51
52
8
ดจิ ิทัลคอมเมริ ์ซ
ผู้ศึกษาจ�ำ เปน็ ตอ้ งเขา้ ใจการทาธุรกิจออนไลน์ หรือ อคิ อม
เมิรซ์ ประเภทตา่ ง ๆ รวมถงึ อนั ตราย ภยั และ ความเส่ยี งจากการ
ทาธุรกรรมน้ัน พร้อมท้ังวธิ ีป้องกนั ลดความเสยี่ งและรบั มือ กบั
อนั ตราย ภยั และความเส่ยี งเหลา่ นน้ั โดยรูข้ ั้นตอนปฏิบัตเิ มื่อตก
เป็นเหยือการหลอกลวงเหลา่ นี้
53
E-Commerce
คอื อะไร
การพาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic commerce) หรอื อี คอม
เมิร์ซ (E-Commerce) คอื กระบวนการซื้อ-ขาย แลกเปลย่ี นผลิตภัณฑ์และ
ข้อมูลขา่ วสาร โดยอาศยั คอมพวิ เตอรแ์ ละระบบเครอื ข่าย หมายความรวมถึง
- การตดิ ตอ่ สือ่ สารระหว่างธุรกิจกบั ธุรกิจ ธรุ กิจกับผบู้ รโิ ภค
- การทำ�รายการธุรกจิ การชำ�ระเงิน การจดั ส่งสนิ คา้
- การให้บรกิ ารลกู ค้า และการสรา้ งความสัมพนั ธก์ บั ลกู ค้า
ประโยชนข์ อง E-Commerce
- ขยายตลาดจากตลาดทอ้ งถ่นิ ไปสู่ตลาดระหวา่ งประเทศ
- ลดตน้ ทนุ การดำ�เนินการทางการตลาด โดยเฉพาะเอกสาร
และค่าใชจ้ า่ ยในการติดตอ่ สื่อสาร
- ลดสนิ คา้ คงคลังและค่าใชจ้ า่ ยในช่องทางการจำ�หนา่ ย
- เพ่ิมความเช่ียวชาญของธรุ กจิ ไดม้ ากขึน้
- ประโยชนอ์ ่นื ๆ เช่น สรา้ งภาพลกั ษณ์ขององค์กร เพ่มิ ชอ่ ง
ทางการให้บรกิ ารลูกค้า ฯลฯ
54
55
5656
9
กฎหมายดิจทิ ัล
ผู้ศึกษาจำ�เป็นต้องมีความเข้าใจสิทธิและข้อจำ�กัดท่ีควบคุม
การใชส้ ื่อดจิ ทิ ลั ในรูปแบบตา่ ง ๆ ซึง่ ได้ถูกกำ�หนดโดยภาครฐั เพื่อท่จี ะได้
สามารถปฏิบัติงานและดาเนินชีวิตได้อยู่ถูกต้องตามกฎระเบียบสังคม
ซง่ึ จะเป็นการเคารพสิทธิของผู้อื่นอีกดว้ ย
57
5588
5599
Note
พฒั นาหลกั สตู รโดย มหาวทิ ยาลยั มหิดล
ท่ปี รึกษากจิ กรรมศกึ ษาวเิ คราะหก์ รอบแนวทางการพัฒนา
ทักษะดจิ ิทลั เบอื้ งต้น (Digital Literacy)
ส�ำ หรบั ประชาชนทุกกลุ่มวัยทเ่ี หมาะสมกบั บรบิ ทของประเทศไทย
ภายใต้โครงการส่งเสริมการใช้ดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์
และรับผดิ ชอบต่อสงั คม
กระทรวงดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ และสงั คม
ด�ำ เนนิ การจดั อบรมโดย
สำ�นักงานคณะกรรมการดิจทิ ลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ
กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกิจและสังคม
www.equitable-society.com