นางสาวพิชญา อองกลุ นะ
ตาแหน่ง ครูผ้ชู ่วย
โรงเรียนขุนห้วยตากพัฒนาศึกษา
สงั กัดสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 1
112
โรงเรียนขนุ ห้วยตากพัฒนาศกึ ษา
สงั กัดตาสมทา่ี นก.คัก.ศง.ไาดน้กาเหขนตดหพลกัืน้ เกทณ่ีกฑาแ์ ลระศวธิ ึกกี ษารพาฒัปนราตะนถเอมงแศลกึ ะวษชิ าาชตพี คารกู (วเ2ข2/ต25610) เมอื่ วนั ท่ี 5 กรกฎาคม
2560 ข้อ 1. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต้องได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทกุ ปี โดยให้ประเมินตนเอง
ตามแบบ ที่ ก.ค.ศ. กาหนด พร้อมทั้งจัด ทาแผนการพัฒนาตนเองเป็นรายปี ตามแบบที่ส่วนราชการกาหนด และเข้า
รับการพัฒนาตามแผนอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่องฉะนั้น ก่อนจะเลือกหลักสูตรคูปอง ครูจะต้องประเมินตนเอง
จัดทาแผนพัฒนาตนเอง เพ่อื ให้ผู้บริหารอนุมตั ิหลักสูตร ตาม ID Plan
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กาหนดแผนการพัฒนาตนเองของข้าราชการครู (ID Plan :
INDIVIDUAL DEVELOPMENT PLAN) สาหรับข้าราชการครูในสังกัดไว้ในเอกสารแนวทางการปฏิบัติงานตามโครงการ
พัฒนาคูปองครูรูปแบบครบวงจร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563 มสี าระประกอบดว้ ย
ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล ประกอบด้วยชื่อ - ชื่อสกุล วิทยฐานะ วุฒิการศึกษา วันเดือนปีที่เข้ารับราชการ
โรงเรียน สังกัด อายุราชการ ขั้นและอัตราเงินเดือน สถานที่ทางาน งานในหน้าที่รับผิดชอบ งานที่ได้รับมอบหมาย
ผลงานท่เี กดิ จากการปฏิบตั ิหน้าท่ใี นตาแหน่งปัจจุบนั รายละเอยี ดการพัฒนาตนเอง ประวตั กิ ารเขา้ รับการพัฒนา (ใน
รอบ 2 ปที ผ่ี า่ นมา)
ส่วนที่ 2 ความต้องการในการพัฒนา ประกอบด้วยสาระ หลักสูตรที่ต้องการพัฒนา เพราะเหตุใดท่านจึง
ต้องการเข้ารับการพัฒนาในหลักสูตรนี้ ท่านคาดหวังสิ่งใดจากการเข้ารับการพัฒนาในหลักสูตรนี้ ท่านจะนาความรู้
จากหลกั สตู รไปพัฒนาการสอนของทา่ นอย่างไร
เมื่อครูได้ไปเข้ารับการพัฒนามาแล้วต้องรายงานผลการอบรม ตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร
ปกี ารศึกษา 2563 ของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ตามระเบยี บราชการตอ่ ไป
1. ข้อมลู ท่ัวไป
ชอ่ื -สกุล นางสาวพิชญา อองกุลนะ ตาแหน่ง ครผู ูช้ ว่ ย วิทยฐานะ -
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เลขที่ตาแหน่ง 1114 เงินเดือน 16,320 บาท เงนิ วทิ ยฐานะ - บาท
วนั / เดอื น / ปี เกดิ 12 ตลุ าคม พ.ศ.2536 อายุ 27 ปี
วนั / เดือน / ปี ที่บรรจุ 16 ธนั วาคม พ.ศ.2562 อายรุ าชการ/ประสบการณก์ ารทางาน 1 ปี 2 เดือน
วุฒิการศกึ ษา
ปรญิ ญาตรี ก.ศ.บ. วชิ าเอกคอมพิวเตอร์ จากมหาวทิ ยาลัยนเรศวร
ปรญิ ญาโท................ วชิ าเอก จาก...............................................
ปรญิ ญาเอก.............. วิชาเอก จาก...............................................
อ่นื ๆ ระบุ................. วิชาเอก จาก...............................................
สถานทท่ี างาน สงั กดั จงั หวดั
สถานศึกษา/ หนว่ ยงาน สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตาก ตาก
เขต 1
พ.ศ. โรงเรยี น
2562 ขนุ ห้วยตากพฒั นาศึกษา
2. วิชา/สาขา/กลุ่มสาระการเรยี นรูท้ ี่ทาการสอน
ภาคเรียน ชือ่ วิชา ชน้ั จานวนชวั่ โมง/
สัปดาห์
1 วิทยาการคานวณ ป.4-ม.3 9
ภาษาไทยเพิม่ เติม ป.4 1
แนะแนว 1
ลดเวลาเรียน ป.4-ป.6 5
กิจกรรมชมรม ป.4-ป.6 1
ยวุ กาชาด ป.3-ป.6 1
ป.1-ป.6
รวม 18
3. ผลงานท่ีเกดิ จากการปฏบิ ัตหิ น้าทใี่ นตาแหนง่ ปัจจุบัน (ย้อนหลงั ไมเ่ กิน 5 ปี)
1. ผลท่เี กิดจากการจัดการเรียนรู้
ได้ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับนักเรียน มีการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง โดยใช้แฟ้มสะสม
ผลงาน ชิ้นงาน แบบฝึกทักษะ โดยการวัดผลประเมินผลดังกล่าวครอบคลุมทุก ๆด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ การปฏิบัติ
กระบวนการและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียนทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย
อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสติปญั ญา และมคี ุณธรรม จริยธรรม ท้งั นเ้ี พอ่ื ใหน้ ักเรยี นมีพัฒนาการท่ีดี มีคุณลักษณะที่พึง
ประสงค์ ตลอดจนมีการบันทึกหลังการจัดกิจกรรมการสอนอย่างสม่าเสมอ ทั้งนี้เพื่อจะไดช้ ่วยแก้ไขขอ้ บกพร่องใหก้ บั
นักเรยี นทม่ี ีปัญหา สามารถสรปุ ผลการดาเนนิ งานได้ดังนี้
1.1 มีแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาพื้นฐาน วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และในรายวิชาเพิ่มเติม
เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ที่มีการวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา
มาตรฐานการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง
1.2 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการปฏิบัติ (Active Learning) โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญด้วยกิจกรรมที่
หลากหลายและสอดคลอ้ งกับธรรมชาติวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1.3 มแี นวทางในการบริหารจัดการชน้ั เรยี นและจดั บรรยากาศในชนั้ เรียนท่ีเหมาะสมและช่วยส่งเสรมิ การ
เรียนรขู้ องนักเรยี น
1.4 มีเครื่องมือการวัดและประเมินผลที่มีคุณภาพ ผ่านการหาคุณภาพเครื่องมือวัดผลเบื้องต้น และมีความ
หลากหลายในการประเมินอย่างรอบด้าน ทั้งด้านความรู้ ด้านทักษะและกระบวนการ และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รวมไปถึงสมรรถนะทส่ี าคัญของผู้เรียน
1.5 มีการแก้ปัญหาในชั้นเรียนด้วยกระบวนการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การศึกษาผลการใช้เทคนิคการ
เสริมแรงโดยใช้สมุดสะสมแสตมป์ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และการส่งงานในรายวิชาวิทยาการคานวณ
สาหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนขุนหว้ ยตากพฒั นาศึกษา
1.6 มีสื่อการเรียนรู้ และแหล่งการเรียนสาหรับใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ และให้นักเรียนไว้สืบค้นเพิ่มเติม
เชน่ เอกสารประกอบการเรียน ส่ือสไลด์ คลปิ วิดีโอ
1.7 ใช้ระบบ e-mail Address ในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ และการสื่อสารกับผู้เรียน ใช้อินเทอร์เน็ต และ ICT
เพ่อื การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน
1.8 ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนประเมินความพึงพอใจหลังจาก
สอนโดยหาค่าคะแนนเฉล่ีย (X) และค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.)
2. ผลทเ่ี กดิ จากการพัฒนาวิชาการ
ผลที่เกิดจากการพัฒนาทางด้านวิชาการ พัฒนาผู้เรียนด้านคุณธรรม จริยธรรม ความมีวินัยในตนเอง
ตลอดจนจัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ อีกทั้งข้าพเจ้าเป็นผู้สนใจใฝ่รู้ โดยได้ศึกษาหาความรู้วิทยาการใหม่ ๆ มา
พัฒนางานตนเองและเป็นแบบอย่างให้เพื่อนร่วมงาน มีวิสัยทัศน์ กล้าพูดกล้าตัดสินใจ มีความรับผิดชอบต่องานใน
หน้าที่ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค มีความเอาใจใส่ต่องานในหน้าที่และยังให้คาแนะนา สนับสนุนเพื่อนครูทั้งในและนอก
สถานศึกษาในด้านข้อมูล ข่าวสาร ท่ีเป็นประโยชน์ต่อทางราชการให้การสนับสนุนด้านวชิ าการโดยเป็นวิทยากรอบรม
พัฒนาสือ่ การเรยี นการสอน โดยใช้ส่ือมลั ติมีเดยี และเทคโนโลยีเป็นส่ือในการพัฒนานักเรียนเข้าแข่งขันงานทักษะทาง
วิชาการอย่างสม่าเสมอทุกปี ซึ่งมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ มีการเข้ารับการอบรมต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก
สถานศกึ ษา เพื่อพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ สามารถสรุปผลการดาเนนิ งานได้ดังน้ี
2.1 มีกิจกรรมและการแข่งขันที่ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ใช้ความคิดและทักษะที่ได้ ฝึก
ประสบการณ์มา เช่น การแข่งขัน การใช้งานโปรแกรมกราฟิก การสร้างสื่อมัลติมีเดีย การสร้างงานนาเสนอ การ
ออกแบบส่ิงของเครอื่ งใชด้ ว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในรายการต่าง ๆ เช่น งานศิลปหตั ถกรรมในระดับตา่ ง ๆ
2.2 มีกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาในห้องเรียนกับกิจกรรมที่ทาในระบบจัดการชั้นเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยี
ของ Google เชน่ Google Classroom และ Google Site ซึง่ เปน็ การบรู ณการเน้ือหาในห้องเรยี นผ่านกิจกรรมตา่ ง ๆ ใน
รายวชิ า ซ่งึ ผูเ้ รียนมีผลงานมากมาย
2.3 มกี ิจกรรมชมุ นุม ชมรมและให้บริการอินเทอร์เนต็ สาหรบั นกั เรยี นท่สี นใจในศาสตร์ต่าง ๆ ทเี่ ก่ยี วกบั
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
2.4 ครูมคี วามเขา้ ใจในการนากระบวนการ PLC เขา้ มาใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
2.5 การนาความรู้ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาระบบการจัดการเรยี นรู้ได้
2.6 การนาวิธกี ารวจิ ัยและพัฒนามาแก้ปัญหา พร้อมทง้ั พัฒนางานอย่างครบวงจร
3. ผลที่เกดิ กับผ้เู รยี น
ได้ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการให้นักเรียนได้ฝึกการปฏิบัติจริง
เพื่อให้นกั เรยี นไดม้ ีทักษะต่าง ๆ ตลอดจนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมท่ีดงี าม ความมีวนิ ัยในตนเอง ส่งผลให้ผู้เรียนมี
คุณธรรมจริยธรรม มีวินัยในตนเอง มีสมั มาคารวะ มีมารยาทตามวฒั นธรรมไทย มคี วามสามารถในการใช้ภาษาในการ
สื่อสาร และการมีจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้เรียนสามารถนาความรู้ความเข้าใจและทักษะไป
บูรณาการ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันเป็นการเพิ่มพูนสมรรถนะตนเองใหม้ ากขน้ึ สามารถสรุปผลการดาเนินงาน
ได้ดงั น้ี
3.1 นกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามเกณฑท์ กี่ าหนด
3.2 นักเรียนมีระดับทักษะและกระบวนการทางเทคโนโลยี ผา่ นเกณฑ์ทีค่ รูผ้สู อนกาหนดไว้
3.3 นกั เรียนมรี ะดับคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ผา่ นทีเ่ กณฑท์ ค่ี รูผสู้ อนกาหนดไว้
3.4 นกั เรยี นมชี น้ิ งาน/ผลงาน ที่สะท้อนความคิดขนั้ สงู เชน่ การคิดวเิ คราะห์ การสงั เคราะห์ การประเมินคา่
และความคดิ สร้างสรรค์ชั้นงาน โดยใช้ความร้แู ละเน้ือหาทางเทคโนโลยี
3.5 นกั เรยี นสามารถคน้ ควา้ หาความรู้จากแหลง่ เรยี นรูท้ ่ีครูไดร้ วบรวมและแนะนาใหไ้ ด้อย่างถูกต้อง
4. ผลที่เกิดกับสถานศกึ ษา
จากการที่สถานศึกษามีแผนกลยุทธ์ในการพัฒนา มีเป้าหมาย มีทิศทางในการดาเนินงานเพื่อพัฒนา
สถานศึกษา นักเรียน โดยมีการจัดกิจกรรม โครงการต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งนักเรียนและครูมีส่วนร่วมในการ
ปฏิบัติกิจกรรม ทาให้ผลการดาเนินงานเป็นที่ยอมรับของผู้ปกครอง ชุมชน ท้องถิ่น ตลอดจนการจัดทาสื่อ
ประชาสัมพันธ์ตา่ ง ๆ เช่น เพจประชาสัมพันธ์โรงเรียน และเว็บไซต์ประชาสัมพันธแ์ ละแหล่งข้อมูลเพือ่ สืบค้นสาหรบั
ครแู ละนกั เรียน เพอื่ ให้โรงเรียนมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางทีด่ ีขึ้น และให้การดูแลนักเรียนโดยการเย่ียมบ้านนักเรียน
ในความดูแล และให้คาแนะนาในดา้ นต่าง ๆ ให้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง ได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองและชุมชน
ในด้านการดูแลเอาใจใส่ของครูที่มีต่อนักเรียนในด้านการจัดการดูแลด้านพฤติกรรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้าน
กริ ิยา มารยาท ความมีวินัยในตนเอง ความรับผดิ ชอบ สามารถสรปุ ผลการดาเนินงานได้ดงั น้ี
4.1 มีการพัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมลูกเสือและชุมนุมที่จัดให้สอดคล้องกับหลักสูตรและผู้เรียน
เปน็ ศนู ย์กลาง
4.3 มรี ะบบการทางานทเ่ี ป็นทีม และมีแนวทางการทางานที่เปน็ ข้นั ตอนชัดเจน
4.4 มรี ะบบจดั การชนั้ เรยี นออนไลน์ด้วยเทคโนโลยี Google คอื Google Classroom และ Google Site ใน
ทุก ๆ รายวชิ าที่เป็นเทคโนโลยสี ารสนเทศ
4.5 การนิเทศติดตามผลการปฏิบัติงานของครูทาให้การปฏิบัติงานมีความสมบูรณ์ และเป็นไปตามเวลาท่ี
กาหนด
4.6 มีระบบการทางานเป็นทีมมากขึน้
4.7 มีแนวปฏบิ ัติด้านเอกสาร หลักฐานทางการศึกษาที่ถูกต้อง
4.8 การพฒั นางานมรี ะบบถกู ตอ้ งและครบวงจร
5. ผลท่ีเกิดกับชุมชน
สถานศกึ ษามสี ่วนรว่ มกับชมุ ชน ในกิจกรรมต่าง ๆ ตลอดปีการศกึ ษา โดยเฉพาะกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกบั วัฒนธรรม
ประเพณี และพิธีกรรมทางศาสนา ตลอดจนกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ กิจกรรมวันสาคัญ จนทาให้เกิดความร่วมมือ
ความเขา้ ใจท่ีดตี ่อกัน เกดิ ความรักและความภาคภูมิใจในโรงเรยี นและท้องถ่ิน นอกจากน้โี รงเรยี นยังไดจ้ ัดกจิ กรรมการ
ประชุมผู้ปกครอง ประชุมคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในแต่ละภาคเรียนเพื่อชี้แจงนโยบายของโรงเรียน และ
เพื่อหาแนวทางในการร่วมพัฒนาโรงเรียน ทั้งพัฒนาอาคารสถานที่ และพัฒนาทางวิชาการให้เป็นไปในทางทิศทาง
เดียวกัน สามารถสรปุ ผลการดาเนนิ งานไดด้ ังนี้
5.1 เกิดความสัมพนั ธ์ทด่ี ีกบั ผ้ปู กครองนกั เรยี น และชมุ ชน มีการประชุมทกุ ภาคเรียน
5.2 มกี ิจกรรมทางสงั คมในด้านต่าง ๆ รว่ มกบั ชมุ ชนอย่างสม่าเสมอ
5.3 เปน็ แหลง่ เรียนรทู้ ส่ี ามารถให้บคุ คลภายนอกเข้ามาศึกษาได้
5.4 มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้ทางเครือขา่ ยวชิ าการ และชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี
5.5 เข้ารว่ มเป็นสมาชิกเครือข่ายแลกเปล่ยี นเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ทาง Facebook และ Line@
5.6 รว่ มการประกวดแขง่ ขนั ทักษะวิชาการ ระดบั เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา ปีการศึกษา 2562
5.7 โรงเรยี นให้บริการแหลง่ เรยี นรูแ้ ก่ชุมชนในดา้ นตา่ ง ๆ รวมท้ังสง่ เสริม สนับสนุนใหช้ มุ ชนมคี วามเข้มแข็ง
อีกท้ังชุมชนยงั ใหค้ วามรว่ มมือและสนับสนุนกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของโรงเรียนดว้ ยดี
งานที่ไดร้ ับมอบหมาย
1. ภาคเรียนท่ี 1 ปฏิบัติหน้าทคี่ รูทป่ี รกึ ษานกั เรยี นระดับชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3ข ภาคเรียนที่ 2 ปฏบิ ัตหิ นา้ ทคี่ รูท่ี
ปรกึ ษานักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2ข
2. ปฏบิ ตั กิ ารสอนกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นท่รี ับผดิ ชอบ
- กิจกรรมยุวกาชาด จานวน 1 ชวั่ โมง / สปั ดาห์
- กจิ กรรมชุมนุม จานวน 1 ชวั่ โมง / สปั ดาห์
3. ปฏิบัติการหน้าท่ี ครเู วรประจาวันศุกร์
4. ปฏิบัติการหนา้ ท่ีผชู้ ว่ ยงานโครงการอาหารกลางวัน
5. ปฏิบตั กิ ารหน้าทฝ่ี า่ ยงานประชาสมั พันธ์
6. ปฏิบตั ิการหนา้ ท่ีผูช้ ว่ ยงานวดั ผลและประเมินผล
7. ปฏิบัติหนา้ ที่อ่ืน ๆ ตามคาสง่ั ของโรงเรียน
ตอนที่ 1 ผลการประเมนิ ตนเองตามกรอบของ กคศ. ระดับความรู้
ดา้ นที่ 1 ความรู้ความสามารถในการปฏบิ ตั งิ านในหนา้ ท่ี มาก ปานกลาง นอ้ ย
รายการพจิ ารณา
1. เนื้อหา ในรายวชิ า/กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ทสี่ อน
2. วิธีสอน ถ่ายทอดความรู้เชิงเนื้อหา กิจกรรม บริบท เป้าหมายการเรียนรู้
ความร้พู ้ืนฐาน การปรบั พ้นื ฐาน และอุปสรรคการเรียนรู้ของผูเ้ รยี น
3. หลักการสอน และกระบวนการเรยี นรู้
4. หลกั สตู ร การออกแบบ วางแผนการใช้ ประเมนิ และแนวทางการเรียนรู้
ในแตล่ ะเนอ้ื หา
5. พื้นฐานการศึกษา หลกั การศึกษา ปรชั ญาการศึกษา จติ วทิ ยาสงั คม นโยบาย
การศึกษา จดุ มงุ่ หมายการจดั การศกึ ษาต้งั แต่ระดบั ชาติจนถึงระดบั หลักสตู ร
6. การจัดการศึกษาแบบรวม และการตอบสนองตอ่ ความหลากหลายของผ้เู รยี น
7. ทฤษฎกี ารเรียนรู้ และจติ วทิ ยาการเรยี นรู้
8. การใชเ้ ทคโนโลยี และสื่อนวัตกรรมเพอื่ การเรียนรู้
9. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
ด้านที่ 2 ทกั ษะการปฏิบัติงาน ระดับความรู้
รายการพิจารณา ทาไดด้ ี ทาได้ปาน ไม่ค่อย
กลาง ทา
1. การสรา้ งและหรอื พฒั นาหลกั สูตร
2. การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้
3. การจดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้
4. กลยุทธ์ในการจดั การเรยี นรู้
5. การสร้างและการพัฒนาสื่อนวตั กรรม เทคโนโลยีทางการศึกษาและแหล่งเรียนรู้
6. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
ด้านท่ี 3 ความเปน็ ครู ระดับความรู้
สูงมาก ปานกลาง ปรบั ปรุง
รายการพจิ ารณา
1. ยดึ มัน่ ผกู พัน ศรทั ธาในวิชาชพี และทมุ่ เทเพอ่ื การเรยี นรู้ของผู้เรยี น
2. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และปฏิบัติตนเป็นแบบอยา่ งท่ีดีแก่ผเู้ รียน ทัง้ กาย วาจา และ
จิตใจ ดารงตนใหเ้ ป็นที่เคารพ ศรทั ธา และน่าเชือ่ ถือท้ังใน และนอกสถานศึกษา
3. ปฏบิ ตั ิตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู
4. มีวินยั และการรกั ษาวินยั
5. เป็นบคุ คลแหง่ การเรียนรู้ ปรบั ปรุง และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรู้
ความชานาญในวชิ าชพี เพม่ิ ขนึ้
6. ปฏิบตั ติ นโดยนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้
7. มีทศั นคตทิ ด่ี ตี อ่ บา้ นเมอื ง
ตอนท่ี 2 ผลการประเมนิ ศกั ยภาพของผูเ้ รยี นในสถานศึกษาตามจดุ เน้นของ สพฐ.
รายการศกั ยภาพผเู้ รียนตามจุดเน้น ระดับความรู้ ปรับปรงุ
1. ด้านอ่านออก อ่านคล่อง เขียนได้ เขียนคล่อง สงู มาก ปานกลาง
2. ด้านคิดเลขเป็น คิดเลขคลอ่ ง
3. ดา้ นการคดิ ขน้ั พ้ืนฐาน
4. ดา้ นการคดิ ขน้ั สูง
5. ด้านการส่อื สารอยา่ งสร้างสรรคต์ ามชว่ งวยั
6. ด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ)
7. ด้านการใช้เทคโนโลยเี พ่ือการเรียนรู้
8. ด้านการแสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง
9. ด้านใฝเ่ รยี นรู้
10. ดา้ นใฝ่ดี
11. ด้านทกั ษะชีวิต
12. ด้านอยอู่ ยา่ งพอเพยี ง มุ่งมนั่ ในการศึกษาและการทางาน
ตอนที่ 3 ผลการประเมินศาสตรก์ ารสอน ตามกรอบแนวคิดของหลักสูตรของสถาบนั คุรพุ ฒั นา
รายการศกั ยภาพผ้เู รยี นตามจุดเนน้ ระดบั ความรู้ ปรับปรุง
1. การสอนในศตวรรษท่ี 21 สงู มาก ปานกลาง
2. การแก้ปัญหาผเู้ รยี น
3. จิตวทิ ยาการแนะแนว/จติ วทิ ยาการจดั การเรยี นรู้
4. การจัดการชนั้ เรยี น
5. การวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชุมชนแห่งการเรยี นรูทางวิชาชีพ
6. การพฒั นาหลกั สตู ร
7. สะเต็มศึกษา (STEM Education)
8. การใช้สือ่ และเทคโนโลยีในการจัดการเรียน
9. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้
10. การออกแบบการเรยี นรู้
สรุปผลการประเมนิ ตนเอง
ตอนที่ 1 ผลการประเมนิ ตนเองตามกรอบของ กคศ. อย่ใู นระดับดี มกี ารพัฒนาหลักสตู ร ออกแบบการจัดการ
เรียนรู้ ยึดมั่น ผูกพัน ศรัทธาในวิชาชีพ และทุ่มเทเพื่อการเรียนรู้ของผู้เรียน มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนเป็น
แบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน ทั้งกาย วาจา และจิตใจ ดารงตนให้เป็นที่เคารพ ศรัทธา และน่าเชื่อถือทั้งใน และนอก
สถานศึกษา เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ปรับปรุง และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรู้ความชานาญในวิชาชีพ
เพมิ่ ข้ึน และปฏบิ ตั ิตนโดยนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
ตอนท่ี 2 ผลการประเมนิ ศกั ยภาพของผู้เรยี นในสถานศึกษาตามจุดเนน้ ของ สพฐ. อย่ใู นระดบั ปานกลาง และ
ในส่วนทตี่ ้องปรบั ปรุง คือ ด้านการคิดขั้นสูง และด้านการใชภ้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
ตอนที่ 3 ผลการประเมินศาสตร์การสอน ตามกรอบแนวคิดของหลักสูตรของสถาบันคุรุพัฒนา อยู่ในระดับ
ปานกลาง จงึ ควรเขา้ รบั การอบรมเพ่ือพัฒนาความรู้ความสามารถ และนามาปรบั ใช้ในการจดั การเรยี นรูใ้ ห้กับนักเรียน
ต่อไป
1. อันดบั ความสาคญั / สมรรถนะทีจ่ ะพัฒนา
( 2 ) การสอนในศตวรรษที่ 21
( 3 ) การแก้ปัญหาผ้เู รียน
( 10 ) จิตวทิ ยาการแนะแนว/จติ วิทยาการจัดการเรยี นรู้
( 4 ) การจัดการช้ันเรียน
( 6 ) การวิจัยพฒั นาการเรยี นการสอน/ชมุ ชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชพี
( 7 ) การพฒั นาหลักสูตร
( 9 ) สะเต็มศกึ ษา (STEM Education)
( 1 ) การใช้ส่อื และเทคโนโลยใี นการจัดการเรยี นรู้
( 8 ) การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้
( 5 ) การออกแบบการเรียนรู้
2. ตารางสรปุ วิธกี าร/รปู แบบการพฒั นา
ที่ สมรรถนะทจ่ี ะพฒั นา วิธีการ / รูปแบบการพัฒนา ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ บั
1 การใช้สอื่ และเทคโนโลยี - เข้ารบั การอบรมเก่ียวกับการผลติ สอ่ื การใชส้ อื่ - ตนเองมีความสามารถในการจดั
กจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยมคี วามรเู้ รอื่ ง
ในการจัดการเรียนรู ประเภท ICT
- สรา้ งสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรยี นการสอน การเขียนแผนการจดั ประสบการณ์
การวัดผลประเมนิ ผล ตลอดจนการผลิต
สือ่ การใช้ส่ือ ประเภท ICT ส่งผลต่อ
การจดั กิจกรรมให้กับผูเ้ รยี นอยา่ งสูงสุด
2 การสอนในศตวรรษที่ 21 - เข้ารับการอบรม สัมมนาท่หี นว่ ยงานต้นสงั กัด - ตนเองเป็นผมู้ ีคณุ ภาพ ไดร้ ับการพัฒนา
หนว่ ยงานอ่นื ๆจดั ขึ้น ไปในทศิ ทางท่ดี ขี ้นึ ส่งผลและเกดิ
- ศกึ ษาดูงานโรงเรยี นต้นแบบ บุคลากรตน้ แบบเพือ่ ประโยชนต์ อ่ ผู้เรยี น และโรงเรียน
นามาพัฒนาตนเอง
- แลกเปล่ียนเรียนรกู้ ับบคุ ลากรในโรงเรียน
- ศึกษาเอกสาร ผลงานทางวชิ าการจากตารา วารสาร
- สืบคน้ ความร้ทู างอินเตอร์เน็ต
3 การแกป้ ญั หาผูเ้ รียน - จดั กิจกรรมสง่ เสริม ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรมทด่ี ี - ผเู้ รียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและ
งามใหก้ ับผ้เู รยี นอยเู่ สมอ โดยการอบรมหนา้ เสาธง คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ มที กั ษะชวี ิต
กจิ กรรมโฮมรมู และเย่ยี มบ้านนกั เรยี น เปน็ ที่ยอมรบั ของสงั คม
- ส่งเสรมิ ผเู้ รียนตามความถนดั ความสามารถแตล่ ะ
บุคคล
ท่ี สมรรถนะทจ่ี ะพัฒนา วิธีการ / รปู แบบการพฒั นา ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รบั
- ศึกษาผูเ้ รยี นเป็นรายบคุ คล
4 การจดั การชน้ั เรียน - จดั บรรยากาศในชนั้ เรยี นให้เอ้อื ต่อการเรียนรู้ - ห้องเรียนมีบรรยากาศท่เี อือ้ ต่อการ
- จัดมุมประสบการณต์ า่ งๆเพือ่ ใหเ้ ป็นแหลง่ เรยี นรู้ เรียนรู้ ผูเ้ รยี นมคี วามสุขในการเรยี นรู้
- จัดปา้ ยนิเทศเพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู ขา่ วสารสาหรับการ ครมู ีขอ้ มลู ตา่ งๆ เปน็ ปจั จบุ ัน สามารถ
เรยี นรู้ เปน็ แบบอย่างได้
- จัดทาเอกสารงานธรุ การในชน้ั เรยี นใหเ้ ปน็ ปัจจุบัน
- จดั ระบบการดแู ลช่วยเหลือผู้เรียนและนาขอ้ มลู ไปใช้
ในการพัฒนาผู้เรยี น
5 การออกแบบการเรยี นรู้ - เข้ารับการอบรมการออกแบบการเรียนรู - ครูมีความรแู้ ละทักษะกระบวนการใน
- เลือกใช้เทคนคิ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ท่เี หมาะสม การออกแบบการเรยี นรู้
เลือกใช้ส่ือและแหลง่ เรยี นรู้ทจี่ ะช่วยสนับสนนุ การ - ครเู ลือกใช้ส่อื ที่เหมาะสมกับผเู้ รยี น
เรยี นรูข้ องผเู้ รยี น และใชว้ ธิ กี ารวดั ผลประเมินผลท่ี
หลากหลาย ท้งั น้โี ดยเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญเพอ่ื ให้
ผู้เรยี นได้พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพของแตล่ ะคน
และสามารถนาสงิ่ ท่ีไดเ้ รยี นรู้ไปใช้ในชีวิตจริงได้
6 การวจิ ยั พฒั นาการเรยี น - เขา้ รบั การอบรม การวจิ ัยพัฒนาการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ - ครูมคี วามรคู้ วามสามารถในการเขยี น
การสอน/ชุมชนแห่งการ จดั ทาสอ่ื การเรียนรู้ เพอ่ื พัฒนาคุณภาพของครแู ละผู้เรยี น ผลงานทางวิชาการและวิจัยในชน้ั เรียน
เรยี นรทู างวชิ าชพี - ศึกษาเอกสาร ตาราในการจดั ทาเอกสารทางวชิ าการ แบบงา่ ยได้
- ศึกษาผลงานตวั อยา่ งในการทาผลงานทางวิชาการ - ผเู้ รียนได้รบั การแกป้ ญั หาทถ่ี กู วิธโี ดยครู
- ดาเนินการวจิ ัยในช้นั เรยี นเพ่อื แก้ปัญหาตลอดจน ทาการวจิ ยั ในชัน้ เรยี น
พฒั นาผเู้ รยี น - ครูมีการทาวจิ ัยในชั้นเรียนอย่างตอ่ เน่อื ง
7 การพฒั นาหลักสตู ร - เขา้ รับการอบรม สมั มนา ศกึ ษาดูงาน ศึกษาเอกสาร - ครูมีความรู้ ความสามารถในการพฒั นา
เก่ียวกับหลกั สูตรการออกแบบการเรยี นร้กู ารเขยี น หลักสตู รเพม่ิ ขึน้
แผนการจดั ประสบการณ์ การวดั ผลประเมนิ ผลเพอ่ื
พัฒนาตนเอง
8 การวดั และประเมินผลการ - จดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ เี่ น้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั - ผ้เู รียนใหค้ วามสนใจ ตั้งใจ มคี วาม
เรียนรู้ - จดั กจิ กรรมการเรยี นรูท้ เี่ น้นใหผ้ เู้ รยี นไดป้ ฏบิ ตั จิ ริง กระตือรือรน้ ทจ่ี ะเรยี นรู้ มีผลสมั ฤทธิ์
- จัดกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใชส้ ือ่ นวตั กรรม ทางการเรยี นท่ีดีขน้ึ มที กั ษะในการปฏิบัติ
เทคโนโลยีและแหล่งเรยี นรู้ ท่นี า่ สนใจ กิจกรรมตามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล
- วัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้อยา่ งหลากหลาย และ และสามารถหาความรเู้ พม่ิ เตมิ ได้
นาผลไปใช้ในการพฒั นาผเู้ รียน ตลอดเวลาทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น
9 สะเตม็ ศกึ ษา (STEM - จัดกิจกรรมบรู ณาการ - ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นร้ทู ห่ี ลากหลาย
Education)
10 จิตวิทยาการแนะแนว/ - เข้ารบั การอบรมจิตวทิ ยาการแนะแนว/จิตวทิ ยาการ - ครูมีความรคู้ วามเข้าใจการเรยี นรแู้ ละ
จติ วทิ ยาการจดั การเรยี นรู้ จัดการเรียนรู้ พฒั นาการของผู้เรียน
- ศึกษาผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล - ผเู้ รียนได้รบั การส่งเสริมเพม่ิ ขน้ึ
ท่ี สมรรถนะทจี่ ะพฒั นา วธิ ีการ / รูปแบบการพัฒนา ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ บั
- ศึกษาวิจัยเกย่ี วกับการเรียนรแู้ ละพฒั นาการของ
ผเู้ รยี น ในสภาพการเรยี นการสอนหรอื ในชนั้ เรยี น
เพ่อื นามาช่วยแก้ปัญหาทางการศกึ ษาและส่งเสรมิ
การเรยี นการสอนให้มปี ระสิทธิภาพ
3. ระยะเวลาในการพัฒนา
เรมิ่ ต้น 16 พฤษภาคม 2564 สนิ้ สุด 31 มีนาคม 2565
4. ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ บั
5.1 ผลลัพธ์ที่คาดหวัง
ด้านความรู้ : เกิดการเรียนรู้ นาผลการพัฒนาสู่การเปลี่ยนแปลงผู้เรียน และนาประสบการณ์เข้า
แลกเปลีย่ นเรียนรู้แก่เพื่อนร่วมวชิ าชีพ จนเกดิ องค์ความรูท้ ่ีไดจ้ ากการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพไปใช้ในการ
จัดการเรยี นการสอน
ทักษะ : มีความสามารถบูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ
สร้างนวัตกรรมจากการปฏิบัติที่ส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรียน และสร้างนวัตกรรมที่ได้จากการเข้าร่วมในชุมชนการ
เรียนร้ทู างวิชาชีพ และพฒั นานวัตกรรมให้เป็นตน้ แบบการเรยี นรแู้ กเ่ พือ่ นร่วมวิชาชพี
ความเป็นครู : ดารงชีวิตอย่างมีวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยการเป็นผู้ที่มีวินัย
ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ กติกาของสังคม มีความประพฤติที่เป็นแบบอย่างที่ดีทั้งทางกาย แต่งกาย
เหมาะสมกับกาลเทศะ มีมารยาท และเป็นมิตรกับลูกศิษย์ ตามบทบาทและสถานการณ์ ทางวาจา สุภาพ จริงใจและ
สรา้ งสรรค์ ทีก่ ่อให้เกิดกาลังใจ และเปน็ ประโยชน์ต่อผู้อื่น และทางใจ มคี วามเมตตา กรุณา กตญั ญูกตเวที ซื่อสัตย์สุจริต
มีความเป็นกัลยาณมิตร อดทน มีอุดมการณ์เพื่อส่วนรวม ตลอดจนดารงชีวิตอย่างเหมาะสมกับฐานะ และมีความรัก
ศรัทธา และยึดมั่นในอุดมการณ์แห่งวิชาชีพ เข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสร้างเครือข่ายชุมชนการเรียนรู้ทาง
วิชาชีพสร้างวัฒนธรรมทางการเรียนรู้ในสถานศึกษาและเป็นผูน้ าการเปล่ียนแปลงต่อวงการวิชาชพี
ลงชื่อ..............................................................
(นางสาวพชิ ญา อองกุลนะ)
ตาแหนง่ ครผู ู้ช่วยโรงเรยี นขุนหว้ ยตากพฒั นาศึกษา
ผู้จดั ทาแผนการพัฒนาตนเอง
ความเห็นของผ้บู ังคับบัญชา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอ่ื ..............................................................
(นายพิภพ โพนสาลี)
ตาแหนง่ ผูอ้ านวยการโรงเรียนขนุ หว้ ยตากพัฒนาศึกษา
6. ประวัติการเข้ารับการพัฒนา (ในรอบ 1 ปี ทผ่ี า่ นมา)
ลาดบั ท่ี เรื่องท่จี ดั อบรม หน่วยงานท่ีจดั อบรม จานวน หมายเหตุ
ชวั่ โมง
ปกี ารศึกษา 2562 โรงเรียนขนุ หว้ ยตาก 6
1 การสรา้ งชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ พฒั นาศึกษา
(PLC : Professional Learning 4
Community) เครือข่ายสจุ ริตไทย 8
2 หลกั สูตรสาหรบั ข้าราชการ สพม. เขต 42 8
3 ทักษะด้าน Digital Literacy
4 ความรู้เบ้อื งตน้ เกี่ยวกบั ไวรัส COVID กศน.อบุ ลราชธานี 6
19
5 การจดั การเรยี นการสอนทางไกลใน สานกั งานคณะกรรมการ 20
สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคตดิ การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน 6
เชื้อ ไวรัส COVID 19
6 การจัดการเรยี นรู้วิทยาการคานวณ สสวท.
สาหรบั ครูมธั ยม ม.1-3
7 การใชง้ านโปรแกรมกราฟกิ เบื้องตน้ วิทยาลยั อาชีวศึกษาหนองคาย
1. หลกั สูตรใดท่ีท่านต้องการพัฒนา
1.1 หลกั สูตร “เทคนคิ การใชโ้ ปรแกรม Google Application เพอ่ื การจัดการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21”
1.2 หลักสตู ร “การเขียนโปรแกรมภาษา Python”
1.3 หลกั สตู ร “การเรียน Coding ในรปู แบบ Unplugged Coding”
1.4 หลกั สูตร “กลอ่ งสมองกลสร้างสรรค์ และการเขยี นโปรแกรม KB-IDE”
1.5 หลักสตู ร “Coding ด้วย Scratch”
1.6 หลกั สูตร “การสรา้ งหนว่ ยการเรยี นรอู้ จั ฉรยิ ะ 4.0”
1.7 หลักสตู ร “การประยุกต์เทคโนโลยดี ิจิทลั ส่หู อ้ งเรียน ยุคไทยแลนด์ 4.0”
1.8 หลักสูตร “การเสริมสร้างความเข็มแข็งในการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศด้านการจบการศึกษาและการ
ให้บริการข้อมูลทางการศึกษาสาหรับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยระบบอิเล็กทรอนิกส์
(e-learning)”
2. เพราะเหตใุ ดทา่ นจึงต้องการเขา้ รับการพัฒนาในหลกั สตู รน้ี
เนื่องด้วยความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี ในปัจจุบันมีบทบาทสาคัญต่อการจัดการเรียนรู้ การเข้าถึง
องคค์ วามรตู้ ่าง ๆ เป็นเร่ืองง่ายดาย เพยี งการสืบค้นผ่านเครือข่ายอินเตอรเ์ น็ต ก็สามารถแสวงหาความรู้ตามความ
สนใจได้ทุกเวลาและมีทักษะการคิดเชิงคานวณ สามารถเขียนโปรแกรมหรือเข้าใจพื้นฐานการเขียนโปรแกรมได้
ดังนั้นจึงต้องการเข้ารับการพัฒนาหลักสูตร “เทคนิคการใช้โปรแกรม Google Application เพื่อการจัดการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21” หลักสูตร “การเขียนโปรแกรมภาษา Python” หลักสูตร “การเรียน Coding ใน
รูปแบบ Unplugged Coding”หลักสูตร “กล่องสมองกลสร้างสรรค์ และการเขียนโปรแกรม KB-IDE” และ
หลกั สูตร “Coding ดว้ ย Scratch” เพ่ือนาวิธีการออกแบบส่ือการเรียนการสอนแบบออนไลน์มาใช้ในการจัดการ
เรียนรใู้ นรายวิชาที่สอน
อีกทง้ั ยังสอดคลอ้ งกบั กรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี, แผนการศึกษาชาติ, นโยบายศธ. และนโยบาย สพฐ.
➢ ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 ขอ้ 2. การลดความเหลือ่ มล้าทางการศกึ ษา ข้อ 2.2 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การใช้เทคโนโลยใี น
การจัดการศึกษาให้ครอบคลุมทุกพื้นที่อย่างทั่วถึง ข้อ 2.7 สนับสนุนการผลิต จัดหา และใช้สื่อการเรียนการสอน
เทคโนโลยี นวตั กรรม
➢ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาฯ ข้อ 1.2 ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
ข้อ 1.3 การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active Learning) ข้อ 1.4 การพัฒนาครูทั้งระบบที่เชื่อมโยงกับ
การเลอื่ นวิทยฐานะ
3. ท่านคาดหวังส่ิงใดจากการเขา้ รบั การพฒั นาในหลกั สูตรนี้
ดา้ นความรู้
1. ดา้ นการจดั การเรยี นการสอน
1.1 การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร การวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ใน
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน การงานพื้นฐานอาชีพ เพ่ือพัฒนาหลกั สูตร แล้วใช้เปน็ ข้อสนเทศในการจัดทา
คาอธบิ ายรายวชิ าที่ข้าพเจา้ ปฏิบัติการสอน
2. การจัดการเรยี นรู้
2.1 การออกแบบหน่วยการเรียนรูใ้ หเ้ หมาะสม
2.2 การจัดทาแผนนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับการออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ มีการจัด
กิจกรรมการเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย ตลอดจนวธิ กี ารบันทึกหลังสอนใหส้ อดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์การเรียนรู้
2.3 ประมวลความรู้ในประเด็นกลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้ ทั้งนี้จักได้ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการ
จดั การเรยี นรู้ ทข่ี า้ พเจ้าปฏิบตั กิ ารสอน
3. การสรา้ งและการพฒั นา สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล่งเรยี นรู้
4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ คัดสรรและพัฒนาเครื่องมือวดั ผล ในการพัฒนากจิ กรรมการเรยี นรู้ ตาม
พิสยั ทัง้ 3 ด้าน คือ พุทธพิ ิสยั จิตพิสยั และทักษะพิสัย ซ่ึงประกอบด้วยแบบประเมนิ ทีห่ ลากหลาย
5. การวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรยี นรู้
ด้านทกั ษะ
1. ด้านการบรหิ ารจดั การช้ันเรียน
1.1 ความร้กู ารบริหารจัดการช้ันเรยี น เพ่ือเปน็ แนวทางในการจัดการเรียนรู้ วิชาท่ขี ้าพเจ้าปฏิบตั กิ าร
สอน ใหผ้ เู้ รียนมสี ่วนรว่ มอย่างสรา้ งสรรค์ในการเรยี นรู้ มีความปลอดภยั และมีความสุข ตลอดจนสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนเกดิ
กระบวนการคดิ มที ักษะชวี ิตและทักษะการทางาน
1.2 ความรูก้ ารจัดระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผู้เรยี น
1.3 การจัดทาข้อมลู สารสนเทศ และเอกสารประจาวิชา อย่างเปน็ ระบบถกู ต้องและเปน็ ปัจจุบัน
ตลอดจนใช้ข้อมลู สารสนเทศในการเสรมิ สร้างและพัฒนาผู้เรียน
ดา้ นความเปน็ ครู
1. ดา้ นการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ
1.1 การพัฒนาตนเอง และพัฒนาการจดั การเรียนรู้ท่สี อดคลอ้ งกับสภาพการปฏบิ ัตงิ าน
1.2 ข้อสนเทศในการขอมแี ละเลื่อนวิทยฐานะ ผ่านการสร้างชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC)
4. ทา่ นจะนาความรจู้ ากหลกั สูตรไปพัฒนาการสอนของท่านอยา่ งไร
1. ข้าพเจ้าจะนาองค์ความรู้จากหลักสูตรไปใช้ในการจัดทาและพัฒนาหลักสูตรรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรู้
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ท่ีขา้ พเจา้ ปฏิบัติการสอน โดยมกี ารวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดเพ่ือจัดทา
คาอธิบายรายวชิ า หน่วยการเรยี นรู้ รวมถึงประเมินความสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วดั
2. ข้าพเจ้าจะนาองค์ความรู้จากหลักสูตร ไปใช้ในการจัดทาและพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับ
คาอธบิ ายรายวิชา ธรรมชาตขิ องสาระการงานพ้ืนฐานอาชีพและเทคโนโลยี โดยจะได้นารูปแบบการจดั การเรียนรู้ สื่อ
นวัตกรรม เทคโนโลยี และการวัดและประเมินผลมาจากการพัฒนาตนเองตามหลักสูตร มาเป็นข้อมูลสารสนเทศใน
การจดั การเรียนรู้
3. ข้าพเจ้าจะนาองคค์ วามรูจ้ ากหลักสตู ร มาใช้ในการจดั กจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาผูเ้ รยี นการงานพืน้ ฐานอาชพี และ
เทคโนโลยี ให้มีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญและคณุ ลักษณะอันพึง
ประสงค์ โดยไม่ฝนื ธรรมชาตผิ ู้เรียนและเตม็ ตามศกั ยภาพของผูเ้ รียนต่อไป
4. ข้าพเจ้าจะนาความรู้และทักษะที่ไดร้ ับการพัฒนาระหว่างการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริงใน
ห้องเรียนของตนเอง โดยเสนอผลปฏิบัติตามแผนการจัดกิจกรรม แบบคู่ Buddy ผ่านระบบออนไลน์ (Line/Facebook)
เพ่อื รว่ มแลกเปลี่ยนเรียนรู้กบั เพื่อนร่วมวิชาชีพในอันที่จะปรบั ปรุงการเรยี นรู้ และการปฏิบัตงิ านอยา่ งต่อเนื่องต่อไป