ 89.90) และมีการจัดประชมุ คณะกรรมการบริหารสถานศกึ ษา คณะกรรมการ
สถานศกึ ษา เพ่ือรายงานผลการดำเนินงานให้กับคณะกรรมการไดร้ บั ทราบพร้อมรับข้อเสนอแนะเพื่อการพฒั นา
คุณภาพของสถานศึกษาในปีถดั ไป รวมท้งั แจ้งผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของผูเ้ รยี นรายบุคคลใหก้ บั ผปู้ กครองไดร้ บั
ทราบทุกคน

2.2 จุดเดน่
วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษามหาสารคาม ได้พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียนเกดิ ผลเปน็ รปู ธรรมมากขึน้ โดยมี ผลการ

ดำเนินงานเพ่ิมจากปีการศึกษาทผี่ ่านมา ได้แก่ ผ้เู รียนมรี างวัลจากการเข้าร่วมการแข่งขนั ทกั ษะวิชาชพี ระดับภาค
รวมทง้ั สิ้น 25 รายการ ไดร้ ับรางวลั ชนะเลศิ จำนวน 3 รายการ (เนอื่ งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคตดิ ต่อเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) จงึ ทำใหไ้ ม่มีการจดั แข่งขนั ทกั ษะวิชาชีพในระดับชาต)ิ ผ้เู รยี นมี
รางวัลจากการสง่ ผลงานนวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์เข้าประกวดแข่งขนั รวมทัง้ สน้ิ 16 รายการ ได้รบั
รางวัลชนะเลศิ ระดับจังหวดั จำนวน 3 รางวลั (เนอ่ื งจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดตอ่ เช้อื ไวรัสโคโร
นา ๒๐๑๙ (Covid-19) จึงทำใหไ้ ม่มกี ารจดั แขง่ ขนั ในระดับภาค และระดับชาต)ิ และมีการนำผลงานสิง่ ประดิษฐ์
ทไ่ี ดร้ ับรางวัลมาต่อยอดเชงิ พาณชิ ยท์ ำธรุ กิจในศูนยบ์ ่มเพาะผ้ปู ระกอบการอาชีวศึกษา ผู้บริหารสถานศกึ ษาเปน็
ผูน้ ำในการขบั เคลื่อนนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวันและการบรหิ ารงาน
ภายในวทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษามหาสารคาม จนสามารถเป็นแบบอยา่ งให้กับสถานศกึ ษาอื่นได้ สถานศึกษาสง่ เสริม
สนบั สนนุ ให้ครแู กนนำได้พฒั นาตนเองจัดทำหลักสูตรอบรม พฒั นาครผู ูส้ อน ในศนู ยพ์ ฒั นาครู หนว่ ยวทิ ยาลยั
อาชีวศกึ ษามหาสารคาม สถาบนั คุรุพฒั นา สามารถสรา้ งเครือขา่ ยการเรียนรรู้ ่วมกับครผู ู้สอนภายในและภายนอก
สถานศกึ ษามาอย่างต่อเน่ือง

2.3 จดุ ทค่ี วรพฒั นา
2.3.1 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ ต่อเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ทำใหเ้ กิดผล

กระทบต่อการขบั เคลอื่ นการจดั การศึกษา เศรษฐกิจ และสังคมไปทั่วประเทศและทั่วโลก ส่งผลใหจ้ ำนวนผูส้ ำเร็จ
การศึกษายังไม่อยใู่ นเกณฑ์ท่ีสูงกวา่ ปที ผ่ี า่ นมามากนัก

2.3.2 การติดตามผเู้ รียนเกยี่ วกับภาวะการมงี านทำ และการศกึ ษาต่อของผู้เรียนนอ้ ยกว่า ปีท่ผี ่านมา
สถานศึกษาควรจะมกี ารพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลอื ผู้เรียนของครูทีป่ รกึ ษาให้มีประสิทธภิ าพมากย่ิงขน้ึ เพื่อลด
ปญั หาการออกกลางคนั ของผู้เรียน คงสภาพผเู้ รยี นใหอ้ ยู่ในระบบจนสำเร็จการศึกษา (โดยเฉพาะนกั เรียน
ระดบั ช้นั ปวช.) และสามารถติดตามผลการมีงานและศกึ ษาต่อใหม้ ากข้นึ

2.3.3 การนำผลงาน นวัตกรรม สง่ิ ประดิษฐ์ ไปเผยแพรใ่ นชอ่ งทางทีห่ ลากหลายมากยิ่งขึน้ และนำไปใช้
ประโยชนช์ ว่ ยเหลือชุมชนใหม้ ากย่งิ ขนึ้

2.4 ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพฒั นา
2.4.1 พัฒนาระบบการแนะแนวและการประชาสัมพันธ์ในทุกช่องทางเพอ่ื เพิ่มปริมาณผเู้ รยี นสาย

อาชวี ศกึ ษา
2.4.2 พฒั นาระบบการดูแลช่วยเหลอื ผเู้ รียนของครทู ปี่ รึกษา เพ่ือลดปญั หาการออกกลางคนั ของผเู้ รยี น
2.4.3 ส่งเสรมิ สนบั สนุนพฒั นาครูผู้สอน ในการสร้างนวตั กรรมทางการศึกษา พัฒนากระบวนการเรียน

การสอนใหส้ อดคล้องกบั สถานการณ์ปัจจบุ นั และในอนาคต เพอ่ื พฒั นาคุณภาพผ้เู รียน และยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นของผูเ้ รยี นใหส้ งู ข้ึน

2.4.4 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การบรู ณาการการเรียนการสอนของครูเพอ่ื ให้ผูเ้ รยี นสร้างผลงาน นวัตกรรม
สงิ่ ประดษิ ฐ์ งานสร้างสรรค์ ใหส้ ามารถต่อยอดเชงิ พาณชิ ย์ มีทกั ษะในการเปน็ ผู้ประกอบการ และพัฒนาไปสู่อาชีพ
ท่ียงั่ ยนื ในอนาคต

2.4.5 พฒั นาสภาพแวดล้อมทงั้ ภายในและภายนอกห้องเรียน รวมถึงระบบเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต
ความเร็วสงู เพือ่ ให้เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้

2.4.6 พฒั นาระบบและกลไกการประกนั คุณภาพทางการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการนำเทคโนโลยี
ดจิ ิทลั มาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งขึ้น

2.4.7 สรา้ งเครือข่ายความรว่ มมือกับชมุ ชน หน่วยงาน สถานประกอบการและองค์กรต่างๆ ในการร่วม
พัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนเพื่อการมีงานทำหลังจากสำเรจ็ การศึกษา

3. การสร้างความเชอื่ ม่ันให้แกผ่ มู้ สี ่วนเก่ียวข้อง
วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคามได้กำหนดพนั ธกิจในส่วนทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การสร้างความเช่อื ม่ันให้แก่ ผมู้ ีส่วน

เกย่ี วข้อง ไว้ในแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาจำนวน 4 พนั ธกิจ ไดแ้ ก่ พันธกจิ ที่ 2 กำหนดไว้วา่
“ส่งเสริมงานวิจัยเพ่ือสร้างและพฒั นาองค์ความรู้บรกิ ารวชิ าการและวิชาชพี ” พนั ธกิจท่ี 3 กำหนดไว้ว่า “บรหิ าร
อาชีวศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการ
อาชวี ศกึ ษา ตลอดจนนโยบายชาต”ิ พนั ธกิจท่ี 4 กำหนดไวว้ า่ “ส่งเสรมิ ความร่วมมือในการจัดการศึกษาวิชาชีพ
กบั สถานประกอบการทั้งภาครัฐ เอกชน และองคก์ รวชิ าชพี ” และพันธกิจที่ 6 กำหนดไว้วา่ “ทำนบุ ำรุงศาสนา
ศิลปวัฒนธรรม อนุรกั ษส์ ง่ิ แวดล้อม และส่งเสริมสุขภาพอนามัย” โดยยดึ หลักธรรมาภิบาลและหลกั การบรหิ าร
แบบมีส่วนรว่ มจากทุกภาคสว่ น เปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายได้แสดงความคดิ เหน็ จดั ทำแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของ
สถานศึกษา แผนปฏบิ ตั ิราชการประจำปี เสนอต่อทปี่ ระชุมคณะกรรมการบรหิ ารสถานศึกษา คณะกรรมการ
สถานศึกษา เพื่อรว่ มพจิ ารณาใหข้ อ้ เสนอแนะและเห็นชอบ ทง้ั น้ีได้มุ่งเน้นการจัดการศึกษาให้ได้มาตรฐานและมี
คณุ ภาพ ทั้งในดา้ นคณุ ภาพผู้เรียน ดา้ นวิชาการ ด้านบริหารจดั การ ด้านการบรหิ ารงานบุคคล และการสรา้ ง
ความสัมพันธ์กับชุมชน มีการดำเนินงานตามโครงการทบ่ี รรจใุ นแผนพัฒนาการจดั การศึกษาและแผนปฏิบตั ิ
ราชการอย่างเป็นระบบ บริหารประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยทุ ธศาสตร์ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง มีการนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน รายงานผลการดำเนินงานตอ่ คณะ
กรรมการบรหิ ารสถานศกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อนำผลไปใช้ในการปรบั ปรงุ พัฒนางานในปีถัดไปตาม
วงจรคุณภาพ PDCA
4. การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาที่เปน็ แบบอย่างท่ีดี (Best Practice)

จากการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานการศึกษาของวทิ ยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม พบวา่ การปฏิบตั ิงานทีเ่ ปน็
แบบอยา่ งที่ดี (Best Practice) ได้แก่ การพัฒนาครูผู้สอนอาชีวศึกษาด้วยหลักสตู ร การจดั กระบวนการเรยี นรูด้ ว้ ย
m-Learning (Mobile Learning) หน่วยพัฒนาครูของสถาบนั คุรพุ ฒั นา (Teacher Professional
Development Institute) หรอื TPDI หน่วยวิทยาลยั อาชีวศกึ ษามหาสารคาม

ในการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบนั พบปัญหาคือ ความรพู้ ืน้ ฐานของนกั ศึกษาตา่ งกัน ในรายวชิ าเปน็
การปฏิบตั ิมากกวา่ ทฤษฎี นกั ศึกษามีความต้องการในการฝึกปฏิบตั ิ แตม่ ขี ้อจำกดั ด้านเวลา จำนวนเครือ่ ง และ
ภาระงานครผู ูส้ อนวธิ ีการทจ่ี ะทำให้นกั ศึกษาสามารถเรยี นและฝึกปฏบิ ัติจากรายวชิ า ที่เรียนไดท้ กุ ทที่ ุกเวลาโดยไม่
ตอ้ งใช้สายสญั ญาณอินเทอรเ์ น็ตและนกั ศกึ ษาสว่ นมากจะมีโทรศัพท์ท่ีสามารถใช้สัญญาระบบเครือข่ายแบบไรส้ าย
จึงมีการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วย m-Learning: Web Application Edmdoo.com ในการสร้าง
หอ้ งเรยี นออนไลน์ ดว้ ย Web Application edmodo.com ซง่ึ เปน็ Free Social Learning สำหรบั ครูผสู้ อนและ
นักเรียนนกั ศึกษา

จากสภาพปัญหาดังกล่าวขา้ งต้น เมื่อครูผูส้ อนไดร้ ับการพัฒนาด้วย หลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้
ดว้ ย m-Learning (Mobile Learning) สำหรับครูอาชีวศึกษา ระดับพื้นฐาน จะทำให้สามารถจดั กระบวนการ
เรยี นการสอนในรปู แบบห้องเรียนออนไลน์ ดว้ ย Web Application edmodo.com สอดคล้องกับการศึกษาใน
ศตรวรรษที่ 21 เน่อื งจาก edmodo.com เปน็ Web Application ประเภท LMS (Learning Management
System) ทผ่ี นวกระหว่าง e-Learning กบั Social Network ซง่ึ เรียกวา่ Social Learning ภายในมีระบบบรหิ าร
จดั การผ้เู รยี น (User Group) ระบบจัดการข้อมลู (Resource Content) และกจิ กรรมการเรียนการสอน
(Activity: Assignment, Quiz) แบ่งแยกสว่ นติดต่อผใู้ ช้ออกเปน็ 2 ส่วน คือ ครู/อาจารย์ (Teacher) และ
นกั ศกึ ษา (Student) รวมท้ังสามารถติดต้งั Application ฟรี ผ่านทางอปุ กรณ์ไรส้ ายเช่น Tablet, Smart Phone
มีระบบจดั การหอ้ งเรียน ผ่านเครือข่ายสงั คมออนไลนท์ ่ีมีระบบรกั ษาความปลอดภัย


Click to View FlipBook Version