The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pakkaddif, 2022-04-03 03:09:35

ebook จริง

ebook

E-BOOK

ความรู้ภมู ปิ ั ญญาทอ้ งถน่ิ ในการเพาะกุ้งขาวเเวนนาไม
จังหวัดสมทุ รสาคร

เก่ยี วกับการจัดการองค์ความรู้

Nakhon Pathom Rajabhat University

1

คำนำ

หนังสืออิเล็ฏทรอนิกส์ (E-Book) เรื่อง การจัดการองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการ
เพาะเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม ในจังหวัดสมุทรสาคร จัดทำขึ้นเพื่อถ่ายทอดความรู้ของผู้เชี่ยวชาญ
และผู้ที่มีประสบการณ์ ในเรื่องการประกอบธุรกิจการเพาะเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมทั้งในเรื่อง
ความรู้ทั่วไปที่เกี่ยวกับกุ้งขาวแวนนาไม เรื่องการดูแลกุ้งขาวแวนนาไม สภาพแวดล้อมในทาง
เลี้ยงดู อาหารและการให้อาหาร และช่องทางการจัดจำหน่ายกุ้งขาวแวนนาไม สำหรับบุคคล
ทั่วไปที่มีความสนใจศึกษาข้อมูลเบื้องต้นก่อนการเริ่มประกอบธุรกิจการเพาะเล้ียงกุ้งขาวแวนนา
ไม ซง่ึ เปน็ สงิ่ ท่ีให้ความร้อู ย่างเหมาะสมกบั ทกุ เพศทกุ วัย

ทางคณะผู้จัดทำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เรื่องการจัดการองค์ความรู้ภูมิปัญญา
ท้องถิน่ ในการเพาะเลย้ี งกงุ้ ขาวแวนนาไม ในจังหวัดสมทุ รสาคร จงึ หวังเปน็ อยา่ งยิ่งวา่ หนังสอื เล่ม
น้ี จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผ้ทู ก่ี ำลงั ศกึ ษาและสนใจในการประกอบธรุ กจิ การเพาะเลี้ยงกุง้ ขาวแวนนา
ไม และจุดประกายความคิดของผู้เกี่ยวข้องให้หันมาสนใจในการประกอบธุกิจการเพาะเลี้ยงกุ้ง
ขาวแวนนาไมมากยิง่ ข้นึ

คณะผู้จัดทำ

สารบญั 2

เรื่อง หน้า

กงุ้ ขาวแวนนาไม…………………………………………………………………………………………………………………………3

ประวตั ขิ องกุ้งขาวแวนนาไม…………………………………………………………………………………………………………4

การเลยี้ งก้งุ ขาวแวนนาไมในจงั หวัดสมทุ รสาคร………………………………………………………………………………5

ความรู้ในการเพาะเลย้ี งกุง้ ขาวแวนนาไม……………………………………………………………………………………….6

การเตรยี มบอ่ …………………………………………………………………………………………………………………………….7

การเตรยี มนำ้ ……………………………………………………………………………………………………………………………..8

การคดั เลอื กลูกกุ้ง……………………………………………………………………………………………………………………….9

อุปกรณใ์ นการเลย้ี ง…………………………………………………………………………………………………………………..10

อาหารและการให้อาหาร……………………………………………………………………………………………………………11

การขึ้นทะเบียนผู้เพาะเลี้ยงสัตว์นำ้ ……………………………………………………………………………………………..12

ขนั้ ตอนการขอข้ึนทะเบยี นผูเ้ พาะเลย้ี งสัตวน์ ำ้ ………………………………………………………………………………13

ช่องทางจำหน่าย………………………………………………………………………………………………………………………14

โรคติดเชอ้ื ไวรสั ท่ีสำคญั ของกุง้ ขาวแวนนา………………………………………………………………………………15-18

ภมู ิปญั ญาความรูก้ ารเลยี้ งก้งุ ในจังหวดั สมุทรสาคร……………………………………………………………………….19

วิธแี กะเปลืองกงุ้ สดแบบงา่ ย……………………………………………………………………………………………………….20

เมนูอาหารจากก้งุ ขาวแวนนาไม…………………………………………………………………………………………….21-22

ประวตั ิผูจ้ ัดทำ………………………………………………………………………………………………………………………….23

3

กุ้งขำวแวนนำไม

กุ้งขาวแวนนาไมหรือ Litopenaeus vannamei เป็นสายพันธุ์กุ้งทะเลที่มีการเพาะเลี้ยงกัน
อย่างแพร่หลายในหลายประเทศ เช่นสหรัฐอเมริกา เม็กซิโก กัวเตมาลา นิคารากัว คอสตาริกา
ปานามา โคลัมเบีย อิควาดอร์ เปรู กุ้งสายพันธุ์นี้เป็นสัตว์ที่มีความแข็งแรงและทนทานจึงมีการ
ขยายพันธุ์ตามธรรมชาติได้กว้างไกล ในแถบแนวชายฝั่งตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก ตั้งแต่
เม็กซิโกถึงเปรู เนื่องจากภูมิภาคในแถบนี้ที่ระดับความลึกจากเส้นแนวชายฝั่งลงไปประมาณ 72
เมตรหรือ 235 ฟุต มีพื้นท้องทะเลเป็นเหมือนโคลนที่เหมาะสมแก่การเจริญเติบโต และเป็นแหล่ง
อาหารท่อี ดุ มสมบรู ณ์

4

ประวัติของกุ้งขำวแวนนำไม

กุ้งขาวแปซิฟิกที่เกษตรกรในประเทศไทยนิยมเรียกว่ากุ้งขาวแวนนาไม หรือเรียกกันว่า
“กุ้งขาว” เป็นกุ้งที่เลี้ยงง่าย มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เนื่องจากพ่อแม่พันธุ์ได้รับการ
พัฒนาสายพันธุ์มาเป็นเวลาช้านาน และทำให้มีการนำเข้าไปเลี้ยงในหลาย ๆ ประเทศ และกุ้ง
ชนิดนี้ได้มีการนำเข้ามาเลี้ยงในทวีปเอเชียครั้งแรกในประเทศไต้หวัน ปี พ.ศ. 2539 และต่อมา
ได้นำเข้าไปในประเทศจีนในปี พ.ศ. 2541 สำหรับประเทศไทยได้มีการนำกุ้งขาวเข้ามาทดลอง
เลี้ยงในปี พ.ศ. 2541 แต่การทดลองในครั้งนั้นไม่ประสบความสำเร็จมากนัก จนกระทั่งเดือน
มีนาคม พ.ศ. 2545 กรมประมงได้อนุญาตให้นำพ่อแม่พันธุ์ที่ปลอดเชื้อ (Specific Pathogen
Free, SPF) จากต่างประเทศเข้ามาทดลองเลี้ยง ระยะเวลาการนำเข้าพ่อแม่พันธุ์ที่ปลอดเชื้อ
จากจากเดือนมีนาคม พ.ศ. 2545 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 ซึ่งเป็นช่วงเวลาเดียวกันที่
การเลยี้ งกุ้งกลุ าดำในประเทศไทยกำลังประสบปัญหาในเรือ่ งกุ้งโตชา้ โดยเฉพาะในขณะที่จับกุ้ง
จะพบว่ามีกุ้งขนาดเล็กน้ำหนักประมาณ 3 ถึง 5 กรัมเป็นจำนวนมาก ทำให้เกษตรกรส่วนใหญ่
ประสบปัญหาภาวะขาดทุน ในขณะเดียวกันเกษตรกรบางส่วนได้ทดลองเลี้ยงกุ้งขาว ซึ่งส่วน
ใหญ่ให้ผลค่อนข้างดี และจากกระแสการเลี้ยงกุ้งขาวที่ได้ผลดีกว่ากุ้งกุลาดำ ส่งผลให้เกษตรกร
จำนวนมากหนั มาเลย้ี งก้งุ ขาวกันมากขึ้น

5

กำรเลย้ี งกุ้งขำวแวนนำไม ในจงั หวัดสมทุ รสำคร

เกษตรกรผเู้ พาะเลี้ยงกงุ้ ขาวแวนนาไมในจังหวัดสมทุ รสาคร ใช้การเล้ยี งตามรปู แบบมาตรฐาน
จเี อพี โดยมาตรฐานจเี อพนี ัน้ คอื หลกั การเลยี้ งกงุ้ ทะเลดว้ ยวิธกี ารปฏิบัตทิ ี่ดี เพื่อยกระดับการเล้ยี ง
กุ้งใหม้ มี าตรฐานท่ผี บู้ รโิ ภคเช่อื ม่นั และใช้เป็นกลยทุ ธใ์ นการพฒั นาสินคา้ การเกษตรเพ่ือการสง่ ออก
นำรายได้เขา้ สู่ประเทศ โดยการเลยี้ งก้งุ ขาวแวนนาไมน้ันมรี ะยะเวลาการเพาะเลี้ยง 3 เดอื น จึงได้
ค่าตอบแทน

6

ควำมรู้ในกำรเพำะเลย้ี งกุ้งขำวแวนนำไม

เน่ืองจากการเพาะเลีย้ งกงุ้ ขาวแวนนาไม เกษตรกรตอ้ งมีความรูใ้ น การเลีย้ งกงุ้ ขาว หรอื ผ่านการ
ฝึกอบรมหลกั การเลีย้ งกงุ้ ขาว หรือกงุ้ ทะเล หรือมีประสบการณใ์ นการเลีย้ งกงุ้ ขาวหรือกุง้ ทะเลมาก่อน
การมีความรูห้ รือ ประสบการณน์ นั้ มีความสาคญั ต่อเกษตรกรมาก เพราะทาใหเ้ กษตรกรมีความรูเ้ พียง
พอท่ีจะเร่มิ ตน้ และตดั สินใจในการดาเนินธุรกิจไดด้ ว้ ยดี หากตอ้ งการเร่มิ เพาะเลีย้ งกงุ้ ขาวแวนนาไมจึง
ควรศึกษาขอ้ มลู และขอคาแนะนาจากผเู้ ช่ียวชาญก่อน หากขาดความรูใ้ นการเพาะเลีย้ งกงุ้ ขาวแวนนา
ไม อาจก่อใหเ้ กิดความเส่ียงในการประกอบธุรกิจการเพาะเลีย้ งกงุ้ ขาวแวนนาไม โดยส่ิงท่ีควรศึกษานนั้
ไดแ้ ก่

1.ท่ีดินและทรพั ยากรธรรมชาติ

2.การศกึ ษาหาแหลง่ ลกู พนั ธุท์ ่ีดี สมบรู ณแ์ ละแข็งแรง

3.อาหารและการใหอ้ าหาร

4.การขนึ้ ทะเบียนผเู้ พาะเลยี้ งสตั วน์ า้

5.ความเหมาะสมทางวิชาการ

6.การจดั การสขุ ภาพและการแกไ้ ขปัญหาโรคกงุ้

7.ชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ย

กำรเตรยี มบอ่ 7

การเตรียมบ่อนั้นในขั้นตอนแรกควรมีการเลือกสถานที่ โดยการเลือกสถานที่เป็นปัจจัยที่เกษตรกร

ต้องพจิ ารณาก่อนเริ่มต้นการเลี้ยง ตั้งแต่ความเหมาะสมทางวิชาการ วิธีการเขา้ มาใช้ประโยชนใ์ นพื้นที่ วาง

แผนผังการใช้พ้นื ท่ีในฟารม์ และการบริหารจัดการฟาร์ม การตัดสนิ ใจเลือกสถานท่ีที่เหมาะสมในข้ันตอนทำ

ให้เกษตรกรสามารถจดั การเลยี้ งก้งุ ขาวแวนนาไมไดผ้ ลผลติ อย่างมคี ุณภาพและต่อเนื่อง โดยเกดิ ปัญหาน้อย

ที่สุด การเลือกที่ดินไม่ควรมีสวนผักหรือผลไม้โดยรอบ หากเกิดการซึมออกของน้ำจากบ่อจะทำให้พืชผล

บรเิ วณขา้ งเกิดความเสยี หาย ขัน้ ตอนการเตรียมบ่อมีขนั้ ตอนดังน้ี

1. เมื่อได้สถานท่ีที่เหมาะสมทำการขุดบ่อดินโดยบ่อสามารถเลือกขนาดและความลึกไดด้ ามต้องการ
โดยความลึกที่เหมาะสมอยู่ที่ประมาณ 2-3 เมตร โดยเกษตรกรชาวจังหวัดสมุทรสาคร ได้ทำการขุดบ่อบริ
เวรกลางบอ่ มขี นาดประมาณกว้างประมาณ 0.5 ไร่ ลึกประมาณ 1 เมตร เนอื่ งจากเป็นวิธใี หข้ องเสียและขี้กุ้ง
ลงสู่บรเิ วณบ่อนนั้ และกุ้งตวั ท่ีออ่ นแอ ก็จะตกลงสบู่ ่อนน้ั และจะมเี ครอื่ งดูดของเสียทำการดดู ของเสียและกุ้ง
ตัวทอ่ี อ่ นแอออกจากบอ่

2. เมื่อได้บ่อควรวัดค่า pH ในดินให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม และทำการโรยปูนขาวให้ทั่วบ่อเพื่อเป็น
การกำจดั ของเสียในดิน ( การหว่านปูนขาวรอ้ นนั้นควรหว่านในช่วงที่ดินยังเปยี กชื้นหลังขุดบ่อเพราะจะทำ
ใหป้ นู ขาวเกิดปฏิกริ ยิ าดมี ากยง่ิ ขนึ้ ) และตากแดดทิ้งไวป้ ระมาณ 1-2 สัปดาห์

3. ติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ ใบพัดน้ำ เครื่องทำออกซิเจน เครื่องหว่านอาหาร และอุปกรณ์ดูดของเสีย
ภายในบ่อ

กำรเตรยี มนำ้ 8

1.ทำการปล่อยน้ำเค็มลงสู่บ่อที่เตรียมไว้โดยน้ำเค็มจะสามารถติดต่อกับผู้จำหน่ายได้ โดยผู้จำหน่ายจะทำ
การลำเลย้ี งนำ้ และนำมาถา่ ยลงสบู่ อ่ ให้อย่างเรยี บรอ้ ย

2. จากนั้นเมื่อนำน้ำลงสู่บ่อแล้วทำการใส่จุลินทรีย์ลงไปในน้ำ โดยการใส่จุลินทรีย์ในน้ำจะเป็นการช่วยการ
ฆา่ เชอ้ื อีกหนึ่งรปู แบบ

3. เมื่อใส่จุลินทรีย์แล้วก็เปิดใบพัดเพื่อทำการตีน้ำ ทิ้งไว้แบบนั้น 3-5 วันเพื่อเปน็ การกำจัดเชือ้ โรคโดยใชว้ ิธี
จลุ นิ ทรีย์สงั เคราะห์แสง

4. จากนั้นใสค่ ลอรนี ผง (แคลเซียมไฮโปรคลอไรท์) ความบริสุทธิ์ 60-70 % ประมาณ 20-30 กรัม/ลูกบาศก์
เมตร เพื่อฆ่าเชื้อโรคและสัตว์น้ำหรือตัวอ่อนที่หลงเหลืออยู่ในบ่อ ควรใส่คลอรีนในช่วงเย็นหรือแดดอ่อนๆ
พร้อมเปิดเคร่ืองตนี ้ำใหแ้ รงตลอดเวลาเพื่อให้คลอรนี กระจายทวั่ บ่อ

กำรคดั เลอื กลกู กงุ้ 9

ลกู กงุ้ ท่มี ีคุณภาพดนี นั้ มีลกั ษณะที่สามารถพจิ ารณาได้จากสิ่งตอ่ ไปนี้

1. สลี ำตวั ของลกู กุ้ง มีผลมาจากสขุ ภาพ ความแข็งแรง ความเครยี ดหรอื สิ่งแวดล้อมที่ไมเ่ หมาะสม ถ้าสีของลูก
กงุ้ มสี เี ทาอ่อน, นำ้ ตาลออ่ น, สนี ้ำตาลเขม้ และสดี ำ ลกู กุ้งชดุ นจี้ ะมีอัตรารอดตายสูงและมีอตั ราการเจริญเติบโต
ที่ดี ส่วนลูกกุ้งที่มีสีแดงหรือสีชมพูจะให้ผลผลิตที่ต่ำกว่า สาเหตุที่ทำให้ลูกกุ้งมีสีแดงและชมพู มีสาเหตุมาจาก
การติดโรค วธิ ีการอนุบาลและการขนส่ง

2. อาการหรือการเคลื่อนไหว ลูกกุ้งที่แข็งแรงจะว่ายน้ำปกติและกระฉับกระเฉงอยู่ตลอดเวลา ถ้าทดสอบโดย
การกวนน้ำใหห้ มุนวนอยู่ในกะละมัง ลูกกุ้งที่ดจี ะว่ายทวนน้ำและจะดีดตวั ว่ายอยู่ตามขอบขา้ งๆ กะละมัง ส่วน
กงุ้ ทอี่ ่อนแอจะไปรวมตวั กนั เปน็ กองตรงกลาง ลกู กงุ้ ชุดนี้จะมอี ัตรารอดท่คี อ่ นข้างต่ำ

3. การกินอาหาร ลูกกุ้งที่อ่อนแอ ป่วยหรือเครียด มักจะไม่ค่อยกินอาหารหรือไม่กินอาหารเลย ถ้าส่องกล้อง
จุลทรรศน์ดูจะพบว่าระบบทางเดินอาหารจะว่างเปล่า หรือถ้ามีก็จะพร่องไม่เต็มลำไส้ ถ้าพบว่าลำไส้มีอาหาร
เตม็ ตลอด แสดงวา่ ลูกกงุ้ ชดุ นีก้ นิ อาหารเก่งจะโตเรว็ ด้วย

4. ความโปร่งใสและความสะอาดของเปลือก ลูกกุ้งที่ดีจะมีลำตัวโปร่งใสและสะอาดจะโตเร็วมาก ก้ามเน้ือ
สมบูรณ์ใส และมคี วามหนา

วิธีการทดลองว่าลูกกุ้งเหมาะกับสภาพน้ำในบ่อไหนหลังจากปล่อยไปแล้ว คือ ควรแบ่งลูกกุ้งไว้จำนวน
หนงึ่ และนำนำ้ ในบ่อมาใส่ในกะละมังไว้ ปล่อยลูกกุง้ ในกะละ

มงั และสังเกต 1 สัปดาห์ หากลกู กงุ้ ในกะละมังยงั รอดแสดงวา่

ลูกกุง้ ในบอ่ ก็รอดเชน่ กัน หากลกู กุง้ ในกะละมังตาย สันนิษฐาน

วา่ ลกู กุ้งในบ่อกต็ ายจึงต้องทำการปลอ่ ยลูกกุง้ ใหมแ่ ละทำแบบ

เดิมเพอ่ื ทดสอบความเหมาะสมของสภาพนำ้

อปุ กรณ์ในกำรเลีย้ งก้งุ 10

1.ใบพดั 6.ถังหว่ำนอำหำร
2.ทุ่นโฟม 7.ถงั ผสมอำหำร
3. ท่อแป๊ป 8.รทู๊ เคร่อื งทำอำกำศใตน้ ้ำ
4.มอเตอร์ 9.เครือ่ งดดู เลน
5.เกยี ร์

11

อำหำรและกำรให้อำหำร

การให้อาหารกุ้งขาวแวนนาไม หลักการสำคัญ คือ เนื่องจากกุ้งขาวแวนนาไม มีอัตราการ
เจรญิ เติบโตเร็ว การใหอ้ าหารลกู กุ้งในคร้งั แรกควรจะเรม่ิ ต้นท่ีนำ้ หนกั อาหาร 1 กโิ ลกรัม/ลกู กุ้ง 100,000
ตัว หลังจากนั้นให้ปรับเอาหารเพิ่มขึ้นวันละ 500 กรัม/วัน/ลูกกุ้ง 100,000 ตัว อีกประการสำคัญ
เนื่องจากกุ้งขาวเป็นกุ้งที่ตกใจง่าย ดังนั้นจึงสามารถวางยอได้ตั้งแต่วันแรกที่ปล่อยลูกกุ้งเพื่อให้ลูกกุ้งได้
คุ้นเคยกับยอ หรืออาจเริ่มวางยอเมื่อปล่อยลูกกุ้งครบ 15 วัน และการให้อาหารลูกกุ้งเมื่อเริ่มปล่อยนั้น
ควรทำการหว่ายบรเิ วณรอบบ่อ ยงั ไม่ควรใชเ้ ครื่องหว่านอาหารเน่ืองจากลูกกุ้งมักจะนยิ มอยรู่ ิมบ่อเพื่อหา
อาหารบรเิ วณริมบ่อมากกว่าการกนิ อาหารจากเครือ่ งหวา่ น ทหี่ ว่านบริเวณกลางบ่อ

กำรข้ึนทะเบียนผ้เู พำะเล้ยี งสตั วน์ ้ำ 12

รายการเอกสาร การขึ้นทะเบียนเกษตรกรผเู้ พาะเล้ียงสตั ว์น้ำ ทบ.1

1. บตั รประจำตวั ประชาชน สำเนา 1 ฉบับ (กรณีบุคคลธรรมดา)
2. หนังสือรับรองนิติบุคคล สำเนา 1 ฉบับ (กรณีผู้ยื่นคำขอเป็นนิติบุคคลออกให้ไม่เกิน 6

เดือน)
3. กรณมี อบอำนาจ

3.1สำเนาบัตรประชาชนผู้มอบอำนาจ
3.2สำเนาบตั รประชาชนผูร้ บั มอบอำนาจ
3.3หนังสือมอบอำนาจ สำเนา 1 ฉบับ (พร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง ติดอาการแสตมป์ 10

บาท)
4. โฉนดท่ีดิน สำเนา 1 ฉบับ (กรณเี กษตรกรเป็นเจา้ ของกรรมสทิ ธิ์ท่ดี นิ
5. เอกสารทีแ่ สดงว่าเกษตรกรเปน็ ผู้ท่มี ีสทิ ธิ์ใชป้ ระโยชน์ในท่ดี นิ ฉบบั จริง 1 ฉบบั
6. แบบแสดงข้อมูลที่ดนิ (ทบ.1 - 2) ฉบบั จรงิ 1 ฉบับ
7. แบบรับรองการใช้ประโยชน์ที่ดิน (ทบ.1 – 3) ฉบับจริง 1 ฉบับ (1.กรณีเกษตรกรได้

ครอบครองและใช้ประโยชน์ที่ดินโดยไม่มีสิทธิ์ได้รับเอกสารแต่มีเอกสาร ภทบ .5 และ
ภทบ.11 2.กรณีเกษตรได้ครอบครองทำประโยชน์ในที่ดินในเขตป่า หรือเขตอุทยานโดย
มิใชก่ ารครอบครองทำประโยชน์โดยการบุกรกุ )
8. หนังสือยินยอมให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน (ทบ.1 - 4) ฉบับจริง 1 ฉบับ (กรณีใช้ที่ดินของงงผู้อ่ืน
พร้อมแนบสำเนาโฉนดที่ดนิ )
9. แบบคำขอขึ้นทะเบียนเกษตรกรผูเ้ พาะเลยี้ งสัตว์นำ้ ( แบบ ทบ.1 – 1) ฉบับจริง 1 ฉบับ

ขั้นตอนกำรขอขึน้ ทะเบียนผเู้ พำะเลี้ยงสตั วน์ ำ้ 13

ตรวจสอบเอกสาร 1 วนั พิจารณา 5 วนั

- เกษตรกรยืน่ คาขอตามแบบ ทบ.1-1 พรอ้ ม - เจ้าหนา้ ท่ีที่รับผดิ ชอบประจาพื้นที่ (ประมง
เอกสารหลักฐาน อาเภอ) ไดร้ บั แจง้ เร่อื งดาเนินการนดั หมาย
เกษตรกรและเขา้ ตรวจสอบฟารม์ เพาะเลยี้ งสัตว์
- เจา้ หน้าที่ลงทะเบยี นรับคาขอตรวจสอบ น้าของเกษตรกร
และออกใบนดั รับบัตร

พจิ ารณา 2 วนั พจิ ารณา 4 วัน

- เจ้าหนา้ ท่ีลงทะเบียนรับเอกสารและตรวจ - เจ้าหน้าทีท่ รี่ ับผิดชอบประจาพืน้ ท่ี (ประมง
พจิ ารณาคาขอและเอกสารอกี คร้งั อาเภอ) สรุปรายงานผลการตรวจสอบฟาร์ม
พร้อมจัดสง่ เอกสารหลกั ฐานประกอบไปยัง
- เจา้ หน้าทีเ่ สนอเอกสารคาขอและผลการ หนว่ ยงาน(สาหนกั งานประมงจงั หวดั )ท่รี บั คาขอ
ตรวจสอบฟาร์มใหผ้ ู้มีอานาจเพอ่ื พิจารณา
อนุมตั ใิ ห้ข้นึ ทะเบียน

พิจารณา 3 วนั ลงนาม 1 วัน

- เจา้ หน้าที่ดาเนินการบนั ทึกรายช่ือและขอ้ มลู - ผ้ทู ีม่ ีอานาจลงนามในบตั รประจาตัว
เกษตรกรลงระบบฐานข้อมูลของกรมประมง เกษตรกร

- เจ้าหนา้ ทเ่ี สนอผู้มอี านาจเพ่ือพจิ ารณาลงนาม
ในบัตรประจาตวั เกษตรกร

ช่องทำงกำรจำหน่ำย 14

กุ้งขาวแวนนาไมมชี ่องทางการจำหน่ายท่หี ลากหลาย มีดังน้ี

1. แพกุ้ง การจำหนา่ ยกุ้งให้กับแพกุ้งเป็นการขายเหมาบ่อโดยการสุ่มกุ้งก่อนทำการซื้อขาย 1-2 วัน โดย
แพกุ้งจะมีการติดต่อมาและทำการสุ่มจำนวนกุ้งว่าอยู่ในระดับไซส์ใด ตัวอย่างเช่น หากมีการสุ่มได้ 40
ตวั / 1 กโิ ลกรัม แพกงุ้ ตีราคาให้ 260 บาท/กิโลกรัม เกษตรกรก็จะไดร้ าคานนั้ เหมาบ่อ
ข้อดี การจำหน่ายช่องทางนี้สะดวก ง่ายตอ่ การจำหน่าย ไดร้ าคาท่ีคงตัว
ขอ้ เสีย การจำหนา่ ยชอ่ งทางนีม้ กั ไดร้ าคาทต่ี ่ำเน่อื งจากแพกุ้งตอ้ งนำไปขายสูต่ ลาดให้กับพ่อค้าแม่ค้าปลีก
อกี ครัง้

2. พ่อค้ำ – แม่ค้ำปลีก การจำหน่ายกุ้งให้กับพ่อค้าแม่ค้าปลีกจะไม่นิยม เนื่องจากการจำหน่าย
รูปแบบนี้คือหากมีการติดต่อขอซื้อจะไม่ซื้อเหมาบ่อ แต่จะเหมาเป็นกิโล เช่น 50-100 กิโลกรัมเพื่อนำไป
จำหนา่ ยใหก้ บั ผู้บรโิ ภค เกษตรกรจงึ ต้องทำการเหว่ยี งแหกุ้งเพ่ือจำกุง้ ข้ึนมาในจำนวนกโิ ลทีพ่ ่อคา้ ต้องการ
ขอ้ ดี การจำหนา่ ยชอ่ งทางน้ีจะไดร้ บั ราคาท่ดี ีกว่าการจำหนา่ ยให้กบั แพกงุ้
ขอ้ เสยี การจำหนา่ ยชอ่ งทางนเี้ สี่ยงทำให้ก้งุ ตาย เนอื่ งจากการเหว่ยี งแหแต่ละครงั้ จะกระทบกับกุ้งท่ีอยู่ใน
บอ่ ด้วย ทำให้หลังจากเหว่ียงอาจส่งผลใหก้ ุง้ มีอาการชอ็ คและตายได้

3. สง่ ออกต่ำงประเทศ การจำหนา่ ยรปู แบบนเ้ี หมาะกบั ผทู้ ี่มบี อ่ จำนวนมากเนื่องจากการส่งออกกุ้งไป
ยังต่างประเทศต้องอาศัยการบรรจุใส่ห้องเย็นโดยทั่วไปหากกุ้งมีจำนวนบ่อไม่เพียงพอต่อห้องเย็นหรือตู้
คอนเทนเนอร์ในรอบการจัดส่งนั้นจะต้องอาศัยการแชร์ตู้ตอนเทนเนอร์กับเกษตรกรผู้ส่งออกกุ้งรายอ่ื น
แต่การส่งออกกุ้งขาวแวนนาไมไปยังต่างประเทศมีให้พบบ่อยเพราะมีเกษตรกรที่ส่งออกกุ้งเป็นจำนวน
มาก
ขอ้ ดี การจำหน่ายช่องทางนี้มีรายได้ดีและสูงกว่าช่องทางการจำหน่ายแบบอืน่
ข้อเสยี ตอ้ งมีการตรวจมาตรฐานต่างๆอย่างละเอยี ด ได้คา่ ตอบแทนคอ่ นข้างช้า ตน้ ทุนสงู

โรคตดิ เช้ือไวรสั ทส่ี ำคัญของกงุ้ ขำวแวนนำ 15
ไโมรคทอรำ่

สาเหตขุ องโรค : เชื้อไวรสั Taura Syndrome Virus ชนดิ RNA ชอ่ื TSV

อาการ : พบ 3 ระยะ ได้แก่ ระยะรุนแรง มีสีแดงเข้มที่เปลือกกุ้ง โดยเฉพาะบริเวณแพนหาง และรยางค์อ่ืน
บริเวณหางมีสีแดงเขม้ กว่าปกติ ลำตัวมีสีแดง ลอกคราบแลว้ นมิ่ ตาย ระยะฟื้นตัว กุง้ ทีร่ อดตายจากการติด
เช้ือ จะมรี อยแผลสดี ำท่ีเปลอื ก ระยะเร้อื รงั กุ้งลอกคราบสำเร็จ ไม่พบจดุ สดี ำ แต่กงุ้ กลายเปน็ พาหะนำโรค

การระบาดของโรค : พอ่ แม่พนั ธ์ุ พาหะ น้ำ

การรักษา : ยังไม่พบวิธีการรักษาที่แน่นอน แต่สามารถป้องกันได้โดยวิธีการดูแลนำ้ ให้สะอาดและตรวจเชค็
คา่ pH บ่อยๆ

โรคขี้ขำว
สาเหตขุ องโรค : เช้ือแบคทเี รยี กลมุ่ Vibrio

อาการ : กินอาหารลดลง ตัวหลวมกรอบแกรบ โตช้าแตกไซด์ มีขี้ขาวลอยให้เห็นเป็นจำนวนมากบริเวณผิว
นำ้

การระบาดของโรค : คณุ ภาพไม่ดี พื้นบ่อเนา่ เสยี เหมาะกับการเจริญเติบโตของเชอ้ื โรค

การรักษา : ดูแลคุณภาพน้ำและพื้นบ่อให้ดีสม่ำเสมอ ใส่จุลินทรีย์ปรับสภาพน้ำเป็นประจำ ใช้โปรไบโ อติก
ผสมอาหารให้กุ้งกินเปน็ ประจำทุกวัน

รปู ภำพประกอบ 16

รูปภาพประกอบโรคทอร่า

รปู ภาพประกอบโรคขีข้ าว

17

โรคติดเช้อื ไวรสั ทส่ี ำคัญของกงุ้ ขำวแวนนำ

โรค EMS
สาเหตขุ องโรค : เชื้อแบคทีเรยี กล่มุ Vibrio

อาการ : กงุ้ สีซีด ตัวขาวขนุ่ เปลอื กน่มิ ตับฝ่อ

การระบาดของโรค : คณุ ภาพนำ้ ไมด่ ี พน้ื บ่อเนา่ เสยี เหมาะกับการเจรญิ เตบิ โตของเชอ้ื โรค

การรกั ษา : เนือ่ งจากเกดิ การตายอยา่ งรวดเรว็ จึงไมส่ ามารถรกั ษาทนั แตป่ อ้ งกนั ได้โดยการรกั ษาคณุ ภาพนำ้
ไม่ใหม้ ขี องเสียจนส่งผลตอ่ ค่า pH ของนำ้

โรคเรืองแสง
สาเหตุของโรค : เช้ือแบคทีเรยี Vibrio Harveyi

อาการ : เรืองแสงในเวลากลางคนื ลอยขอบบ่อ พบการตายสูงในกุง้ วยั อ่อนถงึ วัยรุ่นกินอาหารลดลง

การระบาดของโรค : คณุ ภาพนำ้ ไม่ดี พืน้ บอ่ เนา่ เสีย เหมาะกบั การเจรญิ เติบโตของเชื้อโรค

การรกั ษา : ใส่ยาฆา่ เช้ือในบอ่ ใชย้ าปฏิชีวนะทกี่ รมประมงกำหนดผสมอาหารให้กินดูแลคณุ ภาพน้ำและพน้ื บอ่
ให้ดสี ม่ำเสมอ

โรควบิ ริโอ
สาเหตุของโรค : เชือ้ แบคทีเรยี กลุ่ม Vibrio ไดแ้ ก่ V.harveye, V.parahaemolyticus, V.alginolyticus

อาการ : ตบั อักเสบซดี เหลอื งโต หางกรอ่ น กนิ อาหารลดลง ทยอยตาย

การระบาดของโรค : คณุ ภาพนำ้ ไม่ดี พื้นบ่อเนา่ เสีย เหมาะกับการเจรญิ เติบโตของเชือ้ โรค

การรักษา : ใสย่ าฆ่าเชือ้ ในบอ่ ใชย้ าปฏชิ วี นะท่กี รมประมงกำหนดผสมอาหารใหก้ นิ ดแู ลคณุ ภาพน้ำและพน้ื บอ่
ให้ดสี มำ่ เสมอ

รปู ภำพประกอบ 18

โรค EMS ปกติ

รูปภาพประกอบโรค EMS

รปู ภาพประกอบโรคเรอื งแสง
รูปภาพประกอบโรควบิ รโิ อ

ภมู ปิ ัญญำควำมรู้กำรเลีย้ งกุ้งในจงั หวัดสมุทรสำคร 19

เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงกุ้งในจังหวัดสมุทรสาคร คุณครรชิต มะขามป้อม (คุณน้าเจี๊ยบ) ได้ประกอบ
ธรุ กจิ การเพาะเล้ียงกงุ้ มาเปน็ เวลา 5 ปี ได้เผยแพรค่ วามรู้ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นของเกษตรกรผูเ้ พาะเล้ยี งกุ้งขาว
แวนนาไมใน จังหวัดสมุทรสาคร ดงั ตอ่ ไปน้ี

1) การงดการใหอ้ าหารกุ้งในวันพระ
โดยมีความเชื่อว่าวันพระคือวันที่มีการลอกคราบของกุ้งถือเป็นวันลอกคราบใหญ่ การอดอาหาร
ของกงุ้ นน้ั จะทำให้กงุ้ ไม่ลอกคราบมากจนเกิดไป เพราะถา้ หากกงุ้ มกี ารลอกคราบท่ีมากเกินไปจะ
สง่ ผลใหร้ า่ งของกุ้งน้ันเกดิ การออ่ นแอและตายได้ในที่สดุ

2) การใชจ้ ุลนิ ทรียใ์ นการฆา่ เชือ้
โดยใช้จุลินทรีย์ในการสังเคราะห์แสงทดแทนการใช้ยาฆ่าเชื้อที่เป็นสารเคมีเพื่อลดการใช้ยาเคมี
กบั กงุ้ เพราะห่วงผลกระทบทีจ่ ะส่งผลตอ่ กุ้งในอนาคตจงึ ไดท้ ำการใช้จลุ ินทรยี ผ์ สมน้ำและตากแดด
เพ่อื เปน็ การฆ่าเชอ้ื ในนำ้ แทน

3) การใช้นมวัว 100% บำรงุ ตับ
โดยการนำนมวัว 100% ผสมกับอาหารกุ้งก่อนจะนำไปให้กุ้งเพราะนมวัวจะช่วยในการบำรุงตับ
และป้องกันโรคขี้ขาวได้ โดยปริมาณสัดส่วนการผสมนมและอาหาร คือ นมวัว 100% ปริมาณ
250 มล. จำนวน 3 กลอ่ ง ต่อ อาหารกุ้งปริมาณ 25 กโิ ลกรมั 1 กระสอบ

คณุ ครรชติ มะขำมปอ้ ม (น้ำเจ๊ยี บ)
เกษตรกรผู้เพำะเลย้ี งกุ้งขำวแวนนำไมจังหวดั สมุทรสำคร

วิธแี กะเปลอื กกงุ้ สด แบบง่ำย 20

อุปกรณท์ ่คี วรมี • ไมจ้ ิ้มฟนั
• กรรไกรตัดแต่งอาหาร
• กาละมังแช่กุ้ง ใสน่ ้ำแขง็
• ช้อนสัน้ ชอ้ นสเตนเลส
• มีด

วธิ ที ่ี 1 แบบใช้ชอ้ นสเตนเลส
1. นำกงุ้ มาล้างทำความสะอาดใหเ้ รียบรอ้ ย จากนน้ั นำกงุ้ มาแช่นำ้ และใสน่ ำ้ แข็ง

2. ดงึ หวั กุ้งออกจากนนั้ ใชช้ อ้ นสเตนเลสสอดเขา้ ไปที่ดา้ นหลังขอ้ สดุ ทา้ ยของกงุ้ ดันชอ้ น
เขา้ ไปแลว้ บดิ ช้อน

3. นำมดี มาผา่ หลังกุ้ง แล้วดังเอาเส้นดำออก

วิธที ่ี 2 แบบใช้กรรไกรตัดแต่งอำหำร
1. นำกงุ้ มาลา้ งทำความสะอาดใหเ้ รียบรอ้ ย จากน้นั นำก้งุ มาแช่นำ้ และใส่นำ้ แขง็

2. ใช้กรรไกรตดั แตง่ อาหาร สอดเขา้ ไปท่ดี า้ นบนของกุ้ง

3. แกะเปลือกและเสน้ ดำออก

วธิ ที ่ี 3 แบบใช้ไม้จ้ิมฟนั
1. นำกุง้ มาล้างทำความสะอาดใหเ้ รียบรอ้ ย จากน้นั นำกุ้งมาแช่นำ้ และใสน่ ้ำแข็ง

2. ดึงหวั กุง้ ออกจากน้ันใช้ช้อนสเตนเลสสอดเขา้ ไปท่ีด้านหลงั ขอ้ สุดทา้ ยของกุ้ง ดันชอ้ นเข้าไป
แลว้ บดิ ช้อน (ตามคลปิ )

3. นำไม้จม้ิ ฟันหรอื ไมเ้ สยี บลกู ช้นิ แหย่เขา้ ไปทขี่ ้อที่ 2 ของกุง้ แลว้ งดั ขนึ้

4. เส้นดำจะโผลอ่ อกมา จากนัน้ ค่อยๆ ดึงเส้นดำออกมา

เมนอู ำหำรจำกกุ้งขำวแวนนำไม 21

กุ้งผดั พริกเผำ
สว่ นผสมสาหรบั ทากงุ้ ผัดพรกิ เผา

• กุ้งสด ขนาด 20 ตัวกิโล ประมาณ 10 ตัว • พรกิ บด 1 ชอ้ นชา
• ตนั หอมหน่ั หยาว ขนาด 1 น้ิว 2 ช้อนโต้ะ • กระเทยี มบด 1 ช้อนชา
• หอมหัวหญซ่ อย 2 ช้อนโตะ้ • นำ้ พริกเผา 2 ชอ้ นโตะ้
• พรกิ ชฟี า้ ซอยเฉยี ง 2 ชอ้ นโตะ้ • น้ำตาลป๊ีบ 1 ชอ้ นชา
• นำ้ มนั พืช 1 ช้อนโต้ะ • น้ำปลา 1 ช้อนโต้ะ
• ใบโหระพา 1 กำมอื

วธิ ที ำกุ้งผดั นำ้ พรกิ เผำ
1.ตงั้ กระทะน้ำมนั ใหร้ อ้ น นำเนอ้ื กุง้ ลงไปผดั ใหส้ ุก จากนัน้ นำเนือ้ กุ้งลงมาพักไว้กอ่ น

2.ใสพ่ ริกและกระเทยี มบดลงไปผัด ให้หอม จากนัน้ ใส่นำ้ พรกิ เผาลงไปผดั ปรงุ รสดว้ ย นำ้ ตาลและ
น้ำปลา

3.ใส่หอมใหญ่ ต้นหอม พรกิ ชีฟ้ า้ ซอย ใบโพระพา และ กุ้งลงไปผัด ผดั ใหห้ อมใหญส่ ุด ก็สามารถเส
ริฟได้ หากน้ำแห้งเกินใหเ้ ตมิ นำ้ เปลา่ ลงนิดหน่อย

4.เสรฟิ กุ้งผดั น้ำพรกิ เผา ทานกบั ข้าวหอมมะลริ อ้ นๆ กบั ข้าว แบบง่ายๆ เมนูก้งุ ผัด

เมนูอำหำรจำกกงุ้ ขำวแวนนำไม 22

กุ้งแช่นำ้ ปลำ

ส่วนผสมสำหรบั ทำกุ้งแช่นำ้ ปลำ

• กงุ้ สด • ใบสะระแหน่
• มะระดบิ • ใบโหระพา
• ผกั ชี • มะนาว
• น้ำโซดา • น้ำปลา
• น้ำปลา • นำ้ ตาลทราย
• พรกิ ขห้ี นู • นำ้ ตาลป๊ีบ
• กระเทยี ม

วธิ ที ำกุ้งแชน่ ำ้ ปลำ
1.นำก้งุ สดที่ลา้ งให้สะอาดแล้วมาแกะเปลอื กออกและกรีดเอาเส้นสดี ำทหี่ ลังกุ้งออก

2.นำมาหมกั ดว้ ยน้ำโซดาและนำ้ ปลา ตอ่ จากน้ันให้นำไปแช่ในชอ่ งแช่แข็ง

3.ฝานมะระใหเ้ ปน็ แว่น ๆ

4.ปรุงน้ำจิ้มซีฟดู้ โขลกพรกิ ขห้ี นู ใบโหระพา ใบสะระแหนแ่ ละกระเทยี มใหล้ ะเอยี ด

5.ใส่น้ำมะนาว นำ้ ปลา นำ้ ตาลทรายและน้ำตาลปบ๊ี คนใหเ้ ขา้ กนั หลงั จากนน้ั ให้ใส่พริกข้หี นูซอย
ใบโหระพา ใบสะระแหนส่ บั และกระเทยี บสบั ลงไป คนใหเ้ ขา้ กนั อีกที

6.จดั กุง้ สดให้สวยงาม ตกแตง่ ด้วยมะระฝาน

7.เทนำ้ จม้ิ ซีฟดู้ ลงในจานกุ้งแชน่ ้ำปลา ตกแตง่ ด้วยใบโหระพา ผกั ชีสดและกระเทยี มฝาน

ประวตั ิผ้วู จิ ัย 23

นางสาว ทพิ ยา พรหมชนะ รหัสนกั ศึกษา 624479014
หลกั สูตรบรหิ ารธรุ กิจบณั ฑิต
สาขาธรุ กิจระหวา่ งประเทศ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครปฐม

นาย สดายุ จานแก้ว รหัสนกั ศกึ ษา 624479043
หลักสูตรบรหิ ารธรุ กิจบณั ฑติ
สาขาธรุ กิจระหว่างประเทศ
มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครปฐม

นางสาว ธนชั ชา มะขามปอ้ ม รหสั นกั ศกึ ษา 624479059
หลักสูตรบริหารธรุ กจิ บณั ฑิต
สาขาธรุ กิจระหวา่ งประเทศ
มหาวิทยาลยั ราชภัฎนครปฐม


Click to View FlipBook Version