พระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาล ท่ี ๙
ตามท่ีสานักงาน กศน. ได้กาหนดนโยบายเร่งด่วนเพ่ือร่วมขับเคล่ือนยุทธศาสตร์
การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ ด้านความม่ันคง การพัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อ
สถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝังและสร้างความตระหนักถึงความสาคัญของสถาบันหลักของชาติ
รณรงค์เสริมสร้างความรักและความภาคภูมิใจในความเป็นคนไทยและชาติไทย น้อมและเผยแพร่
ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดาริต่างๆ เพ่ือให้
สถานศึกษาในสังกัดใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมขับเคล่ือนการสร้างความรู้ ความเข้าใจต่อ
สถาบนั หลกั ของชาติ กศน.ตาบลวังง้ิว น้ัน
ในการนี้ กศน.ตาบลวังงว้ิ สงั กัด กศน.อาเภอดงเจรญิ ได้จัดขับเคลือ่ นการสรา้ ง
ความรู้ ความเขา้ ใจต่อสถาบนั หลักของชาติ กศน.ตาบลวังง้วิ โดยมีกลมุ่ เปา้ หมายเปน็ ประชาชน
ทัว่ ไปในพื้นที่ตาบลวังง้วิ ดาเนนิ การระหว่างวันท่ี 1 พฤษภาคม – 30 กันยายน 2564 ณ พืน้ ที่
ตาบลวังงิ้ว
กศน.ตาบลวงั ง้ิว
29 กรกฏาคม 2564
26 โครงการหลวง
26 โครงการหลวง จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาพระราช
กรณียกิจ และสานต่อปณิธานของ พระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ท่ีทรงงานหนัก
อุทิศพระวรกายช่วยเหลือราษฎร ให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีข้ึน
ตลอดรัชสมัยของพระองค์
โครงการหลวงภาคเหนอื
1. สถานเี กษตรหลวงอ่างขาง
โครงการหลวงข้ึนเป็นโครงการส่วนพระองค์ เมื่อปี 2512 โดย
ทรงแต่งตั้งให้ หม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการใน
ตาแหน่งประธานมูลนิธิโครงการหลวง ใช้เป็นสถานีวิจัยและทดลองปลูกพืชเมือง
หนาวชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นไม้ผล ผัก ไม้ดอกเมืองหนาว เพ่ือเป็นตัวอย่างแก่
เกษตรกรชาวเขาในการนาพืชเหล่านี้มาเพาะปลูกเป็นอาชีพ ต่อมาได้พระราชทาน
นามใหม่ว่า “สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง”
ต้งั อยูท่ ี่ ต. แมง่ อน อ. ฝาง จ. เชยี งใหม่
2. โครงการพระราชดารปิ างตอง
ปางอุ๋ง เป็นหนึ่งในสถานท่ที อ่ งเท่ียว
อนั ดับต้นๆ ของ จ. แม่ฮ่องสอน
เนือ่ งจากมบี รรยากาศโรแมนทิคแทบทุก
พน้ื ที่ ทิวสนสงู ใหญ่ เมอื่ ตัดกับผืนนา้ ชา่ ง
งดงามย่ิงนกั ปางอุ๋ง จึงได้รบั ขนานนาม
วา่ เป็น “สวิทเซอร์แลนดแ์ หง่ เมอื งไทย”
ไฮไลท์อยู่ทีบ่ รรยากาศยามเชา้ จะมีไอ
หมอกจางๆ ลอยขึน้ เหนอื ผืนนา้ มีหงษส์ ี
ดา/ขาวมากมาย ซึง่ ทางโครงการฯ เลยี้ ง
ไว้ ต่างเล่นน้าแหวกวา่ ยชูคออย่างมี
ความสุข
ต้งั อย่ทู บ่ี ้านรวมไทย ต. หมอกจาแป่ จ.
แม่ฮ่องสอน
3. ศนู ย์พัฒนาโครงการหลวงตีนตก
ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทรง
พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วน
พระองค์ จานวน 300,000 บาท
เพอ่ื เป็นทนุ ทรพั ย์ก่อตัง้ ศูนย์พัฒนา
โครงการหลวงตนี ตก ตงั้ แต่ปี 2524
โดยมีเป้าหมายเพื่อเป็นศูนย์สาธิตและ
สง่ เสรมิ การเพาะเหด็ และกาแฟ
พันธุ์อราบิกา ให้แก่ราษฎร
นอกเหนือจากการปลกู เมยี่ ง ปัจจบุ ัน
ทางศุนย์ฯ นี้ไดส้ รา้ งทพี่ กั ติดภูเขาและ
สายน้าอยา่ งดีให้ประชาชนทัว่ ไป
สามารถมาพักได้ และหม่บู า้ น
ใกล้เคียงอยา่ ง “แม่กาปอง” กเ็ ป็น
แหลง่ ท่องเท่ยี วทส่ี าคัญของจงั หวัดอกี
ด้วย ตงั้ อยูท่ ี่ ต. ห้วยแกว้ อ. แม่
ออน จ. เชยี งใหม่
4. ศนู ยพ์ ฒั นาโครงการหลวงห้วยลึก
เน่อื งจากพ้ืนที่แถบนเี้ ป็นทร่ี าบสลบั เนินเขา โดยมี
ความสูงจากน้าทะเลปานกลางตั้งแต่ 500 ถึง
900 ม. และอยใู่ กล้กับลุม่ นา้ ย่อยของแม่นา้ แมป่ ิง
จงึ เหมาะมากกบั การเพราะปลกู ในหลวงรชั กาลที่
9 จึงมีพระราชดารใิ ห้จัดพนื้ ทีท่ ากินให้แก่
ชาวบ้านแถบนี้ รวมถงึ ชาวเขาเผา่ แมว้ กะเหรี่ยง
โดยสง่ เสริมการวิจัย และเพาะพนั ธุใ์ หแ้ ก่
เกษตรกร ได้แก่ ผักจาพวกผกั สลัด ไมด้ อกไม้
ประดบั และผลไมต้ า่ งๆ โดยศูนย์ฯ แหง่ น้ี ยงั
เปน็ ทผ่ี ลติ และสง่ ออกดอกเบญจมาศที่ใหญ่ทส่ี ุดใน
ภาคเหนอื อกี ด้วย
ตง้ั อยทู่ ี่ ต. ปงิ โค้ง อ. เชยี งดาว จ. เชียงใหม่
5. สถานเี กษตรหลวงอินทนนท์
เดิมสถานทแ่ี ห่งนีม้ กี ารบกุ รกุ ผนื ปา่ ทาไร่เลอ่ื นลอย ปลกู ข้าว ปลูกฝน่ิ จากชาวเขา
เผ่ากะเหรี่ยง และชาวไทยภูเขา ทาใหป้ า่ มีสภาพเส่อื มโทรม ในหลวงรชั กาลที่ 9
ทรงอยากให้ชาวเขาเหล่านน้ั มพี ืน้ ท่ีทากนิ เปน็ หลักแหล่ง จงึ มีพระราชดารใิ หถ้ ่ายทอด
ความรกู้ ารเกษตรแผนใหม่ ใหห้ ันมาทาการเกษตรแบบถาวร จงึ จัดตั้ง “สถานวี จิ ัย
โครงการหลวงอินทนนท์” ข้นึ ในปี 2522 ดาเนินงานวิจัยดา้ นไมด้ อก ไม้ประดับ
พชื ผัก และไมผ้ ล และเปลี่ยนมาเปน็ “สถานเี กษตรหลวงอินทนนท์” ในปี 2550
ตง้ั อยใู่ นอุทยานแหง่ ชาติดอยอนิ ทนนท์ ต. บา้ นหลวง อ. จอมทอง จ. เชยี งใหม่
6. ศูนย์วจิ ัยเกษตรหลวงเชยี งใหม่
(ขุนวาง)
ศูนยว์ จิ ัยฯ นี้ จดั ตั้งขน้ึ เม่อื ปี 2525 ครัง้
นั้นในหลวงรชั กาลท่ี 9 ทรงมพี ระราช
ดารัสใหก้ องพชื สวนกรมวิชาการเกษตร ใช้
ทอ้ งทุ่งนี้เป็นสถานทีท่ ดลองและขยายพันธุ์
พืชบนทสี่ ูง เพอ่ื ส่งเสรมิ และถ่ายทอด
เทคโนโลยแี กเ่ กษตรกรบนทีส่ งู เพอื่ ทดแทน
การปลูกฝ่นิ นักท่องเทย่ี วนยิ มมาสมั ผสั
ความสวยงามของดอกนางพญาเสอื โคร่ง
หรือซากรุ ะดอยสชี มพู ในช่วงฤดูหนาว
และชมการท่องเท่ยี วเชงิ เกษตร แปลงไม้
และผลไมเ้ มืองหนาว เช่น สาลี่ พลมั ทอ้
เนคทารีน และสตรอว์เบอรร์ ี
ตง้ั อยู่ในอทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยอนิ ทนนท์
ต. บ้านหลวง อ. จอมทอง จ. เชียงใหม่
7. ศูนยพ์ ัฒนาโครงการหลวงแมโ่ ถ
พ้ืนท่ีบริเวณนี้มีลักษณะเป็นภูเขาสลับซับซ้อน ทอดยาวตาม
แนวเหนือใต้ และอยู่สูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง 800-1,200 ม. เป็น
สถานท่ีอยู่อาศัยของชาวเขาเผ่าม้ง และกะเหร่ียง ที่ยึดอาชีพหลักในการ
ปลูกฝ่ิน ทาไร่เลื่อนลอย กระทั่งถึงปี 2539 ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงมี
พระราชดาริให้จัดตัง้ “ศูนยพ์ ัฒนาโครงการหลวงแม่โถ” โดยการให้ความรู้
และส่งเสริมอาชีพเกี่ยวกับการเกษตรแผนใหม่ เพื่อทดแทนการปลูกฝ่ิน
รวมถึงการลดใชส้ ารเคมีกับการปลกู กะหล่าปี
ต้ังอย่ใู น ต. บอ่ สลี อ. ฮอด จ. เชียงใหม่
8. ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงวดั จันทร์
ศนู ย์พัฒนาฯ แห่งน้ี กอ่ กาเนดิ ข้นึ หลังจากใน
หลวงรัชกาลท่ี 9 ทรงเสดจ็ เยยี่ มเยียนราษฎร
ในเขตหมบู่ า้ น วดั จันทร์ พระองค์ทรงทราบ
ถงึ ความยากลาบากของชาวเขาในพ้ืนที่ จงึ มี
พระราชดารใิ ห้กอ่ ตัง้ “ศูนย์พฒั นาโครงการ
หลวงวัดจันทร์” ข้ึน เพ่อื ช่วยให้สร้างอาชพี
สร้างรายได้ ให้แกร่ าษฎร เพ่ือใหม้ ีความ
เปน็ อยูท่ ด่ี ขี นึ้ โดยสถานทีน่ ม้ี ีทวิ ทัศน์ท่ี
สวยงามของป่าสนท่ใี หญท่ สี่ ดุ ในประเทศไทย
โดยมอี งค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (อปป.) เป็น
สถานทท่ี ี่นักทอ่ งเทย่ี วคุน้ เคย
ตง้ั อยู่ใน อ. กัลยาณวิ ัฒนา จ. เชยี งใหม่
โครงการหลวงภาคกลาง
9. โครงการชงั่ หวั มนั ตามพระราชดาริ
โครงการน้ีเป็นสถานที่ท่องเท่ียวที่น่าสนใจอีกที่หน่ึงของ จ. เพชรบุรี ซ่ึง
ภายในโครงการ มีทั้งแปลงปลูกพืชเศรษฐกิจและพืชไร่หลายชนิด อาทิ สับปะรด
มะนาว ชมพู่เพชร มันเทศ ยางพารา และแปลงปลูกข้าว โดยท้ังหมดน้ีใช้เกษตร
อนิ ทรีย์ ไม่ใช้สารเคมี มฟี าร์มโคนม ฟาร์มไก่ และมีกงั หนั ลมผลิตไฟฟ้าขายให้กับ
การไฟฟ้าส่วนภมู ภิ าค แถมมมี มุ ถ่ายภาพสวยๆ ใหเ้ ก็บภาพเปน็ ท่ีระลกึ กนั
ตงั้ อยู่ทีบ่ า้ นหนองคอไก่ ต. เขากระปกุ อ. ทา่ ยาง จ. เพชรบรุ ี
10. โครงการประตูระบายนา้ คลองลดั โพธ์ิ
เป็นสถานที่ท่องเท่ียว พักผ่อน ที่อยู่ไม่
ไกลจากกรุงเทพฯ มากนัก ซึ่งภายใน
โครงการ ได้มีการสร้างประตูระบายน้า
ที่สามารถเปิดระบายน้าท่วมขัง และ
สามารถปิดเมื่อเกิดน้าทะเลหนุนสูงได้
ทันท่วงที เพ่ือไม่ให้เขตกรุงเทพฯ ได้รับ
ความเสียหาย อีกทั้งยังมีการติดต้ัง
กงั หันทดน้า สาหรับผลิตกระแสไฟฟ้าอีก
ด้วย บรรยากาศโดยรอบโอบล้อมด้วย
โครงการถนนวงแหวนอตุ สาหกรรมอย่าง
สะพานภูมิพล 1 และสะพานภูมิพล 2
คนจึงนิยมเดินทางไปพักผ่อนช่วงแดดร่ม
ลมตกกันจานวนมาก
ต้ังอยู่ใกลก้ ับตลาดสดพระประแดง อ.
พระประแดง จ. สมทุ รปราการ
11. โครงการเขื่อนคลองทา่ ด่าน
โครงการเขอื่ นคลองท่าด่าน เป็น
โครงการช่วยเหลอื พ้นื ท่ีเกษตรกรรมให้
บรรเทาอุทกภัย น้าไมท่ ่วมขงั และกัก
เกบ็ นา้ ไวใ้ ชช้ ว่ งหน้าแลง้ ได้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ เม่ือกกั เกบ็ นา้ ได้มากขน้ึ
ทาใหพ้ ืน้ ทีโ่ ดยรอบชมุ่ นา้ ประชาชนมี
การเพาะเลีย้ งสัตวน์ ้าเปน็ อาชพี มากขน้ึ
หลอ่ เลย้ี งชุมชนทั้ง 4 อาเภอ ได้แก่
อาเภอเมอื ง ปากพลี องครกั ษ์ และบา้ น
นา ให้อดุ มสมบรู ณม์ นี ้าใช้ตลอดท้งั ปี
อกี ท้ังพืน้ ทโี่ ดยรอบไดป้ รับปรงุ สถานทใ่ี ห้
สวยงาม เหมาะแกก่ ารพกั ผอ่ น
ตั้งอยทู่ ่ีบา้ นทา่ ด่าน ต. หินตั้ง อ.
เมอื ง จ. นครนายก
12. เขื่อนปา่ สักชลสิทธ์ิ
ก่อสร้างเม่อื ปี 2537 มวี ตั ถุประสงค์เพ่ือ
เร่งแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้าในพ้ืนท่ี
การเกษตร บรรเทาปัญหาอุทกภัยในเขต
พื้ น ท่ี ลุ่ ม แ ม่ น้ า ป่ า สั ก แ ล ะ แ ม่ น้ า
เจา้ พระยาตอนล่าง ซึ่งนับว่าแกไ้ ขจัดการ
น้าไดเ้ ป็นอยา่ งดี เป็นเข่ือนดินที่ยาวท่ีสุด
ในประเทศไทยถึง 4,860 ม. แถมยัง
เป็นสถานที่พักผ่อนใกล้กรุง ที่มีผู้คน
หล่ังไหลมาเท่ียวตลอดทั้งปี โดยเฉพาะ
ช่วงเดือน พย.-มค. จะมีขบวนรถไฟสาย
พิเศษเพ่ือการท่องเที่ยว กรุงเทพฯ-เขื่อน
ป่าสกั ชลสทิ ธ์ิ เปดิ ใหบ้ ริการ
ต้ังอยู่ท่ี ต. หนองบัว อ. พัฒนานิคม
จ. ลพบรุ ี
13. โครงการพฒั นาป่าไม้
ปากน้าปราณบรุ ี
เป็นแหลง่ ศึกษาเรียนร้รู ะบบนเิ วศป่าไม้ เพอ่ื ใหค้ วามรู้แกป่ ระชาชนและ
คนในชุมชน เก่ียวกับการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ ภายในโครงการมีเส้นทางเดิน
ศึกษาธรรมชาติปา่ ชายเลน ที่ให้ความรู้เก่ยี วกบั ระบบนเิ วศของพนื้ ท่ี และใหค้ วามรู้
เร่อื งพันธส์ุ ตั ว์นา้ มกี ิจกรรมลอ่ งเรือชมธรรมชาตปิ ่าชายเลน และวถิ ชี ุมชนประมง
ปากน้าปราณบรุ ี ชมป่าโกงกางทม่ี อี ายุร่วมรอ้ ยปที ่หี าชมไดย้ าก รวมถึงป่าเบญจ
พรรณ ซงึ่ เปน็ ทีอ่ ยู่อาศัยของสตั ว์ปา่ สงวนและสัตวป์ ่าคมุ้ ครอง เช่น เลียงผา กวาง
นกยูง ไก่ปา่ เป็นตน้
ตงั้ อยภู่ ายในเขตปา่ สงวนแหง่ ชาติ ปา่ คลองเกา่ และปา่ คลองคอย ต. ปากนา้
ปราณ อ. ปราณบรุ ี จ. ประจวบคีรขี นั ธ์
14. โครงการหว้ ยองคต
พ้นื ทีภ่ ายในโครงการมีการก่อสร้างฝายทด
น้าในลาห้วยแม่ระวัง และบ้านห้วยหวาย
เ พื่ อ ใ ห้ มี น้ า เ พี ย ง พ อ ใ น ก า ร ท า ก า ร
เกษตรกรรม อีกทั้งเป็นสถานที่ที่รวบรวม
กล้าไม้เพื่อแจกจ่ายให้ราษฎรไปปลูกเพื่อ
ปร ะก อ บอ าชีพได้ อ าทิ ก ล้าสะเด า
มะฮอกกานี สมอพิเภก มะค่าโม่ง ประดู่
ป่า มะขาม และที่น่ียังปลูกป่าหวายเป็น
จานวนกว่า 100 ไร่ เพ่ือเป็นวัสดุจักสาน
สร้างอาชีพในอนาคตได้ และส่งเสริมการ
ใช้ผลผลิตจากการหมักสะเดา ทาสารเคมี
กาจดั ศัตรูพืช เป็นแหล่งสาธิตให้ความรู้แก่
เกษตรกรและผสู้ นใจท่วั ไป
ตั้งอยู่ท่ี ต. สมเด็จเจริญ อ. หนองปรือ
จ. กาญจนบรุ ี
โครงการหลวงภาค
ตะวนั ออก-อีสาน
15. โครงการศนู ยก์ ารศกึ ษา
การพฒั นาอ่าวคงุ้ กระเบน
โครงการนกี้ อ่ ตง้ั เพ่ือพฒั นาอาชพี การประมง และ
การเกษตรในเขตพ้ืนท่ีชายฝ่ังทะเลจันทบุรี ให้ทา
อาชีพควบคู่กับระบบนิเวศป่าชายเลนอย่างเกิด
ประโยชน์สูงสุด และยั่งยืน มีการเพาะเล้ียงสัตว์
น้า เช่น กุ้งแชบ๊วย กุ้งกุลาดา ปลากะพงขาว
เป็นต้น และเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ระบบนิเวศ
การบริหารจัดการชายฝ่ัง อีกท้ังส่งเสริมให้เป็น
สถานท่ีท่องเที่ยวให้ประชาชนได้เข้ามาศึกษา
ธรรมชาติป่าชายเลนโดยรอบ โดยมีสะพานทอด
ยาวทา่ มกลางร่มไมข้ องป่าชายเลน
ตั้ ง อ ยู่ ใ น ศู น ย์ ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า อ่ า ว คุ้ ง
กระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ต. คลอง
ขดุ อ. ทา่ ใหม่ จ. จนั ทบุรี
16. โครงการศนู ยบ์ รกิ าร
การพัฒนาปลวกแดง ฯ
ย้อนกลับไปในอดีต สภาพพ้ืนท่ีป่าของ จ. ระยอง ถูกทาลายไปมาก ดิน
ไม่ดี และขาดแหล่งน้าไม่มีความอุดมสมบูรณ์ ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ทรงมี
พระราชดาริ ให้จัดตั้งโครงการศูนย์บริการการพัฒนาปลวกแดงตาม
พระราชดาริ จ. ระยอง-ชลบุรี เพอ่ื เป็นศูนย์กลางอาชีพการเกษตร และศิลปา
ชีพพิเศษแก่ชาวบ้านท่ีประกอบอาชีพเกษตรกรรม บริเวณริมอ่างเก็บน้าดอก
กราย เพ่ือพัฒนาด้านการเกษตร ด้านปศุสัตว์ และการประมง ปัจจุบัน
โครงการน้ีใช้เป็นสถานฝึกอบรมแปลงเกษตรสาธิต สาหรับศึกษา ดูงาน
ต้งั อยทู่ ี่ ต. แมน่ ้าคู้ อ. ปลวกแดง จ. ระยอง
17. ศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาเขาหนิ ซ้อน
ในอดีต ก่อนท่ีมีโครงการศูนย์ศึกษาการ
พัฒนาเขาหิน ซ้อน สภาพแ วดล้อ ม
โดยรอบ เส่ือมโทรม แห้งแล้ง ดิน
แตกระแหง ไม่สามารถประกอบอาชีพ
อะไรได้เลย แม้แต่ปลูกมันสาปะหลัง
ชาวบ้านในบริเวณนี้จึงร่วมกันน้อมเกล้า
น้อมถวายท่ีดินผืนน้ี จานวน 264 ไร่
แด่ในหลวงรัชกาลท่ี 9 และทรงมี
พระราชดาริให้พัฒนาพื้นท่ีแห่งน้ี โดยใช้
ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก และหญ้า
แฝก ทาให้สภาพดินมีความอุดมสมบูรณ์
ขึ้น ปัจจุบันมีอ่างเก็บน้า ลานกางเทนท์
ร ว ม ถึ ง มี บ้ า น พั ก ไ ว้ ค อ ย ร อ ง รั บ
นักท่องเทยี่ ว
ตั้งอยู่ที่ริมทางหลวงหมายเลข 304
(ฉะเชิงเทรา-กบนิ ทรบ์ ุรี)
จ. ฉะเชงิ เทรา
18. โครงการอ่างเกบ็ นา้ บึงโขงหลง ฯ
โครงการอ่างเก็บน้าบึงโขงหลงฯ เกิดจาก
พ ร ะ ร า ช ด า ริ ข อ ง ใ น ห ล ว ง รั ช ก า ล ที่ 9
ท่ีต้องการพัฒนาอ่างเก็บน้าท่ีมีอยู่เดิม ให้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น โดยสร้างคันดินก้ันน้าให้
สูงข้ึนกว่าเดิม ทาให้สามารถรับน้าได้มากขึ้น
เป็นที่รองรับน้า ป้องกันภัยน้าท่วมได้ และผัน
น้าในบึงไปพัฒนาพื้นท่ีการเกษตรโดยรอบได้
อย่างเพียงพอ แถมยังเป็นสถานท่ีพักผ่อนที่
สวยงาม บรรยากาศดี จนถูกขนานนามว่า
“ทะเลอีสาน” ซึ่งเป็นท่ีชุ่มน้าที่สุดของภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื
ตงั้ อยบู่ า้ นดอนกลาง ต. บงึ โขงหลง
อ. บงึ โขงหลง จ. บงึ กาฬ
19. ศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาภูพาน ฯ
กิจกรรมของศูนย์ศึกษาการพฒั นาภพู านฯ ครอบคลมุ ทุก
ด้านเกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม ท่ีเหมาะสม
กับสภาพพ้ืนท่ี ได้จัดการระบบชลประทาน สร้างแหล่ง
กักเก็บน้า ให้เพียงพอต่อการทาเกษตรกรรมตลอดทั้งปี
พัฒนาให้มีแปลงปลูกพืชผัก ส่งเสริมการปลูกหวายดง
ไม้ไผ่ชนิดต่างๆ ตลอดจนการเพาะเลี้ยงคร่ัง ศึกษา
ทดลองและพัฒนาการประมงน้าจืด ส่งเสริมการเล้ียง
ปลาในอ่างเก็บน้า ปรับปรุงทุ่งหญ้าเพ่ือเลี้ยงสัตว์ และ
เป็นแหล่งเรียนรู้ฝึกอบรมด้านเกษตรกรรมให้แก่ราษฎร
ใ น ห มู่ บ้ า น แ ล ะ ค น ท่ี ส น ใ จ ท่ั ว ไ ป
ต้งั อยู่ท่หี มู่บา้ นนานกเคา้ ต. ห้วยยาง อ. เมือง
จ. สกลนคร
20. สถานที ดลองเกษตรทส่ี ูงภูเรอื
ท่ีน่ีเป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยม มีอากาศเย็นตลอดเกือบทั้งปี งดงามไป
ดว้ ยแปลงทดลองปลูกทัง้ ไม้ดอกและไม้ผลเมืองหนาวนานาชนิด เช่น แมคา
เดเมีย ซึ่งเป็นพืชตระกูลถั่วยืนต้น ท่ีมีคุณค่าทางอาหารสูงและราคาดี
กิโลกรัมนับ 1,000 บาท นอกจากนี้ยังมีส้มโอ ลิ้นจี่ ท้อ สาล่ี และพลับ
ปลูกอยู่เต็มโครงการ และท่ีสาคัญเป็นศูนย์เรียนรู้การปลูกดอกไม้และผลไม้
เมืองหนาว ให้กับผู้ที่สนใจอีกด้วย ปัจจุบันทางสถานีมีบ้านพักและสถานท่ี
กางเทนท์ ให้บริการสาหรบั นักทอ่ งเทยี่ วจานวนมาก
ต้งั อยทู่ ี่ อ. ด่านซา้ ย จ. เลย
โครงการหลวงภาคใต้
21. โครงการฟืน้ ฟูพน้ื ที่และ
บรรเทาอทุ กภัยบา้ นคีรวี ง ฯ
เม่ือปี 2531 เกิดอุทกภัยคร้ังใหญ่ น้าป่าไหล
หลากจากเทือกเขาหลวง ลงมาสู่ใจกลางของ
หมู่บ้านคีรีวง ส่งผลให้มีชาวบ้านเสียชีวิตเป็น
จานวนมาก เม่ือความทราบถึงในหลวงรัชกาล
ที่ 9 ทรงมีพระราชดาริให้กรมชลประทาน
และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เข้าพ้ืนฟู ขุด
ลอก และขยายความกว้างของคลอง พร้อม
ก่อสร้างแนวป้องกันตลิ่งพังของคลองระบาย
เพ่ือน้าจะได้ไหลผ่านหมู่บ้านไปได้อย่างสะดวก
ปัจจุบันเป็นแหล่งท่องเท่ียวที่สาคัญ และยังมี
อากาศดที สี่ ุดในประเทศไทยอกี ด้วย
ต้งั อยทู่ ห่ี ม่บู า้ นครี วี ง อ. ลานสกา
จ. นครศรธี รรมราช
22. ประตูระบายนา้ อทุ กวภิ าชประสิทธิ
ประตูระบายน้าเป็นส่วนหน่ึงของโครงการ
พัฒนาพ้ืนที่ลุ่มน้าปากพนังอันเนื่องมาจาก
พระราชดาริ ของในหลวงรัชกาลที่ 9
ที่ พื้ น ท่ี แ ต่ เ ดิ ม มี ค ว า ม อุ ด ม ส ม บู ร ณ์ ม า ก
ปัจจุบันเกิดปัญหานา้ เค็มรุก น้าจดื ขาดแคลน
จากการปล่อยน้าเสียของนากุ้ง การเกษตร
และชุมชน สร้างความเดือดร้อนเป็นอย่าง
มาก หลังจากมีการสร้างประตูระบายน้า ก็
สามารถปิดก้ันน้าเค็มไม่ให้รุกเข้าไปในลาน้า
กักเก็บน้าจืดไว้ใช้ดารงชีพ จากท่ีชาวปาก
พนังเคยยากจนท่ีสุดในประเทศ ตอนน้ีเริ่มมี
ชวี ิตความเปน็ อยู่ทด่ี ขี ึน้
ต้ังอยทู่ ี่ อ. ปากพนัง จ. นครศรีธรรมราช
23. โครงการศูนยศ์ ลิ ปาชีพบ้านเชี่ยวหลาน
เม่ือปี 2542 ในหลวงรัชกาลท่ี 9 เสด็จ
พร้อมสมเด็จพระนางเจ้าฯ มาเยือนศูนย์
ศิลปาชีพ ใน อ. วิภาวดี จ. สุราษฎร์ธานี
สมเด็จพระนางเจ้าฯ ทรงถามถึงปัญหา
ความเป็นอยู่ของหมู่บ้านไกรสร และชุมชน
ใกล้เคียง ซึ่งเป็นชุมชนที่ได้รับผลกระทบ
จากการสร้างเข่ือนรัชชประภา (เขื่อนเช่ียว
หลาน) ซ่ึงผู้แทนชุมชนได้ทูลขออาชีพเสริม
เพื่อเพ่ิมรายได้ให้กับสมาชิก สมเด็จพระ
นางเจ้าฯ จึงได้พระราชทานโครงการ
ส่งเสริมอาชีพทอผ้าตั้งแต่ปี 2543 โดย
พระราชทานอาคาร อุปกรณ์การทอผ้า
ต้ังอยู่ที่ ต. เขาพัง อ. บ้านตาขุน จ.
สุราษฎร์ธานี
24. ศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาพิกลุ ทอง ฯ
ในหลวงรัชกาลที่ 9 มีพระราชดาริให้ก่อตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอัน
เน่ืองมาจากพระราชดาริขึ้น เม่ือปี 2524 เป็นศูนย์รวมกาลังของเจ้าหน้าที่ด้านเกษตร
สังคม และการส่งเสริมการศึกษามารวมอยู่ด้วยกัน เพ่ือให้ความรู้ และช่วยอนุเคราะห์
ด้านวิชาการแก่ประชาชน ในการประกอบอาชีพและพัฒนาตนเอง โดยมีเป้าหมายเพื่อ
ปรับปรุงดินพรุ ให้สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้มากที่สุด และมีการศึกษาทดลองเรื่อง
ยางพารา และปาล์มน้ามัน อนั เปน็ พืชเศรษฐกิจของภาคใต้ดว้ ย
ต้งั อย่ทู ี่ ต. กะลวุ อเหนอื อ. เมือง จ. นราธิวาส
25. โครงการอ่างเก็บน้าคลองหวั ช้าง ฯ
จ. พัทลงุ ได้ชื่อว่าเป็นแหล่งเพาะปลูกข้าวท่ีสาคัญของภาคใต้ แต่ด้วยภูมิ
ประเทศทม่ี ีลาน้าช่วงส้นั ทาใหย้ ากแกก่ ารบรหิ ารจดั การนา้ มกั ประสบปญั หาขาด
แคลนน้าในภาวะฝนทิ้งช่วง และเกิดปัญหาอุทกภัยในฤดูฝน ไม่สามารถทา
การเกษตรได้อย่างเต็มที่ ในหลวงรัชกาลที่ 9 จึงมีพระราชดาริสร้างอ่างเก็บน้า
คลองหัวช้าง เพ่ือใช้เป็นแหล่งน้าต้นทุนในการทาการเกษตร การอุปโภคบริโภค
คลมุ พื้นท่กี ว่า 1 แสนไร่ สง่ ผลให้ราษฎรในพ้ืนทีม่ ชี ีวติ ความเปน็ อยูท่ ีด่ ขี น้ึ
ต้ังอยทู่ ่ี อ. ตะโหมด จ. พัทลุง
26. โครงการอ่างเกบ็ นา้ บางกาปรดั ฯ
เดิมทพี ื้นทบี่ ริเวณนม้ี ีความแหง้ แลง้ เปน็ อย่างมาก เมื่อใดท่ีฝนทิ้งช่วง
ชาวบา้ นทป่ี ระกอบอาชีพเกษตรกรรมจะไดร้ ับความเดือนร้อนจากการขาดน้า
ทานา ในหลวงรัชกาลที่ 9 เม่ือทราบเร่ืองทรงศึกษาพื้นที่ และมี
พระราชดาริให้กรมชลประทานสร้าง “อ่างเก็บน้าบางกาปรัด อัน
เนื่องมาจากพระราชดาริ” ข้ึน เพ่ือเป็นแหล่งอุปโภคและบริโภคของคนใน
พื้นที่ รวมถึงพ้ืนที่ฝ่ังขวาของโครงการฯ บริเวณเหนือฝาย ยังเป็นแหล่ง
เพาะพันธปุ์ ลาน้าจดื ได้อย่างดีอกี ด้วย
ตั้งอยทู่ ่ีบ้านโคกหาร ต. โคกหาร อ. เขาพนม จ. กระบี่
แหล่งทม่ี าของขอ้ มลู
เร่ืองโดย : กองบรรณาธิการบทความและสารคดี
ภาพโดย : ฝา่ ยภาพ และอินเตอร์เนท
นติ ยสาร 4WHEELS ฉบับเดอื น มถิ นุ ายน ปี 2560
คอลมั น์ : ชีวติ อิสระ
ลิงคส์ าหรบั แชร์ : https://autoinfo.co.th/J5leR