The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดพื้นที่ในพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัยMOCA

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jirada praebaisri, 2021-04-28 01:35:56

พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัยMOCA

การจัดพื้นที่ในพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัยMOCA

พิพธิ ภณั ฑศ์ ิลปะไทยรว่ มสมัย

ผู้แตง่ : จิรดา แพรใบศรี

ทัศนศิลปเ์ ป็นผลงานเชิงปัจเจกบคุ คล และมีลักษณะเฉพาะตัวอันเกี่ยวเนื่องโดยตรงกับ
เสรีภาพด้านการแสดงออก ผลงานจึงมิไดป้ รากฏตามผนังโบสถ์วหิ ารเป็นสาคัญดั่งเดิม แต่มี
เวทีรองรับคือนิทรรศการที่มีองค์กรและสถานท่ีสาคัญจัดแสดง(ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์
,2546:176) การสะสมผลงานศลิ ปวตั ถุไวใ้ นหอศลิ ป์หรือพพิ ธิ ภัณฑ์ศิลปะ ซ่ึงเปน็ แหล่งเรียนรู้
ตลอดชีวิตน้ัน แท้ที่จริงแล้วประโยชน์ที่จะได้รับขึ้นอยู่กับเป้าหมาย หรือขึ้นอยู่กับหลักคิด
ฐานคิด หรือกระบวนทัศน์(อานาจ เย็นสบาย,2548:89) การชื่นชมทัศนศิลป์จึงเป็นผลมา
จากความเข้าใจ ดังน้ันการนาเสนอทัศนศิลป์ท่ีจะให้นามาสู่ความช่ืนชม ผู้นาเสนอจะต้อง
กระตุ้นและสรา้ งใหผ้ อู้ ่นื เกดิ ความเข้าใจในทัศนศิลป์ดังกล่าวให้ได้เสียก่อน(ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์
, 2546:204)

1

ห า ก พิ จ า ร ณ า ผ ล ง า น ทั ศ น ศิ ล ป์
สมัยใหม่และทัศนศิลป์ร่วมสมัยในแต่ละช้ิน
จะเห็นว่าต่างก็ถูกสร้างขึ้นด้วยเจตนาในการ
สร้างและลักษณะรูปแบบทางทัศนศิลป์ท่ี
แตกต่างกันไป ด้วยทัศนศิลปด์ ังกล่าวน้ีเกิดขึ้น
จากความพอใจเชิงปัจเจกของศิลปินเป็นสาคัญ
ดังน้นั การวิเคราะหค์ ณุ ค่าและการช่ืนชมจึงต้อง
พิจารณาในมิติท่ีแตกต่างกัน(ศุภชัย สิงห์ยะ
บุศย์, 2546:189) ซง่ึ ผลงานบางชิน้ ถกู จดั สร้าง
มาด้วยคุณค่า แต่บางชิ้นอาจถูกสรา้ งขึน้ มาด้วย
มูลค่า ความหมายและความรู้สึกจึงแตกต่าง
กัน ดังท่ี วิรุณ ต้ังเจริญ(2549:272)กล่าวว่า
ศิลปินพึงสร้างสรรค์งานเพ่ือแสวงหาความพึง
พอใจของตน และเพ่ือพิสูจน์จินตนาการที่
กว้างไกล มิใชก่ ารสร้างงานตามคาส่ัง ตามใบ
จอง ตามรสนิยมของผู้อื่น การซื้องานศิลปะ
พึงซ้ือ “ความเป็นศิลปิน” คนน้ัน เพ่ือพิสูจน์
วา่ ศิลปนิ ไมใ่ ชพ่ ่อคา้ ขายงานศิลปะ

2

พพิ ธิ ภัณฑศ์ ิลปะไทยร่วมสมยั หรือเรียกกนั สนั้ ๆวา่ “MOCA” (Museum of Contemporary Art) ทถี่ กู สร้างขนึ้
เพื่อจัดแสดงผลงานที่เกิดจากการเกบ็ สะสมของคอลเลคเตอรน์ ามว่า บุญชัย เบญจรงคกุล ซ่งึ ผลงานท่ีนามาจัดแสดง
สามารถสะท้อนให้เห็นรสนิยมความชืน่ ชอบส่วนตัวของคอลเลคเตอร์ผนู้ ี้ไดพ้ อสมควร ผลงานเกือบทงั้ หมดเปน็ ของศลิ ปิน
ไทย และอกี สว่ นหนึ่งเป็นของศลิ ปินต่างชาติ ดังนน้ั พ้ืนทีส่ าหรับจดั แสดงผลงานจงึ จาเป็นตอ้ งมคี วามสอดคลอ้ งกบั ตัว
ผลงานและรสนิยมของผู้เปน็ เจา้ ของได้

ลักษณะตวั อาคาร

นักออกแบบต้องการสะท้อนความเป็นตัวตนของ
เจ้าของ ซ่ึงชอบความเรียบง่าย อาคารจึงมีรูปทรงเหลี่ยม
ภายนอกเรียบทึบ ดูมีความเป็นอันหนึ่งอันเดียว ตกแต่ง
ด้วยลายก้านมะลทิ ีใ่ ช้ประโยชนเ์ ปน็ ชอ่ งแสง

บรรยากาศ

การให้ความสาคัญกับสภาพแวดล้อม บรรยากาศ
ท้ังแสง สี เสียง อากาศ การใช้ประโยชน์จากการเปลี่ยน
ทิศทางของแสงธรรมชาติในช่วงเวลาต่างๆ และแม้แต่ความ
เป็นสว่ นตัวในเพือ่ อารมณใ์ นการชมงาน

จากการสังเกตพบว่า บริเวณทางเข้าซ่ึงเป็น
จุดเริ่มต้นของการปรับอารมณ์ให้กลมกลืนกับสภาพแวดล้อม
และบรรยากาศของสถานท่ี ท่ีนักออกแบบพยายามนาเสนอ
เร่ืองความกลมกลืน แต่ส่ิงท่ีปรากฏและรับรู้ได้เมื่อเข้าถึง
พ้ืนทคี่ ือ เสยี งดังของเครอ่ื งปนั่ และกล่ินของกาแฟ ที่เกิดจาก
การรวมกันของพื้นทแ่ี สดงงานกบั รา้ นกาแฟ

3

การใชแ้ สง

การเลือกใช้แสงธรรมชาติให้สาดผ่านเข้ามา
ตามช่องแสงที่ออกแบบไว้ เพ่ือให้เกิดมิติของแสงท่ี
สวยงามในช่วงเวลาต่างๆ แต่การใช้แสงธรรมชาติซึ่งมี
อุณหภูมิความร้อนตามปริมาณของแสง ถึงแม้ภายใน
อาคารจะเป็นระบบปรับอากาศ แต่สภาพภูมิอากาศ
ของไทยไม่คงที่ จึงอาจมีผลต่ออุณหภูมิภายในอาคาร
และอาจส่งผลกระทบตอ่ ผลงานท่ีจัดแสดง

การใช้แสงสังเคราะห์จากหลอดไฟ ท่ีมีทั้งการ
ใช้แสงที่ส่องเฉพาะจุด และแสงที่ให้ความสว่างในพ้ืนท่ี
ซึ่งผู้บรรยายของพิพิธภัณฑ์อธิบายว่าที่อ่ืนจะใช้แสงไฟ
น้อยมาก แต่ท่ีน่ีใช้สูงกว่าท่ีอนื่ ประมาณ 5 เท่า ซ่ึงมี
ผลให้ศิลปินต้องแก้สีในงานบางช้ินท่ีถูกสร้างข้ึน เพียง
เพ่อื ให้สามารถนามาจัดแสดงในพนื้ ทท่ี ่ถี ูกกาหนดขึน้

การควบคุมงานระบบ

การควบคุมอุณหภูมิเพื่อป้องกันการเกิดเชื้อรา
โดยค่อยๆปรับอุณหภูมิจนถึงที่เหมาะสม การควบคุม
แสงโดยเลือกใช้แสงไฟท่ีไม่มีผลกระทบ เช่น รังสียูวี
อุณหภูมิความร้อน แต่ไม่มีการอธิบายถึงการควบคุม
เร่ืองแสงธรรมชาติจากช่องแสง ที่ไม่มีความแน่นอนท้ัง
ปรมิ าณและอณุ หภูมิของแสง

4

การจัดพื้นท่ีแสดงผลงาน

โดยรวมแล้วผลงานท่ีถูกนามาจัดแสดงเป็นงานร่วมสมัย
ประกอบด้วยงานจิตรกรรม ประติมากรรม ท่ีสร้างด้วยเทคนิคต่างๆ
ตามลักษณะเฉพาะของศิลปนิ ท่ีมีท้ังเน้ือหาธรรมชาติ บคุ คล ศาสนา
ฯลฯ ซ่ึงการจัดแสดงผลงานได้นาเสนอการจัดแบ่งพ้นื ท่ีภายใต้แนวคิดท่ี
มีเค้าโครงจากไตรภูมิตามหลักของพุทธศานา คือ การเกิด การมีชีวิต
การไปสู่โลกหนา้

การจัดแสดงผลงาน

ผลงานที่นามาจัดแสดงส่วนใหญ่เป็นงานของศิลปินที่มีช่ือเสียงท้ังในประเทศและ
ต่างประเทศท่ีถูกสะสมไว้ เนื้อหาจัดแสดงค่อนข้างอิงไปในทางพุทธศาสนา การกาเนิด การ
ดาเนิน กิเลส ความคิด จิตใต้สานึก อารมณ์ จนนาไปจุดสูงสุดของปลายทางชีวิตคือการ
แตกดับเพื่อสู่การเริ่มต้นใหม่ ที่ต้องการเสนอให้เห็นว่าเม่ือจบชีวิตแล้วสิ่งท่ีจะติดไปด้วยมีสาม
สิ่ง ได้แก่ ความดี ความชว่ั สันดาน รูปทรงไข่จึงเป็นการนาเสนอสัญลักษณ์ของการกาเนิดท่ี
นักออกแบบสรา้ งขนึ้ มาเปน็ สื่อกลางของการเข้าถงึ แนวคดิ การจดั แสดงผลงาน

จากการเข้าชมงานทาให้เกิดขอ้ สงสัยเก่ียวกับการจดั แสดงชิ้นงานวา่ ศิลปินเป็นผู้เลือก
พื้นที่จัดแสดงผลงานของตน หรือผู้สะสมเป็นผู้กาหนดให้นางานของศิลปินมาจัดแสดงใน
บริเวณท่ีกาหนด เพ่ือให้เป็นไปตามแนวคิดของภาพรวม ซ่ึงหากเป็นอย่างหลัง ส่ิงที่เกิด
ตามมาอย่างแน่นอนคือ อารมณ์ทางสุนทรียะท่ีจะมีต่องานเหล่าน้ัน งานท่ีถูกสร้างขึ้นล้วนมา
จากความรู้สึกนึกคิดของศิลปินท่ีต้องการถ่ายทอดผ่านออกมาเป็นงานศิลปะ เพื่อให้ผู้อ่ืนรับรู้
ความรู้สึก ฉะน้ันศิลปินจึงเป็นผู้ท่ีเข้าใจว่าควรจะจัดวางอย่างไรเพื่อให้ผู้อ่ืนรับรู้และเข้าถึงใน
ผลงานของตน

5

จากการสังเกตพบว่า การจัดแสดงเน้นไปทางการจัดตามเร่ืองราวมากกว่าท่ีจะเน้น
ทางด้านอารมณ์ รวมท้ังมีการจัดแยกผลงานตามกลุ่มศิลปินที่มีเนื้อหาของผลงานสอดคล้องกับ
แนวคิดการจัดแสดง แต่ก็มีผลงานของศิลปินบางช้ินท่ีถูกจัดแยกจากกัน ท้ังๆที่เป็นงานท่ีเกิด
จากแนวคิดเดียวกัน ทั้งนี้อาจเกิดจากข้อจากัดท่ีมีอยู่หลายประการ เช่น ความหลากหลายของ
ผลงาน ขนาดและสภาพแวดลอ้ มของพืน้ ท่ีจัดแสดง

ดังนั้น ส่ิงท่ีปรากฏท่ีถูกจัดข้ึน จึงอาจไม่เพียงพอท่ีจะบอกไดถ้ ึงมุมมองและความรู้สึกท่ี
แท้จริงของผู้สะสมท่ีมีต่อผลงานเหล่านั้นอย่างไร เพราะเปน็ ผลงานทีผ่ ่านกระบวนคัดสรรจาก
ผู้สะสมแล้วมาสู่ผู้ชม ซึ่งผู้สะสมคือผู้รับและถ่ายทอดอารมณ์ผลงานท่ีมีความสาคัญย่ิงในการ
ตีความ เพื่อให้คนลาดับต่อไปรับรู้เข้าถึงในอารมณ์ของงานที่ต้องการสื่อสาร และหาก
ตีความผิด การสื่อสารก็อาจผิดเพี้ยนไป ดังเช่นการพูดปากต่อปากที่ท้ายสุดก็ไม่อาจสื่อสาร
ไดเ้ ลย ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับว่าผู้สะสมชื่นชมในสิ่งใด ระหว่างคุณค่ากับมูลค่า ชื่อเสียงของศิลปินที่
จารึกในผลงาน หรืออารมณ์ที่ปรากฏถ่ายทอดผ่านผลงาน เป็นการเสพงานศิลปะตาม
สนุ ทรยี ะในจติ ใจหรือแคเ่ สพงานของศิลปนิ ที่มชี อื่ เสียงเพ่อื แสดงรสนิยม

เอกสารอา้ งองิ
: ศุภชยั สิงหย์ ะบุศย์,ทศั นศิลปะรทิ ัศน์ ,กรุงเทพฯ:สานักพิมพโ์ อเดยี นสโตร,์ 2546.
: วริ ุณ ต้ังเจริญ,ศลิ ปาพิจารณ์ หนึง่ ,กรุงเทพฯ:อีแอนด์ไอคิว,2549.
: อานาจ เย็นสบาย,รายงานการวิจัย การจัดการเรียนรู้ของแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต : หอศิลป์,กรุงเทพฯ:สานักงาน
เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร,2548.

6

การวิเคราะห์พพิ ธิ ภณั ฑ์ศิลปะไทยรว่ มสมยั

ลกั ษณะผลงาน : งานศิลปะร่วมสมยั
: จิตรกรรม ประตมิ ากรรม
: หลากหลายศิลปนิ หลากหลายเทคนิค หลากหลายเน้อื หา
: งานท่ีสรา้ งข้นึ แลว้ นามาสะสม งานที่สรา้ งขน้ึ ใหมใ่ ห้สอดคลอ้ งกับสถานท่ี

แนวคิดการจัดแสดง : ไตรภูมิ การกาเนดิ การมชี วี ิต การแตกดับ

วิธกี ารจดั ผลงาน : แยกผลงานไปตามเนอ้ื หาทส่ี อดคลอ้ งกบั แนวคดิ การจดั
: แยกศลิ ปิน

เทคนคิ การจดั แสดง : ใช้แสงและสสี ร้างบรรยากาศให้สอดคลอ้ งกับผลงาน
: ตกแตง่ ให้มีบรรยากาศสอดคล้องกบั เน้อื หาของภาพ
: อาคารแต่ละชนั้ แบ่งแยกตามเนอ้ื หาของแนวคิด โดยเริ่มจากชัน้ ลา่ งแล้วไล่
ลาดบั ขน้ึ ไปบนช้นั สงู สดุ ท่จี ดั ให้เป็นจุดสาคัญทส่ี ุดของงานทัง้ หมด

เอกลกั ษณ์ : ลายกา้ นมะลิ
: รูปทรงไข่

สรุป : การจัดแสดงผลงานที่ถูกสะสมไว้จานวนหน่ึง และผลงานที่ให้ทาขึ้นใหม่
สาหรับจัดแสดงในพื้นท่ีของพิพิธภัณฑ์แห่งน้ีอีกจานวนหน่ึง และด้วย
ชิ้นงานสว่ นใหญ่ไดม้ มี ากอ่ นที่จะมีตัวอาคาร ท่ีเกิดจากความชนื่ ชอบท่ีเป็น
รสนิยมของผู้สะสม การจัดจึงได้พยายามสร้างที่มา เพื่อให้ช้ินงานมีคุณค่า
และความหมาย โดยการกาหนดเน้ือหาท่ีได้จากคติไตรภูมิ เพื่อให้
สอดคล้องกับลักษณะของผลงานท่ีเป็นศิลปะร่วมสมัย ที่สร้างโดยศิลปิน
ชาวไทยเป็นส่วนใหญ่ และพยายามจัดวางให้ดูเชื่อมโยงต่อเนื่องเป็น
เร่ืองราวเดยี วกัน มีการใช้รูปทรงไข่เพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์ในการส่ือสารให้
ผูช้ มเข้าใจตรงกนั ถึงเนอ้ื หาในการจัดแสดง

7


Click to View FlipBook Version