The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-17 05:07:31

การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003 ม.ปลาย

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Keywords: หนังสือเรียน กศน.

43

2) บอกวตั ถุประสงคของการจัดเวทีประชาคม เปนการบอกกลาว เพ่ือใหผูเขาอภิปราย
ไดเตรียมตัว ในฐานะผมู ีสวนเกย่ี วของกับประเดน็ /ปญ หา การบอกวตั ถุประสงคของการจัดเวทีประชาคมน้ี
สามารถทาํ ไดหลายวิธี ต้งั แตการบอกวา วัตถุประสงคของการจัดเวทีประชาคมมีอะไรบาง หรือเร่ิมดวย
การถามถงึ สาเหตุการเขามารวมกันในเวที การใหเ ขียนบนกระดาษและติดไวใหผูอภิปรายไดเห็นพรอมกัน
การใชการดสี ฯลฯ อยางไรก็ตาม การที่จะเลือกใชวิธีไหนน้ัน ตองคํานึงถึงความถนัดและทักษะของ
วทิ ยากรกระบวนการ และการกระตนุ ใหเกดิ การมสี ว นรว มของผูรวมอภิปราย ควรใชภาษาท่ีสอดคลอง
กับภมู ิหลงั ของผเู ขา รว มอภปิ ราย และตองใหผ ูร ว มอภิปรายในเวทีประชาคมรสู ึกไวใ จตัง้ แตเ ริม่ ตน

3) การเกรนิ่ นาํ เขา สูท ่ีมาท่ีไปของประเดน็ การอภิปรายในเวทีประชาคม เพอ่ื ใหผูเ ขา รว ม
อภิปรายไดเขาใจท่ไี ปทีม่ า และความสําคญั ของประเดน็ ตอ การดาํ เนนิ ชวี ิต หรอื วิถีชีวิต และบอกถึงความ
จาํ เปน ในการรวมมอื กัน หรือแสดงความคดิ เหน็ ตอ ประเดน็ นร้ี ว มกัน เพ่อื หาจุดยนื หรอื แนวทางแกปญหา
ของประเด็นดังกลาว ทั้งนี้จุดมุงหมายของข้ันตอนน้ี คือ กระตุนใหผูเขารวมอภิปรายในฐานะผูมีสวน
เกย่ี วของโดยตรงตอ ประเด็น/ปญหา ตองชวยกันผลักดันหรือมีสวนรวมในกระบวนการแกไขปญหาที่
สง ผลกระทบโดยตรง

4) การวางกฎ และระเบยี บของการจดั เวทปี ระชาคมรวมกนั ขนั้ ตอนนเ้ี ปนขน้ั ตอนกอน
การเร่มิ อภปิ รายในประเด็นทตี่ ง้ั ไว มีจดุ มงุ หมายเพอื่ รวมกนั กาํ หนดขอบเขต และการวางระเบยี บของการ
จัดทาํ เวทปี ระชาคมรวมกันระหวา งผูดําเนินการอภปิ รายและผูร วมอภิปราย ท้ังนี้ เพอ่ื ปอ งกนั ความขดั แยง
ระหวา งการอภปิ ราย การมีอิทธิพลตอความคิดเห็นของคนใดคนหน่ึงตอคนอื่น ๆ เพ่ือใหเวทีประชาคม
ดาํ เนนิ ไปอยา งมีประสทิ ธภิ าพ และบรรลุตามวัตถปุ ระสงคท ่ี วางไว การวางกฎระเบียบรว มกนั นี้ สามารถ
เริ่มไดจากการท่วี ิทยากรกระบวนการใหผ เู ขารว มเวทปี ระชาคมเสนอกตกิ าการพดู คยุ รวมกันวา กฎกติกา
มารยาทของเวทีจะมีอะไรบาง เพื่อจะชวยใหการพูดคุยกันเปนไปตามวัตถุประสงคที่วางไว และมี
บรรยากาศการพูดคยุ ท่ดี ี เมื่อผเู ขารว มเวทีเสนอกตกิ าใดกติกาหน่ึงขน้ึ มา วิทยากรตองจดไวในกระดาษให
ทุกคนเห็น เม่ือรวบรวมขอเสนอไดแลว ใหมีการโหวตรวมกันวากติกามารยาทระหวางการจัดเวที
ประชาคมท่ที กุ คนตกลงรว มกันมีอะไรบาง เมื่อไดขอสรุปแลวตองเขียนกติกามารยาท น้ัน ในกระดาษ
หรอื กระดานวาง หรือตดิ ไวใ นที่ท่ีทุกคนเห็นไดตลอดเวลาของการจัดเวทีประชาคม ขอเสนอท่ีได เชน
ตอ งปด เสยี งโทรศัพทมอื ถอื ตองตรงตอเวลาตอ งยกมอื กอ นพูด ตอ งพดู ตรงประเดน็ เปนตน การไดก ฎกติกา
ที่มาจากกลุม จะชว ยใหก ลมุ เกิดความรสู ึกวา ตอ งเคารพกฎกตกิ าน้ัน ๆ มากกวาท่ีจะเปน กฎทผ่ี ูจดั เวทีเปน
ฝายกาํ หนดข้นึ อยา งไรก็ตาม หากกติกาที่ผูเขารวมไดเสนอแตเปนกฎพื้นฐานที่จําเปนสําหรับกิจกรรม
ระดมสมอง เชน เวทีประชาคม น้ัน วิทยากรกระบวนการ จําเปน ท่ีตอ งเสนอในท่ปี ระชุม ซ่ึงอาจจะเสนอ
เพ่ิมเตมิ ภายหลังจากทผ่ี เู ขารวมเวทีประชาคมไดเ สนอมาแลว กฎพื้นฐาน คอื

(1) ทุกคนตองแสดงความคดิ เหน็ (หรอื หากเปน กลุมใหญ ตวั แทนของแตละกลุม
ตองแสดงความคดิ เหน็ )

44

(2) กาํ หนดเวลาท่ีแนน อนในการพดู แตล ะคร้งั
(3) ไมแ ทรกพูดระหวา งคนอนื่ กาํ ลงั อภปิ ราย
(4) ทกุ คนในเวทีประชาคมมคี วามเทาเทียมกนั ในการแสดงความคดิ เห็นไมวา
ผเู ขา รวมจะมสี ถานะทางสงั คม หรือสถานภาพที่ตา งกนั เชน ลูกบาน ผใู หญบ า น ผรู บั บรกิ าร ผใู หบรกิ าร
ผหู ญงิ ผูชาย ฯลฯ
(5) ทุกคนสามารถเสนอประเดน็ ใหม ๆ ได แตต อ งตรงกบั ประเดน็ หลักที่เปน
ประเดน็ อภิปราย
(6) ทกุ คนสามารถเสนอประเดน็ ใหม ๆ ได แตต องตรงกับประเดน็ หลักที่เปน
ประเด็นอภปิ ราย
(7) วิทยากรหลกั เปนเพยี งคนกลางทีช่ ว ยกระตนุ ใหเ กดิ การพูดคยุ และสรปุ
ประเดน็ ท่ีเกดิ จากการอภิปราย ไมใ ชผูเชยี่ วชาญในการแกป ญ หา
5) การอภิปรายประเด็นหรือปญหา ในขั้นตอนนี้วิทยากรกระบวนการ/ผูอํานวยการ
เรียนรูตองดําเนินการอภิปรายใหบรรลุตามวัตถุประสงค ตามกระบวนการ และตามแผนที่วางไว
นอกจากนัน้ ทมี งานเองก็ตองชวยสนบั สนนุ ใหเวทปี ระชาคมดาํ เนินการไปอยางมีประสิทธิภาพ และตาม
แผนที่ไดตกลงกนั ไว วทิ ยากรหลกั สามารถใชวิธีการอ่ืน ๆ เขามาชวยสนับสนุนการซักถามเพื่อกระตุน
การมสี ว นรวมในเวทใี หม ากท่ีสดุ
6) การสรุป เปนข้นั ตอนสุดทายของการจัดเวทีประชาคม ซึง่ วทิ ยากรหลกั /ผูอํานวยการ
เรียนรูตองสรุปผลของการอภิปราย โดยแยกเปนผลที่ไดจากการพูดคุยกัน เพื่อนําไปเปนแนวทางใน
การแกป ญหาตอไป ผลทีไ่ มสามารถสรปุ ไดใ นเวที และจําเปนตองดําเนินการอยา งใดอยางหน่ึงตอไป ใน
ขน้ั ตอนน้ีจาํ เปนตอ งมีการทบทวนรว มกนั และทาํ เปนขอตกลงรว มกนั วา จะตองมกี ารดาํ เนนิ การอยา งไร
กับผลท่ไี ดจ ากเวทีประชาคม โดยเฉพาะอยา งยิ่งอาจระบุอยางชัดเจนวา ใครจะตอ งไปทําอะไรตอ และจะ
นัดหมายกลบั มาพบกนั เพ่อื ตดิ ตามความคบื หนา กันเมือ่ ไร อยางไร
1.2.3 ติดตาม-ประเมนิ ผล
เปนกระบวนการตอเนื่องหลงั จากการจดั เวทีประชาคมเสร็จสิ้นแลว ซึ่งสามารถแบง
กระบวนการนี้เปน 2 ขน้ั ตอนใหญ คือ การตดิ ตาม และการประเมนิ ผล
1) ขนั้ ตอนการตดิ ตาม เปนการตามไปดวู า มีการดําเนินการอยางใดอยางหนึ่งหรือไม
ตามท่ีไดตกลงกันไว ขั้นตอนน้ีจําเปนตองเปดโอกาสใหประชาชนหรือผูที่มีสวนเก่ียวของไดเขามามี
สวนรวมในการติดตามผล โดยอาจจะกําหนดบทบาทหนาที่ ทําแผนการติดตาม และกําหนดวิธีการ
ติดตามรวมกนั และมกี ารติดตามรว มกนั อยา งสม่ําเสมอตามแผนที่วางไว ขั้นตอนนี้ จะชวยใหผูเขารวม
ในเวทีประชาคม เขา ใจความสําคญั ของการทาํ งานรว มกันในฐานะเจา ของประเดน็ /ปญ หา และเรียนรูจ าก
ประสบการณการติดตาม เพื่อนาํ ไปเพิม่ ทกั ษะการจดั การปญ หาของชาวบา นเองในอนาคต

45

2) ขั้นตอนของการประเมินผล คือ
(1) เพอ่ื ตรวจสอบการเปลยี่ นแปลงภายหลังการจดั เวทีประชาคมวา ประชาชนมี

คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นหรือไม เมื่อมีการจัดการอยางใดอยางหนึ่งแลว เชน เมื่อมีการผลักดันประเด็นใด
ประเด็นหนึง่ ท่ีเปน ปญหาเขา สคู วามสนใจของผมู ีอํานาจในการกาํ หนดนโยบาย หรอื บรรจุอยูในนโยบาย
ของรัฐแลว เปนตน

(2) เพื่อประเมินทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการจัดเวที
ประชาคมทั้งหมดวา ไดรบั ความรว มมือมากนอยเพยี งใด ลักษณะและกระบวนการที่ทําเอ้ือตอการแลกเปลี่ยน
เรยี นรูรว มกนั หรอื ไม ผลทไ่ี ดรบั คุม คาหรือไม และบรรลตุ ามวตั ถุประสงคท ่วี างไวหรือไม อยางไร

การสรปุ ขอ มลู ที่ไดจ ากการติดตามและการประเมนิ ผล จะชวยใหท ง้ั ผูจ ดั เวทีประชาคมและ
เขา รว มไดม ีบทเรยี นรวมกัน และสามารถนาํ ประสบการณท ี่ไดไ ปใชพฒั นาในการจดั กจิ กรรมประชาคม
อน่ื ๆ ตอไป

1.3 การประชุมกลมุ ยอย หรือการสนทนากลมุ
การสนทนากลมุ หมายถึง การรวบรวมขอมลู จากการสนทนากบั กลุมผูใหขอมูลในประเด็น

ปญ หาทเ่ี ฉพาะเจาะจง โดยมีผูดาํ เนนิ การสนทนา (Moderator) เปนผูคอยจุดประเด็นในการสนทนา เพื่อ
ชักจูงใหกลุมเกิดแนวคิดและแสดงความคิดเห็นตอประเด็นหรือแนวทางการสนทนาอยางกวางขวาง
ละเอยี ดลึกซ้งึ โดยมผี เู ขา รว มสนทนาในแตล ะกลุม ประมาณ 6-10 คน ซ่ึงเลือกมาจากประชากรเปาหมาย
ที่กําหนดเอาไว (สาํ นักงานกองทุนสนบั สนุนการวิจยั , 2549)

1.3.1 ขน้ั ตอนการจดั สนทนากลุม
Judith Sharken Simon (ม.ป.ป.) กลา ววา การสนทนากลมุ ไมไ ดจ ัดทําไดใ นระยะเวลา

อนั ส้ัน กอ นทจี่ ะมกี ารประชมุ ควรมีการเตรยี มการไมนอยกวา 4 สปั ดาห บางครั้งกวา ที่จะปฏบิ ตั ไิ ดจ รงิ
อาจใชเ วลาถึง 6-8 สปั ดาห กอนทจี่ ะมีการดาํ เนินงาน ผูรวมงานควรมกี ารตกลง ทาํ ความเขาใจเก่ยี วกับ
หวั ขอ การสนทนาและทดสอบคําถาม เพ่ือใหม ีความเขา ใจตรงกัน เพอ่ื ใหการสนทนาทเี่ กดิ ขน้ึ เปนไปตาม
ระยะเวลาที่กําหนด ซึง่ มีขน้ั ตอนในการจดั สนทนากลมุ ดงั น้ี

1) กาํ หนดวัตถุประสงค (6-8 สปั ดาหกอนการสนทนากลุม )
2) กําหนดกลุม ผูร วมงานและบุคคลกลมุ เปา หมาย (6-8 สปั ดาหกอ นการสนทนากลุม )
3) รวบรวมทอี่ ยแู ละเบอรโ ทรศพั ทของผูรว มงาน (6-8 สัปดาหกอ นการสนทนากลุม)
4) ตดั สนิ ใจวา จะทําการสนทนาเปนจาํ นวนกีก่ ลุม (4-5 สัปดาหก อ นการสนทนากลมุ )
5) วางแผนเรือ่ งระยะเวลาและตารางเวลาการสนทนา (4-5 สปั ดาหกอ นการสนทนากลมุ )
6) ออกแบบแนวคาํ ถามท่จี ะใช (4-5 สัปดาหกอ นการสนทนากลุม)
7) ทดสอบแนวคําถามท่ีสรางขน้ึ (4-5 สปั ดาหกอนการสนทนากลุม )

46

8) ทาํ ความเขาใจกบั ผดู าํ เนนิ การสนทนา (Moderator) และผจู ดบันทึก (Note taker)
(4-5 สัปดาหกอนการสนทนากลุม)

9) คัดเลอื กผูเ ขารว มกลมุ สนทนา และจดั ทาํ บตั รเชญิ สงใหผ รู วมสนทนา
(3-4 สัปดาหกอ นการสนทนากลมุ )

10) โทรศัพทเ พื่อตดิ ตามผลและสง บตั รเชิญใหผรู ว มงาน (3-4 สัปดาหกอ น
การสนทนากลุม)

11) การจัดการเพ่อื เตรียมการทําสนทนากลมุ เชน จัดตําแหนงทนี่ ั่ง จัดเตรียมเคร่อื งมือ
อปุ กรณ เปนตน

12) แจง สถานท่ีใหผเู ขารว มสนทนาทราบลวงหนา 2 วัน
13) จดั กลุมสนทนา และหลังจากการประชุมควรมกี ารสง จดหมายขอบคณุ ผูรวมงานดวย
14) สรุปผลการประชุม วิเคราะหข อ มลู และสง ใหผ รู ว มประชมุ ทกุ คน
15) การเขยี นรายงาน
1.3.2 การดําเนนิ การสนทนากลมุ

1) แนะนาํ ตนเองและทีมงาน ประกอบดว ย พธิ กี ร ผจู ดบนั ทึก และผูบรกิ ารท่วั ไป
โดยปกตไิ มควรใหม ผี สู ังเกตการณ อาจมีผลตอ การแสดงออก

2) อธบิ ายถึงจดุ มงุ หมายในการมาทาํ สนทนากลุม วตั ถปุ ระสงคข องการศกึ ษา
3) เร่ิมเกริ่นนําดว ยคาํ ถามอุนเคร่ืองสรางบรรยากาศเปน กันเอง
4) เมื่อเร่มิ คุนเคย เริ่มคาํ ถามในแนวการสนทนาท่จี ดั เตรียมไวทง้ิ ชวงใหม กี ารถก
ประเด็น และโตแ ยงกันใหพ อสมควร
5) สรา งบรรยากาศใหเ กดิ การแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ตอกัน ควบคมุ เกมไมใ ห
หยุดน่งิ อยาซกั ถามคนใดคนหนง่ึ จนเกินไป คําถามทีถ่ ามไมค วรถามคนเดียว อยาซักถามรายตวั
6) ในการนั่งสนทนา พยายามอยาใหเ กดิ การขม ทางความคดิ หรือชกั นาํ ผอู น่ื ใหเ หน็
คลอยตามกับผทู ่พี ูดเกง (Dominate) สรางบรรยากาศใหคนที่ไมค อ ยพดู ใหแสดงความคดิ เหน็ ออกมา
ใหไ ด
7) พธิ ีกรควรเปน ผคู ยุ เกงซักถามเกง มพี รสวรรคในการพูดคยุ จังหวะการถามดี
ถามชา ๆ ละเอียดควรมีการพูดแทรกตลกอยางเหมาะสมดว ย
1.3.3 ขอดขี องการจดั สนทนากลมุ
1) ผูเกบ็ ขอ มลู เปนผูไดร ับการฝก อบรมเปนอยา งดี
2) เปนการนง่ั สนทนาระหวา งผดู ําเนินการกบั ผรู ู ผใู หขอ มูลหลายคนทเี่ ปนกลุม
จึงกอใหเกิดการเสวนาในเรือ่ งท่ีสนใจ ไมม กี ารปด บัง คาํ ตอบที่ไดจ ากการถกประเดน็ ซึ่งกนั และกัน
ถือวา เปน การกล่ันกรอง ซ่งึ แนวความคิดและเหตผุ ลโดยไมมกี ารตีประเดน็ ปญ หาผิดไป เปน อยา งอื่น

47

3) การสนทนากลมุ เปนการสรางบรรยากาศเสวนาใหเ ปน กันเองระหวางผนู ํา
การสนทนาของกลุมกบั สมาชิกกลุมสนทนาหลาย ๆ คนพรอมกนั จงึ ลดสภาวการณเขนิ อายออกไปทาํ ให
สมาชกิ กลุมกลาคยุ กลาแสดงความคดิ เห็น

4) การใชวิธีการสนทนากลุม ไดขอมูลละเอียดและสอดคลองกับวัตถุประสงคของ
การศกึ ษาไดสาํ เรจ็ หรือไดดยี ิง่ ขึน้

5) คาํ ตอบจากการสนทนากลุม มีลกั ษณะเปน คําตอบเชิงเหตุผลคลา ย ๆ กับการรวบรวม
ขอ มูลแบบคุณภาพ

6) ประหยัดเวลาและงบประมาณของผูดาํ เนนิ การในการศกึ ษา
7) ทาํ ใหไ ดร ายละเอียด สามารถตอบคาํ ถามประเภททาํ ไมและอยางไรไดอ ยาง
แตกฉาน ลึกซึ้งและในประเดน็ หรอื เร่ืองทีไ่ มไ ดค ดิ หรอื เตรยี มไวกอนก็ได
8) เปน การเผชญิ หนากันในลกั ษณะกลมุ มากกวาการสมั ภาษณต วั ตอ ตัว ทาํ ใหม ี
ปฏิกิรยิ าโตตอบกันได
9) การสนทนากลมุ จะชว ยบง ชอ้ี ทิ ธพิ ลของวัฒนธรรมและคุณคาตา ง ๆ ของสงั คม
น้ันได เนอื่ งจากสมาชิกของกลมุ มาจากวฒั นธรรมเดยี วกัน
10) สภาพของการสนทนากลุม ชว ยใหเ กดิ และไดขอ มูลทเี่ ปน จริง
1.4 การสัมมนา
“สัมมนา” มาจาก คําวา ส + มน แปลวา รวมใจ เปนศัพทบัญญัติใหตรงกับ คําวา
Seminar หมายถึง การประชมุ ที่สมาชกิ ซงึ่ มคี วามรู ความสนใจในเร่ืองเดียวกันมาประชุมดวยความรวมใจ
ปรึกษาหารือ รวมใจกนั คดิ ชวยกันแกปญ หา ซง่ึ มผี ใู หค าํ นิยามและทัศนะตาง ๆ ไว สรุปความหมายของ
การสัมมนา คือ การประชุมของกลุมบุคคลท่ีมีความรู ความสนใจ ประสบการณในเรื่องเดียวกัน ที่มี
จุดมุงหมาย เพ่อื รว มกันวิเคราะหและหาแนวทางการแกปญหาท่ีประสบอยูตามหลักการของประชาธิปไตย
ประโยชนของการสมั มนา
1. ผจู ัดสามารถดําเนนิ การจัดสมั มนาไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ
2. ผเู ขา รวมสัมมนาไดร บั ความรู แนวคิดจากการเขา รว มสมั มนา
3. ชว ยทาํ ใหระบบและวิธกี ารทํางานมีประสิทธภิ าพสูงขนึ้
4. ชวยแบง เบาภาระการปฏบิ ัติงานของผูบ ังคบั บัญชา
5. เปน การพัฒนาและสง เสรมิ ความกาวหนา ของผูปฏิบัติงาน
6. เกิดความริเริม่ สรางสรรค
7. สามารถสรา งความเขา ใจอันดตี อเพ่อื นรว มงาน
8. สามารถรวมกันแกป ญหาในการทาํ งานได และฝกการเปนผูนํา

48

องคประกอบของการสัมมนา
1. ผูดําเนินการสัมมนา
2. วทิ ยากร
3. ผูเขา รวมสัมมนา
ลักษณะทว่ั ไปของการสมั มนา
1. เปน ประเภทหนึง่ ของการประชุม
2. มีการยืดหยนุ ตามความเหมาะสม
3. เปน องคค วามรแู ละปญหาทางวิชาการ
4. เปน กระบวนการรวมผูทส่ี นใจในความรทู างวิชาการทีม่ รี ะดบั ใกลเคยี งกัน หรอื
แตกตา งกันมาสรา งสรรคอ งคค วามรใู หม จากการแลกเปลยี่ นความรู ความคดิ เห็น นํามาทดสอบประเมนิ คา
ความรูจากคนคนหนึง่ สอู ีกคนหนง่ึ ซง่ึ จะมคี ณุ คามากมาย เปน ลักษณะการแพรกระจายสูหลากหลาย
วงการอาชพี ซ่งึ จะทาํ ใหค วามรูเหลา นน้ั ไดถูกนําไปใชอยางแพรหลายมากขนึ้
5. อาศัยหลกั กระบวนการกลุม (Group dynamic หรอื group process)
6. เปน กจิ กรรมท่เี รงเราใหผ ูเ ขา รว มสมั มนา มคี วามกระตือรือรน
7. มีโอกาสนําเสนอ พดู คุย โตต อบซักถาม และแสดงความคิดเห็นตอ กนั
8. ไดพฒั นาทกั ษะ การพดู การฟง การคิด และการนําเสนอความคิด ความเชอื่ และ
ความรูอ น่ื ๆ ตลอดจนการเขียนรายงานหรอื เอกสารประกอบการสมั มนา
9. ฝก การเปน ผูน าํ และผตู ามในกระบวนการเรยี นรู คือ อาจมผี ทู รงคุณวฒุ ิ คณาจารย
หรือผเู ชยี่ วชาญ ท้งั หลายมาเปนวิทยากร หรอื ผูดําเนินรายการ คอยชวยประคับประคองกระบวนการ
สัมมนาใหบรรลุวัตถปุ ระสงค ขณะเดยี วกันผรู ว มสัมมนาจะเปน ผูตามในการเรียนรู มกี ารแลกเปล่ียน
ความรใู นระหวา งการสัมมนา
10. เล็งถงึ กระบวนการเรียนรู (process) มากกวาผลท่ีไดรับ (product) จากการสัมมนา
โดยตรง น่ันคือ ผลของการสัมมนาจะไดในรปู ของผรู ว มสมั มนาไดมีการพัฒนากระบวนการฟง การคิด
การแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ ซ่ึงกนั และกัน การทดสอบองคค วามรู การประเมินคา ความคิดเห็นจากผูรวม
สัมมนา เชน การไดเรียนรูวา การคิดของผูอื่นและของตนเอง มีวิธีการคิดท่ีเหมือนหรือแตกตางกัน
อยางไร รูจักตนเองวามีภูมิรูเปนท่ียอมรับของบุคคลอ่ืนมากนอยแคไหน ตนเองจะตองพัฒนาความรู
ความสามารถดานใด จึงจะเสนอความรู ความคิด ความเช่ือ และอ่ืน ๆ ของตนเองใหผูอ่ืนรับได และ
ความรเู ดิมกอใหเกิดความรูใหมอะไรบาง อยางไร

49

1.5 การสํารวจประชามติ
ประชามติ (Referendum) หมายถึงการลงประชามต,ิ คะแนนเสียงที่ประชาชนลง ความหมาย

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง มติของประชาชน สวนใหญในประเทศที่
แสดงออกในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง หรือในที่ใดที่หนึ่ง มติของประชาชนท่ีรัฐใหสิทธิออกเสียงลงคะแนน
รบั รองรา งกฎหมายทส่ี าํ คญั ที่ผา นสภานติ บิ ญั ญตั ิแลว หรือใหต ดั สนิ ปญ หาสาํ คัญ ๆ ในการบริหารประเทศ

ประเภทการสํารวจประชามติ
การสํารวจประชามตทิ างดา นการเมอื ง สวนมากจะรูจกั กนั ในนามของ Public Opinion
Polls หรอื การทําโพล ซึง่ เปน ที่รูจกั กนั อยางแพรหลาย คือ การทาํ โพลการเลือกตัง้ (Election Polls)
แบงได ดงั นี้
1. Benchmark Survey เปนการทาํ การสํารวจเพอื่ ตอ งการทราบความเหน็ ของประชาชน
เก่ยี วกบั การรับรเู รอื่ งราว ผลงานของผสู มคั ร ชือ่ ผูสมคั ร และคะแนนเสียงเปรียบเทยี บ
2. Trial Heat Survey เปน การหย่งั เสยี งวา ประชาชนจะเลอื กใคร
3. Tracking Polls การถามเพื่อดูแนวโนม การเปลี่ยนแปลง สวนมากจะทาํ ตอนใกล
เลือกตัง้
4. Cross-sectional vs. Panel เปนการทําโพล ณ เวลาใดเวลาหน่ึง หลาย ๆ คร้งั เพ่ือทาํ ให
เห็นวา ภาพผสู มคั รในแตละหว งเวลามีคะแนนความนยิ มเปนอยางไร แตไมทราบรูปแบบการเปลีย่ นแปลงท่ี
เกดิ ขนึ้ ในตัวคน ๆ เดียว จึงตอ งทํา Panel Survey
5. Focus Groups ไมใช Polls แตเ ปน การไดข อ มูลทค่ี อนขางนา เช่อื ถือได เพราะจะเจาะ
ถามเฉพาะกลมุ ท่ีรแู ละใหค วามสําคญั กับเรือ่ งน้ัน ๆ จริงจัง ปจจุบันนิยมเชิญผูเช่ียวชาญหลาย ๆ ดานมาให
ความเหน็ หรอื บางคร้ังกเ็ ชญิ กลมุ ตัวอยางมาถามโดยตรงเลย การทําประชุมกลุมยอยยังสามารถใชในการ
ถามเพือ่ ดวู า ทิศทางของคาํ ถามที่ควรถามควรเปน เชนไรดว ย
6. Deliberative Opinion รวมเอาการสํารวจท่ัวไป กับการทําการประชุมกลุมยอยเขา
ดวยกัน โดยการนําเอาตัวแทนประชาชนมารวมกัน แลวใหขอมูลขาวสารหรือโอกาสในการอภิปราย
ประเด็นปญหา แลวสาํ รวจความเหน็ ในประเด็นปญ หาเพื่อวัดประเด็นที่ประชาชนคดิ
7. Exit Polls การสมั ภาษณผ ูใชส ิทธิ์ออกเสยี งเมื่อเขาออกจากคูหาเลือกต้ัง เพื่อดูวาเขา
ลงคะแนนใหใคร ปจ จุบนั ในสงั คมไทยนยิ มมาก เพราะมีความนาเชอ่ื ถอื มากกวา Polls ประเภทอ่ืน ๆ
การสํารวจทัศนคติและความคิดเห็นทางดานการตลาด (Marketing Research) สวนมากจะ
เนนการศึกษาความเห็นของผูใชสินคาและบริการตอคุณสมบัติอันพึงประสงคของสินคาและบริการ
รวมท้ังความคาดหวังในการไดรับการสงเสริมการขายที่สอดรับกับความตองการของผูใชสินคาและ
บริการดวย

50

การสํารวจความเหน็ เก่ียวกับประเด็นที่เกยี่ วของกับการอยูรวมกันในสังคม เปนการสํารวจ
ความคดิ เห็นของสาธารณชนในมติ ิท่ีเกย่ี วของกบั สภาพความเบ่ียงเบนจากการจัดระเบียบสังคมท่ีมีอยูใน
สังคมใดสงั คมหนึง่ เพ่อื นาํ ขอมลู มากําหนดแนวทางในการแกไขปญ หาความสมั พนั ธท ีเ่ กิดขึ้นเปน วิธกี าร
ทีใ่ ชมากในทางรัฐศาสตรและสงั คมวทิ ยา เรียกวา การวิจยั นโยบายสาธารณะ (Policy Research)

กระบวนการสํารวจประชามติ
1. การกาํ หนดปญหาหรอื ขอ มูลท่ตี องการสาํ รวจ คอื การเลือกสง่ิ ท่ีตองการจะทราบจาก
ประชาชนเกี่ยวกบั นโยบาย บุคคล คณะบุคคล เหตุการณ ผลงาน และสถานท่ีตาง ๆ เชน ดานการเมือง
มักเก่ยี วขอ งกบั บุคคล นโยบายรัฐ ดา นสังคมวทิ ยา เก่ยี วกับความสัมพันธ สภาพปญ หาสังคมทเี่ กดิ ขนึ้
2. กลุมตวั อยาง ตวั แทน คอื การกาํ หนดกลุมตัวอยางของการสํารวจประชามติท่ีดีตอง
ใหครอบคลมุ ทุกเพศ วยั อาชพี ระดบั การศกึ ษา และรายได เพือ่ ใหไ ดเ ปนตัวแทนที่แทจริง ซึ่งจะมีผลตอ
การสรุปผล หากกลุมตัวอยางท่ีไดไมเปนตัวแทนท่ีแทจริงทั้งในดานคุณภาพและปริมาณ การสรุปอาจ
ผดิ พลาดได
3. การสรางแบบสอบถาม แบบสอบถาม คือ เคร่ืองมือวิจัย (Research Tool) ชนิดหน่ึง
ใชว ดั คา ตวั แปรในการวจิ ยั แบบสอบถามมสี ภาพเหมือนมาตรหรือมเิ ตอรท ่ใี ชในทางวทิ ยาศาสตร หรอื ใช
ในชวี ิตประจําวนั เชน มาตรวัดความดันนํา้ มาตรวดั ปริมาณไฟฟา แบบสอบถามทใี่ ชในการทาํ ประชามติ
คอื มาตรวดั คุณสมบัตขิ องเหตุการณทท่ี ําการศกึ ษา (Likert scale) เครอ่ื งมอื วัดทัศนคติ หรือความคิดเห็น
ทกี่ าํ หนดคะแนนของคาํ ตอบในแบบสอบถาม สวนใหญก าํ หนดนํ้าหนกั ความเห็นตอคาํ ถามแตล ะขอ เปน
5 ระดับ เชน “เหน็ ดวยอยางยงิ่ ” ใหมีคะแนนเทา กับ 5 “เหน็ ดว ย” ใหม ีคะแนนเทากบั 4 “เฉย ๆ” หรือ
“ไมแ นใ จ” หรอื “เหน็ ดว ย ปานกลาง” ใหมีคะแนนเทากับ 3 “ไมเ ห็นดวย” ใหมคี ะแนนเทากบั 2 และ ”
ไมเ หน็ ดว ยอยา งยิง่ ” ใหม ีคะแนนเทากับ 1 คะแนนของคาํ ตอบเกย่ี วกับทัศนคตหิ รอื ความคดิ เห็นแตละชุด
จะนํามาสรา งเปน มาตรวดั ระดับของทศั นคติหรือความคิดเห็นในเรื่องนั้น ๆ การออกแบบสอบถามเปน
ทงั้ ศาสตรและศิลป การออกแบบสอบถามไดชดั เจน เขาใจงาย สามารถเปดโอกาสใหไดมีโอกาสคิดไดบาง
เปนสิ่งท่ีทําไดยาก เปนเร่ืองความสามารถในการเรียบเรียงขอความใหตรงกับความเขาใจของคนตอบ
และคนตอบตอ งเขาใจคลายกันดวย จึงจะทําใหไ ดข อ มลู ทม่ี คี วามนา เช่อื ถือ (Reliable)
4. ประชุมเจาหนาที่เก็บขอมูล เปนการประชุม เพ่ือซักซอมความเขาใจในประเด็น
คําถามทถ่ี ามใหตรงกนั ความคาดหวงั ในคาํ ตอบ ประเภทการใหค าํ แนะนาํ วิธกี ารสัมภาษณ การจดบันทึก
ขอมูล การหาขอมูลเพ่ิมเตมิ ในกรณที ่ยี งั ไมไ ดคาํ ตอบ
5. การเก็บขอ มลู ภาคสนาม เจาหนา ท่เี กบ็ ขอ มูล จะไดรบั การฝกในเรือ่ งวิธีการสัมภาษณ
การบันทึกขอมลู และการตรวจสอบความถกู ตอ งของขอ มลู การเก็บขอมูล การสาํ รวจประชามติ สามารถ
ดําเนินการได 3 ทาง คือ การสัมภาษณแบบเห็นหนา (Face to Face) การสัมภาษณทางโทรศัพท และ
การสง แบบสอบถามทางไปรษณยี 

51

6. การวเิ คราะหขอมลู ในกรณีการสาํ รวจประชามติ การวเิ คราะหขอมูลสวนมาก ไม
สลบั ซับซอนเปนขอมูลแบบรอยละ เพื่อตคี วามและหยบิ ประเด็นที่สาํ คัญ จัดลําดบั ความสําคญั

7. การนําเสนอผลการสาํ รวจประชามติ มีโวหารท่ีใชนําเสนอผลการสํารวจประชามติ
ดังนี้

7.1โวหารท่เี นน นัยสาํ คัญทางสถิติ นําเสนอผลโดยสรางความเชื่อมั่นจากการอางถึง
ผลทมี่ ีนัยสาํ คญั ทางสถติ ิรองรบั

7.2 โวหารวา ดวยเปน วทิ ยาศาสตร การนาํ เสนอผลโดยการอางถึงกระบวนการไดมา
ซึ่งขอมูลทเี่ นนการสังเกตการณ การประมวลขอมูลดวยวธิ กี ารที่เปนกลาง

7.3 โวหารในเชิงปรมิ าณ นําเสนอผลโดยใชตวั เลขทสี่ ํารวจไดมาสรา ง
ความนาเชอื่ ถอื และความชอบธรรมในประเด็นทศ่ี กึ ษา

7.4 โวหารวาดวยความเปนตัวแทน การนําเสนอขอมูลในฐานะที่เปนตัวแทนของ
กลมุ ตัวอยางทที่ าํ การศกึ ษา

1.6 การประชาพจิ ารณ
การทาํ ประชาพจิ ารณ หมายถึง การจดั เวทสี าธารณะเพอ่ื ใหป ระชาชนโดยเฉพาะผเู กยี่ วของ

หรือผูท่มี สี ว นไดเสียโดยตรง ไดม โี อกาสทราบขอ มลู ในรายละเอยี ดเพ่อื เปนการเปด โอกาสใหมีสวนใน
การแสดงความคิดเห็น และมีสวนรว มในการใหข อมลู และความคดิ เห็นตอ นโยบายหรือโครงการนน้ั ๆ
ไมวาจะเปน การเห็นดว ยหรือไมเห็นดว ยก็ตาม

การจัดทาํ ประชาพิจารณ เปน กระบวนการหนงึ่ ในการดําเนนิ การของรัฐเก่ียวกับการรับฟง
ความคดิ เหน็ ของประชาชนตามระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรบั ฟง ความคดิ เหน็ ของประชาชน
พ.ศ. 2548 ในเร่ืองท่ีเก่ียวกับการจัดทําหรือการดําเนินโครงการของหนวยงานของรัฐกอนการดําเนิน
โครงการในการรับฟง ความคดิ เหน็ ของประชาชน หนวยงานของรัฐตองประกาศใหประชาชนทราบถึง
วธิ กี ารรับฟงความคิดเห็น ระยะเวลา สถานที่ ตลอดจนรายละเอียดอ่ืนท่ีเพียงพอแกการที่ประชาชนจะ
เขา ใจและแสดงความคิดเห็นได

ขนั้ ตอนการทําประชาพิจารณ
นาํ เสนอตัวอยางการทาํ ประชาพิจารณของสภารา งรัฐธรรมนญู เพ่ือใหรางรัฐธรรมนูญฉบับที่จะ
ทําขึ้นน้ี เปนของประชาชนโดยแทจริง สภารางรัฐธรรมนูญไดแตงต้ังคณะกรรมาธิการ รับฟงความ
คิดเห็น และประชาพิจารณข้ึน เพื่อรวบรวมความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับรางรัฐธรรมนูญโดยมี
ขัน้ ตอนดงั น้ี คือ
ขน้ั ตอนท่ี 1 สมาชกิ สภารางรฐั ธรรมนญู นาํ ประเดน็ หลกั และหลักการสาํ คัญในการแกไขปญ หา
ซง่ึ แยกเปน 3 ประเดน็ คอื ประเด็นเรื่องสทิ ธิและการมีสวนรว มของพลเมือง ประเด็นเรื่องการตรวจสอบ

52

การใชอาํ นาจรัฐ และประเดน็ เรอ่ื งสถาบันการเมอื งและความสัมพันธร ะหวา งสถาบนั การเมืองออกไปรับ
ฟง ความคดิ เหน็ ของประชาชนเบ้ืองตน และนาํ ขอ มูลเสนอกรรมาธิการ ภายในชวงตน เดือนเมษายน

ขั้นตอนท่ี 2 กรรมาธิการรับฟงความคิดเห็นและประชาพิจารณออกรับฟงความคิดเห็นจาก
ประชาชนจงั หวัดตา ง ๆ จนถึงเดือนมิถุนายน

ขัน้ ตอนที่ 3 คณะกรรมาธิการรับฟงความคิดเห็นและประชาพิจารณ สงผลสรุปความคิดเห็นของ
ประชาชนท่ีไดจ ากการจดั ทําสมัชชาระดับจงั หวดั ใหก รรมาธกิ ารยกรางรฐั ธรรมนญู

เรอ่ื งที่ 2 การจดั ทําแผน

2.1 แผน (plan) หมายถึง การตัดสินใจที่กําหนดลวงหนาสําหรับการเลือกใชแนวทางการ
ปฏิบัติการ ประกอบดวยปจจัยสําคัญ คือ อนาคต ปฏิบัติการและส่ิงท่ีตองการใหเกิดข้ึน น่ันคือ องคกร
หรอื แตละบุคคลทตี่ องรับผิดชอบ (ขรรคชยั คงเสนห  และคณะ, 2545)

แผนแบง ตามขอบเขตของกจิ กรรมที่ทํา (Scope of activity) เปน 2 ประเภท คือ
1. แผนกลยุทธ (Strategic plan) เปน แผนท่ีทําข้ึน เพ่ือสนองความตองการในระยะยาว
และรวมกิจกรรมทุกอยางของหนวยงาน ผูบริหารระดบั สูงทว่ี างแผนกลยุทธจะตองกําหนดวัตถุประสงค
ของทัง้ หนวยงาน แลวตดั สินใจวา จะทําอยางไร และจะจัดสรรทรัพยากรอยางไร จึงจะทําใหสําเร็จตาม
เปาหมายน้นั จะตอ งใชเ วลาในการกําหนดกิจกรรมที่แตกตางกันในแตละหนวยงาน รวมทั้งทิศทางการ
ดําเนินงานที่ไมเหมือนกัน ใหอยูในแนวเดียวกัน การตัดสินใจท่ีสําคัญของแผนกลยุทธก็คือ การเลือก
วธิ ีการในการดาํ เนนิ งานและการจัดสรรทรัพยากรทม่ี อี ยูอยางจาํ กดั ใหเ หมาะสม เพือ่ ท่ีจะนาํ พาหนวยงาน
ใหก า วไปขางหนา อยา งสอดคลองกบั สถานการณแวดลอมภายนอกท่ีเปล่ียนแปลงตลอดเวลา
2. แผนดาํ เนนิ งานหรือแผนปฏบิ ตั กิ าร (Operational plan) เปน แผนท่ีกําหนดขน้ึ มาใช
สําหรับแตละกิจกรรมโดยเฉพาะ เพือ่ ใหบรรลเุ ปาหมายของแตล ะกจิ กรรม ซ่ึงเทา กับเปนแผนงานเพ่ือให
แผนกลยุทธบ รรลผุ ลหรือเปนการนาํ แผนกลยทุ ธไปใชน น่ั เอง แผนดําเนนิ งานทีแ่ ยกเปน แตละกจิ กรรมก็
ไดแก แผนการผลิต แผนการเงิน แผนการตลาด แผนทรพั ยากรมนษุ ยแ ละแผนอปุ กรณ เปน ตน
ปจจบุ ันหนว ยงานไดนาํ แผนทมี่ ขี อบขา ยความรับผดิ ชอบเชอ่ื มโยงนโยบายกบั แผนงาน
เปน “ยทุ ธศาสตร” คอื การตดั สนิ ใจจากทางเลอื กท่ีเชื่อวา ดที สี่ ดุ และเปน ไปไดทส่ี ุด เรยี กวา แผนยุทธศาสตร
แผนทีด่ ี ตองประกอบดวยคณุ ลกั ษณะ ดงั ตอ ไปนี้

 ตอ งกาํ หนดวัตถปุ ระสงคของแผนอยา งชดั เจน
 ตอ งนําไปปฏิบตั งิ าย และสะดวกตอ การปฏบิ ตั ิ
 ตองยืดหยุนไดต ามสภาพการณ
 ตอ งกําหนดมาตรฐานของการปฏิบัติงานไว

53

 ตองมคี วามละเอียดถี่ถวนเปนแผนทส่ี มบูรณแ บบ
 ตอ งทําใหเ กิดประโยชนแ กผูเก่ยี วขอ ง เพอื่ จูงใจใหทกุ คนปฏิบัตติ ามแผนนัน้
2.2 โครงการ (Project)
โครงการ คือ “แผนหรือ เคาโครงการตามท่ีกําหนดไว” เปนสวนประกอบสวนหนึ่งใน
การวางแผนพฒั นาทีช่ วยใหเ หน็ ภาพ และทศิ ทางการพฒั นา มีขอบเขตทส่ี ามารถติดตามและประเมนิ ผลได
โครงการ (project) ถือเปนสวนประกอบสําคัญของแผน เปนแผนจุลภาคหรือ แผน
เฉพาะเรื่อง ท่จี ดั ทาํ ขน้ึ เพอ่ื พัฒนาหรือแกป ญ หาใดปญหาหน่ึงขององคกร แผนงานที่ปราศจากโครงการ
ยอมเปน แผนงานทไ่ี มส มบรู ณ ไมส ามารถนาํ ไปปฏิบัติใหเปน รูปธรรมได โครงการจงึ มีความสมั พันธกับ
แผนงาน
การเขยี นโครงการขนึ้ มารองรบั แผนงานยอมเปน สง่ิ สําคญั และจาํ เปน ย่ิง จะทําใหงายใน
การปฏิบัติและงายตอการติดตามและประเมินผล เพราะถาโครงการบรรลุผลสําเร็จ นั่นหมายความวา
แผนงานและนโยบายน้ันบรรลผุ ลสําเร็จดว ย โครงการ จงึ เปรยี บเสมอื นพาหนะท่ีนําแผนปฏิบัติการไปสู
การดําเนนิ งานใหเ กดิ ผล เพือ่ ไปสูจุดหมายปลายทางตามท่ีตองการ อกี ทงั้ ยังเปน จดุ เชอ่ื มโยงจากแผนงาน
ไปสแู ผนเงิน และแผนคนอกี ดวย
โครงการมีลักษณะสําคญั ดังนี้
1. เปนระบบ (System) มขี ้นั ตอนการดาํ เนนิ งาน
2. มีวตั ถปุ ระสงค (Objective) เฉพาะชัดเจน
3. มีระยะเวลาแนนอน (มจี ดุ เริ่มตนและจดุ สิ้นสดุ ในการดาํ เนินงาน)
4. เปน เอกเทศและมีผรู ับผดิ ชอบโครงการอยา งชัดเจน
5. ตองใชท รัพยากรในการดําเนนิ การ
6. มเี จาของงานหรอื ผจู ดั สรรงบประมาณ
ในปจจบุ นั สํานกั งานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ไดใชว ิธกี ารเขยี น
โครงการแบบผสมผสานระหวา งแบบประเพณนี ยิ ม และแบบตารางเหตุผลตอเน่ือง ซงึ่ มรี ายละเอียดและ
ขัน้ ตอน ดงั นี้

หัวขอ 54
1. ชื่อโครงการ
ลกั ษณะ/รูปแบบ/แนวทางการเขยี น
2. หลักการและเหตผุ ล เปนชื่อที่สั้น กระชับ เขาใจงาย และส่ือไดชัดเจนวาเน้ือหา
สาระของส่ิงท่ีจะทําคืออะไร โดยท่ัวไปชื่อโครงการ มี
องคป ระกอบ 2 สวน คือ สวนท่ี 1 เปนประเภทของโครงการ
เชน โครงการฝก อบรม โครงการสมั มนา โครงการประชมุ เชิง
ปฏิบัติการ สวนท่ี 2 เปนลักษณะหรือความเก่ียวของของ
โครงการ วาเกยี่ วกับเรือ่ งอะไร หรอื เกย่ี วกบั ใคร เชน กําหนด
ตามตาํ แหนงงานของผเู ขา รวมโครงการ กําหนดตามลักษณะ
ของเน้ือหาวิชาหลักของหลักสูตรหรือประกอบกันทั้งสอง
สวน เชน โครงการอบรมอาชีพไมดอกไมประดับ โครงการ
สรางเสรมิ สขุ ภาพผสู งู อายุ โครงการจัดการขยะ มลู ฝอยชุมชน
เปน ตน
ความสําคญั ของโครงการ บอกสาเหตหุ รือปญหาที่ทําใหเกดิ
โครงการนขี้ ้นึ และทส่ี าํ คัญคอื ตอ งบอกไดวา ถา ไดทํา
โครงการแลวจะแกไขปญ หานต้ี รงไหน การเขยี นอธิบาย
ปญ หาที่มาโครงการ ควรนาํ ขอมูลสถานการณป ญ หาจาก
ทอ งถิ่นหรือพ้นื ที่ทจ่ี ะทาํ โครงการมาแจกแจงใหผูอ า นเกดิ
ความเขาใจชดั เจนขน้ึ โดยมีหลกั การเขยี น ดังนี้
1. เขยี นในลักษณะบรรยายความ ไมนิยมเขยี นเปน ขอ ๆ
2. เขยี นใหชดั เจน อานเขา ใจงาย และมเี หตผุ ล

สนับสนุนเพยี งพอ ลําดบั ท่ีหนึ่ง เปนการบรรยายถงึ เหตผุ ล
และความจาํ เปน ในการจดั โครงการโดยบอกท่ีมา และ
ความสาํ คญั ของโครงการนนั้ ๆ ลาํ ดบั ทสี่ อง เปนการอธิบาย
ถงึ ปญหาขอขดั ของ หรือ พฤติกรรมที่เบยี่ งเบนจากหลกั การท่ี
ควรจะเปน ซง่ึ ทาํ ใหเกดิ ความเสียหายในการปฏิบตั งิ าน (หรอื
อาจเขยี นรวมไวใ นลาํ ดบั แรกก็ได) สุดทา ยเปน
การสรปุ วา จากสภาพปญหาท่เี กดิ ข้นึ ผูร ับผิดชอบจงึ เห็นความ
จําเปน ทจี่ ะตองจดั ทําโครงการขึ้นในเรือ่ งอะไร และสําหรบั
ใคร เพือ่ ใหเกดิ ผลอยา งไร

หัวขอ 55
3. วตั ถุประสงค
ลกั ษณะ/รปู แบบ/แนวทางการเขยี น
4. เปาหมาย ระบสุ งิ่ ทต่ี อ งการใหเ กดิ ขึน้ เม่ือดาํ เนนิ การตามโครงการน้แี ลว
5. กลมุ เปา หมาย โดยตอบคาํ ถามวา “จะทําเพือ่ อะไร” หรือ “ทําแลว ไดอะไร”
6. วธิ ีดาํ เนินการ โดยตองสอดคลองกับหลักการและเหตุผล วตั ถุประสงคท ด่ี ี
ควรเปนวตั ถปุ ระสงคเ ชงิ พฤตกิ รรม ซงึ่ สามารถสงั เกตไดแ ละ
วัดได องคประกอบของวัตถปุ ระสงคทด่ี ี มดี งั นี้
1. เขา ใจงาย ชดั เจน ไมค ลมุ เครือ
2. เฉพาะเจาะจง ไมก วา งจนเกนิ ไป
3. ระบุถึงผลลัพธที่ตอ งการ วา ส่งิ ที่ตองการใหเกดิ ขึ้นคอื อะไร
4. สามารถวัดได ทั้งในแงข องปริมาณและคุณภาพ
5. มีความเปนไปได ไมเลอ่ื นลอย หรอื ทําไดย ากเกิน

ความเปนจริง คํากริยาที่ควรใชในการเขยี นวัตถุประสงค
ของโครงการ แลวทาํ ใหสามารถวดั และประเมินผลได
ไดแ ก คาํ วา เพอ่ื ให แสดง กระทํา ดําเนนิ การ วัด เลือก
แกไข สาธิต ตดั สนิ ใจ วเิ คราะห วางแผน มอบหมาย
จาํ แนก จัดลาํ ดบั ระบุ อธบิ าย แกปญหา ปรับปรงุ
พัฒนา ตรวจสอบ
ระบุส่งิ ทต่ี อ งการใหเ กดิ ข้นึ ทง้ั ในเชงิ ปรมิ าณ และเชงิ คณุ ภาพ
ในแตละชว งเวลาจากการดําเนนิ การตามโครงการนีแ้ ลว โดย
ตอบคําถามวา “จะทาํ เทาใด”
ใครคอื กลุม เปา หมายของโครงการ หากกลุม เปาหมายมหี ลาย
กลุมใหบ อกชดั ลงไปวา ใครคือกลมุ เปาหมายหลกั ใครคือ
กลุมเปา หมายรอง
บอกรายละเอยี ดวธิ ีดาํ เนินการ โดยระบุเวลาและกจิ กรรมการ
ดาํ เนนิ โครงการ (ควรมีรายละเอียดหัวขอกจิ กรรม)

หัวขอ 56
7. งบประมาณ
ลักษณะ/รปู แบบ/แนวทางการเขยี น
8. ระยะเวลาดําเนนิ งาน เปนสว นที่แสดงยอดงบประมาณ พรอมแจกแจงคาใชจา ย
9. สถานท่ี ในการดาํ เนนิ กจิ กรรมขนั้ ตาง ๆ โดยทวั่ ไปจะแจกแจงเปน
10. ผรู บั ผดิ ชอบ หมวดยอ ย ๆ เชน หมวดคา วสั ดุ หมวดคาใชจา ย หมวด
11. โครงการ/กจิ กรรมท่ี คา ตอบแทน หมวดคา ครภุ ัณฑ ซง่ึ การแจกแจงงบประมาณจะ
มปี ระโยชนใ นการตรวจสอบความเปน ไปไดแ ละความ
เก่ียวของ เหมาะสม นอกจากนค้ี วรระบแุ หลง ทม่ี าของงบประมาณดว ย
วาเปนงบประมาณแผนดิน งบชว ยเหลอื จากตา งประเทศ เงนิ กู
หรืองบบริจาค จํานวนเทาไร ในการจดั ทําประมาณการ
คาใชจายของโครงการจะตองตระหนักวา คาใชจา ยทง้ั หมด
แบงออกไดเ ปน 2 สวน คอื คาใชจ ายจากโครงการ หรือ
งบประมาณสว นทจี่ ายจรงิ และคาใชจ า ยแฝง ไดแก คาใชจ า ย
อ่ืน ๆ ท่ีเกดิ ขึน้ จริง หรือมกี ารใชจ ายอยจู รงิ แตไมส ามารถระบุ
รายการคาใชจ า ยน้ัน ๆ เปนจํานวนเงินไดอยางชดั เจน ดงั นนั้
ผูค ิดประมาณการตองศกึ ษาและทําความเขา ใจในรายละเอียด
โครงการหลกั เกณฑและอตั ราการเบกิ จา ยเงนิ งบประมาณตาม
ระเบยี บดวย
ตอบคําถามวา “ทําเมื่อใด และนานเทาใด” (ระบุเวลาเรม่ิ ตนและ
เวลาสิน้ สดุ โครงการอยางชัดเจน) โดยจะตองระบุ วัน เดือน ป
เชน เดยี วกับการแสดงแผนภมู ิแกนท (Gantt Chart)
เปนการระบุสถานที่ตั้งของโครงการหรอื ระบวุ า กจิ กรรมนน้ั
จะทํา ณ สถานทแ่ี หงใด เพื่อสะดวกตอ การประสานงานและ
จดั เตรยี มสถานที่ใหพ รอ มกอ นทีจ่ ะทํากิจกรรมน้นั ๆ
เปนการระบเุ พ่ือใหท ราบวาหนว ยงานใดเปนเจาของ หรือ
รบั ผิดชอบโครงการ โครงการยอย ๆ บางโครงการระบุเปน
ชือ่ บคุ คลผูรับผิดชอบเปนรายโครงการ
หลาย ๆ โครงการทหี่ นว ยงานดาํ เนนิ งานอาจมคี วามเกย่ี วของกนั
หรอื ในแตล ะแผนอาจมีโครงการหลายโครงการ หรอื บาง
โครงการเปนโครงการยอยในโครงการใหญ ดังนัน้ จงึ ตอง
ระบโุ ครงการทม่ี คี วามเกี่ยวของดว ย

57

หวั ขอ ลกั ษณะ/รปู แบบ/แนวทางการเขียน
12. เครือขา ย/หนวยงานทใ่ี ห
ในการดําเนินการโครงการ ควรจะประสานงานและขอ
การสนบั สนุน ความรวมมือกับหนวยงานอ่ืน หากมีหนวยงานรวมดําเนิน
โครงการมากกวาหนง่ึ หนวยงานตอ งระบุช่อื ใหค รบถว น และ
3. ผลทค่ี าดวา จะไดรับ แจกแจงใหช ดั เจนดวยวาหนวยงานท่ีรวมโครงการแตละฝาย
14. การประเมนิ โครงการ จะเขามามีสวนรวมโครงการในสวนใด ซึ่งจะเปนขอมูล
สะทอนใหเห็นวาโครงการจะประสบผลสําเร็จและเกิดผล
15. ตัวชวี้ ดั ผลสาํ เร็จของ ตอ เนอ่ื ง
โครงการ เมือ่ โครงการน้ันเสรจ็ ส้นิ แลว จะเกิดผลอยา งไรบา งใครเปน
ผไู ดร บั ผลประโยชนโดยตรงและผลประโยชนใ นดา น
ผลกระทบของโครงการ
บอกรายละเอียดการใหไ ดม าซึง่ คาํ ตอบวา โครงการทจี่ ัดนี้มี
ประโยชนแ ละคุมคาอยางไร โดยบอกประเดน็ การประเมนิ /
ตัวช้วี ดั แหลง ขอ มูล วธิ ีการประเมนิ ใหสอดคลอ งกบั
วตั ถุประสงคหรอื เปา หมายของโครงการ
1. ตวั ชีว้ ัดผลผลติ (output) หมายถงึ ตัวชว้ี ัดทแ่ี สดงผลงาน
เปน รปู ธรรมในเชิงปรมิ าณและ / หรอื คณุ ภาพอนั เกิดจากงาน
ตามวตั ถปุ ระสงคข องโครงการ
2. ตวั ชีว้ ัดผลลัพธ (out come) หมายถึง ตวั ชีว้ ดั ทแี่ สดงถงึ
ผลประโยชนจ ากผลผลติ ท่มี ผี ลตอบคุ คล ชมุ ชน สงิ่ แวดลอ ม
เศรษฐกจิ และสังคมโดยรวม

เร่อื งท่ี 3 การเผยแพรสูการปฏบิ ัติ

3.1 การเขยี นรายงาน
การเขยี นรายงาน คอื การเขียนรายละเอียดตาง ๆ เก่ยี วกับการดําเนนิ งานของบคุ คลใน

หนวยงาน ซึ่งรายงานแตละประเภทนนั้ กจ็ ะมวี ธิ ีการเขียนทีแ่ ตกตางกนั ออกไป รายงานจงึ เปนส่งิ จําเปน
และสาํ คญั ในการบริหารงาน และการทีจ่ ะเสนอการเขยี นรายงานนัน้ ใหอ อกมาอยางมีประสทิ ธภิ าพ และ
รวดเรว็ น้ัน ควรท่ีจะมีการวางแผนกาํ หนดเวลาเร่ิมตน และเวลาสน้ิ สุดของแตละรายงานไวด วย

58

วิธีการเขยี นรายงาน
1. เขยี นใหส ัน้ เอาแตข อความท่จี ําเปน
2. ใจความสาํ คญั ครบถวนวา ใคร ทาํ อะไร ทไ่ี หน เม่ือไร อยางไร
3. เขยี นแยกเร่ืองราวออกเปน ประเดน็ ๆ
4. เนือ้ ความทเ่ี ขียนตองลําดับไมส ับสน
5. ขอมูล ตัวเลข หรือสถิติตา ง ๆ ควรไดมาจากการพบเห็นจริง
6. ถาตอ งการจะแสดงความคดิ เห็นประกอบ ควรแยกความคิดออกจากตวั ขา วหรือ

เร่อื งราวทเี่ สนอไปน้นั
7. การเขยี นบันทกึ รายงาน ถา เปน ของทางราชการ ควรเปน รปู แบบทใ่ี ชแนน อน
8. เม่ือบันทกึ เสร็จแลว ตองทบทวนและตง้ั คําถามในใจวา ควรจะเพม่ิ เติมหรือตัดทอน

สวนใดทงิ้ หรือตอนใดเขยี นแลว ยงั ไมชดั เจน ก็ควรจะแกไขใหเ รยี บรอ ย
วธิ ีการเขยี นรายงานจากการคนควา
1. รายงานคน ควา เชงิ รวบรวม เปน การรวบรวมขอมูลจากแหลงตาง ๆ มาเรยี บเรยี ง

ปะตดิ ปะตอ กันอยา งมีระบบระเบียบ
2. รายงานคน ควา เชงิ วเิ คราะห เปนการนาํ ขอมลู ตาง ๆ ท่ไี ดม าวิเคราะห หรอื คน หา

คาํ ตอบในประเดน็ ใหช ดั เจน
วิธีการนําเสนอรายงาน
1. รายงานดวยปากเปลา (Oral Reports) หรอื เสนอดว ยวาจา โดยการเสนอแบบบรรยาย

ตอที่ประชุมตอ ผูบังคับบัญชา ฯลฯ ในกรณีพิเศษเชนน้ี ควรจดั เตรียมหวั ขอ ที่สาํ คัญ ๆ ไวใ หพรอ ม โดย
การคดั ประเดน็ เร่อื งท่สี าํ คญั จัดลาํ ดับเรื่องทจ่ี ะนําเสนอกอนหนาหลังไว

2. รายงานเปน ลายลักษณอ ักษร (Written Reports) มักทาํ เปนรูปเลม เปนรปู แบบการ
นําเสนออยา งเปน ทางการ (Formal Presentation)

ลักษณะของรายงานทด่ี ี
1. ปกสวยเรียบ
2. กระดาษทใี่ ชม ีคณุ ภาพดี มขี นาดถกู ตอง
3. มหี มายเลขแสดงหนา
4. มีสารบญั หรือมหี วั ขอ เรื่อง
5. มีบทสรปุ ยอ
6. การเวนระยะในรายงานมคี วามเหมาะสม
7. ไมพมิ พข อ ความใหแนน จนดลู านตาไปหมด

59

8. ไมม ีการแก ขดู ลบ
9. พิมพอยางสะอาดและดเู รียบรอย
10. มผี งั หรอื ภาพประกอบตามความเหมาะสม
11. ควรมกี ารสรุปใหเ หลอื เพยี งสั้น ๆ แลว นํามาแนบประกอบรายงาน
12. จดั รปู เลมสวยงาม
3.2 การเขยี นโครงงาน
โครงงาน เปนกิจกรรมการเรียนการสอนทเี่ นน ผูเรยี นเปน สําคัญอยางแทจรงิ เพราะผูเ รยี น
เปนผทู ่สี รา งความรดู ว ยตนเอง เรม่ิ จากการเลือกหวั ขอหรอื ปญหาที่มาจากความสนใจ ความสงสยั หรอื
ความอยากรูอยากเห็นของตนเอง หวั ขอของโครงงานควรเปนเร่ืองใหม ทเี่ ฉพาะเจาะจง และทส่ี ําคญั ตอง
เหมาะสมกับความรูความสามารถของตน การเขยี นโครงงานเปนการกําหนดกรอบในการทาํ งาน การเขียน
โครงงานโดยทั่วไปจะมอี งคป ระกอบเชน เดยี วกับการเขียนโครงการ แตโ ครงงานเปนงานท่ีทําเสรจ็ แลว
จะมชี ้ินงานดวยเม่ือมีโครงงาน และดาํ เนนิ การจดั ทาํ โครงงานเสร็จเรยี บรอยแลว ชน้ิ สดุ ทา ย คอื การเขียน
รายงานโครงงาน
การเขียนรายงานโครงงาน โดยทวั่ ไปมอี งคป ระกอบดงั น้ี
1. ช่อื โครงงาน ชอ่ื ผูทาํ โครงงาน
2. คํานาํ - สารบญั
3. ท่ีมาของโครงงาน อธบิ ายเหตุผลในการทาํ โครงงานน้ี
4. วัตถปุ ระสงคข องการทาํ โครงงาน
5. วิธดี าํ เนนิ การควรแยกเปน 3 ข้ันตอน

ข้ันตอนที่ 1 การเตรียมการ
ขั้นตอนท่ี 2 กระบวนการ วิธีดําเนนิ งานโครงงาน
ขนั้ ตอนที่ 3 ผลงานโครงงาน ประโยชนทไ่ี ดร บั
6. สรปุ ผลและขอ เสนอแนะ

60

กิจกรรมบทที่ 5

คําช้ีแจง

ใหผเู รยี นตอบคําถามตอ ไปน้ี โดยเขยี นตอบลงในสมุดบันทึกกจิ กรรมของผเู รียน แลว ตรวจสอบ
ความถกู ตองจากแนวเฉลยกจิ กรรมทายหนงั สือเรียน

1. เขยี นการเตรียมประเดน็ หนง่ึ ประเดน็ ใดในการจัดทําเวทปี ระชาคมโดยใชตาราง
2. บอกขอ ดีของการจดั สนทนากลมุ
3. บอกประโยชนข องการสมั มนา
4. การสาํ รวจประชามตมิ กี ป่ี ระเภท อะไรบาง
5. บอกลักษณะของรายงานท่ดี มี กี ่ขี อ อะไรบา ง
6. ใหผเู รยี นศกึ ษาคน ควาความรใู นเรอ่ื งที่ตนเองสนใจแลวนาํ มาเขยี นรายงานในรปู แบบการ
เขียนรายงานคน ควาเชงิ รวบรวม ไมน อ ยกวา 1 หนากระดาษ
7. เขยี นสรปุ ลกั ษณะของโครงงานหน่งึ หวั ขอ โดยระบุทมี่ า/ชอ่ื ผเู ขยี นดว ย
8. เขยี นสรปุ การทาํ งาน/กจิ กรรมเปน กลุม นน้ั มีประโยชน ทําใหไ ดพ ฒั นาตนเองอยางไร

61

บทท่ี 6
บทบาท หนา ท่ีของผนู าํ สมาชิกทีด่ ีของชุมชนและสังคม

สาระสําคญั
สิง่ สาํ คญั ทมี่ ีผลตอ ความสาํ เรจ็ ของการพัฒนาชุมชน และสงั คม ก็คือ ผูนํา เพราะผูนํามีภาระหนาท่ี

และความรับผิดชอบท่ีจะตองวางแผน สั่งการ ดูแล และควบคุมใหการทํางานใด ๆ สําเร็จซ่ึงในการ
ปฏิบัตงิ านตาง ๆ จะมีการแบงบทบาท หนาที่ ความรับผิดชอบ เพ่ือใหก ารทํางานเปนไปดว ยความราบร่ืน
มีปญหาอุปสรรคนอยท่ีสุด งานสําเร็จตามวัตถุประสงคท่ีตั้งไว และเกิดประโยชนตอองคการ ซ่ึงการ
จัดทําและขบั เคลอื่ นแผนพัฒนาชมุ ชน และสงั คมจะสําเร็จไดก็จะตอ งมผี ูนาํ และผตู ามท่ีดี
ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวงั

เม่อื ศึกษาบทท่ี 6 จบแลว ผูเรียนสามารถ
1. รูและเขา ใจบทบาท หนา ทข่ี องผูน าํ ชุมชน
2. เปนผนู ํา ผูตามในการจัดทําและขับเคลื่อนแผนพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม
ขอบขา ยเนื้อหา

เร่อื งที่ 1 ผนู ําและผูตาม
เรอื่ งที่ 2 ผูน ํา ผูตาม ในการจดั ทาํ แผนพฒั นาชุมชน สังคม
เร่ืองที่ 3 ผูน ํา ผูตามในการขบั เคล่อื นแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม

62

เรือ่ งที่ 1 ผูนําและผูตาม
ในการจัดทําและขับเคล่ือนแผนพัฒนาชุมชน สังคม ส่ิงสําคัญที่มีผลตอความสําเร็จของการ

พฒั นาชุมชน และสังคม กค็ ือผนู ํา เพราะผนู ํามีภาระหนา ท่ีและความรับผิดชอบท่ีจะตองวางแผน ส่ังการ
ดูแล และควบคุมใหการทํางานใด ๆ สาํ เร็จ ซง่ึ ในการปฏบิ ัตงิ านตาง ๆ จะมีการแบง บทบาท หนาที่ ความ
รับผิดชอบ เพ่ือใหการทํางานเปนไปดวยความราบรื่น มีปญหา อุปสรรคนอย และงานสําเร็จตาม
วัตถุประสงคท่ีตั้งไว ซ่ึงการจัดทําและขับเคล่ือนแผนพัฒนาชุมชน สังคม จะสําเร็จไดตองอาศัยการ
ทาํ งานทม่ี ีผนู ําและผูต ามท่ีดี
1.1 ผนู าํ

ความหมายของผูนาํ
ผนู ํา (Leader) คอื บุคคลทม่ี คี วามสามารถในการชกั จูงใหค นอน่ื ทํางานในสวนตาง ๆ ท่ีตองการ

ใหบ รรลุเปา หมายและวัตถุประสงคท ่ีตงั้ ไว ทง้ั นีผ้ นู ําอาจเปน บุคคลท่มี าจากการเลือกตงั้ หรอื แตงต้ัง หรือ
การยกยองข้ึนมาของกลุม เพ่ือใหทําหนาท่ีเปนผูช้ีแนะและชวยเหลือใหกลุมประสบความสําเร็จ และมี
การเรียกช่ือผูนําแตกตางกันออกไปตามลักษณะงานและองคการท่ีอยู เชน ผูบริหาร ผูจัดการ ประธาน
กรรมการ ผอู าํ นวยการ อธกิ ารบดี ผวู าราชการ นายอาํ เภอ กํานนั เปนตน

องคประกอบของความเปน ผนู าํ
1. ความรู เชน วิชาการ รูรอบ รตู น รูคน รูห นาท่ี เปนตน
2. ความคิดและจิตใจ เชน คิดเชิงบวก คิดเชิงวิเคราะห คิดเชิงระบบ หลักคิด สมาธิ วิสัยทัศน

คิดรเิ ริม่ สรางสรรค เปน ตน
3. บคุ ลกิ ภาพ เชน การวางตน ความม่นั ใจ เอกลกั ษณ อารมณ การพูด การเปนผูใ ห เปน ตน
4. ความสามารถ เชน รูปแบบการทาํ งาน การตดั สนิ ใจ เปน ตน

ประเภทของผูนาํ
ผูน าํ ตามลักษณะของการใชอํานาจหนา ท่ี แบง ไดเ ปน 3 ประเภท คือ
1. ผูนาํ แบบเผด็จการ (Autocratic Leadership) หมายถึง ผูน ําที่เนน การบังคบั บัญชาและการออก

คาํ สงั่ มักจะทาํ การตัดสนิ ใจดวยตนเองเปน สวนใหญ และไมคอ ยมอบหมายอาํ นาจหนา ทใี่ หแ กผตู ามหรอื
ผใู ตบังคับบญั ชามากนกั ลกั ษณะของผูนําชนดิ นเ้ี ปน ลักษณะเจา นาย

2. ผูนําแบบประชาธิปไตย (Democratic Leadership) เปนผูนําท่ีใหความสําคัญกับผูตามหรือ
ผูใตบังคับบัญชา ไมเนนการใชอํานาจหนาที่ หรือกอใหเกิดความเกรงกลัวในตัวผูนํา แตจะใหโอกาส
ผตู าม ไดแ สดงความคิดเห็นในการปฏิบตั งิ านทุกคน จะมโี อกาสเขา รว มพจิ ารณาและรวมตัดสนิ ใจไดดวย

63

3. ผูนําแบบเสรนี ิยม (Laissez – faire or Free – rein Leadership) ผูนาํ ชนิดนจ้ี ะใหอ สิ ระเตม็ ท่ีกับ
ผูตาม หรือใหผูตามสามารถทําการใด ๆ ตามใจชอบ ผูตามจะตัดสินปญหาตาง ๆ ดวยตนเอง และอาจ
ไดรับสทิ ธใิ นการจัดทําเปา หมายหรอื วตั ถุประสงค หรอื จดั ทําแผนงานตาง ๆ ได

ผนู ําตามลกั ษณะการจดั การแบบมุงงานกับมุงคน แบงได 2 ประเภท คอื
1. ผนู าํ แบบมุงงาน (Job Centered) ผูนําชนดิ นี้ใหความสําคัญตองาน โดยถือวาคนเปนปจจัยที่
จะนํามาใชชวยใหการทํางานประสบความสําเร็จ ซ่ึงจะตองควบคุมดูแลอยางใกลชิด และไมควรมอบ
อํานาจการตดั สินใจใหกับลูกนอง
2. ผูนาํ แบบมุงคน (Employee Centered) ผูนําชนิดน้ีใหความสําคัญและเห็นคุณคาของคนมีความ
เชอ่ื ม่ันในตัวลูกนองหรอื ผตู าม จะไมขดั ขวาง และคอยใหค วามชว ยเหลือสนับสนนุ สงเสริมใหลูกนองมี
สว นรว มในการตัดสินใจตา ง ๆ
ผนู าํ ตามลักษณะการยอมรับจากกลมุ หรอื สังคม แบง ได 5 ประเภท คอื
1. ผนู าํ ตกทอด (Hereditary Leader) คือ ผทู ่กี ลมุ หรือสังคมใหก ารยอมรบั ในลกั ษณะทเ่ี ปน การ
สบื ทอด เชน การไดร ับตําแหนงตกทอดมาจากบรรพบรุ ุษ หรือผทู ่ีเปนทเ่ี คารพนับถือของกลุมหรือสังคม
นั้นมากอน
2. ผนู ําอยา งเปนทางการ (Legal Leader) คือ บคุ คลทกี่ ลุมหรือสังคมใหการยอมรับในลักษณะท่ี
เปนทางการ เชน การไดรับการแตงต้ังหรือไดรับการเลือกตั้งอยางเปนทางการ เน่ืองจากมีคุณสมบัติ
เหมาะสมที่จะเปน ผนู าํ
3. ผนู ําตามธรรมชาติ (Natural Leader) คอื ผูนาํ ที่กลมุ หรือสังคมยอมรับสภาพการเปนผูนําของ
บุคคลใดบคุ คลหนงึ่ ใหเปนผนู าํ กลุมไปสูเ ปาหมายอยา งไมเ ปนทางการ และผูนํากป็ ฏิบัตไิ ปตามธรรมชาติ
ไมไ ดมกี ารตกลงกันแตประการใด
4. ผนู าํ ลักษณะพเิ ศษ หรือผนู ําโดยอํานาจบารมี (Charismatic Leader) คือ ผูท่ีไดรับการยอมรับ
จากกลมุ หรอื สังคมในลักษณะท่เี ปนเพราะความศรทั ธา ทง้ั น้เี นื่องจากมีความเคารพ เชื่อถือเพราะบุคคลนั้น
มีคุณสมบตั พิ เิ ศษทีเ่ ปนท่ียอมรับของกลุม
5. ผูนําสัญลักษณ (Symbolic Leader) คือ บุคคลที่ไดรับการยอมรับในลักษณะที่เปนเพราะ
บคุ คลนั้นอยูในตาํ แหนงหรอื ฐานะอนั เปน ทเ่ี คารพยกยองของคนทั้งหลาย
คณุ ลักษณะของผนู าํ
1. ทางความรแู ละสตปิ ญญา เชน รูรอบ มที กั ษะการคิดท่ดี ี ชอบริเริ่มสรา งสรรค เปน ตน
2. ทางรางกาย เชน มสี ุขภาพดี มีบคุ ลิกที่ดูดี เปน ตน
3. ทางอารมณและวฒุ ิภาวะ เชน สมาธดิ ี มีความเชือ่ ม่ันในตนเอง ปรับตวั และมคี วามยดื หยนุ สงู
เปน ตน

64

4. ทางอุปนสิ ยั เชน นาเชอื่ ถอื ไวใจได กลา ทจี่ ะเผชญิ ปญ หาอปุ สรรค รบั ผิดชอบดี มุงม่ัน
อดทน พากเพยี ร พยายาม ชอบสงั คม เปน ตน

ผนู าํ ทดี่ ี
ผนู าํ ทดี่ ี ควรมคี ณุ สมบตั ิ ดงั น้ี
1. วิสยั ทศั น (Vision) ผูน ําท่ีดตี อ งมีวิสัยทศั น การมีวิสยั ทศั นเปน การมองการณไ กล เพ่ือกําหนด
ทศิ ทางท่ีควรจะเปนในอนาคต การมองเห็นกอ นคนอน่ื จะทาํ ใหป ระสบความสําเร็จกอน และเปนแรงขับ
ท่นี าํ ไปสจู ดุ หมายทต่ี อ งการ และผูนาํ จะตองสามารถส่ือสารวิสยั ทัศนของตนไปยังผูเกี่ยวของได และชักจูง
หรอื กระตุนใหผ ูต ามพงึ ปฏิบตั ไิ ปตามวสิ ยั ทัศนของผูน าํ นน้ั ๆ
2. ความรู (Knowledge) การเปน ผูนํานนั้ ความรเู ปน สิง่ จาํ เปนทสี่ ดุ ความรูในท่ีนมี้ ิไดหมายถึง
เฉพาะความรูเกีย่ วกับงานในหนา ที่เทา น้นั หากแตรวมถึงการใฝหาความรูเพ่ิมเติมในดานอื่น ๆ ดวย การจะ
เปนผูนาํ ทีด่ ี หัวหนางานจึงตองเปนผูรอบรู ย่ิงรอบรูมากเพียงใด ฐานะแหงความเปนผูนําก็จะยิ่งม่ันคง
มากข้ึนเทานนั้
3. ความริเริ่ม (Initiative) ความริเร่ิม คือ ความสามารถที่จะปฏิบัติสิ่งหน่ึงส่ิงใดในขอบเขต
อํานาจหนาที่ไดดวยตนเอง โดยไมตองคอยคําส่ัง หรือความสามารถในการแสดงความคิดเห็นที่จะแกไข
ส่งิ หน่งึ สิง่ ใดใหดขี น้ึ หรอื เจริญขึ้นไดดว ยตนเอง ความริเร่ิมจะเจริญงอกงามได หัวหนางาน จะตองมีความ
กระตือรอื รน คือ มีใจจดจอ งานดี มีความเอาใจใสตอ หนา ท่ี มพี ลังใจทตี่ อ งการความสาํ เร็จอยเู บือ้ งหนา
4. มคี วามกลาหาญและความเดด็ ขาด (Courage and Firmness) ผูนาํ ทดี่ จี ะตองไมก ลวั อันตราย
ความยากลําบาก หรอื ความเจบ็ ปวดใด ๆ ท้ังทางกาย วาจา และใจ ผนู าํ ท่มี คี วามกลา หาญ จะชวยใหสามารถ
เผชญิ ตองานตา ง ๆ ใหสําเรจ็ ลลุ ว งไปได นอกจากความกลา หาญแลว ความเด็ดขาดก็เปนลักษณะหนึ่งที่
จะตอ งทําใหเกิดในตวั ของผูนาํ
5. การมีมนุษยสัมพันธ (Human Relations) ผูนําท่ีดีจะตองรูจักประสานความคิด ประสาน
ประโยชนสามารถทํางานรวมกับคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับการศกึ ษาได ผนู าํ ที่มมี นษุ ยสัมพนั ธดี จะชว ยให
ปญหาใหญก ลายเปนปญหาเล็กได
6. มีความยุติธรรมและซื่อสัตยสุจริต (Fairness and Honesty) ผูนําที่ดีจะตองอาศัยหลักของ
ความถูกตอง หลกั แหงเหตผุ ลและความซ่อื สัตยส จุ ริตตอ ตนเองและผูอ ื่น เปนเคร่ืองมือในการวนิ จิ ฉยั ส่ังการ
หรือปฏบิ ตั งิ านดวยจติ ทป่ี ราศจากอคติ ปราศจากความลาํ เอียง ไมเลน พรรคเลน พวก
7. มคี วามอดทน (Patience) ความอดทนจะเปน พลังอันหนึ่งท่จี ะผลกั ดนั งานใหไ ปสู
จดุ หมายปลายทางไดอ ยางแทจริง

65

8. มีความต่ืนตัว ( Alertness ) ความตื่นตัว หมายถึง ความระมัดระวัง ความสุขุม รอบคอบ
ความไมประมาท ไมยดื ยาดหรือขาดความกระฉบั กระเฉง มคี วามฉับไวในการปฏบิ ตั ิงานทนั ตอ เหตุการณ
ความต่ืนตวั เปน ลักษณะท่ีแสดงออกทางกาย และทางจติ ใจ จะตองหยุดคิดไตรตรองตอเหตุการณตาง ๆ
ทเี่ กดิ ขึ้น รูจักใชดลุ ยพินจิ ท่ีจะพจิ ารณาสิง่ ตา ง ๆ หรือเหตกุ ารณต า ง ๆ ไดอ ยางถูกตอง คือ ผูนําที่ดีจะตอง
รูจ กั วธิ ีควบคุมตวั เอง นัน่ เอง (Self Control)

9. มคี วามภักดี (Loyalty)การเปน ผูนําหรอื หัวหนาทีด่ นี ้นั จาํ เปน ตอ งมีความจงรักภกั ดีตอ หมคู ณะ
ตอ สว นรวมและตอ องคก าร ความภกั ดนี ี้ จะชว ยใหผ ูนําไดรับความไววางใจ และปกปองภัยอันตรายใน
ทุกทศิ ไดเ ปนอยางดี

10. มคี วามสงบเสง่ยี มไมถ ือตวั (Modesty)ผูน ําที่ดจี ะตองไมหยิ่งยโสไมจองหอง ไมว างอาํ นาจ และ
ไมภูมิใจในสงิ่ ที่ไรเ หตผุ ล ความสงบเสงีย่ มนี้ถามีอยูในผูนําหรือหัวหนางานคนใดแลว ก็จะทําใหผูตาม
หรือลูกนอ งมคี วามนบั ถอื และใหความรว มมือเสมอ

การเสรมิ สรางภาวะผูนําชมุ ชน
การเสริมสรา งภาวะผนู ําชมุ ชน หมายถงึ การทาํ ใหผูนาํ ชุมชนมีภาวะผูนําเพ่ิมขึ้น หรือการทําให
ผูนําชุมชนมีการปรับปรุงความสามารถในการทําหนาท่ีหรือการเขาไปมีบทบาทในแตละดานใหกับชุมชน
ไดดขี น้ึ การเสรมิ สรา งภาวะผนู าํ ไดแก การพัฒนาบุคลิกภาพ การพัฒนารูปลักษณ การพัฒนาทักษะใน
การตดิ ตอสอื่ สาร การพฒั นาความทรงจาํ และการพฒั นาความคดิ รเิ รมิ่ สรา งสรรคโดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี
การพัฒนาบุคลกิ ภาพของผูน ํา ไดแก การเสริมสรา งมนษุ ยสมั พันธ เชน การควบคุมตนเอง การรับ-
ฟงผอู น่ื การมีความซ่อื สตั ยตอ งาน เพื่อนรว มงาน การรูจ ักถอมตน การใหความรวมมือกับผูอื่น การถนอม-
น้ําใจผูอนื่ เปน ตน การเขาใจความตอ งการของชมุ ชนและการสรางภาพลกั ษณ เชน ความม่ันใจในตัวเอง
แรงจูงใจในการทาํ งาน การปรบั ตวั เขา กับผอู นื่ การแสดงความคดิ เห็น เปนตน
การพฒั นารปู ลักษณข องผนู ํา ไดแก การออกกําลังกาย การรับประทานอาหารที่เปนประโยชน
ถกู หลกั โภชนาการ การรักษารปู รา งและสัดสวน การรจู กั การแตง กาย และการพัฒนามารยาท เชน มารยาท-
ในการแนะนําตัว มารยาทในโตะอาหาร มารยาทตอคนรอบขาง มารยาทในที่ทํางาน มารยาทในการ
ประชุม เปนตน
การพัฒนาทักษะในการติดตอส่อื สาร ไดแก การพดู การฟง การสอื่ สารทางโทรศัพท การพูดใน
ท่ชี มุ ชน การวิเคราะหก ลมุ ผูฟง การวเิ คราะหเน้ือหา การอา น การเขียน การใหคาํ แนะนํา คําปรกึ ษา
การพฒั นาความทรงจาํ ไดแก การจาํ รายละเอียดของงาน การจาํ รายละเอียดเกย่ี วกับบุคคล
การจําเก่ียวกับตัวเลข
การพฒั นาความคิดริเริ่มสรา งสรรค เปน การพฒั นาเพ่ือหาวิธีการใหม ๆ ทําใหกลาคิด กลาแสดงออก
ทาํ ใหมองโลกกวาง และมคี วามยดื หยุน สรา งผลงานใหม ๆ

66

ภาวะผูนาํ ของชมุ ชน
1. ดา นการบรหิ ารตนเอง ผนู าํ ควรเปน ผูมคี วามรูความสามารถ มคี ุณธรรม ศีลธรรม จริยธรรม
มีวินัยในตนเอง และมีบุคลกิ ภาพดี
2. ดานการบรหิ ารงานผนู าํ ควรมกี ารวางแผนการปรบั ปรุงแกไ ขงบประมาณการเงิน บัญชี การบริหาร
งบประมาณ การพัฒนางานอยางตอเน่ือง การควบคุมและประเมินผล การสรางและการพัฒนาทีมงาน
และการมคี วามรบั ผิดชอบตอ ชุมชน
3. ดา นการบรหิ ารสังคม ผูนําควรมีมนุษยสมั พนั ธทด่ี ี ความเปนประชาธิปไตย การประสานงานดี
และการเปน ทีป่ รกึ ษาที่ดี
หนาทข่ี องผูนาํ ชุมชน
ในการทําหนาท่ีเปนผูนําชุมชนนั้น จะตองเปนผูรักษาหรือประสานใหสมาชิกของชุมชนอยู
รวมกัน คือ ตอ งอยูใกลช ดิ กบั ชุมชน มคี วามสัมพนั ธก บั คนในชุมชน และเปนท่ียอมรับของคนในชุมชน
อกี ทง้ั ผนู าํ จะตอ งเปน ผปู ฏบิ ัตภิ ารกิจของชุมชนใหบรรลวุ ัตถุประสงค คอื ตองรบั ผิดชอบในกระบวนการ
วธิ ีการทาํ งานดว ยความมัน่ คงและเขา ใจ และตอ งทํางานใหบรรลเุ ปา หมาย นอกจากนั้น ผนู ําชุมชนจะตอง
มีบทบาทในการสนับสนุนใหเกิดการติดตอสัมพันธในกลุม คือ จะตองปฏิบัติงานในลักษณะอํานวย
ความสะดวกใหสมาชิกในชุมชนเกิดการติดตอสัมพันธและปฏิบัติตอกันดวยดี การติดตอสื่อสารที่ดี
จงึ เปนสิ่งสําคัญ และเปน การชวยใหห นา ท่ีผนู ําชมุ ชนบรรลุเปาหมาย
แนวทางในการทาํ หนาทผี่ ูนาํ ชมุ ชน
1. สรางความสามัคคีใหเ กดิ ขน้ึ ในชุมชน
2. กระตุน ใหส มาชิกทาํ ส่ิงทเี่ ปนประโยชนต อชุมชน
3. พัฒนาสมาชิกใหเกิดภาวะผนู ํา
4. รว มกับสมาชิกกําหนดเปา หมายของชมุ ชน
5. บรหิ ารงาน และประสานงานในชมุ ชน
6. ใหคาํ แนะนํา และชแ้ี นวทางใหก บั ชุมชน
7. บาํ รงุ ขวญั สมาชกิ ในชมุ ชน
8. เปนตัวแทนชุมชนในการตดิ ตอ ประสานงานกบั หนว ยงานอ่นื ๆ
9. รับผิดชอบตอผลการกระทาํ ของชุมชน
บทบาทผนู ําชุมชน
ดา นเศรษฐกจิ
1. ทาํ ใหครวั เรอื นสามารถพง่ึ ตนเองได
2. สง เสรมิ อาชพี ทตี่ อบสนองตอความตอ งการของชุมชน

67

3. สงเสรมิ วิสาหกิจชุมชนตามความเหมาะสม
ดา นการจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอมในชุมชน
1. บริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยางเหมาะสม
2. เสริมสรา งสภาพแวดลอมท่ดี ี
3. วางระบบโครงสรา งพ้ืนฐานเพยี งพอตอความตองการ
ดานสุขภาพอนามัย
1. วางระบบโครงสรา งพ้นื ฐานเพ่อื สุขภาพจากการมสี วนรว มของชุมชน
2. จัดการเพือ่ เสริมสรางสุขภาพ
3. การปองกนั โรค
4. การดูแลสุขภาพดวยตนเอง
ดา นศาสนา วฒั นธรรม และประเพณี
1. การนับถือศาสนาทีย่ ดึ เหนีย่ วจติ ใจ
2. การมวี ิถีชวี ติ แบงปนเออ้ื อาทร
3. การอนรุ กั ษส ืบสานวฒั นธรรมประเพณขี องชมุ ชน
ดานการพัฒนาคน
1. การจัดการความรู / ภมู ปิ ญ ญา
2. การพฒั นาผนู ํา / สมาชกิ ในชมุ ชน
ดานการบรหิ ารจดั การชุมชน
1. การจดั ทาํ ระบบขอมูล
2. การจัดทาํ แผนชมุ ชน
3. การจดั สวัสดิการชมุ ชน
4. การเสรมิ สรา งการเมือง การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตย
ดานความมนั่ คงปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสนิ
1. การปองกนั รกั ษาความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพยสนิ ของชมุ ชน
2. การปอ งกนั ภยั ธรรมชาติ
1.2 ผตู าม
ความหมายของผตู าม (Followers) และภาวะผตู าม (Followership)
ผูตาม และภาวะผูตาม หมายถึง ผูป ฏบิ ตั ิงานในองคการที่มีหนาท่ี และความรับผิดชอบท่ีจะตอง
รับคาํ สั่งจากผูน ําหรอื ผูบังคบั บัญชามาปฏิบัตใิ หสําเร็จและบรรลุวตั ถปุ ระสงค

68

พฤติกรรมของผูต าม 5 แบบ ดงั นี้
1. ผูต ามแบบหา งเหิน มลี กั ษณะเปน คนเฉ่ือยชา มคี วามเปนอิสระ และมคี วามคิดสรา งสรรคส งู
สวนมากเปนผูตามที่มีประสิทธผิ ล มีประสบการณ และผา นอุปสรรคมากอ น
2. ผูตามแบบปรบั ตาม หรอื เรียกวา ผตู ามแบบครับผม มีลักษณะเปน ผทู ่ีมคี วามกระตอื รือรน
ในการทาํ งาน แตข าดความคดิ สรา งสรรค
3. ผตู ามแบบเอาตวั รอดมีลักษณะเลือกใชพฤตกิ รรมแบบใดขน้ึ อยกู บั สถานการณทจ่ี ะเอือ้ ประโยชน
กบั ตวั เองไดม ากทีส่ ดุ และมคี วามเสี่ยงนอ ยทส่ี ุด
4. ผูตามแบบเฉือ่ ยชา มีลักษณะชอบพึ่งพาผูอ น่ื ขาดความอสิ ระ ไมม คี วามคดิ ริเร่มิ สรา งสรรค
5. ผตู ามแบบมปี ระสิทธิผล มลี ักษณะเปน ผูท่ีมคี วามตั้งใจในการปฏิบตั ิงานสงู มีความสามารถ
ในการบรหิ ารจดั การงานไดด ว ยตนเอง
ลักษณะผตู ามทมี่ ปี ระสทิ ธผิ ล ดงั นี้
1. มีความสามารถในการบรหิ ารจัดการตนเองไดด ี
2. มีความผกู พันตอองคก ารและวตั ถุประสงค
3. ทาํ งานเตม็ ศกั ยภาพ และสดุ ความสามารถ
4. มีความกลาหาญ ซ่ือสตั ย และนาเชื่อถือ
การพฒั นาศกั ยภาพตนเองของผตู าม
การพฒั นาลกั ษณะนสิ ัยตนเองใหเ ปนผูต ามทมี่ ปี ระสิทธิผล มี 7 ประการ คอื
1. ตอ งมนี สิ ัยเชงิ รกุ (Be Proactive)
2. เรมิ่ ตน จากสว นลกึ ในจติ ใจ (Begin with the end in Mind)
3. ลงมือทําสงิ่ แรกกอ น (Put first Things first)
4. คิดแบบชนะท้ังสองฝาย (Think Win-Win)
5. เขา ใจคนอืน่ กอนจะใหค นอ่นื เขาใจเรา (Seek first to Understand, Then to be Understood)
6. การรวมพลงั (Synergy) หรือทํางานเปนทีม (Team Work)
7. ลบั เลือ่ ยใหค ม หรือพฒั นาตนเองอยูเ สมอ (Sharpen The Saw)
แนวทางสง เสริมและพฒั นาผตู ามใหม คี ุณลกั ษณะผูตามทพี่ งึ ประสงค มดี ังน้ี
1. การดูแลเอาใจใส เร่ืองความตองการขนั้ พ้นื ฐานของมนษุ ยใหก ับสมาชกิ และเปน ธรรม
2. การจูงใจดว ยการใหรางวัลคําชมเชย
3. การใหค วามรู และพัฒนาความคิดโดยการจดั โครงการฝก อบรม สัมมนา และศึกษาดงู าน
4. ผนู ําตองปฏบิ ัติตนใหเ ปนแบบอยา ง
5. มกี ารประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานอยางตอ เน่อื ง

69

6. ควรนาํ หลกั การประเมนิ ผลงานที่เนนผลสมั ฤทธ์ิ
7. สงเสริมการนําหลกั ธรรมมาใชใ นการทํางาน
8. การสงเสริมสนับสนุนใหผ ูตามนาํ หลกั ธรรมาภบิ าลมาใชใ นการปฏิบัติงานอยางจรงิ จัง

เรอื่ งที่ 2 ผูนํา ผูต ามในการจดั ทําแผนพฒั นาชมุ ชน สงั คม
แผนพฒั นาชมุ ชน สังคม มีช่ือเรยี กแตกตา งกันไปในแตละทอ งถ่นิ เชน แผนชุมชน แผนชุมชน-

พึ่งตนเอง แผนชีวิต แผนชีวิตชุมชน แผนชีวิตชุมชนพ่ึงตนเอง แผนแมบทชุมชน แผนแมบทชุมชน-
พ่ึงตนเอง เปน ตน

แผนชุมชน คอื เครอ่ื งมือพัฒนาชุมชนทีค่ นในชมุ ชนรวมตัวกนั จัดทาํ ขึน้ เพื่อใชเปนแนวทางใน
การพฒั นาชมุ ชนของตนเองใหเปนไปตามสภาพปญหาและความตองการท่ชี ุมชนประสบอยูรวมกัน โดยคน
ในชุมชนรวมกันคิด ตัดสินใจ กําหนดแนวทางและทํากิจกรรมการพัฒนาของชุมชนดวยหลักการ
พ่งึ ตนเองตามศักยภาพ ภมู ิปญ ญา วถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม ทรพั ยากรและสงิ่ แวดลอมในทอ งถ่นิ เปนหลกั

กลาวโดยสรุป แผนชุมชน หมายถึง แผนท่ีทุกคนในชุมชนมีสวนรวมคิด รวมทําทุกขั้นตอน
เพอื่ ใชแ กป ญหาชุมชนตนเองและทุกคนในชุมชนไดรบั ผลประโยชนจากการพฒั นารวมกนั

การจัดทําแผนพฒั นาชุมชน น้นั ผูนาํ ชมุ ชน จะตองเปนผูริเริ่มจัดทําโดยสรางการมีสวนรวมของ
คนในชมุ ชน ดังน้ี

1. เตรยี มความพรอมทมี งาน
1.1 ทีมงานจัดทําแผน

ผูน าํ ชมุ ชนรว มกบั ทมี งานพัฒนาชุมชนระดับอาํ เภอเผยแพรความคดิ สรางความรู ความเขาใจ
แกส มาชิกในชมุ ชนเกย่ี วกบั แผนชุมชนถึงกระบวนการเทคนคิ การเปน วิทยากรบทบาทหนา ท่ี ความสาํ คญั ใน
การจัดทาํ แผนชมุ ชน เพ่ือคน หา คัดเลอื กบุคคล เปนคณะทาํ งานระดบั หมูบา น/ชุมชน รว มกบั ทกุ ภาคสว น
โดยพิจารณาผทู มี่ ีคณุ สมบตั เิ หมาะสมกับการทํางาน ตองการทํางานเพ่ือชุมชน ชุมชนใหการยอมรับให
เปน คณะทาํ งาน เชน กาํ นัน ผใู หญบ า น ผูน ําตามธรรมชาติ แกนนําอาสาสมัครสาธารณสขุ ประจําหมูบาน
(อสม.) อาสาพัฒนาชุมชน (อช.) ภูมิปญญา ผูเฒาผูแก พระสงฆ นักวิชาการทองถ่ิน บุคคลในองคการ
บรหิ ารสวนตาํ บล (อบต.) สวนราชการ และหนว ยงานเอกชน เปน ตน

1.2 ทีมงานผสู ง เสรมิ กระบวนการจดั ทาํ แผน
ทีมงานภาคีเครือขายในการจัดทําแผน เปนภาคีการพัฒนาซึ่งมีทั้งภาคราชการ ภาคประชา

สังคม สถาบันวชิ าการ และองคก รพัฒนาเอกชน จํานวน 19 องคก ร ไดแก
1.2.1 ภาคราชการ จํานวน 11 องคกร คือ กรมการปกครอง กรมสงเสริมการปกครองสวน

ทองถ่ิน สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สํานักงาน กศน.)

70

กรมสงเสริมวิชาการเกษตร กรมการพัฒนาชุมชน (พช.) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส.)
กรมประชาสัมพันธ องคการส่ือสารมวลชนแหงประเทศไทย (อสมท.) ธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณการเกษตร (ธกส.) สาํ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) และ
สาํ นักงานกองบญั ชาการทหารสงู สดุ (บก.สงู สดุ )

1.2.2 ภาคประชาสังคม จํานวน 3 องคกร คือ สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (พอช.) สํานักงาน-
คณะกรรมการกองทนุ หมูบา นและชุมชนเมอื งแหง ชาติ (สทบ.) และสํานักงานคณะกรรมการกองทุนเพ่ือ
การวิจัย (สกว.)

1.2.3 สถาบันวชิ าการ จาํ นวน 2 องคกร คือ ทบวงมหาวิทยาลยั และสถาบันราชภฏั
1.2.4 ภาคเอกชน จํานวน 3 องคกร คือ มูลนิธิหมูบาน วิทยาลัยการจัดการทางสังคม
(วจส.) และสถาบนั ชุมชนทองถ่นิ พัฒนา
2. เตรยี มความพรอมขอ มูลและพืน้ ท่ี
2.1 ขอมลู ไดแก ขอมูลความจาํ เปนพ้นื ฐาน (จปฐ.) ขอมูลพืน้ ฐานระดบั หมบู าน/ชุมชน
(กชช. 2 ค) คอื ขอมูลพ้ืนฐานของหมบู านทแ่ี สดงใหเ หน็ สภาพท่ัวไปและปญ หาตาง ๆ ของหมบู าน ไดแ ก
โครงสรางพน้ื ฐานเศรษฐกจิ สุขภาพและอนามยั ความรูและการศกึ ษา ความเขมแข็งของชุมชน
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม สภาพแรงงาน ยาเสพติด ขอ มูลศกั ยภาพชุมชน
2.2 พน้ื ท่ี คือ ความพรอ มของพน้ื ทมี่ ดี านใดบาง เชน ทนุ ทางสังคม ไดแ ก บคุ คล ภูมิปญญา
ทุนทางเศรษฐกจิ ไดแ ก ทรพั ยากรในการประกอบอาชพี ทุนของชุมชนทีเ่ ออ้ื ตอการวางแผนชมุ ชน
3. ดําเนนิ การจัดทาํ แผนชมุ ชน การจดั ทําแผนพฒั นาชมุ ชนนนั้ คณะทาํ งาน ซ่ึงเปนแกนนําชุมชน
ในการจดั ทาํ แผนใชเวทีประชาคมในการประชุมเพ่อื วางแนวทางดว ยกระบวนการกลมุ ชุมชน ดงั น้ี
3.1 การศึกษาชุมชนตนเอง

คณะทํางานชุมชนนําพาสมาชิกชุมชนใหศึกษาเรียนรูชุมชนของตนเอง เชน สภาพ
การเงนิ ของครวั เรอื นเปน อยางไร สภาพทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในอดีตกับปจจุบันแตกตาง
กันหรอื ไม อยา งไร เนอื่ งจากเหตุใดสภาพสังคมน้ันพฤติกรรมของคนในชุมชนพึงประสงคเปนไปตาม
จารีตประเพณี วฒั นธรรมเพยี งใด เปนตน

3.2 สาํ รวจรวบรวมขอ มูลชุมชน
ผนู าํ และสมาชกิ ในชมุ ชนรว มกนั ออกแบบเครื่องมือสํารวจขอมูลเอง หรือนําแบบสํารวจ

ขอมูลท่ีหนวยงานมีอยู เชน กชช. 2ค หรือ จปฐ. มาปรับปรุงเพิ่มเติมขอมูลที่ตองการทราบ แลวนําไป
สาํ รวจขอ มลู ชมุ ชน หรอื สํารวจขอมูลโดยการจดั เวทปี ระชาคม เพื่อเรยี นรูสภาพปญหาและความตองการ
ของชมุ ชน ซ่งึ ผสู าํ รวจขอ มลู และผูใหข อ มลู ก็คือ คนในชมุ ชน น่นั เอง

71

3.3 วิเคราะหขอมูล/สังเคราะหขอ มลู
คณะทํางานชมุ ชน ผนู าํ ชมุ ชน สมาชกิ ในชมุ ชนรว มกบั ทมี งานสงเสริมกระบวนการจัดทํา

แผนชุมชน นําขอมูลที่เก็บรวบรวมมา แยกแยะตามประเภทของขอมูล เชน ขอมูลดานครอบครัว
ดานเศรษฐกจิ ดา นอาชพี ดานสงั คม ดานการคมนาคม ดา นการศกึ ษา ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ดานการ
สาธารณสขุ ดา นการเมอื งการปกครองดา นโครงสรา งพืน้ ฐานทจี่ ําเปนตอการดํารงชีวิต ดานทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดลอ ม เปนตน ซง่ึ จะทาํ ใหทราบถึงปญหาและสาเหตขุ องปญหาในชุมชน

3.4 จัดทําแผนชมุ ชน มีข้ันตอนดงั น้ี
3.4.1 ยกรางแผนชุมชน คณะทํางานจัดทําแผนเชิญบุคคลท่ีมีความรอบรูและมีสวน

เก่ียวของกับการทําแผนประชาชนในชุมชน ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทํารางเคาโครงของแผนชุมชน
จดั ทําแผนงาน โครงการกิจกรรมบนพืน้ ฐานของขอ มูลชมุ ชนทีส่ อดคลองกบั แนวนโยบายของรัฐ ยดึ หลัก
แนวทางการพึง่ ตนเองอยา งยั่งยืน

3.4.2 ประชาพิจารณแผนชุมชน จดั ประชมุ ประชาคมสมาชิกชมุ ชน เพอื่ นาํ เสนอรางแผน
ใหสมาชิกในชุมชนรวมแสดงความคิดเห็น รวมกันพิจารณาตรวจสอบขอมูล แกไข ปรับปรุง เพิ่มเติม
แผนงานโครงการ กิจกรรมใหถูกตองตามความเปนจรงิ และเปนปจจุบัน สอดคลองกับสภาพปญหาและ
ความตอ งการของชมุ ชน ประชาชนในชุมชนใหความเห็นชอบ ยอมรับเปนเจาของรวมกัน เพ่ือผลักดัน
แผนชุมชนใหเกิดการใชงานไดจริง แลวจัดทําเอกสารเปนรูปเลมที่สามารถอางอิง นําไปใชในการ
ประสานงาน การสนับสนุนใหเกิดโครงการ กิจกรรมตามที่กําหนด ตลอดจนใชเปนเคร่ืองมือการ
ดําเนินงานพัฒนาชุมชน และประสานความรว มมอื ยกระดบั คุณภาพชีวิตทด่ี ขี ้นึ ของสมาชิกในชุมชนและ
สามารถตรวจสอบระดบั ความกาวหนาของการพฒั นากับแนวทางท่วี างไวไ ด

กลาวโดยสรุปแลว ทั้งผูนําและผูตาม จะตองมีสวนรวมในกระบวนการจัดทําแผนพัฒนา
ชมุ ชนทกุ ข้นั ตอน ท้ังในดา นการศกึ ษาเรยี นรชู มุ ชน ตนเอง การสาํ รวจ รวบรวม วิเคราะห สังเคราะหขอมูล
ตรวจสอบขอ มลู เพอ่ื คนหาปญ หาและสาเหตุของปญหา ยกรางแผนและจัดทําแผนฉบับสมบูรณ เม่ือแตละ
หมูบ า น/ชุมชน ไดจดั ทําแผนพฒั นาชุมชนเสรจ็ แลว ก็นาํ มาบรู ณาการในระดบั ตําบล/เทศบาล อาํ เภอ และ
จังหวดั เปนแผนพฒั นาสงั คม ดงั น้ี

1. คณะทาํ งานแผนระดับหมูบาน/ชุมชน นาํ แผนชุมชนตนเองเขา รวมบูรณาการแผนชุมชน
สังคม ระดับตาํ บล/เทศบาล โดยคณะทาํ งานระดับตาํ บล/เทศบาล เปนผูอํานวยการบูรณาการข้ึน จากน้ัน
มอบแผนของหมบู าน/ชมุ ชน ระดับตาํ บล/เทศบาล ใหแ กองคกรปกครองสวนทองถน่ิ และหนวยงานภาค-ี
เครือขาย นําไปบูรณาการกับแผนพัฒนาทองถ่ิน และแผนพัฒนาของหนวยงานภาคีตาง ๆ และนําไปสู
การปฏบิ ัติ

72

2. ในระดับอําเภอ ก็จะนําแผนชุมชนมาบูรณาการเปนแผนพัฒนาระดับอําเภอและ
แผนพฒั นาของทกุ ๆ อาํ เภอ ก็จะถูกนาํ มาบูรณาการเปนแผนระดับจังหวัด ซ่ึงแผนพัฒนาชุมชน สังคมน้ี
ภาครฐั ก็สามารถนํามากาํ หนดเปน แผนยุทธศาสตรใ นการพฒั นาประเทศไดเปน อยา งดี เน่ืองดวยแผนนั้น
เกิดข้นึ มาจากการมสี ว นรวมในการพัฒนาจากประชาชนในทองถ่ิน

3. คณะทํางานแผน ซึ่งเปนผูนําในการจัดทําแผนตองติดตามผลวา แผนที่ไดจัดทําข้ึนนั้น
มผี ลเปน อยา งไร มหี นวยงานใดบางทแี่ ปลงแผนพัฒนาชุมชนไปดําเนินการ ดําเนินการแลวมีผลอยางไร
แกป ญ หาไดหรือไม แผนใดไมไดรับการนําไปสูการปฏิบัติ แลวสรุปเปนขอมูล เพ่ือใชเปนแนวทางใน
การจดั ทาํ แผนพฒั นาหมบู าน/ชมุ ชนในคร้ังตอไป

4. คณะทํางานแผน ทําการทบทวนปรับปรุงแผนพัฒนาอยางตอเน่ืองทุกป เพื่อให
กระบวนการเรียนรูการจัดทําแผนพัฒนาชุมชน สังคมแบบมีสวนรวม น้ัน เปนเครื่องมือในการพัฒนา
ศกั ยภาพยกระดบั คุณภาพของคนในหมบู าน/ชุมชน

เร่ืองที่ 3 ผูนํา ผูตามในการขับเคล่ือนแผนพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สงั คม
เม่อื จดั ทําแผนชมุ ชนเปน รปู เลม เอกสารเรยี บรอ ยแลวผนู าํ ชุมชนและประชาชนในชุมชนมสี วนรว ม

ขับเคล่ือนนําไปสูการปฏิบัติ จึงจะมีคุณคาและเกิดประโยชนตอชุมชน ซึ่งแนวทางในการขับเคลื่อนมี
ดังนี้

1. คณะทํางานระดับหมูบาน/ชุมชน และชาวบาน ซึ่งเปนสมาชิกของชุมชนจัดประชุมปรึกษา
หารอื รวมกันพจิ ารณาการนาํ โครงการ/กิจกรรมไปดําเนนิ การใหบรรลุวตั ถปุ ระสงคท ก่ี าํ หนดโดย

1.1 จัดลําดบั ความสาํ คญั ของโครงการ/กิจกรรม วาโครงการใด มีความสําคัญที่ตองดําเนินการ
กอน-หลัง

1.2 จดั ประเภทของแผนงาน ซ่งึ แบงออกเปน 3 ประเภท คือ
1.2.1 แผนชมุ ชนทช่ี ุมชนสามารถดําเนินการไดเอง
1.2.2 แผนชมุ ชนทีช่ ุมชนและหนว ยงานภายนอก รวมกันดําเนินการ
1.2.3 แผนชมุ ชนทีต่ อ งประสานหนว ยงานภายนอก เขา มาใหก ารสนับสนนุ

2. แบงบทบาทหนาที่ของคณะทํางาน อาสาสมัคร สมาชิกชุมชน เปนผูรับผิดชอบแผนงาน
โครงการ/กจิ กรรม เพือ่ ผลักดนั ใหมีการนําไปปฏิบัติจริงในชุมชน

3. รว มกนั ดาํ เนินกิจกรรมของโครงการใหบ รรลุผลตามทต่ี ้งั ไวในแผน
4. ตดิ ตามผลความกาวหนา ปญ หา อปุ สรรคของการดําเนินโครงการตามแผนงาน เพ่ือ
ชวยกนั แกไ ขปญหาอุปสรรคท่เี กิดขนึ้
5. ประเมินผลการดําเนินการโครงการกิจกรรมสําเร็จตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวหรือไม
เพียงใด

73

กจิ กรรมบทที่ 6

1. ใหผเู รยี นอธิบายความหมายของผนู าํ ชุมชน และหนา ทข่ี องผูนําชุมชน
2. ใหผเู รยี นอธิบายการเปน สมาชกิ ทด่ี ีหรือผูตามทด่ี ี
3. ใหผ เู รียนแบง กลมุ ๆ ละ 5 คน และรวมกนั ระดมความคิดโดยแบงบทบาทหนาที่ของสมาชิก
ในกลมุ ใหเ ปนผูน ําและผูตามในการจดั ทาํ โครงการการปอ งกนั “ไขห วดั 2009”หรือ“ไขหวดั ใหญส ายพันธใุ หม ชนิด
เอ (เอช 1 เอ็น 1)” ในชุมชนของผูเ รียน วา ควรปฏิบัติหนาทีอ่ ยา งไรใหเกิดความเหมาะสม

74

แนวเฉลยกิจกรรม

แนวเฉลยกิจกรรมบทท่ี 1

ขอ 1 ความหมาย
1. การพฒั นาตนเอง หมายถงึ ความตอ งการของบคุ คลทีจ่ ะพฒั นาความรู ความสามารถของ

ตนจากทเี่ ปนอยู ใหม คี วามรู ความสามารถที่มากข้ึนหรอื สงู ขนึ้
2. การพัฒนาชุมชน หมายถึง กระบวนการสง เสรมิ ความเปน อยูของประชาชนใหดีขึ้น โดย

ประชาชนเขารวมมือและรเิ รม่ิ ดาํ เนินงานเอง
3. การพฒั นาสังคม หมายถึง กระบวนการเปล่ียนแปลงท่ดี ที ัง้ ดา นเศรษฐกจิ สังคม การเมือง

การปกครอง วัฒนธรรม เพ่ือประชาชนจะไดมีชีวิตความเปนอยูท่ีดีขึ้นท้ังทางดานอาหาร ท่ีอยูอาศัย
การศึกษา สุขภาพอนามยั การมงี านทํา มรี ายไดเ พียงพอในการครองชีพ ประชาชนไดรับความเสมอภาค
ความยตุ ิธรรม มีคุณภาพชวี ติ ท้ังนป้ี ระชาชนจะตองมีสวนรวมในกระบวนการเปล่ียนแปลงทุกข้ันตอน
อยางมรี ะบบ
ขอ 3 หลักการพฒั นาตนเอง มดี ังตอ ไปน้ี

1. บคุ คลตอ งสามารถปลดปลอ ยศกั ยภาพระดับใหมอ อกมา
2. คนที่มกี ารพัฒนาตนเอง ควรรับรคู วามทา ทายในตัวคนท้งั หมด (Total self)
3. เปนการรเิ รม่ิ ดว ยตวั เอง แรงจงู ใจเบอ้ื งตนเกิดขน้ึ ผานผลสัมฤทธิ์ของตวั เอง และการทาํ ให
บรรลคุ วามสําเร็จดวยตนเอง รางวัลและการลงโทษจากภายนอกเปน เรอ่ื งท่รี องลงมา
4. การพัฒนาตนเอง ตอ งมกี ารเรยี นรู มกี ารหยง่ั เชงิ อยา งสรา งสรรค
5. การพัฒนาตนเอง ตอ งเต็มใจที่จะเสี่ยง
ขอ 4 ประโยชนท ีไ่ ดร บั จากการพฒั นาตนเองที่เกดิ ขึน้ กบั ตนเอง
1. การประสบความสําเรจ็ ในการดํารงชวี ติ
2. การประสบความสําเรจ็ ในการประกอบอาชีพการงาน
3. การมสี ุขภาพอนามัยสมบรู ณ
4. การมคี วามเชอ่ื มน่ั ในตนเอง
5. การมคี วามสงบสุขทางจติ ใจ
ขอ 5 การพฒั นาตนเองดว ยวธิ หี าความรเู พ่มิ เตมิ กระทําไดโดย
1. การอา นหนงั สือเปนประจาํ และอยางตอเน่ือง
2. การเขา รวมประชมุ หรือเขา รับการฝกอบรม
3. การสอนหนงั สือหรอื การบรรยายตา ง ๆ

75

4. การรวมกิจกรรมตา ง ๆ ของชุมชนหรอื องคการตาง ๆ
ขอ 6 แนวคิดพ้ืนฐานของการพฒั นาชมุ ชน

1. การมสี ว นรวมของประชาชน (People Participation)
2. การชว ยเหลือตนเอง (Aide Self-Help)
3. ความคิดรเิ ริ่มของประชาชน (Initiative)
4. ความตอ งการของชุมชน (Felt-Needs)
5. การศกึ ษาภาคชวี ติ (Life-Long Education)
ขอ 7 หลกั การพฒั นาชุมชน
1. ยดึ หลักความมศี กั ดศิ์ รี และศกั ยภาพของประชาชน
2. ยึดหลกั การพึ่งตนเองของประชาชน
3. ยึดหลกั การมสี ว นรว มของประชาชน
4. ยึดหลักประชาธิปไตย
ขอ 8 แนวคิดของการพัฒนาสงั คม
1. กระบวนการ (Process) การแกปญหาสังคมตองกระทําตอเนื่องกันอยางมีระบบ เพ่ือให
เกดิ การเปลย่ี นแปลงจากลกั ษณะหนึ่งไปสูอ กี ลกั ษณะหนง่ึ ซึ่งจะตองเปน ลักษณะทด่ี กี วาเดมิ
2. วธิ กี าร (Method) การกําหนดวิธีการในการดําเนินงาน โดยเฉพาะเนนความรวมมือของ
ประชาชนในสังคมนั้นกับเจา หนา ทีข่ องรฐั บาลทจ่ี ะทาํ งานรว มกัน
3. กรรมวิธีเปล่ียนแปลง (Movement) การพัฒนาสังคมจะตองทําใหเกิดการเปล่ียนแปลง
ใหได และจะตอ งเปลยี่ นแปลงไปในทางทด่ี ขี น้ึ
4. แผนการดาํ เนินงาน (Planning) การพัฒนาสังคมจะตองทําอยา งมแี ผน มีข้ันตอน สามารถ
ตรวจสอบ และประเมินผลได

76

แนวเฉลยกจิ กรรมบทท่ี 2

ขอ 1 ขอมูล คือ ขอ เทจ็ จริงของบคุ คล สตั ว สิ่งของ หรือเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจเปนขอความ
ตวั เลข หรือภาพกไ็ ด
ขอ 2 ขอ มลู มคี วามสาํ คญั ดังนี้

ความสําคญั ของขอมลู ตอ ตนเอง
1. ทําใหมนุษยส ามารถดํารงชวี ติ อยรู อดปลอดภยั มนษุ ยรจู กั นําขอมลู มาใชใ นการดํารงชีวิต

แตโบราณแลว มนุษยรูจกั สังเกตส่ิงตา ง ๆ ทีอ่ ยูรอบตัว เชน สังเกตวา ดิน อากาศ ฤดูกาลใดที่เหมาะสมกับ
การปลูกพืชผักชนิดกินได พืชชนดิ ใดใชเปน ยารักษาโรคได สะสมเปน องคค วามรูแลว ถายทอดสืบตอกันมา
ขอ มลู ตาง ๆ ทาํ ใหมนุษยสามารถนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชเ ปนอาหาร สิ่งของเครือ่ งใช ทีอ่ ยูอาศัย และ
ยารกั ษาโรคเพอ่ื การดาํ รงชีพได

2. ชว ยใหเรามีความรูความเขาใจเร่ืองราวตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นรอบตัว เชน เร่ืองรางกาย จิตใจ
ความตอ งการ พฤตกิ รรมของตนเอง และผูอ่ืน ทาํ ใหมนุษยส ามารถปรับตัวเอง ใหสามารถอยูรวมกับคน
ในครอบครวั และสังคมไดอยางมีความสงบสขุ

3. ทําใหตนเองสามารถแกปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นใหผานพนไปไดดวยดี การตัดสินใจตอ
การกระทําหรอื ไมก ระทาํ สิง่ ใดที่ไมมีขอมูลหรอื มีขอ มลู ไมถูกตองอาจทาํ ใหเ กิดการผิดพลาดเสยี หายได

ความสาํ คัญของขอมลู ตอ ชมุ ชน/สังคม
1. ทําใหเ กดิ การศึกษาเรยี นรู ซ่ึงการศกึ ษาเปนสิง่ จําเปนตอ การพัฒนาชุมชน/สังคมเปนอยางยิ่ง
ชุมชน /สงั คมใดทมี่ ีผไู ดรับการศกึ ษา การพัฒนากจ็ ะเขา ไปสชู มุ ชน/สังคมนนั้ ไดงา ยและรวดเร็ว
2. ขอมลู ตาง ๆ ท่ีสะสมเปนองคความรูน ้นั สามารถรักษาไวและถายทอดความรูไปสูคนรุน
ตอ ๆ ไปในชมุ ชน/สังคม ทาํ ใหเ กิดความรูค วามเขา ใจ วัฒนธรรมของชุมชน/สังคม ตนเอง และตางสังคมได
กอ ใหเ กิดการอยรู ว มกนั ไดอยา งสงบสขุ
3. ชวยเสริมสรางความรู ความสามารถใหม ๆ ในดานตาง ๆ ทั้งทางดานเทคโนโลยี
การศึกษา เศรษฐศาสตร การคมนาคม การเกษตร การพาณิชย ฯลฯ ท่ีเปนพ้ืนฐานตอการพัฒนาชุมชน/
สังคม
ขอ 3 ประโยชนข องขอมลู
1. เพอื่ การเรยี นรู
2. เพอ่ื การศกึ ษาคน ควา
3. เพอื่ ใชเ ปน แนวทางในการพัฒนา
4. เพ่อื ใชในการนาํ มาปรับปรงุ แกไ ข
5. เพ่อื ใชเ ปน หลักฐานสาํ คญั ตาง ๆ

77

6. เพ่อื การสือ่ สาร
7. เพื่อการตดั สินใจ

แนวเฉลยกิจกรรมบทท่ี 3
1. ถาครูตองการศกึ ษาพฤตกิ รรมการทาํ งานกลมุ ของนกั ศกึ ษา ครคู วรจะเกบ็ รวบรวมขอมลู

ดวยวิธีสงั เกตจงึ จะเห็นพฤตกิ รรมการทํางานกลมุ ของนกั ศกึ ษา
3. คะแนนเฉลยี่ ของหมวดวชิ าภาษาไทย ของนกั ศึกษาระดับประถมศึกษา หาไดด ังนี้ =

33  36  25  29  34  28  37 = 222 = 31.71

77

4. การประกอบอาชีพของคนในชุมชน

อาชพี จาํ นวน
เลี้ยงไก 26 คน
เลี้ยงววั 30 คน
ทําไรข าวโพด 15 คน
ทาํ สวนผลไม 50 คน
121
รวมท้ังหมด

78

แนวเฉลยกจิ กรรมบทที่ 5

ขอ 1 ตวั อยา ง การเตรยี มประเด็นการจัดทําเวทปี ระชาคมโดยใชต าราง

ประเด็น ประเด็นยอ ย ขอมูลทต่ี องการส่ือในประชาคม

ความคดิ เห็นของ - ความพอใจในบรกิ าร - เพอื่ ใหประชาชน/ผูเ ก่ียวของแสดง
ประชาชนเรอ่ื งการให
บรกิ ารหอ งสมดุ - ความตอ งการใหเ กิด ความรูสกึ /ความคิดเห็นเหมอื นเปน
ประชาชนอําเภอ...... การปรับปรงุ บรกิ าร เจา ของบรกิ าร
- การมสี ว นรวมของประชาชน - ในฐานะเจา ของบรกิ ารสามารถบอกได
ในการปรบั ปรุงบรกิ าร วา ตอ งการบรกิ ารแบบใด
- ในฐานะเจา ของบรกิ าร เปนหนา ที่
และทต่ี องการรว มมอื กนั ในการ
สนับสนนุ ใหเกดิ การจัดบรกิ ารตาม
ทตี่ องการ

ขอ 2 ขอดีของการจัดสนทนากลุมมี 10 ขอ ดงั น้ี
1. ผเู กบ็ ขอ มลู เปนผูไดรบั การฝกอบรมเปน อยา งดี
2. เปนการนัง่ สนทนาระหวางนกั วจิ ัยกับผรู ูผ ใู หข อ มูลหลายคนท่ีเปนกลมุ จงึ กอใหเ กดิ

การเสวนาในเร่ืองทสี่ นใจ ไมม ีการปดบงั คาํ ตอบท่ไี ดจ ากการถกประเด็นซ่ึงกนั และกนั ถอื วาเปน
การกลั่นกรองซ่ึงแนวความคดิ และเหตผุ ล โดยไมม กี ารตีประเดน็ ปญหาผดิ ไปเปนอยางอ่นื

3. การสนทนากลุม เปนการสรา งบรรยากาศเสวนาใหเ ปนกนั เองระหวา งผูน าํ การสนทนา
ของกลุมกับสมาชกิ กลมุ สนทนาหลาย ๆ คนพรอ มกนั จงึ ลดสภาวการณเ ขนิ อายออกไปทําใหสมาชกิ กลมุ
กลาคุยกลา แสดงความคดิ เหน็

4. การใชว ธิ กี ารสนทนากลุม ไดข อ มูลละเอียดและสอดคลองกับวตั ถุประสงคข องการศกึ ษา
ไดส าํ เรจ็ หรอื ไดด ยี ิง่ ขึ้น

5. คาํ ตอบจากการสนทนากลมุ มลี ักษณะเปน คําตอบเชงิ เหตุผลคลา ย ๆ กบั การรวบรวม
ขอมูลแบบคณุ ภาพ

6. ประหยดั เวลาและงบประมาณของนกั วจิ ัยในการศกึ ษา
7. ทาํ ใหไ ดรายละเอยี ด สามารถตอบคาํ ถามประเภททําไมและอยา งไรไดอ ยางแตกฉาน
ลึกซงึ้ และในประเดน็ หรือเรอ่ื งท่ีไมไดค ิดหรอื เตรยี มไวก อนกไ็ ด

79

8. เปน การเผชญิ หนากนั ในลักษณะกลมุ มากกวา การสัมภาษณต วั ตอ ตวั ทาํ ใหมีปฏกิ ิรยิ า
โตต อบกันได

9. การสนทนากลุม จะชวยบง ชีอ้ ทิ ธพิ ลของวฒั นธรรมและคณุ คาตาง ๆ ของสงั คมน้ันได
เน่อื งจากสมาชิกของกลมุ มาจากวฒั นธรรมเดยี วกนั

10. สภาพของการสนทนากลุม ชวยใหเกดิ และไดข อมลู ท่เี ปนจริง

ขอ 3 ประโยชนข องการสมั มนามี 8 ขอ ดังน้ี
1. ผูจดั หรือผเู รยี นสามารถดําเนินการจดั สมั มนาไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. ผูเขา รว มสัมมนาไดร บั ความรู แนวคิดจากการเขารว มสมั มนา
3. ชว ยทาํ ใหระบบและวิธกี ารทํางานมปี ระสทิ ธภิ าพสงู ข้นึ
4. ชว ยแบง เบาภาระการปฏิบัตงิ านของผบู ังคบั บัญชา
5. เปนการพัฒนาและสงเสริมความกาวหนา ของผปู ฏิบตั ิงาน
6. เกิดความรเิ รมิ่ สรา งสรรค
7. สามารถสรางความเขา ใจอันดีตอ เพ่อื นรว มงาน
8. สามารถรว มกนั แกปญ หาในการทาํ งานได และฝก การเปน ผนู ํา

ขอ 4 การสํารวจประชามตมิ ี 7 ประเภท ดังนี้
การสํารวจประชามตทิ างดานการเมอื ง สวนมากจะรจู กั กันในนามของ Public Opinion Polls

หรือการทาํ โพล ซ่งึ มที ่ีรูจ ักกันอยา งแพรห ลาย คอื การทาํ โพลการเลือกต้งั (Election Polls) แบง ได ดังนี้
1. Benchmark Survey เปน การทาํ การสํารวจเพือ่ ตองการทราบความเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ

การรับรูเ ร่ืองราว ผลงานของผสู มคั ร ช่ือผูส มคั ร และคะแนนเสยี งเปรยี บเทยี บ
2. Trial Heat Survey เปน การหย่ังเสียงวาประชาชนจะเลอื กใคร
3. Tracking Poll การถามเพือ่ ดูแนวโนม การเปลยี่ นแปลง สว นมากจะทาํ ตอนใกลเ ลอื กตั้ง
4. Cross-sectional vs. Panel เปน การทาํ โพล ณ เวลาใดเวลาหนง่ึ หลาย ๆ คร้งั เพื่อทําใหเห็นวา

ภาพผูสมัครในแตละหวงเวลามีคะแนนความนิยมเปนอยางไร แตไมทราบรูปแบบการเปล่ียนแปลงท่ี
เกดิ ขึ้นในตวั คน ๆ เดยี ว จึงตอ งทาํ Panel Survey

5. Focus Groups ไมใช Poll แตเปนการไดข อ มูลทีค่ อนขา งนา เชือ่ ถอื ไดเพราะจะเจาะถามเฉพาะ
กลุมทรี่ ูและใหความสาํ คัญกบั เรอ่ื งนจ้ี รงิ จัง ปจจบุ นั นิยมเชญิ ผเู ชยี่ วชาญหลาย ๆ ดา นมาใหค วามเห็นหรือ
บางคร้ังกเ็ ชิญตวั กลุมตวั อยางมาถามโดยตรงเลย การทําประชมุ กลมุ ยอยยังสามารถใชใ นการถามเพื่อดูวา
ทิศทางของคาํ ถามท่ีควรถามควรเปน เชนไรดวย

80

6. Deliberative Opinion รวมเอาการสํารวจทั่วไป กับการทําการประชุมกลุมยอยเขาดวยกัน
โดยการนําเอาตัวแทนประชาชนมารวมกัน แลวใหขอมูลขาวสารหรือโอกาสในการอภิปรายประเด็น
ปญ หา แลวสํารวจความเห็นในประเด็นปญหาเพ่ือวัดประเดน็ ท่ีประชาชนคิด

7. Exit Polls การสัมภาษณผ ูใชสิทธิ์ออกเสียงเม่ือเขาออกจากคหู าเลือกตั้ง เพ่ือดวู า เขาลงคะแนน
ใหใ คร ปจ จุบันในสงั คมไทยนยิ มมาก เพราะมคี วามนาเชื่อถือมากกวา Poll ประเภทอื่น ๆ

ขอ 5 ลักษณะของรายงานทีด่ ีมี 12 ขอ ดังน้ี
1. ปกสวยเรียบ
2. กระดาษทใ่ี ชมีคุณภาพดี มขี นาดถกู ตอง
3. มีหมายเลขแสดงหนา
4. มสี ารบญั หรอื มหี วั ขอ เร่อื ง
5. มบี ทสรุปยอ
6. การเวน ระยะในรายงานมีความเหมาะสม
7. ไมพ มิ พขอความใหแนนจนดลู านตาไปหมด
8. ไมมีการแก ขดู ลบ
9. พิมพอ ยางสะอาดและดูเรียบรอ ย
10. มผี ังหรอื ภาพประกอบตามความเหมาะสม
11. ควรมกี ารสรุปใหเ หลือเพยี งส้ัน ๆ แลว นาํ มาแนบประกอบรายงาน
12. จัดรูปเลม สวยงาม

ขอ 6
ภาพ ทอมสั เจฟเฟอรสัน (THOMAS

JEFFERSON)
ทอมัส เจฟเฟอรสัน เปนประธานาธิบดีแหง

สหรัฐอเมริกา คนท่ี 3 (ดํารงตําแหนงระหวางวันท่ี 4
มีนาคม ค.ศ. 1801 – 4 มีนาคม ค.ศ. 1809) และผูประพันธ
“คาํ ประกาศอิสรภาพ” (Declaration of Independence) เขา
เปนประธานาธิบดีคนแรกท่ีเปนหัวหนาพรรคการเมือง
และใชอํานาจผา นพรรคการเมอื งในการควบคุมรฐั สภาของสหรัฐอเมรกิ า และเปน 1 ใน 4 ประธานาธบิ ดี

81
สหรัฐอเมรกิ าที่รปู ใบหนาไดรับการสลักไวที่อนุสรณสถานแหงชาติ เมานตรัชมอร (Mount Rushmore)
ใบหนาของเขาปรากฏบนธนบัตรราคา 2 ดอลลารสหรัฐและเหรียญนิกเกลิ 5 เซนต

ขอ 7 ภาพสลกั ใบหนาทอมัส เจฟเฟอรส นั (THOMAS
JEFFERSON) ท่ีอนสุ รณสถานแหงชาติ เมานตร ัชมอร
(Mount Rushmore)
ตวั อยาง ลักษณะของโครงงานท่มี ผี ูเขยี นไว ดงั นี้

ลัดดา ภูเกียรติ (2544) โครงงานนับวาเปน
กระบวนการเรยี นรอู ยา งหนง่ึ ทเ่ี นนการสรางความรูด ว ย
ตนเองของผเู รยี นโดยการบูรณาการสาระความรูตาง ๆ
ทอี่ ยากรูใหเอื้อตอกัน หรือรวมกันสรางเสริมความคิด
ความเขาใจ ความตระหนัก ทั้งดานสาระและคณุ คาตาง ๆ
ใหกับผเู รียน โดยอาศัยทักษะทางปญญาหลาย ๆ ดาน ทั้งท่ีเปนทักษะขั้นพื้นฐานในการแสวงหาความรู
และทกั ษะขั้นสูงทจ่ี ําเปน ในการคดิ อยา งสรา งสรรคและมวี ิจารณญาณ
สวุ ทิ ย – อรทัย มลู คาํ (2544) โครงงานเปน กระบวนการทตี่ รงกับหลักการเรยี นรอู ยา งมี
ประสทิ ธิภาพท่ีวา “การเรียนรจู ะมปี ระสิทธภิ าพยิ่งข้ึนเมื่อผเู รยี น”
- รวู า ตอ งทาํ อะไร
- เขาใจวาทาํ ไมตองกระทําสิง่ นน้ั
- รวู าเมื่อไรจะถกู ประเมินและดว ยวิธใี ด
- ไดม ีโอกาสเขาถึงสอ่ื ทสี่ ามารถเขา ใจได
- มโี อกาสในการพฒั นาทกั ษะ
- ไดร บั การสนบั สนุนทเ่ี หมาะสมจากครู เพื่อน และผูเ กย่ี วของ
- ไดทาํ งานตามจงั หวะเวลาทเี่ หมาะสมกับตนเอง
- สนใจในสิ่งทกี่ าํ ลังทํา
- ไดท าํ กจิ กรรมอยา งหลากหลาย
- ไดม ีโอกาสทบทวนความกาวหนา ของตนเอง
- มคี วามเปน เจา ของส่ิงทกี่ ําลังทาํ

82

สุวทิ ย – อรทัย มลู คาํ (2545) การจดั การเรียนรแู บบโครงงาน เปนกระบวนการเรียนรูท่ีเปด
โอกาสใหผเู รยี นไดศึกษาคน ควา และลงมอื ปฏิบัตกิ ิจกรรมตามความสนใจ ความถนัดและความสามารถ
ของตนเอง ซง่ึ อาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร หรอื กระบวนการอ่นื ๆ ทเ่ี ปน ระบบไปใชในการศึกษา
หาคําตอบในเร่อื งนนั้ ๆ

กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น (2546) การทําโครงงานของนกั ศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน น้ัน
มวี ัตถุประสงคเพ่ือใหนักศึกษาไดนําองคความรูจากหมวดวิชาที่ลงทะเบียนเรียนไปศึกษาเพ่ิมเติมโดย
ผลิตผลงานทเ่ี ปนการบูรณาการองคค วามรตู ามหมวดวิชาที่ลงทะเบียนเรียนกับการนําไปประยุกตใชใน
ชีวิตประจําวันจากการปฏิบัติจริงในเร่ืองท่ีสอดคลองกับความสนใจความตองการของตนเองรวมท้ัง
สามารถสรา งและสรปุ องคความรูท ่ีไดอ ยา งเปนระบบ

สรุ พล เอ่ยี มอูท รพั ย (2547) การสอนแบบโครงงานยังเนน ใหผเู รียนมีความคดิ ท่ีตองการจะ
คน หาคําตอบท่ีตองการรูหรือคิดแกปญหาตาง ๆ โดยการทํางานกลุมอยางมีระบบข้ันตอน สามารถคิด
สรางสรรคในเร่ืองตาง ๆ ท่ีเปนประโยชนตอตนเองและสังคมได การสอนแบบโครงงานหรือการให
ผเู รยี นจดั ทาํ โครงงานตอ งการใหผูเรียนเกิดกระบวนการเรียนรูดังน้ี

1. มคี วามคดิ และแสดงออกอยา งอสิ ระสามารถคดิ เปน ทําเปน และแกป ญหาได
2. มคี วามคดิ สรา งสรรค จากการศึกษาคนควา การคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห การวินิจฉัย
การสรปุ ผลประเมินคา คดิ แยกแยะ
3. มีความคดิ ในการเสาะแสวงหาความรหู รอื แหลงการเรียนรูตา ง ๆ ไดต ามความสนใจ และ
ความชอบของตนเอง
4. รจู ักการทาํ งานเปน ทมี เปน กลุมใหความสนใจตอเพอ่ื นรวมงาน เรียนรกู ารอยรู วมกัน
อยา งเปน ประชาธปิ ไตย รจู กั การชวยเหลือซงึ่ กันและกนั และการใหอภยั ตอกัน
5. การฝกปฏิบัตงิ านและการเรยี นรูจ ากการปฏบิ ัตงิ านจริงทเ่ี หน็ ในชวี ติ ประจาํ วัน และ
สามารถนําความรูและประสบการณท ี่ไดจ ากการฝก ปฏบิ ัตไิ ปประยกุ ตใ ชใ นชีวติ ประจําวันได
6. ฝกการควบคมุ อารมณและจิตใจของตนเอง เพอื่ การอยูร ว มกันในสังคมไดอยางมีความสขุ

ขอ 8 การพัฒนาตนเอง จากการมสี ว นรว มในการทํางาน/กจิ กรรม ดงั นี้
การทํางานเปนกลุมเปนทีมทําใหผูเรียนไดมีการแลกเปล่ียนเรียนรูซ่ึงกันและกัน ไดฝกการ

ประเมนิ ตนเอง รจู ักตนเอง เห็นคุณคาของตนเองและยอมรับผอู ่ืน เกดิ การเขาใจอารมณ ความรูสึกนึกคิด
ของผอู ่ืนและการควบคุมตนเอง เปนการชวยพัฒนาความเฉลียวฉลาดทางอารมณ หรือระดับสติปญญา
ทางอารมณ (Emotional Quotient) หรอื ความสามารถในการตระหนกั ถึงความรูสึกของตนเอง

83

(การมีสต)ิ และผูอ่ืน พรอ มท้งั สามารถบริหารหรือจัดการอารมณของตนได เชน การฝกควบคุมอารมณ
ของตนเองทําใหเปนคนมีวินัยในตนเองและตรงตอเวลาและสามารถสรางสัมพันธภาพ (การมีมนุษย
สมั พันธ) กับผูอ่ืนไดเปนอยางดี รูจักกระตุนและจูงใจตนเอง ทําใหเกิดความพยายาม มุมานะ ในการ
ทาํ งานจนประสบความสําเร็จในชีวติ นอกจากนย้ี ังเปน การพฒั นาระดบั สติปญญาทางศลี ธรรมหรอื ระดับ
ความไมเห็นแกต วั (Moral Quotient) ใหก บั ผเู รยี นโดยไมรูตวั อีกดว ย (ลัดดา ภเู กยี รต.ิ 2544 : 28-29)

แนวเฉลยกิจกรรมบทท่ี 6

ขอ 1 ผูนาํ ชุมชน หมายถึง บคุ คลทม่ี ีความสามารถในการชกั จูงใหคนอ่ืนทํางานในสว นตา ง ๆ ทตี่ อ งการ
ใหบ รรลเุ ปาหมายและวัตถุประสงคที่ตัง้ ไว ซ่ึงผนู าํ ชุมชนอาจเปนบคุ คลท่มี าจากการเลอื กต้ัง หรอื

แตงต้ัง หรือการยกยองข้นึ มาของสมาชิก เพ่อื ใหท าํ หนา ท่เี ปนผชู ี้แนะและชวยเหลอื ใหก ารจัดทาํ
และขับเคลอ่ื นแผนพฒั นาชมุ ชน ประสบความสาํ เร็จ
หนา ทผ่ี ูน ําชุมชน มดี ังนี้
1. สรางความสามคั คใี หเกดิ ขนึ้ ในชุมชน
2. กระตนุ ใหสมาชกิ ทาํ สิง่ ทีเ่ ปน ประโยชนต อชุมชน
3. พัฒนาสมาชกิ ใหเ กิดภาวะผูนํา
4. รวมกับสมาชกิ กาํ หนดเปา หมายของชุมชน
5. บรหิ ารงาน ประสานงานในชุมชน
6. ใหคําแนะนาํ ชแี้ นวทางใหก ับชมุ ชน
7. บํารุงขวัญสมาชกิ ในชมุ ชน
8. เปนตวั แทนชุมชนในการตดิ ตอประสานงานกบั หนว ยงานอนื่ ๆ
9. รับผิดชอบตอผลการกระทําของชุมชน

ขอ 2 การเปนสมาชกิ ทด่ี ีหรือผตู ามทดี่ ี ควรมลี ักษณะดงั น้ี เปน ผูมีความสามารถในการบริหาร
จดั การตนเองไดดี มคี วามผกู พนั ตอ ชุมชนตอ วตั ถุประสงคข องงาน ทํางานเต็มศักยภาพ และ
สุดความสามารถ และมคี วามกลา หาญ ซอ่ื สตั ย และนาเชือ่ ถอื

84

ภาษาไทย บรรณานกุ รม

กรมการศึกษานอกโรงเรียน. การวิเคราะหนโยบายกรมการศึกษานอกโรงเรียน ประจาํ ปงบประมาณ
2540-2545. กรุงเทพฯ : รงั สกี ารพมิ พ, 2546.

กรมการศึกษานอกโรงเรียน. ความหมายของคาํ เกยี่ วกับแผนงาน โครงการ. กรุงเทพฯ:
ศูนยเ ทคโนโลยที างการศกึ ษา, 2545.

กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน. เอกสารการอบรมการวางแผนการศกึ ษานอกโรงเรียน. กรงุ เทพฯ : ชุมนุม
สหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย, 2540.

กรรณกิ า ทิตาราม. การเกบ็ รวบรวมขอมลู . เขาถงึ ไดจาก http://guru.sanook.com/search/
knowledge_search.php ( 22/7/2552)

กระบวนการจดั ทาํ แผนชมุ ชน. เขาถึงไดจาก http://www.iad.dopa.go.th.subject/cplan/

process-cplan.ppt (25/2/2554)
กระบวนการวางแผน เขา ถงึ ไดจาก http://www.pitajarn.lpru.ac.th/-chitlada/WEB page/om/3pdf.

(8/8/2552)
กลั ยา วานิชยบญั ชา. สถิตสิ าํ หรบั งานวจิ ัย. พมิ พค รง้ั ที่ 2. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั , 2549.
การประเมินประสทิ ธิภาพของภาวะผนู าํ . เขา ถงึ ไดจาก http://www.nrru.ac.th/article/

leadership/page1.5.html (16/8/2009)
การพัฒนาสงั คม. เขาถงึ ไดจ าก http:// www.phetchaburi.m-society.go.th/p.htm.(5/9/2552)
การพฒั นาสงั คมโดยการมสี ว นรวม. เขาถงึ ไดจ าก http://dnfe.5.nfe.go.th/lip/soc2/8031-2_4.htm.

(25/8/2552.)
การมีสว นรว ม. เขาถึงไดจาก http://www.thaipoliticsgovernment.org/wiki (25/8/2552)
การมสี ว นรว มของประชาชนในการบริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตจิ ังหวัดภเู กต็ . เขา ถึงไดจาก

http://www.oknation.net/blog/singh/2009/08/18/entry. (8/8/2552)
การวางแผน. เขาถงึ ไดจ าก http://www.cado.mnre.go.th. (8/08/2552)
การเสรมิ สรางภาวะผนู าํ ชุมชน. เขา ถึงไดจ าก http://www.uinthai.com/index. php?lay=

show&ac=article&Id=538667754&Ntype=119 (14/8/2009)
เกรยี งศกั ดิ์ เขยี วยง่ิ . การบริหารทรพั ยากรมนษุ ยแ ละบคุ คล. ขอนแกน : ภาควชิ าสงั คมศาสตร คณะมนษุ ย

ศาสตรแ ละสังคมศาสตร มหาวิทยาลยั ขอนแกน , 2539.
ขอมลู ดานภมู ศิ าสตรแ ละการปกครอง. เขาถงึ ไดจ าก http://www.spb3.obec.go.th_ geo.htm (18/8/2552)

85

ขนั้ ตอนการดาํ เนนิ การจดั ทําแผนหมบู าน/ชุมชน (เคร่ืองมอื การเรียนรขู องชุมชนทอ งถน่ิ ).
เขา ถงึ ไดจาก http://www.pattanalocal.com/n/52/13.pdf (18/ 3/2554)

คณะกรรมการสงเสรมิ สวสั ดิการสังคมแหง ชาติ. แผนพฒั นาสวสั ดกิ ารสงั คมและสังคมสงเคราะห
แหง ชาติ ฉบบั ที่ 4 (พ.ศ. 2545-2549) (อดั สําเนา)

คนเกบ็ ขยะ (การมสี ว นรว มของประชาชน) เขาถึงไดจ ากhttp://gotoknow.org/blog/rubbish/73541.
(28/8/2552)

คลังปญ ญาไทย. การนําเสนอขอมูล. เขาถึงไดจ าก http://www.panyathai.or.th (1/7/2552)
ความรูพ ื้นฐานการพฒั นาชมุ ชน. เขาถึงไดจ าก http://royalprojects.kku.ac.th/king/files/

(29/8/2552)
ความหมาย “แผนแมบ ทชุมชนพงึ่ ตนเอง”. เขา ถึงไดจ าก http://www.thailocaladmin.90.th/
workle_book/eb3/5p8_1.pdf (5/4/2554)
ความหมายของผนู าํ . เขาถึงไดจาก http://www.nrru.ac.th/article/leadership/page1.1.html (16/8/2009)
ความหมายของแผนชมุ ชน. เขาถึงไดจาก http://www.thailocaladmin.go.th (5/4/2554)
ความหมายแผนงาน. เขาถงึ ไดจาก http://www.3.cdd.go.th/phichit/b03.html (5/4/2554)
จิตติ มงคลชยั อรัญญา. แนวทางการพฒั นาสงั คม (ทเ่ี หมาะสม) เขาถึงไดจาก http://

socadmin.tu.ac.th/kanabady (5/9/2552)
จติ ราภา กณุ ฑลบตุ ร. การจดั ระบบขอมลู และสารสนเทศทางการศกึ ษา. เขา ถึงไดจาก

http://www.chittrapa.net/index.php?option=com_content&task=view&id=35&Itemid=mid
=36 (10/7/2552)
เฉลมิ ขวญั สตร,ี โรงเรียน. หนา ท่ีพลเมอื งและวฒั นธรรมไทย. เขาถงึ ไดจ าก
http://nucha.chs.ac.th/1.1htm (18/8/2552)
ชาญชัย อาจนิ สมาจาร. พฒั นาตนเองสูความเปนผูบรหิ าร. กรุงเทพฯ : พมิ พทอง, ม.ป.ป.
ชเู กยี รติ ลีสวุ รรณ. การวางแผนและบริหารโครงการ. จติ วัฒนาการพิมพ, 2545.
ธงชยั สันตวิ งษ. หลักการจดั การ. กรงุ เทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานชิ , 2540.
ธนู อนญั ญพร. กระบวนการพฒั นาชุมชน., 2549 (อัดสําเนา)
นเรศวร, มหาวทิ ยาลยั . ภาควิชาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม. โครงการเครอื ขายเฝา ระวงั
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม ลมุ น้าํ วงั ทอง. เขา ถึงไดจ าก
http://conf.agi.nu.ac.th/nrs-new/wangtong/hist.php. (7/7/2552)
แนวคิดผูนํายคุ ใหม. เขาถึงไดจาก http://sa.sa.ku.ac.th/index.php?option=com_content&
task=view&id=75&Itemid=107 (16/8/2552)

86

แนวคิดและความเขา ใจเกีย่ วกบั การพัฒนาสงั คมไทย. เขา ถงึ ไดจาก http://dnfe5.nfe.go.th/
ilp/so02/so20_5.html (1/7/2552)

แนวทางการพัฒนาคุณภาพแผนชุมชน. เขาถึงไดจาก http://Kaewpany.rmutl.ac.th/2552/
attachments/1475_ dev-plan.pdf (25/2/2554)

บทความอาหารสมองเรอื่ ง : การสนทนากลุม (Focus Group Discussion). เขา ถึงไดจ าก
http://www.vijai.org/articles data/show topic.asp?Topicid=98(30/1/2549)

บทบาท หนา ท่ี และลกั ษณะผนู าํ ชุมชนทด่ี ี. เขาถงึ ไดจ าก http://www.uinthai.com/index.
php?lay=show&ac=article&Id=538667753&Ntype=119 (14/8/2009)

ปราชญา กลาผจญั และพอตา บตุ รสทุ ธิวงศ. การบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย. กรงุ เทพฯ : ธนะการพมิ พ,
2550.

ปราณี รามสตู ร และจาํ รสั ดว งสุวรรณ. พฤตกิ รรมมนษุ ยก ับการพฒั นาตน. พมิ พค รงั้ ที่ 3
กรุงเทพมหานคร :ธนะการพิมพ, 2545.

ปองทิพย เทพอารีย. การศึกษาการพฒั นาตนเองของครูในโรงเรียนอนบุ าลเอกชน กรงุ เทพ
มหานคร. สารนิพนธ กรงุ เทพฯ: บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ, 2551.

แผนการทาํ งานและการมสี วนรวมโดยการแกป ญ หาเอดสใ นชมุ ชน เขาถึงไดจ าก
http://www.phayaocitil.net/joomla/index.php?. (26/8/2552)

แผนชุมชนประจาํ ป พ.ศ. 2553. เขาถึงไดจาก http://payakhan.go.th/document/
1298599706.doc (8/4/2554)
พรชยั ธรณธรรม. สารานุกรมไทยฉบบั เยาวชน. เขา ถึงไดจ าก http://www.guru.sanook.

com/search/knowledge_search.php?q...1 (15/7/2552)
พัฒน บุณยรตั พนั ธุ. ปรชั ญาพฒั นาชุมชน. เขา ถงึ ไดจ าก http://royalprojects.kku.ac.th/king/

files/(29/8/2552)
พฒั นาชุมชนจงั หวัดมหาสารคาม, สาํ นักงาน. เอกสารประกอบการประชมุ การประชมุ เชิง

ปฏิบตั กิ ารภาคพี ่เี ลีย้ งระดับตําบลและแกนนําระดบั ตาํ บล เพือ่ เพ่ิม
ประสิทธภิ าพแผนชุมชน. มหาสารคาม : สาํ นักงานพฒั นาชมุ ชนจังหวดั มหาสารคาม, 2550.
(อัดสําเนา)
ไพโรจน ชลารกั ษ. ทกั ษะการจดั การความร.ู เขา ถึงไดจ าก http://lib.kru.ac.th/eBook/4000111/
doc1-2. html (10/7/2552)
ไพโรจน ทิพมาตร. หลกั การจดั การ. นนทบรุ ี : ไทยรมเกลา , 2548.

87

ไพศาล ไกรสิทธ.ิ์ เอกสารคาํ สอนรายวิชาการพัฒนาตน. ราชบรุ ี : คณะครศุ าสตร สถาบันราชภฏั หมบู าน
จอมบึง, 2541.

มลู นิธเิ ครอื ขายครอบครวั . ตวั ตนของหน.ู ..ตอ งชว ยสง เสริม. เขาถงึ ไดจาก http://www.
familynetwork.or.th/node/15673 (15/7/2552)

ยนื ภวู รรณ. การนําเสนอขอ มลู . เขา ถงึ ไดจาก http://www.school.net.th/library/snet2/
knowledge_math/pre_dat.htm (22 /7/2552)

ยุวฒั น วุฒิเมธ.ี ปรัชญาของการพฒั นาชมุ ชน. เขา ถึงไดจ าก http://royalprojects.kku.ac.
th/king/files/(29/8/2552)

ราชบณั ฑติ ยสถาน. พจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. พิมพค ร้งั ท่ี 6. กรงุ เทพฯ :
อกั ษรเจรญิ ทศั น, 2539.

ราชภัฏเทพสตร,ี มหาวทิ ยาลัย. การรูส ารสนเทศ. เขา ถึงไดจ าก
http://human.tru.ac.th/elearning/tec_ban/tinfo01/info06.html

ราชภฏั นครศรธี รรมราช, มหาวทิ ยาลยั . เทคโนโลยกี ารศกึ ษา. เขา ถงึ ไดจ าก
http://www.nrru.ac.th/preeteam/rungrot/page13004asp (1/7/2552)

ลักษณะภาวะผนู าํ . เขา ถึงไดจ าก http://www.nrru.ac.th/article/leadership/page1.4.html (16/8/2009)
วรัชยา ศิรวิ ฒั น. ลกั ษณะผตู ามทมี่ ีประสิทธิผลกบั แนวทางการพฒั นาผตู ามในยุคปฏิรูประบบราชการ.

วารสารพัฒนาชุมชน. (กุมภาพนั ธ 2547) : 27-34.
วราภรณ นกั พณิ พาทย. ความคดิ เห็นของขา ราชการมหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒท่ีมีตอการพฒั นา

บุคลากรของมหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ. ปรญิ ญานิพนธ กศ.ม., 2545. (อัดสําเนา)
วเิ ลขา ลสี ุวรรณ. ศูนยก ารเรยี นชมุ ชน : ชุมชนเขม แขง็ สสู งั คมแหงการเรียนร.ู กรุงเทพฯ : บรษิ ทั สุวติ า

เอ็นเตอรไ พรส จํากัด, 2550.
ศศิธร พรมสงฆ. Web site เพื่อการเรียนการสอนรายวชิ าสถิตวิ เิ คราะห. เขา ถึงไดจาก

http://student.nu.ac.th/429/12.htm (10/7/2552)
ศริ พิ งษ ศรีชัยรมยรตั น. ผนู ําทด่ี คี วรมีคุณสมบตั อิ ยา งไร. เขา ถึงไดจากhttp://www.sombatlegal.

com/index.php?lay=show&ac=article&Id=421796 (25/8/2552)
ศูนยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี นภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื . คูมอื การอบรมกระบวนการวางแผนแบบมสี วน

รวม. อุดรธานี : ศริ ธิ รรมออฟเซท็ , 2542.

88

ศูนยการศกึ ษานอกโรงเรียนภาคใต. รายงานการวจิ ยั ปฏิบตั กิ ารแบบมีสวนรวมในการพฒั นากระบวนการ
จดั ทําแผนชุมชนตามโครงการบรู ณาการแผนชุมชนเพ่ือความเขมแขง็ ของชมุ ชนและ
เอาชนะความยากจนในภาคใต. สงขลา, 2547. (อดั สาํ เนา)

สถาบนั การศกึ ษาและพฒั นาตอ เนอื่ งสริ ินธร. เอกสารประกอบการฝก อบรมกลมุ ขา ราชการครแู ละ
บุคลากรทางการศึกษา. นครราชสีมา : มิตรภาพการพิมพ, 2551.

สนธยา พลศรี. ทฤษฎแี ละหลกั การพฒั นาชุมชน. พมิ พค รง้ั ที่ 4 กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, 2545.
สมจติ ร เกิดปรางค และนตุ ประวีณ เลศิ กาญจนวัต. การสมั มนา. กรุงเทพฯ : สํานกั พิมพส งเสรมิ วชิ าการ

, 2545.
สัญญา สัญญาวิวัฒน. การพฒั นาชุมชน. พิมพค รัง้ ที่ 2. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร, 2525.
สญั ญา สัญญาววิ ฒั น. การพฒั นาชุมชนหลกั การและวธิ ปี ฏบิ ตั ิ. กรงุ เทพฯ : แพรพ ทิ ยา, 2515.
สญั ญา สญั ญาวิวัฒน. ทฤษฎแี ละกลยุทธก ารพฒั นาสงั คม. พมิ พค รั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สาํ นักพิมพ

จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540.
สํานกั งานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั (สกว.) สาํ นกั งานภาค. การสนทนากลุม (Focus Group

Discussion). เขา ถงึ ไดจ าก http://www.vijai.org/Tool vijai/12/02.asp (30/1/2549)
สาํ นักงานสถิติแหงชาติ. การเกบ็ รวบรวมขอมลู . เขาถึงไดจ าก http://service.nso.go.th/

nso/knowledge/estat/esta1_6.html (22 /7/2552)
สํานักบริหารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น. คําช้แี จงการจดั ทาํ แผนปฏิบัตกิ ารประจําป งบประมาณ 2551.

(อดั สาํ เนา)
สุโขทยั ธรรมาธิราช, มหาวิทยาลยั . บณั ฑิตศกึ ษา สาขาวชิ าศึกษาศาสตร. ประมวลสาระชุดวชิ าบรบิ ท

ทางการบริหารการศกึ ษา หนว ยท่ี 11-15 กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั , 2546.
สุพล พลธรี ะ. การประชมุ . สารเทคนิคการแพทยจุฬาฯ 4, 2533.
สุวิมล ตริ กานนั ท. การประเมนิ โครงการ : แนวทางสกู ารปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคาํ แหง,

2544.
หนวยที่ 5 การเขยี นรายงาน เขา ถึงไดจ าก http://www.tice.ac.th/Online/Online2-

2549/bussiness/.../n5.htm (17/7/2552)
อรพนิ ท สพโชคชยั . การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาระบบราชการ. เขาถึงไดจ าก

http://www.plan.ru.ac.th/newweb/opdc/data/participatory.pdf. (28/8/2552)

ภาษาองั กฤษ

89

Administrator. การสนทนากลมุ แบบเรียน -learning. ภาควชิ าพัฒนาชมุ ชน คณะสังคมสงเคราะห
ศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร : กรุงเทพฯ, 2547.

IT Destination Tech Archive [00005]. ความหมายของขอ มูล. เขาถงึ ไดจาก
http://www.itdestination.com/resources/tech/showtech.php?00005 (1/7/2552)

Judith Sharken Simon. How to Conduct a Focus Group. เขาถึงไดจาก
http://www.tgci.com/magazine/99fall/focus1.asp (30/1/2549)

Noina koku GEO. ความหมายของขอ มลู สารสนเทศ สารสนเทศภูมศิ าสตร ฐานขอ มูล. เขา ถึงไดจ าก
http://www.noinazung-06blogspot.com 2009/06geographic-information-system-gis.html
(10/7/2552)

UNESCO / APPEAL. HandBook : Non-formal Adult Education Facilitator, Module 4 Participatory
Learning. Bangkok, 2001.

UNESCO / APPEAL. Monitoring and Evaluation of literacy and continuing education
programmes. Bangkok, 1999.

90

ทปี่ รกึ ษา คณะผูจ ัดทาํ

1. นายประเสริฐ บญุ เรอื ง เลขาธิการ กศน.
2. ดร.ชยั ยศ อิ่มสุวรรณ รองเลขาธกิ าร กศน.
3. นายวัชรนิ ทร จําป รองเลขาธกิ าร กศน.
4. ดร.ทองอยู แกวไทรฮะ ท่ีปรกึ ษาดา นการพัฒนาหลักสตู ร กศน.
5. นางรักขณา ตัณฑวฑุ โฒ ผูอ ํานวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ผเู ขยี นและเรียบเรยี ง กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
1. นางกนกพรรณ สวุ รรณพทิ กั ษ ศูนยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษา
2. นางชนดิ า ดยี ิ่ง กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
ผบู รรณาธกิ าร และพฒั นาปรับปรุง ศนู ยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา
กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
1. นางกนกพรรณ สุวรรณพทิ กั ษ ขา ราชการบาํ นาญ
2. นางชนดิ า ดยี ่งิ ขา ราชการบํานาญ
3. นางสาววรรณพร ปทมานนท ขา ราชการบาํ นาญ
4. นายวิวฒั นไชย จนั ทนสุคนธ ขาราชการบาํ นาญ
5. นางสาวสุรีพร เจรญิ นชิ ขาราชการบํานาญ
6. นางพชิ ญาภา ปต ิวรา ขาราชการบํานาญ
7. นางธัญญวดี เหลาพาณชิ ย กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
8. นางเออ้ื จติ ร สมจติ ตชอบ กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
9. นางสาวชนติ า จิตตธ รรม กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
คณะทํางาน กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
1. นายสรุ พงษ ม่ันมะโน กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
2. นายศุภโชค ศรีรตั นศลิ ป กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
3. นางสาววรรณพร ปท มานนท
4. นางสาวศริญญา กลุ ประดษิ ฐ
5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจิตวฒั นา
ผพู ิมพต น ฉบบั
นางสาววรรณพร ปท มานนท
ผอู อกแบบปก

นายศภุ โชค ศรีรตั นศลิ ป

91

คณะผปู รบั ปรุงขอ มูลเก่ียวกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ  ป พ.ศ. 2560

ทีป่ รกึ ษา จําจด เลขาธิการ กศน.
หอมดี ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร
1. นายสรุ พงษ สุขสเุ ดช ปฏิบตั หิ นา ทรี่ องเลขาธิการ กศน.
2. นายประเสรฐิ ผูอ ํานวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
3. นางตรนี ชุ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั

ผปู รบั ปรงุ ขอ มูล
นางพัชราภรณ จันทรไทย กศน.เขตบางซือ่ กรงุ เทพมหานคร

คณะทํางาน
1. นายสรุ พงษ ม่นั มะโน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
2. นายศุภโชค ศรีรตั นศลิ ป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
4. นางเยาวรัตน ปนมณวี งศ กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
5. นางสาวสุลาง เพ็ชรสวา ง กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
6. นางสาวทิพวรรณ วงคเรอื น กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน กลุม พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
8. นางสาวชมพนู ท สังขพิชยั กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

ขอมลู กช


Click to View FlipBook Version