กศน.ตำบลวงั งิว้
23 หลกั การทรงงาน ในหลวง รัชกาลท่ี 9 |นกาศงน.สตาาบวลวอังงภ้วิ ริ จัดดทีาขน้ึ เเปพ่ือ่ ียกามรศพกึ ษันาเธท่า์ น้นั
หลักการทรงงาน 23 ประการ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
รัชกาลท่ี 9 ซึ่งเป็นหลักการท่ีพระองค์ท่านทรงใช้และทรงปฏิบัติอยู่เป็นประจาในการทรงงาน โดยเฉพาะ
ในการดาเนินการโครงการในพระราชดาริต่าง ๆ ของพระองค์ ผู้เขียนจะขอน้อมนามาเขียนเพื่อเป็นแนวทาง
ให้ทา่ นท้งั หลายนาวธิ กี ารน้ไี ปประยกุ ตใ์ ช้การบรหิ ารงานใหป้ ระสบความสาเร็จ
1. การศกึ ษาขอ้ มลู อย่างเป็นระบบ
ก่อนทีพ่ ระองค์ท่านจะทรงดาเนินการโครงการพระราชดาริโครงการใดก็ตาม พระองค์จะทรงศึกษาหา
ความรู้และทรงค้นคว้าข้อมูลต่าง ๆ ท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างละเอียด พร้อมกันน้ันยังเสด็จพระราช
ดาเนินไปยังพื้นท่ีทรงงานเพ่ือทาการศึกษารายละเอียดต่าง ๆ ของโครงการจากหน้างาน และทรงพบปะ
ประชาชนในพน้ื ทเ่ี พ่ือหาข้อมูลท่ีแทจ้ รงิ อันจะนามาซึ่งการเขา้ ใจปัญหาอย่างถ่องแท้ สามารถตัดสินใจและวาง
แผนการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง หลังจากนั้นจึงพระราชทานหลักการและนโยบายในการปฏิบัติงานน้ันลง
ไปสู่ผ้ปู ฏิบตั ิงาน
23 หลักการทรงงาน ในหลวง รชั กาลท่ี 9 | กศน.ตาบลวงั ง้ิว จดั ทาข้นึ เพื่อการศกึ ษาเทา่ นัน้
2. ระเบดิ จากขา้ งใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 พระองค์ทรงมุ่งเน้นในเรื่องการพัฒนาคน
ก่อนจะทาอย่างอ่ืนเพ่ือให้ได้ทีมงานที่ดีมีคุณภาพ พร้อมที่จะรับการพัฒนาหรือการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ต่อไป
โดยพระองค์ทรงตรัสว่า “ต้องระเบิดจากข้างใน” ซึ่งหมายความว่า หากท่านจะทางานอะไรก็ตาม ท่านต้อง
พัฒนาบุคลากรของท่านเองก่อน โดยให้บุคลากรของท่านมีความพร้อม เชื่อม่ันและศรัทธา รวมทั้งมีความ
เข้มแข็งเสียก่อน เม่ือ “ข้างใน” ของแต่ละคนในทีมมีความพร้อม จากน้ันจึงมาสร้างทีมให้เป็นทีมที่มีความ
เขม้ แข็ง เม่ือคนพร้อม ทมี พรอ้ ม ตอ่ มาทา่ นกพ็ ฒั นาโดยใสเ่ ครอ่ื งมือและวิธีการท่ีทา่ นมีและต้องการลงไป
23 หลกั การทรงงาน ในหลวง รชั กาลท่ี 9 | กศน.ตาบลวังงิ้ว จัดทาขึน้ เพ่ือการศกึ ษาเทา่ นน้ั
3. แกป้ ัญหาทจี่ ดุ เลก็
พระองค์ทรงใช้หลักการในการที่พระองค์จะทรงมองปัญหาใหญ่ในภาพรวม (Macro) ให้ชัดเจนก่อน
เสมอ เพราะพระองค์จะต้องมีข้อมูลเพื่อทาให้สามารถมองเห็นภาพรวมใหญ่ รวมทั้งเห็นถึงผลกระทบต่าง ๆ
ที่จะมีหรือเกิดข้ึนตามมาจากการแก้ปัญหา แต่เมื่อจะลงมือแก้ปัญหา พระองค์จะทรงเร่ิมต้นด้วยการแก้ไข
ปัญหาในจุดเล็ก ๆ (Micro) ซ่ึงเป็นปัญหาเฉพาะหน้าที่คนอื่นมักมองข้ามก่อน เมื่อสาเร็จแล้วจึงค่อย ๆ
ขยับขยายแก้ไปเร่ือย ๆ ทีละจุด เพราะคนท่ัวไป (ข้าราชการ) มักชอบมองและทาอะไรใหญ่ๆ ก่อนเลยทีเดียว
แต่การทาใหญ่ก่อนมักทาไม่สาเร็จและเสียค่าใช้จ่ายเยอะ อีกท้ังเมื่อทาไม่สาเร็จก็หยุดทา ความเสียหาย
มากมายก็เกิดตามมา ปัญหาต่าง ๆ ก็ไม่ได้รับการแก้ไขอย่างรวดเร็วทันสถานการณ์ ต่างกับการทรงงาน
ของพระองคท์ ่านทเี่ มอื่ พระองคท์ รงเขา้ ไปดาเนินการก็แก้ไดต้ รงจดุ เสมอ อย่างรวดเร็วและทันเวลา มีคา่ ใช้จา่ ย
น้อยกว่าแต่ได้ผลสาเร็จสูง ทาให้ปัญหาของประชาชนได้รับการแก้ไขให้ผ่อนคลายความตึงเครียดลงได้
จนกระทง่ั เกิดการแกไ้ ขอยา่ งเปน็ ระบบและย่ังยืน เชน่ ปญั หาภยั แลง้ ปัญหานา้ ทว่ ม เป็นต้น
23 หลกั การทรงงาน ในหลวง รัชกาลที่ 9 | กศน.ตาบลวงั ง้วิ จัดทาขน้ึ เพ่ือการศึกษาเทา่ น้นั
4. ทาตามลาดบั ข้ัน
พระองค์ท่านทรงใช้หลกั การทรงงานในข้อน้ดี ้วยการเร่ิมต้นทาในส่ิงท่ีมีความจาเป็นสาหรับประชาชน
ก่อน เม่ือสาเร็จแล้วก็เริ่มลงมือสิ่งที่จาเป็นรองลงมาลาดับต่อไป (โดยพิจารณาความจาเป็นจากการเก็บข้อมูล
มาวิเคราะห์) เช่น การพัฒนาและการดูแลในเร่ืองสาธารณสุข เพราะเมื่อประชาชนมีสุขภาพที่ดี ร่างกาย
แข็งแรง ก็จะสามารถทาการพัฒนาในเรื่องอื่น ๆ ได้สาเร็จต่อไป ตัวอย่างเช่น การสร้างถนน การสร้างแหล่ง
กักเก็บน้าเพื่อไว้ใช้ทาการเกษตรและการบริโภคในหน้าแล้ง เมื่อมีถนนที่ดี พอผลผลิตในการเพาะปลูกออกมา
ประชาชนก็สามารถนาผลผลิตใส่รถเพ่ือเดินทางไปจาหน่ายได้ ทาให้ประชาชนมีรายได้มากขึ้น ความเป็นอยู่
ของประชาชนก็ดีขึน้ ตามรายได้ เมือ่ ความเปน็ อยู่ดี ประชาชนกไ็ มเ่ ข้าไปบุกรกุ แผ้วถางป่าหรอื ทาลายธรรมชาติ
ซ่ึงเป็นแหล่งต้นน้า ทาให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล การเพาะปลูกก็สัมฤทธิ์ผล ต่อมาก็มีการให้ความรู้ประชาชน
เกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่ทาให้ประชาชนมีการจัดทาการเกษตรแบบผสมผสาน (ทฤษฎีใหม่) ได้ผลสาเร็จ
ความเปน็ อยู่ของประชาชนกเ็ จริญและม่ันคงข้ึนตามไป จนทาให้เกษตรกรทุกครอบครัวมีความเป็นอยู่ที่ดี มสี ุข
กันตลอดไป
23 หลกั การทรงงาน ในหลวง รัชกาลที่ 9 | กศน.ตาบลวงั งิว้ จดั ทาขน้ึ เพื่อการศึกษาเท่านน้ั
5. ภมู ิสงั คม
ก่อนจะทาการพัฒนาเร่ืองใดในองค์การหรือหน่วยงาน ท่านต้องคานึงถึงภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์
และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ของพ้ืนที่ท่ีท่านจะทาการพัฒนาก่อน โดยต้องทาการศึกษาลงไป
ในรายละเอียดเพื่อให้เข้าใจถึงหลักการทางสังคมวิทยาที่เกี่ยวข้องกับอุปนิสัยของคนหรือพนักงาน/ลูกค้า
ว่ามีอุปนิสัยเป็นเช่นไร วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีแบบด้ังเดิมท่ีมีอยู่เดิมของบุคคลในแต่ละกลุ่ม
ในพ้ืนท่ีเป็นอย่างไรบ้าง และในแต่ละพ้ืนที่ท่ีจะทาการพัฒนาน้ันมีความเหมือน คล้ายคลึง หรือแตกต่างกัน
อย่างไร หลังจากนั้นจึงนาท้ังข้อดีและข้อเสียของข้อมูลท่ีได้มาจากสภาพโดยรอบมาทาการวิเคราะห์/
สังเคราะห์ แยกแยะเอาส่ิงท่ีดีและสิ่งที่ไม่ดีออกมา เพ่ือนาหลักการและวิธีการใหม่ที่ดีเข้าไปพัฒนาและแก้ไข
ปรบั ปรุง
23 หลกั การทรงงาน ในหลวง รัชกาลท่ี 9 | กศน.ตาบลวังงว้ิ จัดทาขึ้นเพื่อการศกึ ษาเท่านัน้
6. องค์รวม
ก่อนท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 จะทรงจัดทาโครงการใด ๆ พระองค์จะทรงมองภาพ
โครงการของพระองค์แบบองค์รวมอย่างรอบด้านว่า โครงการของพระองค์มีความเก่ียวพันหรือเชื่อมโยงกับ
อะไรบ้าง ยกตัวอย่างเช่น การจัดทาโครงการเกษตร “ทฤษฎีใหม่” ท่ีพระองค์ทรงมองภาพในองค์รวม
ว่าประชาชนของพระองค์ถือครองที่ดินโดยเฉลี่ยประมาณ 10-15 ไร่ต่อครัวเรือน ซ่ึงการบริหารจัดการที่ดิน
เหล่าน้ันจะต้องมีแหล่งน้าอันเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สาคัญในการทาการเกษตร หากในท่ีดินไม่มีแหล่งน้าก็จะ
ไม่สามารถทาประโยชน์ทางการเกษตรได้เต็มท่ี ดังนั้นเมื่อประชาชนของพระองค์มีที่ดินแล้ ว พระองค์
จึงจาเป็นต้องสร้างหรือจัดทาแหล่งน้าในท่ีดินเหล่าน้ันขึ้นมาด้วย เพ่ือให้สามารถทาการเกษตรได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและใช้ประโยชน์ในพ้ืนทไ่ี ด้อย่างสมบูรณ์ จึงเห็นได้ว่าในทุกโครงการของพระองคจ์ ะมีการสารวจ
และจัดทาแหล่งน้าควบคู่กันไปด้วยเสมอ ท้ังแหล่งน้าท่ีมีอยู่ตามธรรมชาติ (ท่ีต้องเข้าไปดูเร่ืองการบริหาร
จัดการน้าและกักเก็บน้า) และแหล่งน้าที่มนุษย์สร้างขึ้นเองในท่ีดิน (ไร่นาสวนผสม) เมื่อที่ดินมีแหล่งน้า
การทาการเกษตรก็จะไดผ้ ลผลิตที่ดี สร้างรายไดใ้ หก้ ับเกษตรกร หลังจากนนั้ เมื่อเกษตรกรมีรายได้จากผลผลิต
แล้ว เกษตรกรก็จาเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องการจัดการตลาดและการจัดการการผลิตของตนเองให้ดีขึ้น
เพื่อให้มีความสามารถในการสร้างรายได้และพัฒนารายได้ให้เพ่ิมมากข้ึนในแบบยั่งยืน รวมถึงต้องทาความ
เข้าใจในเร่ืองอานาจการต่อรองทางการตลาด เพื่อท่ีจะทาให้มีอานาจในการควบคุมและต่อรองตลาดของ
ตนเองได้อีกด้วย จึงเป็นท่ีมาที่ทาให้เกษตรกรเกิดการรวมตัวกันเป็นกลุ่มต่าง ๆ จนกลายมาเป็น “สหกรณ์
การเกษตร” ซึ่งช่วยสร้างพลังอานาจให้แก่เกษตรกรในการต่อรองกับพ่อค้าคนกลางและต่อสู้กับกลไกตลาด
ตามหลักการดาเนินธุรกจิ
23 หลักการทรงงาน ในหลวง รัชกาลท่ี 9 | กศน.ตาบลวงั งว้ิ จดั ทาข้นึ เพ่ือการศกึ ษาเทา่ น้นั
7. ไม่ติดตารา
หลักการทรงงานข้อที่ 7 นี้หมายความว่า ในการดาเนินงานทุกโครงการพระราชดาริของพระองค์
พระองค์จะทรงอนุโลมตามปัจจัยสภาวะแวดล้อมตามธรรมชาติในแต่ละแห่งท่ีพระองค์ทรงทาโครงการ
ทรงออมชอมกับธรรมชาติตามสภาพท่ีโครงการสามารถดาเนินงานอยู่ได้ โดยไม่ทรงยึดติดในหลักการหรือ
ทฤษฎีจากตาราทางวิชาการมากจนเกินไป แต่ทรงปรับปรุงเปล่ียนแปลงไปตามสถานการณ์ท่ีหน้างาน และ
ปรับไปตามปัญหาท่ีทรงพบระหว่างดาเนินงาน เพื่อให้โครงการพระราชดาริของพระองค์ประสบความสาเร็จ
เกิดประโยชน์สูงสุด ได้รับการยอมรับจากชุมชนและสามารถดาเนินการต่อไปได้ด้วยชุมชนเอง ตามความ
เหมาะสมบนพ้ืนฐานปัจจัยของทรัพยากรต้นทุนท่ีชุมชนมีอยู่ในพื้นท่ีนั้น และตามวิถีชีวิตของประชาชนที่
จะไดร้ ับประโยชน์จากโครงการนั้น
23 หลกั การทรงงาน ในหลวง รัชกาลที่ 9 | กศน.ตาบลวงั งว้ิ จดั ทาขึน้ เพ่ือการศกึ ษาเท่านน้ั
8. ประหยดั เรียบง่าย ไดป้ ระโยชน์สูงสุด
หลักการทรงงานข้อน้ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 ทรงทาให้ประชาชนของพระองค์
ดูเป็นแบบอย่างมาโดยตลอด ต้ังแต่เรื่องยาสีพระทนต์ของพระองค์ท่ีทรงใช้อย่างคุ้มค่า ตลอดจนเรื่องฉลอง
พระองค์และของใช้ส่วนพระองค์ต่าง ๆ ที่พระองค์จะทรงใช้งานจนคุ้มค่าที่สุด ด้วยความประหยัด เรียบง่าย
ทั้งน้ีในการทาโครงการพระราชดาริของพระองค์หรือการให้ความช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาของประชาชน
ทรงนาหลกั การ “ประหยัด เรยี บง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด” เข้ามาใช้ ด้วยการจดั หาวสั ดุ สงิ่ ของ ทส่ี ามารถหาได้
ในท้องถนิ่ ของภูมิภาคนน้ั มาประยุกต์ใช้ โดยไมต่ อ้ งลงทุนสูงหรือตอ้ งไปซื้อหามาจากตา่ งประเทศ รวมถึงการใช้
เทคโนโลยีก็จะไม่ทรงเลือกใช้เทคโนโลยีท่ียุ่งยากซับซ้อน แต่จะทรงเลือกใช้เทคโนโลยีที่เรียบง่าย สะดวก
เหมาะสมกับการนามาใช้งานในท้องถิน่ นน้ั ๆ
23 หลกั การทรงงาน ในหลวง รชั กาลท่ี 9 | กศน.ตาบลวงั งิ้ว จดั ทาขึ้นเพื่อการศึกษาเทา่ นน้ั
9. ทาให้งา่ ย
จากพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
ท่ีพระองค์ทรงทาการประดิษฐ์คิดค้น และพัฒนาประเทศด้วยโครงการพระราชดาริต่าง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหา
ความยากจนและปัญหาปากท้องของประชาชนในถ่ินทุรกันดารน้ัน พระองค์จะทรงดาเนินการในรูปแบบที่
เรียบงา่ ย ไมย่ งุ่ ยากซับซอ้ น เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพความเปน็ อยู่ของประชาชนและระบบนิเวศทมี่ ีอยู่
23 หลกั การทรงงาน ในหลวง รชั กาลท่ี 9 | กศน.ตาบลวังงิ้ว จดั ทาขนึ้ เพื่อการศกึ ษาเทา่ น้ัน
10. การมีส่วนรว่ ม
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 พระองค์ทรงเป็นนักประชาธิปไตย โดยพระองค์จะ
ทรงนาหลักการ “ประชาพิจารณ์” มาใช้ในการบริหารงาน/บริหารโครงการของพระองค์เสมอ เพื่อเปิดโอกาส
ให้ประชาชน เจ้าหน้าท่ี และสาธารณชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินการขับเคลื่อนแต่ละโครงการ
ซ่ึงพระองค์จะทรงรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและความต้องการของสาธารณชน ด้วยเหตุนี้ จึงส่งผลให้
โครงการต่าง ๆ ของพระองค์ล้วนสามารถแก้ไขปัญหาความยากจนและตอบโจทย์ของปญั หาท่ีทาให้ประชาชน
ของพระองคไ์ ดร้ ับความเดือดร้อนได้อย่างตรงจดุ และตรงความตอ้ งการอยูเ่ สมอ
23 หลักการทรงงาน ในหลวง รัชกาลท่ี 9 | กศน.ตาบลวงั งิ้ว จัดทาข้ึนเพื่อการศึกษาเทา่ นัน้
11. ประโยชน์สว่ นรวม
การปฏิบัติพระราชกรณียกิจในแต่ละครั้งและการเสด็จพระราชดาเนินเย่ียมราษฎรในถิ่นทุรกันดาร
เพื่อให้ความช่วยเหลือพสกนิกรที่ได้รับความยากลาบากและเดือดร้อนนั้น พระองค์จะทรงคานึงถึงประโยชน์
ส่วนรวมเป็นสาคัญ ในการทรงงานแต่ละคร้ังพระองค์จะทรงพิจารณาและเลือกการปฏิบัติภารกิจในการแปร
พระราชฐานในแต่ละคร้ัง แต่ละปี เพ่ือทรงเย่ียมเยือนราษฎร พร้อมทั้งบาบัดทุกข์บารุงสุข ให้การช่วยเหลือ
แก้ไขปัญหาความยากจน ความยากลาบากในการประกอบอาชีพของประชาชนของพระองค์ใหม้ ีการอยู่ดี กินดี
โดยการจัดทาโครงการพระราชดาริต่าง ๆ ข้ึนมา ซ่ึงล้วนจัดทาเพื่อยังประโยชน์และแก้ไขปัญหาของส่วนรวม
แบบย่ังยนื ตลอดไป
23 หลักการทรงงาน ในหลวง รัชกาลท่ี 9 | กศน.ตาบลวงั งว้ิ จดั ทาขน้ึ เพ่ือการศกึ ษาเท่าน้นั
12. การบริการรวมท่ีจดุ เดยี ว
หรือ One Stop Service คือการรวมบริการมาไวท้ ่ีจุดเดียวเปน็ รูปแบบเบ็ดเสรจ็ ที่เกิดขึน้ มาเป็นครั้ง
แรกในระบบการบริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทย โดยองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9
ทรงมีพระราชดาริให้ “ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ” เป็นต้นแบบในการให้บริการแบบ
เบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียวเพ่ือประโยชน์ของราษฎร เมื่อมาขอใช้บริการจากภาครัฐในเร่ืองต่าง ๆ ก็สามารถ
ดาเนนิ การเรียบร้อยได้เสรจ็ ส้ินในที่เดียว ซงึ่ เป็นการประหยดั เงิน ประหยัดเวลาและคา่ ใช้จา่ ยของทง้ั ประชาชน
และหน่วยงานของรัฐในการทางาน ทาให้มีการประสานงานกันได้อย่างรวดเร็ว ภารกิจและการดูแลช่วยเหลือ
ประชาชนกจ็ ะสาเรจ็ ลลุ ว่ งไปได้อยา่ งรวดเร็วทนั เวลานั่นเอง
23 หลกั การทรงงาน ในหลวง รัชกาลที่ 9 | กศน.ตาบลวงั งวิ้ จัดทาข้นึ เพื่อการศกึ ษาเทา่ นนั้
13. ทรงใชธ้ รรมชาติช่วยธรรมชาติ
การท่ีองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 พระองค์ทรงมีความเข้าใจธรรมชาติ ในส่วนน้ี
พระองค์จึงทรงมีพระราชประสงค์ให้ประชาชนของพระองค์มีความเข้าใจและใกล้ชิดกับธรรมชาติด้วยเช่นกัน
เพราะหากประชาชนมีความเข้าใจธรรมชาติและมองธรรมชาติได้อย่างละเอียดแล้ว จะทาให้สามารถนา
ธรรมชาติมาใช้แก้ไขปัญหาจากธรรมชาติด้วยกันได้ เช่น ในการแก้ไขปัญหาป่าเส่ือมโทรม พระองค์ทรงมี
พระราชดาริในการปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก ปล่อยให้ธรรมชาติช่วยฟ้ืนฟธู รรมชาติกันเอง เช่น โครงการปลูกป่า
3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อย่าง เปน็ ต้น
23 หลักการทรงงาน ในหลวง รชั กาลที่ 9 | กศน.ตาบลวังงวิ้ จัดทาข้ึนเพ่ือการศกึ ษาเท่าน้นั
14. ใช้อธรรมปราบอธรรม
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงนาความจริงในเร่ืองความเป็นไปแห่งธรรมชาติและ
กฎเกณฑ์ของธรรมชาติ มาเป็นหลักการและแนวทางปฏิบัติท่ีสาคัญในการแก้ไขปัญหาและการปรับปรุง
เปล่ียนแปลงสภาวะท่ีไม่ปกตเิ ขา้ ส่รู ะบบสภาวะปกติ เช่น โครงการการนาน้าดีมาขับไล่น้าเสยี หรอื มาเจอื จางน้า
เสียให้กลับมาเป็นน้าดี ตามจังหวะการขนึ้ ลงของน้าตามธรรมชาติ และการบาบดั น้าเนา่ เสยี โดยใช้ผกั ตบชวาซึ่ง
มีอยู่แล้วตามธรรมชาติให้มาดูดซึมซับส่ิงสกปรกและปนเปื้อนในน้าออกไป ตามพระราชดารัสท่ีว่า ใช้อธรรม
ปราบอธรรม
23 หลกั การทรงงาน ในหลวง รัชกาลท่ี 9 | กศน.ตาบลวงั งิ้ว จัดทาขึน้ เพื่อการศึกษาเท่านน้ั
15. การปลูกปา่ ในใจคน
เป็นการทาการปลูกป่าลงบนผืนแผ่นดินด้วยความต้องการของมนุษย์ ซ่ึงจะทาให้มนุษย์มีความเข้าใจ
ในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีคุณค่า ไม่สิ้นเปลือง เพราะในอดีตจนถึงปัจจุบัน มนุษย์มีความต้องการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างส้ินเปลืองโดยขาดจิตสานึกเพียงเพื่อประโยชน์ของตนเอง ทาให้เกิดความเสียหาย
ต่อสิ่งแวดล้อมจนเกิดความไม่สมดุลของธรรมชาติ เม่ือธรรมชาติขาดความสมดุลจึงทาให้เกิดอุบัติภัยต่าง ๆ
ตามมา เช่น ภัยแล้ง น้าท่วม ไฟไหม้ป่า ดินถล่ม เป็นต้น ในการฟื้นฟูธรรมชาติให้กลับคืนมานั้น จะต้องมีการ
ปลูกจิตสานึกในการรักษ์ผืนป่าในใจคนให้ได้เสียก่อน การปลูกป่าในใจคนจึงจะเกิดข้ึนมา และทาให้มนุษย์มี
ความเข้าใจและความร่วมมือในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติ โดยการใช้ทรัพยากรธรรมชาติแบบรู้คุณค่า
ใหม้ ากทส่ี ดุ
23 หลักการทรงงาน ในหลวง รชั กาลท่ี 9 | กศน.ตาบลวังงวิ้ จัดทาขึน้ เพื่อการศึกษาเท่านั้น
16. ขาดทนุ คือกาไร
หลักการนี้ทรงมีพระเมตตาต่อพสกนิกรของพระองค์ ด้วยการให้และการเสียสละ เป็นการกระทาอนั มี
ผลที่เป็น “กาไร” คือการอยู่ดีมีความสุขของราษฎร ซึ่งสามารถสะท้อนให้เห็นเป็นรูปธรรมอย่างชัดเจนจาก
การทีป่ ระเทศมคี วามเจริญก้าวหนา้ มเี ศรษฐกิจท่ีดีข้ึน
23 หลักการทรงงาน ในหลวง รัชกาลท่ี 9 | กศน.ตาบลวังงว้ิ จดั ทาขน้ึ เพื่อการศกึ ษาเทา่ นน้ั
17. การพึ่งพาตนเอง
เป็นการพัฒนาตามแนวทางพระราชดาริเพ่ือการแก้ไขปัญหาโดยตนเองก่อนในเบ้ืองต้น แบบการ
แก้ไขเฉพาะหน้า เพื่อให้ตนเองมีความแข็งแรงพอท่ีจะดารงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นตอนต่อไปก็ทาการพัฒนาให้
ประชาชนมคี วามสามารถที่จะอย่ใู นสงั คมไดต้ ามสภาพแวดลอ้ มจนสามารถพึง่ พาตนเองได้ในท่สี ุด
23 หลักการทรงงาน ในหลวง รชั กาลที่ 9 | กศน.ตาบลวังง้ิว จัดทาขนึ้ เพื่อการศึกษาเท่านั้น
18. พออยู่พอกนิ
หลักการทรงงานในข้อนี้ก็เพื่อพัฒนาใหพ้ สกนิกรทั้งหลายของพระองค์ประสบความสุขสมบูรณ์ในชีวิต
อันเริ่มจากการเสด็จพระราชดาเนินไปเย่ียมราษฎรของพระองค์ทุกหมู่เหล่าในทุกภูมิภาคของประเทศ ทรง
ทอดพระเนตรเห็นความเป็นอยู่ของราษฎรด้วยพระองค์เอง จนทรงเข้าพระทัยในสภาพปัญหาต่าง ๆ ของ
ราษฎรอย่างลึกซ้ึง ดงั น้ันในการพฒั นาของพระองค์จะทรงมองในภาพรวมของประเทศ ซึ่งพระองค์ทรงทราบดี
ว่าไม่ใช่งานเล็กน้อย แต่เป็นงานที่ต้องใช้ความคิดและกาลังของคนทั้งชาติเข้ามาดาเนินการร่วมกันเพ่ือให้
บรรลุผลสาเร็จในการพัฒนา ด้วยพระปรชี าญาณของพระองค์ในการทรงงาน ทาให้คนไทยทัง้ หลายไดป้ ระจกั ษ์
แล้วว่าแนวพระราชดาริและโครงการพระราชดาริน้ัน เป็นโครงการท่ีเรียบง่ายปฏิบัติแล้วได้ผล จนเป็นท่ี
ยอมรับกันโดยทั่วไป เพราะโครงการพระราชดาริจะเปน็ โครงการทที่ าให้ราษฎรของพระองค์มีรายได้พออยู่พอ
กนิ บนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพยี งสบื ไป
23 หลักการทรงงาน ในหลวง รชั กาลที่ 9 | กศน.ตาบลวังงิว้ จดั ทาขน้ึ เพื่อการศกึ ษาเทา่ นน้ั
19. เศรษฐกจิ พอเพยี ง
เป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ทรงชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิตใหแ้ ก่พสก
นิกรชาวไทยมาโดยตลอดกว่า 30 ปี ตั้งแต่กอ่ นเกดิ วิกฤตการณท์ างเศรษฐกิจ และเมือ่ ภายหลงั วิกฤต พระองค์
ยังได้ทรงย้าแนวทางการแกไ้ ขเพ่ือให้ราษฎรของพระองค์สามารถรอดพ้นและดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและย่ังยืน
ภายใต้กระแสโลกาภวิ ตั นแ์ ละความเปล่ียนแปลงตา่ ง ๆ ของโลกที่เขา้ มาสปู่ ระเทศไทย
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่พระองค์พระราชทานไว้น้ัน มีความหมายดังนี้ ความพอเพียง หมายถึง ความ
พอประมาณ ความมีเหตุมีผล รวมถึงความจาเป็นท่ีจะต้องมรี ะบบภูมิคมุ้ กันในตวั ท่ีดพี อสมควรต่อผลกระทบที่
จะเกิดมาจากการเปล่ียนแปลงท้ังภายในและภายนอก ที่ต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ
ระมัดระวังอย่างย่ิงในการนาวิชาการมาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกข้ันตอนของแผนที่วางไว้ เช่น
แผนรายรบั -รายจา่ ยของครวั เรือน แผนการทาไร่นาสวนผสม เป็นต้น
23 หลกั การทรงงาน ในหลวง รัชกาลที่ 9 | กศน.ตาบลวงั งิ้ว จดั ทาขนึ้ เพื่อการศึกษาเทา่ นั้น
20. ความซ่อื สัตยส์ ุจริต จริงใจตอ่ กัน
หลักการในข้อน้ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระเมตตาส่ังสอนให้ข้าราชการ
ประชาชน และเจ้าหน้าที่ในองค์การระดับสูงให้มีความเข้าใจในเร่ืองความซื่อสัตย์ เพราะพระองค์ทรงเล็งเห็น
ว่าหากคนเราทางานแล้วไม่มีความซื่อสัตย์จริงใจท้ังต่อตนเอง องค์การ และประเทศชาติแล้ว ความ
เจริญก้าวหน้าและความสาเร็จคงเกิดข้ึนได้ยาก สาเหตุสาคัญท่ีทาให้องค์การและประเทศชาติต้องประสบ
ปัญหาในการพัฒนา ไม่เจริญก้าวหน้า ก็เพราะมีการทุจริตเกิดข้ึน การทุจริตจึงเป็นสาเหตุหลักท่ีทาลายล้าง
องค์การและประเทศชาตใิ ห้เสอ่ื มสลายไปได้ ดังนัน้ เราท่านท้ังหลายจะต้องช่วยกันขจัดการทุจริตไม่ให้เกิดข้ึน
แม้แต่ในตัวเราเองและองค์การ เม่ือไม่เกิดการทุจริตข้ึนในตัวเราเองหรือในองค์การแล้ว ประเทศชาติก็จะ
เจรญิ รุ่งเรอื งสบื ไป
23 หลกั การทรงงาน ในหลวง รชั กาลท่ี 9 | กศน.ตาบลวงั งวิ้ จดั ทาขึ้นเพ่ือการศึกษาเทา่ นนั้
21. การทางานอย่างมีความสุข
พระองค์ทรงมีพระเกษมสาราญและทรงงานอย่างมีความสุขทุกคร้ังที่ได้ช่วยเหลือประชาชน โดย
พระองค์ทรงเคยรับส่ังคร้ังหนึ่งว่า “ทางานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้ นอกจากการมีความสุขร่วมกันในการทา
ประโยชนใ์ ห้กับผู้อ่นื …”
23 หลกั การทรงงาน ในหลวง รัชกาลท่ี 9 | กศน.ตาบลวังงิ้ว จัดทาขึน้ เพื่อการศกึ ษาเทา่ นั้น
22. ความเพียร
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงใช้ความเพียรเป็นอย่างมากในการทางานในโครงการ
พระราชดาริ โดยเฉพาะในระยะเริ่มแรกของแต่ละโครงการที่มีอุปสรรคและความไม่พร้อมในด้านต่าง ๆ
มากมาย มีโครงการจานวนมากท่ีพระองค์ต้องทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการจัดทา แต่พระองค์ก็มิ
เคยท้อพระทัย และทรงมุ่งม่ันเดินหน้าพัฒนาเพื่อให้โครงการฯ ประสบความสาเร็จ อันจะช่วยให้ราษฎรของ
พระองคแ์ ละบ้านเมืองบังเกดิ ความรม่ เยน็ เป็นสุข
23 หลักการทรงงาน ในหลวง รชั กาลที่ 9 | กศน.ตาบลวังงวิ้ จัดทาข้ึนเพ่ือการศึกษาเท่านั้น
23. รู้ รัก สามคั คี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 ทรงมีพระราชดารัสในเร่ืองรู้ รัก สามคั คี ต่อข้าราชการและ
ประชาชนของพระองค์มาโดยตลอด ซ่ึงคา 3 คาน้ีมีค่าและมีความหมายลึกซึ้ง สามารถนาไปปรับใช้ได้ทุกยุค
ทุกสมัย รู้ – การท่ีเราท่านจะลงมือทาส่ิงใด จะต้องรู้ถึงปัจจัยท้ังหมด รู้ถึงปัญหาและวิธีการแก้ไขปัญหานั้น
รัก – เมื่อเรารู้ ครบด้วยกระบวนการท่ีเราจะทาแล้ว เราจะต้องใช้ความรักในการพิจารณาที่จะเข้าไปลงมือ
ปฏิบัติและแก้ไขปัญหานั้นให้ได้ สามัคคี – การท่ีคนเราจะลงมือปฏิบัติงาน เราควรคานึงเสมอว่าเราจะทางาน
คนเดียวไม่ได้ แต่ต้องทางานร่วมมือร่วมใจกับคนอ่ืน เป็นองค์การหรือเป็นหมู่คณะ จึงจะมีพลังในการช่วยกัน
แกไ้ ขปญั หาใหล้ ุล่วงไปได้ดว้ ยดี
หลกั การทรงงานทัง้ 23 ประการขององคพ์ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ 9 นั้น
ถือไดว้ า่ เปน็ ส่ิงทมี่ คี ุณคา่ เป็นแนวทางที่ทา่ นทง้ั หลายสามารถนาไปปรับใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั งาน
หรอื ธรุ กจิ ของท่านเองเพ่ือสร้างความสาเร็จขององคก์ ร ซ่ึงจะสง่ ผลให้ประเทศ
เจริญเติบโตมง่ั คั่ง.....สบื ไปดว้ ย
23 หลกั การทรงงาน ในหลวง รชั กาลท่ี 9 | กศน.ตาบลวังงิ้ว จดั ทาขึ้นเพ่ือการศกึ ษาเทา่ นนั้
ขอบคุณแหล่งท่ีมา
https://www.bedo.or.th/bedo/new-content.php?id=1274
https://www.dharmniti.co.th/หลกั การทรงงาน-23-ประการของในหลวงรัชกาลที่-9/
https://www.ecshopthai.com/2-long-live-the-king/
23 หลักการทรงงาน ในหลวง รัชกาลท่ี 9 | กศน.ตาบลวังง้วิ จัดทาข้นึ เพื่อการศึกษาเทา่ นน้ั