The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-15 01:50:14

เศรษฐกิจพอเพียง ประถมศึกษา

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดาํ เนินชีวิต

รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง

(ทช11001)

ระดับประถมศกึ ษา

(ฉบับปรับปรงุ 2560)

หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
พทุ ธศักราช 2551

หามจาํ หนาย

หนังสือเรยี นเลมนี้ จัดพมิ พด วยเงินงบประมาณแผน ดนิ เพอ่ื การศึกษาตลอดชวี ติ สาํ หรบั ประชาชน
ลขิ สิทธิ์เปนของ สํานักงาน กศน. สํานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

สํานกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธิการ

หนงั สือเรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชีวิต

รายวิชา เศรษฐกิจพอเพยี ง (ทช11001)

ระดบั ประถมศกึ ษา

ฉบับปรบั ปรุง 2560
ลิขสทิ ธิเ์ ปน ของ สํานกั งาน กศน. สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
เอกสารทางวชิ าการลาํ ดับท่ี 18/2555

คาํ นํา

กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พทุ ธศักราช 2551 เมือ่ วันท่ี 18 กนั ยายน พ.ศ. 2551 แทนหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน
ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซึ่งเปนหลักสูตรท่ีพัฒนาขึ้นตามหลักปรัชญาและ
ความเชอ่ื พนื้ ฐานในการจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี นทีม่ กี ลมุ เปา หมายเปน ผใู หญมกี ารเรียนรูและสง่ั สมความรู
และประสบการณอยา งตอเนอ่ื ง

ในปง บประมาณ 2554 กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคลื่อนนโยบาย
ทางการศกึ ษาเพอ่ื เพ่มิ ศกั ยภาพและขีดความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพท่ีสามารถสราง
รายไดท่ีม่ังค่ังและม่ันคง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมีจิตสํานึก
รับผิดชอบตอตนเองและผอู ื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพ จิ ารณาทบทวนหลกั การ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการ
เรียนรูที่คาดหวัง และเน้ือหาสาระ ท้ัง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
ซึ่งสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพิ่มและสอดแทรกเนื้อหาสาระเกี่ยวกับอาชีพ คุณธรรม
จริยธรรมและการเตรียมพรอมเพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาท่ีมีความเก่ียวของสัมพันธกัน
แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือที่ใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติ
กจิ กรรม ทําแบบฝกหัด เพื่อทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภิปรายแลกเปลยี่ นเรยี นรูกบั กลุม หรือศกึ ษา
เพม่ิ เตมิ จากภูมปิ ญญาทอ งถน่ิ แหลง การเรยี นรูและสอ่ื อ่นื

การปรบั ปรงุ หนังสือเรียนในครัง้ น้ี ไดร บั ความรว มมอื อยางดยี ง่ิ จากผทู รงคณุ วฒุ ใิ นแตละสาขาวิชา
และผูเกี่ยวของในการจัดการเรยี นการสอนทศี่ กึ ษาคนควา รวบรวมขอ มูลองคความรจู ากสือ่ ตา ง ๆ มาเรียบ
เรยี งเน้ือหาใหค รบถวนสอดคลอ งกบั มาตรฐาน ผลการเรยี นรูท ีค่ าดหวงั ตัวช้ีวดั และกรอบเน้ือหาสาระของ
รายวชิ า สาํ นักงาน กศน.ขอขอบคุณผูมีสว นเกี่ยวของทุกทานไว ณ โอกาสนี้ และหวังวาหนังสือเรียนชุดน้ี
จะเปน ประโยชนแ กผ ูเรยี น ครู ผูสอน และผเู กยี่ วของในทกุ ระดบั หากมขี อ เสนอแนะประการใด สํานักงาน
กศน.ขอนอ มรบั ดวยความขอบคุณยงิ่

สารบัญ หนา

คาํ นํา 1
คาํ แนะนาํ ในการใชห นงั สือเรียน 8
โครงสรางรายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง 14
บทท่ี 1 เศรษฐกจิ พอเพียง รากฐานการดาํ เนินชวี ติ ของคนไทย 25
บทที่ 2 ปฏิบตั ติ นดี มคี วามพอเพียง 35
บทที่ 3 รใู ช รจู าย
บทท่ี 4 ชีวติ สดใส พอใจเศรษฐกจิ พอเพยี ง
บทที่ 5 การประกอบอาชพี ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เพ่ือใหเกดิ ความม่ันคง มัง่ ค่ังและยั่งยืน
แบบทดสอบหลังเรียน
บรรณานุกรม
คณะผูจัดทํา

คําแนะนาํ ในการใชหนังสอื เรียน

หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประถมศึกษา
เปน หนังสอื เรยี นทจี่ ัดทําขนึ้ สาํ หรบั ผเู รียนทเ่ี ปนนกั ศกึ ษานอกระบบ

ในการศกึ ษาหนังสอื เรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพียง ผูเรียนควรปฏิบัติ
ดังนี้

1. ศึกษาโครงสรา งรายวิชาใหเ ขา ใจในหัวขอ สาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวังและขอบขา ย
เน้อื หา

2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแตล ะบทอยา งละเอียดและทํากิจกรรมตามท่ีกําหนดแลว
ตรวจสอบกบั แนวตอบกิจกรรมทก่ี ําหนด ถา ผูเรียนตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเน้ือหา
น้ันใหมใหเ ขา ใจกอ นที่จะศึกษาเรอ่ื งตอ ไป

3. ปฏิบตั กิ ิจกรรมทา ยเรอ่ื งของแตละเรอื่ ง เพื่อเปน การสรุปความรู ความเขาใจของเนือ้ หาในเรื่อง
นั้น ๆ อีกครง้ั และการปฏบิ ตั ิกิจกรรมของแตละเน้ือหาแตละเรอื่ ง ผเู รียนสามารถนําไปตรวจสอบกบั ครแู ละ
เพือ่ น ๆ ทรี่ วมเรียนในรายวิชาและระดบั เดียวกนั ได

4. หนงั สอื เรียนเลม นีม้ ี 5 บทคือ
บทท่ี 1 เศรษฐกจิ พอเพยี ง รากฐานการดําเนินชีวติ ของคนไทย
บทที่ 2 ปฏบิ ัติตนดี มคี วามพอเพยี ง
บทที่ 3 รูใช รูจาย
บทที่ 4 ชวี ิตสดใส พอใจเศรษฐกิจพอเพียง
บทท่ี 5 การประกอบอาชีพตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
เพือ่ ใหเกิดความม่นั คง มัง่ ค่งั และยั่งยนื

โครงสรางรายวชิ าเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ระดบั ประถมศึกษา (ทช11001)

สาระสาํ คัญ

เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน ปรัชญาทพ่ี ระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช (รชั กาลท9ี่ )
ทรงพระราชดาํ รัสชแี้ นะแนวทางการดํารงอยแู ละการปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับใหด ําเนินชีวิตไป
ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพ่ือใหก า วทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน ความพอเพียง
หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตอ งมีระบบภูมิคุม กันในตัวที่ดี
พอสมควรตอผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลย่ี นแปลงทั้งภายนอกและภายใน ท้ังน้ี จะตอ งอาศัยความ
รอบรู ความรอบคอบและความระมัดระวังอยางย่ิงในการนําวิชาการตา ง ๆ มาใชใ นการวางแผนและ
ดาํ เนินการทุกขัน้ ตอน และขณะเดยี วกนั จะตองเสริมสรา งพน้ื ฐานจิตใจของคนในชาตใิ หม ีสํานึกในคณุ ธรรม
ความซือ่ สัตยสจุ รติ และใหม คี วามรอบรูท ีเ่ หมาะสมดําเนนิ ชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มสี ตปิ ญญาและ
ความรอบคอบ เพ่อื ใหส มดลุ และพรอ มตอการรองรับการเปล่ยี นแปลงอยางรวดเรว็ และกวางขวาง ท้ังดาน
วัตถุ สังคม สงิ่ แวดลอมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปน อยา งดี

ผลการเรยี นรูทคี่ าดหวงั

1. อธบิ ายแนวคิด หลกั การ ความหมาย ความสาํ คญั ของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได
2. บอกแนวทางในการนําปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ตใชในการดาํ เนินชีวติ
3. เหน็ คณุ คา และปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
4. แนะนํา สงเสริมใหส มาชกิ ในครอบครัวเหน็ คุณคา และนาํ ไปปฏิบตั ใิ นการดาํ เนนิ ชวี ิต
5. บอกแนวทางและสามารถเริ่มตน ประกอบอาชพี ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได

ขอบขา ยเนอื้ หา

บทที่ 1 เศรษฐกจิ พอเพยี ง รากฐานการดาํ เนนิ ชีวติ ของคนไทย
บทที่ 2 ปฏบิ ัติตนดี มคี วามพอเพยี ง
บทที่ 3 รใู ช รูจา ย
บทท่ี 4 ชีวติ สดใส พอใจเศรษฐกิจพอเพยี ง
บทที่ 5 การประกอบอาชพี ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

เพอื่ ใหเ กิดความม่นั คง มัง่ ค่งั และยั่งยืน

1

บทท่ี 1 เศรษฐกจิ พอเพียงรากฐานการดาํ เนนิ ชวี ติ
ของคนไทย

สาระสําคญั

เศรษฐกิจพอเพียงเปน ปรัชญาท่พี ระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช (รชั กาลท่ี9)
ทรงมีพระราชดาํ รสั ช้แี นะทางการดําเนินชีวิตแกพ สกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดระยะเวลานานกวา 30 ป
ตัง้ แตก อ นเกดิ วกิ ฤตการณท างเศรษฐกจิ ในป พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบกบั ภาวะวกิ ฤติเศรษฐกิจนบั
วาเปนบทเรียนสําคัญท่ีทําใหป ระชาชนเขาใจถึงผลการพัฒนา ซ่ึงใชเปน แนวทางการดําเนินชีวิตที่อยูบน
พืน้ ฐานของทางสายกลางและความไมป ระมาท คาํ นึงถึงความพอประมาณ การมีเหตุผล การสรางภมู คิ มุ กนั
ทด่ี ีตอตนเองตลอดจนใชค วามรูและคณุ ธรรมเปนพนื้ ฐานในการดาํ รงชีวิต ท่ีสําคัญจะตองมีสติปญญาและ
ความขยนั หม่ันเพียร ซง่ึ จะนาํ ไปสูความสขุ ในการดาํ เนนิ ชวี ิตอยา งแทจริง

ผลการเรยี นรูท ี่คาดหวัง

อธบิ ายแนวคิด หลักการ ความหมาย ความสาํ คญั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได

ขอบขายเนื้อหา

เรื่องที่ 1 ความเปนมา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เรอ่ื งท่ี 2 ความหมาย ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เร่อื งท่ี 3 หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เรอื่ งท่ี 4 ความสาํ คญั ของเศรษฐกจิ พอเพียง

2

เรื่องที่ 1 ความเปน มาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปน แนวทางการดาํ เนินชีวิตและวิถีปฏบิ ัติทพ่ี ระบาทสมเด็จพระ
ปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช (รชั กาลที9่ ) ทรงมีพระราชดํารัสชี้แนะแกพ สกนิกรชาวไทยมานานกวา 30
ป ดงั จะเห็นไดวา ปรากฏความหมายเปนเชิงนัยเปนคร้ังแรกในพระบรมราโชวาทและพระราชดํารัสของ
พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่9) ในป พ.ศ. 2517 ท่ีพระองคไดท รงเนนย้ํา
แนวทางการพฒั นาบนหลักแนวคิดทีพ่ ง่ึ ตนเอง เพ่ือใหเ กิดความพอมี พอกิน พอใชข องคนสวนใหญ โดยใช
หลักความพอประมาณ การคํานึงถึงการมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกัน ท่ีดีในตัวเอง และทรงเตือนสติ
ประชาชนคนไทยไมใหประมาท ตระหนกั ถึงการพัฒนาอยา งเปน ขนั้ เปนตอนที่ถกู ตอ งตามหลกั วิชา และการ
มคี ุณธรรมเปน กรอบในการปฏิบัตแิ ละการดาํ รงชีวิต

ในชว งทปี่ ระเทศไทยประสบกับภาวะวกิ ฤตเิ ศรษฐกิจในป พ.ศ. 2540 นับเปน บทเรียนสําคัญท่ีทํา
ใหประชาชนเขาใจถงึ ผลจากการพฒั นาทไ่ี มคาํ นึงถึงระดับความเหมาะสมกับศักยภาพของประเทศ พึ่งพิง
ความรู เงนิ ลงทนุ จากภายนอกประเทศเปนหลัก โดยไมไดส รางความมนั่ คงและเขมแขง็ หรือสรางภมู ิคมุ กัน
ท่ดี ีภายในประเทศ ใหสามารถพรอมรบั ความเส่ียงจากความผันผวนของปจ จัยภายในและภายนอกจนเกิด
วกิ ฤตการณท างเศรษฐกจิ ครง้ั ใหญสง ผลกระทบอยา งรุนแรงตอสงั คมไทย รฐั บาลตระหนกั ถงึ ความสําคญั ใน
การแกไขปญ หาดังกลา วใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในสังคมไทยอยา งเปน ระบบดวยการกําหนดนโยบาย
ดานการศกึ ษา โดยนาํ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปน แนวทางในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษาทกุ ระดับ ใชคุณธรรมเปนพ้นื ฐานของกระบวนการเรยี นรูท ่เี ชือ่ มโยงความรว มมือระหวา งสถาบัน
การศึกษา สถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบันศาสนา ใหมีสวนรว มในการจัดการศึกษาเพื่อใหผูเ รียนเกิด
ทกั ษะความรู ทักษะและเจตคติ สามารถนาํ ไปประยุกตใ ชในชวี ิตประจาํ วนั ไดอ ยา งสมดลุ และยง่ั ยนื

เรื่องท่ี 2 ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกจิ พอเพียง คอื อะไร
เศรษฐกจิ พอเพียง เปนปรัชญาช้ถี งึ แนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ
ตั้งแตค รอบครัว ระดบั ชุมชนจนถงึ ระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและการบริหารประเทศใหดําเนินไปในทาง
สายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือใหกา วทันตอ ยุคโลกาภิวัตนค วามพอเพียง หมายถึง
ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปน ที่ตอ งมีระบบคุมกันในตัวท่ีดีพอสมควรตอการมี
ผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ท้ังนี้ จะตอ งอาศัยความรอบรู
ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยา งยงิ่ ในการนาํ วชิ าการตาง ๆ มาใชใ นการวางแผน

3

และการดาํ เนนิ การทกุ ขน้ั ตอนและขณะเดียวกัน จะตอ งเสริมสรา งพ้นื ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ
เจา หนา ท่ีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริตและ
ใหม ีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดว ยความอดทน มีความเพียรพยายาม มีสติปญญา และความ
รอบคอบ เพื่อใหส มดุลและพรอมตอการรองรับความเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว และกวางขวาง
ทั้งทางดา นวตั ถุ สงั คม ส่งิ แวดลอ ม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี

ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่ตองมี
ระบบภูมคิ ุม กันในตัวท่ีดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายนอก
และภายใน ท้ังน้ีจะตอ งอาศัยความรอบรู ความรอบคอบและความระมัดระวังอยา งยิ่งในการนํา
วิชาการตา ง ๆ มาใชใ นการวางแผน และการดําเนินการทุกข้ันตอน และขณะเดียวกันจะตอ ง
เสริมสรางพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาท่ีของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจ
ในทุกระดบั ใหม ีสาํ นึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตยส ุจริต และใหมีความรอบรูท ่ีเหมาะสม ดําเนินชีวิต
ดว ยความอดทน ความเพียร มีสติปญ ญา และความรอบคอบ เพื่อใหส มดุลและพรอ มตอ
การรองรับการเปล่ียนแปลงอยา งรวดเร็วและกวา งขวาง ทั้งทางดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และ
วัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยา งดี

เรอื่ งที่ 3 หลักแนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพียง
เปน ปรัชญาช้ีแนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางท่ีควรจะเปน โดยมีพื้นฐานมาจาก

วิถชี ีวติ ดัง้ เดมิ ของสังคมไทย สามารถนาํ มาประยุกตใ ชไ ดต ลอดเวลา และเปน การมองโลกเชิงในระบบท่ีมี
การเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุง เนนการรอดพน จากภัย และวิกฤติ เพ่ือความมั่นคงและความย่ังยืน
ของการพัฒนา

4
คุณลักษณะ

เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชก ับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับ โดยเนน
การปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาตนอยางเปนขน้ั ตอน

แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียง
ความพอเพยี งจะตอ งประกอบดว ย 3 หวง 2 เงื่อนไข ดงั นี้
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ี่ไมนอ ยเกินไปและไมมากเกินไปโดยไมเบียดเบยี นตนเอง

และผอู ่ืน เชน การผลติ และการบริโภคทอ่ี ยใู นระดับพอประมาณ

5

ความมีเหตผุ ล หมายถงึ การตัดสินใจเกยี่ วกับระดับของความพอเพียงน้ัน จะตอ งเปนไปอยา งมี
เหตผุ ลโดยพิจารณาจากเหตุปจ จยั ทเ่ี กีย่ วของตลอดจนคาํ นึงถึงผลท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนจากการกระทําน้ัน ๆ
อยางรอบคอบ

การมีภูมิคุม กันท่ีดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพ รอมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลง
ดานตา ง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเปน ไปไดของสถานการณตาง ๆ ท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนในอนาคต
ท้ังใกลแ ละไกล

เงอ่ื นไข
การตดั สนิ ใจและการดาํ เนนิ กิจกรรมตา ง ๆ ใหอ ยูในระดับพอเพียงน้ัน ตอ งอาศัยท้ังความรู และ
คุณธรรมเปน พนื้ ฐาน กลาวคือ
 เงือ่ นไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตาง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ งอยางรอบดา น
ความรอบคอบที่จะนําความรูเ หลา น้ันมาพิจารณาใหเ ชื่องโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผน และ
ความระมดั ระวังในขัน้ ปฏบิ ตั ิ
 เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสรมิ สรา งประกอบดวย มีความตระหนกั ในคณุ ธรรม มคี วามซื่อสตั ย
สจุ ริตและมีความอดทน มคี วามเพียร ใชส ตปิ ญญาในการดําเนินชีวติ

เร่อื งท่ี 4 ความสาํ คัญของเศรษฐกจิ พอเพียง

ความสาํ คัญของเศรษฐกิจพอเพยี งที่สง ผลตอ ประชาชน ดงั นี้
1. เกิดแนวคิดที่มุง เนนพึ่งพาตนเองเปน หลัก ท่มี อี ยูในตัวเอง เพ่อื นาํ มาพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ใหเ กิด
ประโยชนส งู สดุ ตอตนเอง ครอบครัว และชุมชน ซ่ึงจะทาํ ใหสามารถดาํ รงชวี ิตอยไู ดอ ยางยั่งยืน
2. ทําใหม ีความเขมแข็งในจิตใจ โดยยึดหลักการพึ่งพาตนเองเปนหลัก เม่ือพึ่งตนเองไดแ ลว ทําให
จติ ใจสงบเขม แขง็ ไมวติ กกังวล
3. เกดิ ความรวมมือ ความกระตือรือรน ความสามัคคีในชมุ ชน และประเทศชาติ
4. เกดิ การมีสวนรวม คดิ วิเคราะห แกป ญ หารวมกัน
5. ทําใหมีความเปนอยู พอมี พอกนิ ลดปญ หาความยากจน

6

“เมือ่ สังคมไทยเปนสงั คมเศรษฐกิจพอเพยี ง
คนไทยดํารงชวี ติ บนทางสายกลาง มสี ามหวงสําคญั
คลอ งใจในการดําเนนิ ชีวติ ไดแ ก ความพอประมาณ
ความมเี หตุผล การมภี ูมคิ ุมกนั ในตัวที่ดี มีสองเงือ่ นไขกํากับชวี ติ อยา งเครง ครัด
ไดแ ก เงื่อนไขความรูท ป่ี ระกอบดว ยรอบรู รอบคอบ ระมดั ระวัง เง่ือนไขคณุ ธรรม
ซง่ึ มคี วามซอ่ื สัตยส จุ ริต อดทน เพียร มสี ติปญ ญา อยูใ นชีวิต ชีวิตมีแตค วามสุข

เศรษฐกิจ สดใส สังคม อุนใจ สิ่งแวดลอม
อดุ มสมบรู ณ วฒั นธรรม เขม แข็งยั่งยนื ”

7

กจิ กรรมท่ี 1

ตอบคําถามตอไปนี้
1. จงอธบิ ายความหมายของ “เศรษฐกจิ พอเพียง” ทถี่ ูกตอ งท่ีสดุ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………...

2. หลักแนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี งเปนอยา งไร ?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. เศรษฐกจิ พอเพียงมีความสําคัญตอ การดําเนินชวี ติ ในปจจุบนั อยา งไร?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. ผูเรียนสามารถนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใชในเร่ืองอะไรบาง ใชวิธีการ
อยางไร?
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

8

บทท่ี 2 ปฏิบัติตนดี มคี วามพอเพียง

สาระสาํ คญั

การปฏิบัตติ นตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดังพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิ
พลอดลุ ยเดช (รชั กาลที่9) ทรงมพี ระราชดํารสั นํามาปฏิบัตติ น คือ ยึดความประหยดั ประกอบอาชีพดว ย
ความถกู ตอง สจุ ริตเลกิ แกงแยง ผลประโยชน และแขงขันกนั ในทางการคา ไมห ยุดนิง่ ที่จะหาทางใหช วี ิต
หลุดพนจากความทุกขยากและปฏบิ ตั ิตนในแนวทางที่ดี ลด ละสิง่ ชัว่ ใหหมดส้ินไป

ผลการเรยี นรูท ่ีคาดหวัง

1. เห็นคณุ คาและปฏิบตั ิตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. บอกแนวทางในการนําปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ตใ ชในการดําเนนิ ชีวิตได

ขอบขา ยเน้อื หา

เร่ืองท่ี 1 วธิ คี ดิ วธิ ีปฏิบตั ิ วิธใี หค ณุ คาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
เรือ่ งท่ี 2 การปฏิบตั ติ นตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

9

เร่อื งที่ 1 วิธคี ิด วธิ ปี ฏบิ ัติ วิธใี หคุณคาตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง

วิธคี ดิ การจะนําปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกตใชใ หไดผลดีในการดาํ เนนิ ชวี ติ จําเปน จะ
ตอ ง เร่ิมตนจากการมีความรู ความเขา ใจท่ีถูกตอ งวาเศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงอะไร และมีหลักการ
สําคัญอะไรบางที่จะนําไปใชเ ปนแนวทางสูการปฏิบัติ ตลอดจนเห็นถึงประโยชนจากการที่จะนําไปใชใน
ชีวติ ประจําวนั เพ่ือใหรอดพนและสามารถดํารงอยไู ดอยา งม่นั คงและยัง่ ยนื

วธิ ปี ฏิบัติ หลังจากทีไ่ ดท าํ ความเขาใจอยางถูกตองแลว ก็จําเปนจะตอ งทดลองนํามาประยุกตใ ช
กบั ตนเอง ทง้ั ในชีวิตประจําวนั และการดาํ เนินชวี ติ สามารถอยรู วมกับผอู นื่ ไดอ ยา งมีความสุข โดยคํานึงถึง
การพ่ึงพาตนเองเปน เบื้องตน การทําอะไรที่ไมส ุดโตงไปขางใดขา งหนึ่ง การใชเ หตุผลเปนพ้ืนฐาน
ในการตดั สินใจและการกระทําตา ง ๆ ตลอดจนการสรางภูมิคุม กันที่ดี เพ่ือพรอมรับตอ การเปลี่ยนแปลง
จะไมท าํ อะไรทเี่ สี่ยงจนเกินไปจนทําใหตนเองหรอื คนรอบขา งเดือดรอ นในภายหลัง การใฝร ูอ ยางตอเนื่อง
และใชความรดู วยความรอบคอบและระมดั ระวัง ความซ่อื สัตย ความไมโ ลภ ความรูจักพอ ความขยันหมั่น
เพยี ร การไมเ บียดเบยี นกนั การรูจักแบงปนและชวยเหลือซงึ่ กันและกัน

อยางไรก็ตาม การทีจ่ ะสรา งภาวะความรูความเขาใจทถ่ี กู ตอ งอยา งลึกซงึ้ เก่ียวกับเศรษฐกจิ พอเพียง
เพือ่ ใหส ามารถนําไปประยุกตใ ชไดน ั้น จาํ เปน ท่ีจะตอ งเรยี นรูดว ยตนเองหรือรว มกบั ผอู น่ื

วิธีการใหคณุ คา การเรยี นรูจากการปฏิบตั ิ การแลกเปล่ียนขอคิดเห็นและประสบการณระหวา ง
ผูท ี่มีความสนใจรวมกันจะทําใหส ามารถตระหนักถึงประโยชนแ ละความสุขที่จะไดรับ จากการนําหลัก
เศรษฐกิจพอเพียงไปใช แลว เกิดการปรับเปล่ียนความคิดเห็นและนอมนําเอาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใน
การดําเนินชวี ิตตอ ไป

จิตสํานึกที่ตระหนักถึงความสุขที่เกิดจากความพอใจในการใชชีวิตอยางพอดีและรูจ ักระดับ
ความพอเพียงจะนําไปสูการประกอบสัมมาอาชพี หาเลีย้ งตนเองอยางถูกตอง ไมใ หอ ดอยากจนเบียดเบียน
ตนเอง หรอื ไมเกิดความโลภจนเบียดเบยี นผอู ื่น แตมีความพอเพียงท่ีจะคิดเผ่ือแผแบงปน ไปยังคนอ่ืน ๆ
ในชมุ ชนหรอื องคกรและสงั คมได

อยางไรก็ตาม ระดบั ความพอเพยี งของแตล ะคนจะไมเทากนั หรือความพอเพยี งของคนคนเดยี วกนั
แตตา งเวลาก็อาจเปลี่ยนแปลงไปได แลว แตเง่ือนไขภายในและภายนอก ตลอดจนสภาพแวดลอ มที่มี
ผลตอ ความพอเพยี ง

10

เรื่องท่ี 2 การปฏบิ ัตติ นตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ในฐานะทีเ่ ปนพสกนิกรชาวไทย จึงควรนอ มนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช (รชั กาลที่9) ทรงมีพระราชดาํ รัสมาประพฤติปฏิบตั ิตน ดงั นี*้

1. ยึดความประหยัด ตัดทอนคา ใชจ า ยในทุกดาน ลดละความฟุม เฟอ ยในการดํารงชีวิตอยา ง
จริงจงั ดังกระแสพระราชดาํ รัส ความวา

“ ...ความเปนอยูทีต่ อ งไมฟ มุ เฟอ ย ตอ งประหยดั ไปในทางทีถ่ ูกตอง...”
2. ยึดถือการประกอบอาชีพดวยความถูกตอ งสุจริต แมจ ะตกอยูในภาวะขาดแคลนใน
การดาํ รงชีวิตกต็ าม ดงั กระแสพระราชดาํ รสั ความวา

“...ความเจริญของคนทั้งหลายยอ มเกิดจากการประพฤติชอบและการหาเล้ียงชีพชอบเปน
หลักสาํ คญั ...”

3. ละเลกิ การแกงแยง ผลประโยชนและแขงขนั กันในทางการคาขาย ประกอบอาชีพแบบตอสูกัน
อยา งรนุ แรงดงั อดีต ดังกระแสพระราชดํารัสในเรอื่ งนี้ ความวา

“...ความสุขความเจริญอันแทจ ริงน้ัน หมายถึงความสุขความเจริญท่ีบุคคลแสวงหาไดด ว ย
ความเปน ธรรม ทง้ั ในเจตนาและการกระทํา ไมใ ชไดม าดวยความบังเอิญหรือดว ยการแกงแยง เบียดบังมา
จากผูอ่ืน...”

4. ไมหยดุ นิ่งทีจ่ ะหาทางใหชีวิตหลุดพนจากความทกุ ขย ากครง้ั นี้ โดยตอ งขวนขวายใฝห าความรูให
เกิดมีรายไดเพิ่มพูนข้ึนจนถึงข้ันพอเพียงเปน เปาหมายสําคัญ ดังกระแสพระราชดํารัสตอนหน่ึงท่ีให
ความหมายชัดเจนวา

“...การท่ตี อ งการใหทกุ คนพยายามทจี่ ะหาความรู และสรา งตนเองใหมั่นคงนี้ เพื่อตนเอง เพื่อจะ
ใหต นเองมคี วามเปนอยทู ีก่ า วหนา ท่มี ีความสขุ พอมีพอกินเปนข้ันหนึ่ง และข้ันตอ ไปก็คือการมีเกียรติวา
ยืนไดด วยตนเอง...”

5. ปฏิบัติตนในแนวทางท่ีดี ลด ละ สิ่งช่ัวใหห มดส้ินไป ทั้งดวยสังคมไทยท่ีลม สลายลงในคร้ังนี้
เพราะยังมีบุคคลจํานวนมิใชน อยท่ีดําเนินการโดยปราศจากความละอายตอแผนดิน ดังกระแสพระราช
ดํารัส ความวา

“... พยายามไมก อ ความชว่ั ใหเ ปนเครือ่ งทําลายตวั ทําลายผอู ่ืน พยายามลด ละ ความช่ัวที่ตัวเอง
มอี ยู พยายามกอ ความดใี หแ กต วั อยูเ สมอ พยายามรักษาและเพ่ิมพูนความดีท่ีมีอยูน ั้นใหง อกงามสมบูรณ
ขน้ึ ...”
-----------------------------------
* จากหนังสอื เศรษฐกจิ พอเพยี ง สาํ นักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ หนา 27 พิมพค รัง้ ท่ี 3 กรกฎาคม 2548

11

หลักของความพอประมาณ (พอ ดี) 5 ประการ (จากขอ สรุปของสภาพฒั น)

1. พอดีดา นจติ ใจ เขมแขง็ มีจิตสาํ นึกทดี่ ี เออ้ื อาทร ประนปี ระนอมนึกถึงประโยชนส ว นรวม
2. พอดีดา นสังคม ชว ยเหลอื เกอ้ื กลู รูจกั สามัคคี สรา งความเขมแข็งใหครอบครัว และชมุ ชน
3. พอดีดา นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รูจ ักใชแ ละจัดการอยางฉลาด และรอบคอบ
เกดิ ความยั่งยืนสูงสุด
4. พอดีดา นเทคโนโลยี รูจ กั ใชเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมและสอดคลอ งตอ ความตองการเปน ประโยชน
สภาพแวดลอ มและเกดิ ประโยชนต อสวนรวมและพัฒนาจากภูมิปญ ญาชาวบานกอ น
5. พอดีดานเศรษฐกิจ เพ่ิมรายได ลดรายจา ย ดํารงชีวิตอยางพอควรพออยู พอกิน สมควรตาม
อตั ภาพและฐานะของตน

หลกั ของความมเี หตุผล

1. ยึดความประหยดั ตดั ทอนคา ใชจายในทกุ ดา น ลดความฟมุ เฟอ ยในการดํารงชีวติ
2. ยึดถือการประกอบอาชีพดวยความถูกตอ งสุจริต แมจ ะตกอยูใ นภาวะขาดแคลน
ในการดํารงชีวิต
3. ละเลิกการแกงแยง ผลประโยชน และแขง ขันในทางการคา ขายประกอบอาชีพ แบบตอสูก ัน
อยางรนุ แรง
4. ไมห ยดุ นิ่งท่จี ะหาทางในชวี ติ ใหหลดุ พนจากความทกุ ขยาก
5. ปฏิบตั ิตนในแนวทางที่ดี ลด เลิก สงิ่ ยั่วยุกิเลสใหห มดส้นิ ไป ไมกอความช่วั ใหเปนเครื่องทําลาย
ตัวเอง ทาํ ลายผอู ืน่

หลกั ของการมีภมู ิคุมกัน

1. มีความรู รอบคอบ และระมดั ระวัง
2. มคี ณุ ธรรม ซื่อสัตยสุจรติ ขยนั อดทนและแบง ปน

การปฏบิ ตั ิตนตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปน แบบอยา งและแนวทางใหบ ุคคล ครอบครัว ชุมชน นํามาประ
ยุกตใ ชใ นการดาํ รงชวี ติ ดงั นี้

1. ยึดหลักความประหยัด ไมใชจ ายฟุมเฟอย ใชในส่ิงทจ่ี าํ เปน และรูจักเกบ็ ออมไวใชในอนาคต
2. ยึดหลักความซื่อสตั ยส จุ รติ ความถกู ตอ งในการประกอบอาชพี และการดําเนนิ ชีวิตไมเ ห็นแกต ัว
3. ยึดหลักความไมแ กง แยงชิงดีกัน รูจักการพึ่งพากัน ไมเอารัดเอาเปรียบและแขง ขัน
โดยใชว ธิ รี ุนแรง

12

4. ยึดหลักการใฝรูใฝเรียน หมั่นศึกษาหาความรู ใชส ติปญญาในการดําเนินชีวิตการประกอบ

อาชพี เพือ่ ใหม รี ายไดไ วใชจ า ย โดยยดึ ความพอเพยี งเปน หลัก
5. ยดึ หลกั การทําความดี ลด ละ ความช่ัวและส่ิงอบายมุขทั้งปวง เพื่อใหต นเอง ครอบครัว และ

สงั คม อยูอยางเปน สุข

กจิ กรรมท่ี 2

หลังจากผูเรยี นไดเ รียนรหู ลักการเศรษฐกจิ พอเพียงจนมีความรู ความเขาใจ ยอมรบั และตัดสินใจลงมือ

ปฏิบัติ ประยุกตใชในการดําเนินชีวิต และประกอบอาชีพของตนเองน้ัน ผูเรียนมีแนวทางสามารถนํามา
ปฏบิ ตั ิกบั ตวั เอง ครอบครวั อยางไร?

เน้อื หา แนวทางปฏบิ ตั ิ
1.พอประมาณ
ในการดาํ เนินชีวิต เชน (การช้ือสนิ คา การใชเงิน)
2.ความมเี หตุผล ....................................................................................................................................
3.มีภูมิคุม กนั ทีด่ ี ....................................................................................................................................
ในการประกอบอาชพี เชน (การลงทนุ การแปรรูป)
....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................

ในการดําเนินชีวิต เชน (การตัดสนิ ใจชือ้ สนิ คา การใชเงิน)
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
ในการประกอบอาชพี เชน (การตดั สินใจลงทุน)
....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................

ในการดําเนนิ ชวี ติ เชน (การสาํ รองของใช การปอ งกนั อบุ ตั ภิ ยั )
....................................................................................................................................
...................................................................................................................................
ในการประกอบอาชพี เชน (การสาํ รองเงินลงทุน การสํารองสนิ คา)
....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................

13

เนอื้ หา แนวทางปฏิบัติ
4.เงอื่ นไขความรู
รอบรู เชน (ความรูเรอ่ื งอาชพี นนั้ ๆ)
5.เง่อื นไขคณุ ธรรม .........................................................................................................................................
รอบคอบ เชน (รอบคอบในการใช)..................................................................................
........................................................................................................................................
ระมดั ระวงั เชน (การทาํ บัญช)ี .........................................................................................

ซ่ือสตั ย เชน (ใชวตั ถุดบิ ท่ไี มม ีสารพษิ ปนเปอ น)
………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….…………………………
อดทน เชน (อดทนในการดาํ เนินการ)………………………………………..…………………………..
แบง ปน เชน (มคี วามเอ้ือเฟอ เผอื่ แผ) ...............................................................................

14

บทที่ 3 รใู ช รูจาย

สาระสําคัญ

เมอื่ เราประกอบอาชพี มรี ายได การนําเงินไปใชจายส่ิงใดตอ งจดทุกอยา ง ทุกคร้ังท่ีจายออกไป
การบันทึกรายรับ รายจา ยเปนหลักฐาน แสดงแหลงที่มาของรายได รายจา ยและเงินออม อีกท้ังเปน
การเตอื นตนเองและครอบครวั วา ในแตละเดอื นมีคา ใชจ า ยอะไรบางที่ไมจ ําเปน รายการใดสามารถตัดท้ิง
ไปไดในเดอื นตอไป ครอบครวั ควรเริม่ ตนจดรายรับ - รายจา ยจนเปนนสิ ยั ครอบครัวเราจะไดไ มยากจน

ผลการเรยี นรูท ี่คาดหวัง

1. วางแผนการใชจ ายของตนเองและครอบครวั ได
2. วิเคราะหส ภาพรายรบั - รายจา ยของครอบครัวได
3. บันทกึ รายรับ - รายจา ยของตนเองและครอบครวั ได
4. อธบิ ายวธิ ีการลดรายจายและเพ่มิ รายได
5. อธิบายวธิ ีการออมเงินได

ขอบขา ยเนอื้ หา

เรื่องที่ 1 การวางแผนการใชจา ยของตนเองและครอบครัว
เร่ืองท่ี 2 การบันทึกรายรบั - รายจายของตนเองและครอบครัว
เรอ่ื งท่ี 3 การลดรายจา ยและเพิม่ รายไดในครัวเรอื น
เรื่องที่ 4 การออม

15

เรื่องที่ 1 การวางแผนการใชจ ายของตนเองและครอบครัว

กอนทจี่ ะใชจายเงิน เราควรจดั สรรเงินทมี่ ีอยใู หต รงกับความตอ งการ โดยการวางแผนการใชจ าย
เงนิ ไวก อ น

การวางแผนการใชจ ายเงนิ หมายถงึ การท่บี คุ คลจดั สรรรายรบั - รายจาย ของตนเอง ซ่งึ มแี นวทาง
ในการปฏบิ ัติ ดังน้ี

1. การหารายได ทุกคนตอ งประกอบอาชีพ เพื่อใหมีรายไดประจาํ และหากมีเวลาวางควรหารายได
เสรมิ เพอ่ื จะไดมีรายไดพ อกบั การใชจา ยในการดํารงชีพ

2. การใชจ ายใหพ ิจารณาใชจ า ยในส่ิงท่ีจําเปน จริง ๆ เชน ใชจ า ยเปนคา อาหาร เคร่ืองนุง หม
ที่อยูอาศัย ยารักษาโรค โดยคํานึงถึงคุณคาของส่ิงท่ีซ้ือวามีคุณภาพและคุม คาเงิน ไมใชซ ้ือเพราะ
คําโฆษณาชวนเชอ่ื

การประหยดั ควรรูจักเก็บออมเงินไวใชจายเม่ือคราวจําเปน เชน เม่ือเจ็บปว ย โดยวางแผนใหมี
รายจา ยนอ ยกวา รายไดมากท่ีสุดก็จะมีเงินเก็บ เครื่องใชท่ีชํารุดเสียหาย ควรซอมแซมใหใ ชไดอยูเ สมอ
ประหยัดพลงั งานและทะนุถนอมเคร่ืองใชใหม อี ายุการใชงานไดน าน

การเปน หนี้โดยไมจ ําเปน เพราะยืมเงินมาใชจ ายสุรุยสุรา ย เชน การยืมเงินมาจัดงานเลี้ยง
ในประเพณีตา ง ๆ จะทําใหชีวิตมีความลําบาก สรา งความเดือดรอนใหต นเองและครอบครัว แตถา หาก
เปนหนี้ เพราะนาํ เงินมาลงทุนในกิจการท่ีสามารถใหผ ลคมุ คากอ็ าจจะเปนหนี้ได

3. การบันทกึ รายรบั - รายจาย เปน วธิ ีการวางแผนทส่ี ําคญั การบันทึกรายรับ - รายจาย ในชีวิต
ประจําวัน เพื่อใหท ราบวา ในวันหนึ่ง สัปดาหห นึ่ง เดือนหนึ่ง เรามีรายไดจากอะไร เทา ไรและจา ยอะไร
อยา งไร ควรจะวางแนวทางในการใชจายอยางไรจึงจะพอและที่เหลือสะสมไวเ ปนทุนหรือเก็บสะสมไว
ใชจายในยามจําเปน การบนั ทึกรายรบั - รายจา ย จึงเปน ขอมลู หลักฐานแสดงใหเ ห็นแหลงที่มาของรายได
และท่ไี ปของรายจาย ซึ่งจะนําไปสูการตงั้ เปาหมายลดรายจา ย การเพิ่มรายได และการออมตอ ไป

เร่ืองที่ 2 การบันทึกรายรับ - รายจา ยของตนเองและครอบครัว

เม่ือเรามีรายไดและนาํ เงนิ รายไดไ ปใชจา ยซือ้ สิ่งท่จี าํ เปน ส่ิงใดที่มีราคาสูงก็ไมจําเปนตอ งซ้ือทันที
แตใหต ้ังเปาหมายไวว า จะเก็บหอมรอมริบไวจนมากพอแลวจึงซ้ือ ดังน้ันเราจึงควรวางแผนการใชจา ยไว
ลว งหนาวาเราตองซอ้ื อะไร เทา ไหร เม่อื ใด

เราคงเคยไดยินขาวชาวนาขายท่ีนาไดเงินเปนแสนเปน ลา น แตเมื่อเวลาผานไปไมก่ีป เขากลับ
ไมเ หลือเงินเลย ตอ งไปเชาทน่ี าของคนอ่นื ทํากนิ เร่อื งดังกลาวเปนตวั อยางของบคุ คลทีไ่ มม กี ารวางแผน
การใชเ งิน ดังนั้นกอ นทเ่ี ราจะใชจา ยเงนิ เราควรจดั สรรเงนิ ที่มีอยู ใหตรงกบั ความตอ งการดว ยการวางแผนไว

16

วิธีการวางแผนทส่ี าํ คัญวิธีการหน่ึง คือ การบันทึกรายรบั - รายจาย
“หากอยากมีชีวิตที่ม่ังค่งั สมบรู ณ ตอ งลงมือบนั ทึกรายรับ - รายจายต้ังแตบัดน้ี”

ขอควรคํานงึ ในการใชจายเงนิ และจดบนั ทกึ รายรบั รายจา ย

1. กาํ หนดความคาดหวงั และเปาหมายวา จดบนั ทกึ เพื่ออะไร
2. วางแผนรบั - จายกอ นใชเ งิน
3. กอ นซอื้ ส่งิ ใดตอ งพิจารณาใหด กี อนวาส่ิงนั้นจาํ เปน หรือไม

4. จดบนั ทกึ ทกุ ครั้ง ทุกวนั ทกุ บาท ทกุ สตางคท ่ีมีการรบั และจายเงิน
5. หม่นั ตรวจสอบบญั ชีวามรี ายการใดท่ีใชเ งินไมเ หมาะสม หากมตี องแกไขทนั ที
6. เกบ็ ใบเสรจ็ หรือหลกั ฐานการรบั เงนิ - จายเงินไวเพอ่ื ตรวจสอบกบั บญั ชที จี่ ด

“การจดบันทกึ รายรับ - รายจา ย” หรือการจดบัญชี จะชวยใหเ ราทราบวา เรามีรายรับมากนอ ย
แคไหน เราสามารถลดคาใชจ ายรายการใดออกไปไดบาง “การจดบัญชี” ทําใหเราสรางสมดุลระหวาง
รายไดและรายจายที่เหมาะสมแกฐานะการเงนิ ของเราไดเ ปนอยางดี

การจดบัญชคี รวั เรอื น เปนการจดั ทําบัญชรี ายรับ รายจา ยของครอบครัว เราสามารถจัดทําบัญชี
แบบท่ีงา ย ผูที่ไมเ คยมีความรูเร่ืองการบัญชีมากอ นก็ทําเองไดโ ดยการแยกรายการออกเปน รายรับและ
รายจาย รายรับ ไดแก เงินเดือน คา จา ง ผลตอบแทนท่ีไดจากการทํางาน เงินท่ีไดจ ากการขาย ผลผลิต

การเกษตร หรือทรัพยสิน เปนตน รายจา ยไดแก คาใชจายเพื่อซื้อสินคาสําหรับในการอุปโภค บริโภค
คานาํ้ ประปา คาไฟฟา คา โทรศัพท คาซอ มแซม คาอปุ กรณเคร่ืองใช เครอ่ื งไม เครอ่ื งมือ
คารถ คา อาหาร คาเชา เปนตน

ตวั อยาง รายรับ รายจาย ขายผลผลิตทางการเกษตร 2,500 บาท
จา ยเงินซ้อื ของใชในบาน 500 บาท
1 ม.ค. 52 จา ยเงนิ ซอื้ ขา วสาร 300 บาท
จายคาน้าํ คา ไฟ 250 บาท
5 ม.ค. 52
7 ม.ค. 52 ขายผลผลิตทางการเกษตร 1,250 บาท
10 ม.ค. 52 จา ยคา ซื้อปยุ 300 บาท
จา ยคา อาหาร 200 บาท
15 ม.ค. 52
20 ม.ค. 52
25 ม.ค. 52

17

ตัวอยา ง การจดบัญชีครวั เรอื น

วนั เดอื น ป รายการ รายรับ รายจาย คงเหลือ

1 ม.ค. 52 ขายผลผลติ 2,500 - 2,500

5 ม.ค. 52 ซ้ือของใช 500 - 2,000

7 ม.ค. 52 ซอ้ื ขา วสาร 300 - 1,700

10 ม.ค. 52 จา ยคา น้ํา คา ไฟ 250 - 1,450

15 ม.ค. 52 ขายผลผลติ ทางการเกษตร 1,200 - 2,650

20 ม.ค. 52 จา ยคา ซื้อปุย 300 - 2,350

25 ม.ค. 52 จายคา อาหาร 200 - 2,150

รวม 3,700 - 1,500 - 2,150

รายรบั สูงกวา รายจาย 2,150

การบันทกึ รายรับ - รายจา ย หรอื การจดบญั ชีท้ังของตนเองและครอบครวั มคี วามสําคัญตอชวี ิต
ของคนไทยเปนอยา งย่ิง ดงั พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช
(รัชกาลท9่ี ) พระราชทานแกคณะบคุ คลตา ง ๆ ทเ่ี ขา เฝาถวายพระพรชัยมงคลเน่อื งในวโรกาสวนั เฉลมิ พระ
ชนมพรรษา วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 ณ ศาลาดุสดิ าลยั พระราชวงั ดุสติ ความวา “...เม่อื 40 กวาป มี
ผหู นึ่งเปนขา ราชการชนั้ ผนู อยมาขอเงิน ที่จริงไดเ คยใหเ งินเขาเลก็ ๆ นอย ๆ แตเ ขาบอกวา ไมพอเขาก็มาขอ
ยมื เงิน ขอกเู งินก็บอก..เอาให.. แตขอใหเ ขาทาํ บญั ชีรายรับ - รายจาย รายรบั กค็ ือ เงินเดอื นของเขาและ
รายรบั ทอี่ ุดหนนุ เขา สว นรายจายก็เปนของทใี่ ชใ นครอบครวั ...ทหี ลงั เขาทํา...ตอมา เขาทาํ บัญชีมาไม
ขาดทุน แลวเขาสามารถท่จี ะมเี งนิ พอใช เพราะวา บอกใหเ ขาทราบวา มเี งนิ เดอื นเทา ไหรจะตอ งใชภ ายในเงิน
เดือนของเขา...”

18

บคุ คลตัวอยา งการสรางชีวิตใหมอ ยางพอเพียงดวยบญั ชคี รวั เรือน

นายเจน ชูใจ ราษฎร หมู 4 ตาํ บลพนมทวน จงั หวัดกาญจนบรุ ี ผปู ระสบความสําเร็จจากการทํา
บัญชีครัวเรือน กลาววา “จบเพียงประถมศึกษาปที่ 4 พอ แมยากจน มีอาชีพทํานาเปน หลัก ตอมาไดร ับ
มรดกเปน ท่ีนา 10 ไร จึงทาํ นาเรอ่ื ยมา แตก ็สามารถสงลูกเรียนสูง ๆ ได เนื่องจากสรางวินัยในการใชจาย
เงินอยางมรี ะบบ มีพอ แมเปนแบบอยา งทดี่ ใี นเรื่องความมรี ะเบยี บในการใชเ งินทองแตล ะบาทแตล ะสตางค
โดยในสมัยพอ ใชถา นหุงขา ว เขียนคา ใชจ า ยในแตละวันท่ีขางฝาขา งบาน จึงจดจํามาปฏิบัติ เริ่มจาก
จดบนั ทึกชัว่ โมงการทํางานวาภายใน 1 เดอื น มคี วามขยนั หรอื ขเ้ี กยี จมากนอยแคไหน ภายหลังมาทําบัญชี
การใชจ ายในครวั เรอื นในชว งทาํ ไรน าสวนผสม เมอ่ื ป 2528”

กวา 20 ป ที่ทําบัญชีครัวเรือนมาทําใหท ุกวันนี้มีชีวิตในครอบครัวอยูอ ยางมีความสุข ปจจุบัน
มีทีน่ ารวมกวา 50 ไร โดยการซ้ือสะสมมา มีเงินฝากธนาคาร โดยมีคติวา จากน้ําที่ตักมาจนเต็มโอง เวลา
น้ําพรองตองเติมใหเต็ม ถา ปลอยใหน ํา้ แหงขอด ชวี ิตกจ็ ะเหนอื่ ยจะทาํ ใหชีวิตบนั้ ปลายลาํ บาก” นายเจน
กลา ว

น่ันคือประโยชนที่เห็นไดช ัดจากการทําบัญชีครัวเรือนที่ไมเพียงแตจะชวยใหความเปนอยูข อง
ครอบครวั ดีขึน้ เทาน้ัน แตย งั สรา งสังคมใหเปน ปก แผน สง ผลไปถงึ เศรษฐกจิ อันมน่ั คงของประเทศในอนาคต
ขางหนา อกี ดวย (จตพุ ร สุขอินทร และ ปญ ญา มงั กโรทัย, 2552 : 30)

เรอื่ งที่ 3 การลดรายจา ยและเพ่มิ รายไดในครัวเรือน

การลดรายจายในครัวเรือน ปญ หาเร่ืองหน้ีสินในครอบครัวหรือปญ หารายรับไมพอกับรายจา ย
เปนปญหาท่ีทําใหป ระชาชนหนักใจ การปองกันและแกไ ขปญ หาเรื่องหน้ีสิน มีหลักงาย ๆ วาตอ งลด
รายจา ยและเพม่ิ รายไดใ หมากขนึ้ การลดรายจายสามารถทําไดโดยการสํารวจคาใชจา ยในเดือนที่ผานมา
แลวจดบนั ทกึ ดวู า ในครอบครัวมีการใชจายอะไรไปบางและรายการใดท่ีไมจําเปน นา ตัดออกไปได ก็ใหตัด
ออกไปใหหมดในเดอื นถัดไปก็จะสามารถลดรายจา ยลงได แตท ุกคนในครอบครัวตอ งชวยกัน เพราะถาคน
หนง่ึ ประหยัดแตอ ีกคนยังใชจ ายฟุมเฟอยเหมือนเดิมก็คงไมไ ดผ ล ตอ งช้ีแจงสมาชิกทุกคนในบาน เม่ือลด
รายจายไดแลว ก็เอารายรบั ของท้งั บานมารวมกนั ดูวาจะพอกบั รายจา ยหรือไม ถาพอและยังเหลือ ก็คงตอ ง
เอาไปทยอยใชหน้ีและเก็บออมไวเผ่ือกรณีฉุกเฉิน เชน การเจ็บปวย อุบัติเหตุ เปนตน แตถ า รายไดย ัง
นอยกวารายจายก็ตอ งชวยกันคดิ วาจะไปหารายไดเพ่มิ มาจากไหนอกี

โดยสรุปการใชจา ยเงินมี 3 แบบ คือ
1. ใชตามใจชอบเปน การใชไปเรื่อย ๆ แลวแตว าตองการอะไรกซ็ อ้ื เงินหมดกห็ ยดุ ซ้ือ
2. ใชตามหมวดทแี่ บง ไว เชน

- คา อาหารและคา เส้ือผา
- คา รักษาพยาบาล

19

- คา ทาํ บุญกุศล
- เกบ็ ออมไวใชในอนาคต ฉุกเฉิน
- คาศึกษาเลาเรยี นของบตุ ร

ฯลฯ
3. ใชต ามแผนการใชทก่ี าํ หนดไวล ว งหนา เปน การใชตามโครงการทไี่ ดว างแผนไวล วงหนาแลวน้ัน
ซึ่งเปน วิธีการท่ีถูกตอง ซึ่งสามารถนําหลักการทางวิชาการมาใชใ นการปฏิบัติการวางแผนการใชจา ย
ในครอบครวั ขอ ปฏบิ ัติของการใชจ ายภายในครอบครัว มีสง่ิ ท่พี งึ ปฏิบตั ิ 3 ประการคอื

- การทําบัญชีรายรับ - รายจาย
- การประหยดั
- การออมทรพั ย
ครอบครัวตองมีการวางแผนจัดการรายรับ - รายจา ย เพื่อใหมีทรัพยสินเพียงพอจะซ้ือหรือ
จัดหาสง่ิ ท่คี รอบครัวตอ งการ เพือ่ ความสงบสุขและความเจรญิ ของครอบครัว

เร่ืองที่ 4 การออม

การออม คือ การสะสมเงินทีละเล็กทีละนอ ย เม่ือเวลาผา นไปเงินก็จะเพ่ิมพูนข้ึน การออม
สวนใหญจะอยูใ นรูปการฝากเงินกับธนาคาร จุดประสงคห ลักของการออม เพ่ือใชจ ายในยามฉุกเฉิน
ยามเราตกอยใู นสภาวะลําบาก การออมจึงถอื วาเปน การลงทุนใหกับความมนั่ คงในอนาคตของชีวติ

หลักการออม ธนาคารออมสินไดใหแนวคิดวา “ออม 1 สวนใช 3 สวน เน่ืองจากการออมมี
ความสาํ คญั ตอการดํารงชวี ิต แมบ างคนมรี ายไดไมม ากนัก คนเปน จํานวนมากออมเงินไมไ ด เพราะมีคา ใช
จา ยมาก ใชเงนิ เกนิ ตวั รายรบั มีไมพอกบั รายจาย เมอ่ื เรามีรายไดเราจะตอ งบริหารจัดการเงินของตนเอง
หากเราคดิ วาเงนิ ออมเปน รายจา ยอยางหน่ึงเชน เดียวกับรายจายอ่ืน ๆ เงินออมจะเปนรายการแรกที่ตอ ง
จา ยทุกเดือน โดยอาจกําหนดวาอยางนอ ยตอ งจา ยเปนรอ ยละเทาไรของรายไดแ ละทําจนเปนนิสัย
แลว คอ ยวางแผน เพื่อนาํ เงนิ สว นทเ่ี หลือไปเปนคาใชจ ายตาง ๆ เทานเ้ี รากม็ ีเงนิ ออม

การลดรายจา ย สามารถกระทาํ ไดด ังน้ี
1. ทําสวนครัวและเลี้ยงสัตวไวสําหรับบริโภค โดยใชพืชผักพื้นบานท่ีมีในทองถิ่น ผักท่ีใชเปน

ประจํา ผกั ทีป่ ลูกไดง ายไมตอ งดแู ลมากมาปลกู ไวในครัวเรือน เชน ผักบุง ผักคะนา ผักขม ชะอม ฟกทอง
แตงกวา มะเขือ ถ่ัวฝกยาว ขา ตะไคร ตนหอม กระเทียม ตําลึง และการเล้ียงปลาดุก เล้ียงกบ เลี้ยงไก
เปน ตน ซึง่ หากเราสามารถปลกู ผักสวนครวั เลี้ยงสตั วไ วรบั ประทานในครัวเรือนไดเอง โดยไมตองไปซ้ือหา
มาจากตลาด กจ็ ะทําใหครัวเรือนสามารถลดรายจายได แตหากผลผลิตเหลือเฟอจากการบริโภคแลวเรา
นําไปขายกจ็ ะเปน การเพิ่มรายไดอ ีกดวย

20

2. การประหยัด การออมในครัวเรอื น โดยการรูจกั ใชท รพั ยสนิ เวลา ทรัพยากรตามความจําเปน
ดวยความระมดั ระวังโดยใหเกิดประโยชนค ุม คามากทส่ี ุด รจู กั ดํารงชีวิตใหเหมาะสมกับสภาพความเปนอยู
สว นตัว รวมทั้งการอดออม ลดรายจา ยท่ีไมจําเปน ประหยัดพลังงาน รูจักการใชพลังงานจากแสงอาทิตย
เปน ตน

3. การลด ละ เลิก อบายมุข โดยการปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมตนเอง จากการท่ีชอบไปงานสงั คม ด่มื
เหลา ฟงเพลง เตนรํา กลับบานดึก ก็ตองเลิกการกระทําท่ีไมจําเปน และเปนผลเสียตอสุขภาพรางกาย
สน้ิ เปลอื ง

4. การจดั ทาํ บญั ชคี รวั เรือน คอื การรูจ กั จดทกุ ครัง้ ทีจ่ า ย บรหิ ารการใชจ ายใหเหมาะสมกบั ตนเอง
สิง่ ใดทเ่ี กนิ ความจาํ เปนในชวี ติ ก็ตอ งไมใชจา ย

5. การใชพ ลังงานอยางประหยดั เชน การประหยดั น้าํ ประหยดั ไฟ ใชเทา ที่จําเปน เปน ตน

การเพ่ิมรายได
การเพิ่มรายไดน ้ันมีหลากหลายวธิ ี นอกจากการประกอบอาชพี หลกั แลว เรายงั สามารถเพิม่ รายได

ได ดงั น้ี
1. การปลกู ผักสวนครัว สาํ หรับไวร บั ประทานเองในครวั เรอื น และแบงปนใหเพื่อนบานที่เหลือ

จึงนําไปขาย ก็จะทําใหมีรายไดเพิ่มขึ้น เชน การปลูกพริก มะเขือ ชะพลู ตนหอม ผักชี ชะอม ตําลึง
ผักหวาน เปน ตน

2. การประกอบอาชีพเสริม โดยใชทรัพยากร วัตถุดิบท่ีมีอยูในครัวเรือน ในชุมชนมาใชใหเกิด
ประโยชนสูงสุด และเปนการลดตนทุนการผลิตใหคุมคาและประหยัด เชน การถนอมอาหารแปรรูป
งานหตั ถกรรมสิง่ ประดิษฐ การผลิตกลา ไมด อกไมประดบั การเลี้ยงไกพื้นเมือง การเพาะถ่ัวงอก การเพาะ
เหด็ การทําปยุ ชีวภาพ การเลยี้ งปลาดกุ ในบอซเี มนต การทาํ เฟอรน เิ จอรจากไมไ ผ เปนตน

3. การพัฒนาอาชีพเดิม เปนการพัฒนาอาชีพเดิมใหดีข้ึน โดยการหาความรูเพิ่มเติมจาก
การเขารวมเวทีประชาคมในชุมชน การศึกษาดูงาน การเขารับการอบรม เพ่ือนําความรูมาพัฒนาอาชีพ
ในการขยายพนั ธุม ะนาวขาย กอ็ าจไปหาความรูเพ่มิ เตมิ เก่ยี วกับการขยายพนั ธุมะนาวไมม ีเมลด็ มะนาวนํ้าดี
ลูกดก ตนเล็กแตใหผลผลิตสูง และศึกษาเร่ืองการขายพันธุมะนาวทางเว็บไซต เพื่อขยายการตลาด
ใหสามารถขายผลผลติ ไดมากขึน้ เปนตน

฀฀฀฀

21

กิจกรรมท่ี 3

1. ผเู รียนไดข อ คดิ อะไรบา งจากกรณีตวั อยา ง “สรา งชีวติ ใหมอยางพอเพียงดว ยบัญชคี รวั เรอื น”
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………….………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………..………………………………………………………..
.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ผูเรียนไดจ ดั ทําบัญชีครัวเรอื นหรือไม อยางไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………….………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………..………………………………………………………..
.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ในชุมชนของผูเ รียนมีใครจัดทําบัญชีครัวเรือน พรอมยกตัวอยา ง 1 ครอบครัววาเขาจัดทํา
อยา งไรและไดผลอยางไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………….………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………..………………………………………………………..
.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

22

กิจกรรมท่ี 4 ใหผเู รียนตอบคําถามตอไปนี้

1. การบนั ทกึ บญั ชคี รัวเรอื น หมายถงึ ผเู รียนและครอบครวั มกี ารวางแผนการใชจ ายอยางไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………….………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………..………………………………………………………..
.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. รายรบั หมายถงึ อะไร พรอ มยกตัวอยาง
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………….………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3. รายจาย หมายถึงอะไร พรอ มยกตวั อยา ง
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………….………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

4. ผูเรียนมวี ิธีลดรายจายและเพ่ิมรายไดอ ยา งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………….………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

5. ผูเ รยี นมวี ธิ กี ารออมเงินอยางไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
………………………………………………………………………………….………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………..………………………………………………………..
.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

23

6. ใหผ เู รียนบันทกึ บญั ชคี รัวเรือนตามรายการดงั ตอไปน้ี ลงในแบบบันทึกรายรบั – รายจา ย

ของครอบครัวภายใน 1 เดือน

1 ม.ี ค. 52 ขายผลไมไ ดเงิน 1,900 บาท

3 ม.ี ค. 52 ขายผลไมไดเ งนิ 1,500 บาท

5 ม.ี ค. 52 จา ยคาของใชใ นบา น 500 บาท

7 มี.ค. 52 จา ยคา น้ํา - คาไฟ 400 บาท

10 มี.ค. 52 จา ยคาปยุ 600 บาท

15 มี.ค. 52 จายคาอาหาร 500 บาท

20 ม.ี ค. 52 ขายผลไม 1,800 บาท

25 ม.ี ค. 52 จา ยคาซอมรถ 300 บาท

27 ม.ี ค. 52 จา ยคา ของใช 700 บาท

แบบบนั ทกึ รายรบั - รายจาย

วนั เดอื น ป รายการ รายรับ รายจาย คงเหลอื
(บาท) (บาท) (บาท)

ยอดรวมรายรบั
ยอดรวมรายจาย
คงเหลอื

24

สรปุ ผลการบันทึกรายรับ - รายจายของครอบครวั

1. ครอบครวั ของฉันมรี ายรับ ฀ มากกวา ฀ นอ ยกวา รายจา ยอยู ..............บาท
2. ในระยะเวลา 1 เดอื น ฀ ครอบครัวของฉันมเี งนิ ออมจํานวน .................บาท

฀ ครอบครวั ของฉันไมม เี งินออม
3. รายจายท่คี วรปรับลด ไดแก

1) ..................................จาํ นวนเงิน .......................บาท เพราะ ..............................
2) ..................................จาํ นวนเงิน .......................บาท เพราะ ..............................
3) ..................................จาํ นวนเงนิ .......................บาท เพราะ .............................
ฉันสามารถลดรายจา ยไดท ั้งหมด ................................ บาท

฀฀฀฀

25

บทที่ 4 ชวี ิตสดใส พอใจเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สาระสาํ คญั

เศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหมเปนแนวทางปฏิบัติ เพื่อตอ งการใหค นสามารถพ่ึงพาตนเองได
อยา งเปน ข้นั ตอนโดยลดความเส่ยี งเก่ียวกบั ความผันแปรของธรรมชาติ โดยอาศัยความพอประมาณ ความมี
เหตุมีผล การสรา งความรู ความขยันหม่ันเพียร การอดออม สติปญญา การชวยเหลือซ่ึงกันและกัน
และความสามคั คี

เมื่อเราศึกษาเรียนรูปรัญชาของเศรษฐกิจพอเพียงอยางถอ งแท และนําไปประยุกตใชในการ
ดําเนินงานและการประกอบอาชีพจนเห็นผลจากการปฏิบัติแลว ควรจะสงเสริมใหสมาชิกในครอบครัว
มองเหน็ คณุ คา และนําแนวทางไปสกู ารปฏิบัติ ในการดํารงชวี ติ บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวัง

แนะนํา สงเสริมใหส มาชกิ ในครอบครัวเห็นคุณคา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนําแนวทาง
ไปสูก ารปฏิบตั ิในการดําเนนิ ชีวิตอยางยงั่ ยืน

ขอบขา ยเนือ้ หา

เรื่องที่ 1 ทฤษฎีใหม
เรื่องที่ 2 แผนชีวติ

26

เรอ่ื งท่ี 1 ทฤษฎีใหม

เศรษฐกิจพอเพยี งกบั ทฤษฎีใหมเปน แนวทางปฏิบัติ เพ่ือตอ งการใหคนสามารถพึ่งพาตนเองได
ในระดบั ตา ง ๆ อยา งเปนข้ันตอน โดยลดความเส่ียงเก่ียวกับความผันแปรของธรรมชาติ หรือการเปลี่ยน
แปลงของปจ จัยตาง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณและความมีเหตุมีผล การสรางความรู ความขยัน
หมนั่ เพยี ร ความอดทน สตปิ ญ ญา การชวยเหลอื ซ่ึงกันและกนั และความสามคั คี

1. ความเปน มาของทฤษฎใี หม
ตลอดระยะเวลาทพ่ี ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช (รัชกาลท่9ี ) ทรงครองรา
ชยน ้นั พระองคไ ดเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ แปรพระราชฐานไปประทบั แรมยังภูมภิ าคตา ง ๆ ทวั่ ประเทศ พระ
ราชประสงคท แี่ ทจ ริงของพระองคค อื การเสดจ็ ฯ ออก เพ่อื ซักถามและรบั ฟงความทกุ ขย ากในการดาํ เนนิ
ชวี ติ ของพสกนิกรชาวไทย จึงมพี ระราชดาํ ริแนวคิดใหมในการบรหิ ารจดั การทดี่ นิ ของเกษตรกรใหม ีสดั สว น
ในการใชพ้นื ที่ดนิ ใหเกดิ ประโยชนส งู สดุ รูปแบบหนงึ่ คือ การเกษตรทฤษฎีใหม
2. หลักการและข้นั ตอนของเกษตรทฤษฎีใหม
แนวคิดใหมในการบริหารจัดการท่ีดินของเกษตรกรใหมีสัดสว น ในการใชพ ื้นที่ดินใหเกิด
ประโยชนส ูงสดุ ตามแนวทางทฤษฎใี หม มหี ลักการและขนั้ ตอนดงั นี้
1. ทฤษฎีใหมข ้ันตน หลกั การของทฤษฎใี หมขนั้ ตน ประกอบดวย

1) มีทีด่ นิ สําหรบั การจดั แบงแปลงทดี่ ิน เพ่อื ใหเกดิ ประโยชนส งู สุดนี้ พระบาทสมเด็จพระ
ปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลท่ี9) ทรงคาํ นวณจากอตั ราถอื ครองท่ีดินถวั เฉล่ียครัวเรอื นละ 15 ไร
อยางไรกต็ ามหากเกษตรกรมพี นื้ ทถี่ อื ครองนอยกวา หรือมากกวา น้ี กส็ ามารถใชอัตราสวน 30 : 30 : 30 :
10 ดังนี้

พ้นื ท่สี วนที่ 1 รอ ยละ 30 ใหข ุดสระเก็บกกั น้าํ เพอื่ ใชเกบ็ กักน้ําในฤดฝู นและใชเ สรมิ การปลูก
พืชในฤดแู ลง ตลอดจนการเลยี้ งสตั วนํา้ และพชื นา้ํ ตางๆ

พน้ื ทีส่ วนที่ 2 รอ ยละ 30 ใหป ลกู ขา วในฤดฝู น เพอ่ื ใชเ ปน อาหารประจําวันสําหรับครอบครัว
ใหเพียงพอตลอดป เพื่อตดั คาใชจายและพ่ึงตนเองได

พ้นื ที่สวนท่ี 3 รอ ยละ 30 ใหป ลกู พชื ผกั พชื ไร พืชสมุนไพร ไมผล ไมย ืนตน ฯลฯ เพ่ือใชเปน
อาหารประจําวัน หากเหลือบริโภคก็นําไปจําหนาย

พน้ื ที่สว นท่ี 4 รอยละ 10 เปนท่อี ยูอ าศยั เล้ยี งสัตว และโรงเรือนอ่นื ๆ
2) มีความสามัคคี เน่ืองจากการเกษตรทฤษฎีใหมข้ันตน เปนระบบการผลิตแบบพอเพียง
ที่เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองไดในระดับที่ประหยัดกอน ท้ังน้ีชุมชนตองมีความสามัคคีรว มมือรว มใจ
ในการชว ยเหลือซ่ึงกันและกัน ทํานองเดียวกับการลงแขกแบบดง้ั เดิมเพ่ือลดคา ใชจ า ย
3) ผลผลิต เนือ่ งจากขาวเปนปจ จัยหลักท่ีทุกครัวเรือนจะตอ งบริโภค ดังนั้น จึงประมาณวา
ครอบครวั หนง่ึ ทาํ นา 5 ไร จะทาํ ใหม ขี า วพอกนิ ตลอดป โดยไมตองซอื้ เพื่อยึดหลักพงึ่ ตนเองได

27

4) มนี าํ้ เน่ืองจากการทาํ การเกษตรทฤษฎใี หมต อ งมนี ํ้า เพ่ือการเพาะปลกู สํารองไวใ ช ในฤดู
แลง ดงั น้นั จึงจําเปน ตอ งกนั ที่ดินสว นหนง่ึ ไวข ดุ สระนาํ้ โดยมีหลกั วา ตอ งมีน้ําเพียงพอท่จี ะทําการเพาะปลูก
ไดต ลอดป

2. ทฤษฎใี หมข ้ันทสี่ อง หรอื เรยี กวา ทฤษฎใี หมข้ันกาวหนา เปน ข้ันทเี่ กษตรกรจะพัฒนาตนเอง
ไปสูข ้ันพออยูพ อกิน เพ่ือใหม ีผลสมบูรณย ิ่งข้ึน โดยใหเกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุม หรือสหกรณ
รวมแรงรว มใจกันดาํ เนนิ การในดานตาง ๆ ดงั นี้

1) ดานการผลิต เกษตรกรจะตองรว มมือในการผลิตโดยเริ่มต้ังแตขั้นเตรียมดิน การหาพันธุ
พืช ปยุ การหานํ้า และอนื่ ๆ เพอ่ื การเพาะปลูก

2) ดา นการตลาด เมื่อมีผลผลิตแลวจะตองเตรียมการตา ง ๆ เพื่อการขายผลผลิตใหได
ประโยชนสงู สดุ เชน การเตรียมลานตากขาวรวมกัน การจดั หายุงรวบรวมขา ว เตรียมเครื่องสขี า ว ตลอดจน
การรวมกนั ขายผลผลิตใหไดร าคาดี และลดคาใชจายลงดวย

3) ดานความเปน อยู เกษตรกรตอ งมีความเปน อยูท ่ีดีพอสมควร โดยมีปจ จัยพื้นฐานในการ
ดาํ รงชีวิต เชน อาหาร ท่ีอยอู าศัย เครอ่ื งนุงหม เปนตน

4) ดา นสวัสดิการ แตล ะชุมชนควรมีสวัสดิการและบริการท่ีจําเปน เชน สถานีอนามัย
เมื่อยามเจบ็ ไขห รอื มีกองทนุ ไวก ูยมื เพอ่ื ประโยชนใ นกจิ กรรมตา ง ๆ ของชมุ ชน

5) ดานการศกึ ษา ชุมชนควรมีบทบาทในการสงเสรมิ การศึกษา เชน มีกองทุนเพื่อการศึกษา
ใหแก เยาวชนในชุมชน

6) ดานสังคมและศาสนา ชุมชนควรเปนท่ีรวมในการพัฒนาจิตใจและสังคม โดยมีศาสนา
เปนทีย่ ดึ เหน่ยี ว

3. ทฤษฎีใหมข้ันทส่ี าม เปนขั้นพัฒนาเกษตรกรหรือกลุมเกษตรกรใหกา วหนา ดว ย การติดตอ
ประสานงาน เพือ่ จัดหาทุนหรอื แหลง เงนิ เชน ธนาคาร หรือเอกชนมาชวยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพ
ชวี ติ ซงึ่ ท้งั สองฝา ยจะไดร ับประโยชนรว มกนั ดงั นี้

1) เกษตรกรสามารถขายขา วไดใ นราคาสูง โดยไมถกู กดราคา
2) ธนาคารกับบริษัทสามารถซื้อขา วบริโภคในราคาตํ่า เพราะซ้ือขาวเปลือกโดยตรงจาก
เกษตรกรและนํามาสเี อง
3) เกษตรกรสามารถซอื้ เคร่อื งอปุ โภคบริโภคไดในราคาตํ่า เพราะรวมกันซ้ือเปน จาํ นวนมาก
เนอ่ื งจากเปน กลมุ สหกรณ สามารถซื้อไดในราคาขายสง
4) ธนาคารกับบริษัทจะสามารถกระจายบุคคล เพ่ือไปดําเนินการในกิจกรรมตาง ๆ
ใหเกดิ ผลดยี งิ่ ขน้ึ
3. ประโยชนของทฤษฎใี หม
1. การพึง่ ตนเอง ทฤษฎใี หมย ึดถือหลกั การทว่ี า ตนเปน ทีพ่ ึ่งแหงตน โดยมุงเนน การผลิตพชื ผลให
เพยี งพอกับความตอ งการบริโภคในครวั เรือนเปน อันดับแรก เมื่อเหลือพอจากการบริโภคแลว จึงคํานึงถึง
การผลิตเพื่อการคาเปน อนั ดับรองลงมา ผลผลิตสว นเกนิ ท่ีออกสตู ลาดก็จะเปนกาํ ไรของเกษตรกร

28
2. ชุมชนเขม แข็ง ทฤษฎีใหมใหความสําคัญกับการรวมกลุม ของชาวบา น ท้ังนี้กลุมชาวบา น
จะทําหนา ที่เปน ผูดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตา ง ๆ ใหหลากหลายครอบคลุมท้ังการเกษตรแบบ
ผสมผสาน หัตถกรรม การแปรรูปอาหาร การทําธุรกิจการคา ขาย การทอ งเท่ียวระดับชุมชน ฯลฯ เม่ือ
องคก รชาวบา นเหลา น้ีไดรับการพัฒนาใหเ ขมแข็ง และมีเครือขา ยที่กวา งขวางมากข้ึนแลว เกษตรกรใน
ชุมชนก็จะไดรับการดูแลใหมีรายไดเ พิ่มขึ้น รวมท้ังการไดรับการแกป ญ หาในทุกดา น เมื่อเปนเชน น้ี
เศรษฐกจิ โดยรวม ของประเทศก็สามารถเติบโตไปไดอยา งมเี สถียรภาพ
3. ความสามคั คี ทฤษฎใี หมต ้ังอยบู นพ้ืนฐานของการมีความเมตตา ความเอ้ืออาทร และความ
สามคั คีของสมาชกิ ในชุมชน ในการรวมมอื รว มใจเพ่ือประกอบอาชีพตา ง ๆ ใหบรรลุผลสําเร็จประโยชนท ี่
เกิดขนึ้ จงึ มิไดห มายถงึ รายไดแ ตเพยี งดา นเดียว หากแตรวมถงึ ประโยชนในดา นอื่น ๆ ดวย ไดแ ก การสรา ง
ความมนั่ คงใหก ับสถาบันครอบครวั สงั คม ชุมชน และความสามารถในการอนุรกั ษท รัพยากรธรรมชาตแิ ละ
ส่งิ แวดลอ ม
ตัวอยางการนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใชเปนแนวทางปฏิบัติของเกษตรทฤษฎีใหม ซึ่งเปน
แนวทางในการพฒั นาดานการเกษตรอยา งเปนขนั้ ตอนในพ้นื ท่ที ่ีเหมาะสม ซงึ่ แบงเปน 3 ขน้ั ดงั นี้ *
กรณตี วั อยา ง ปลูกทกุ อยา งที่กิน กนิ ทกุ อยางท่ปี ลูก ชวี ิตอยไู ดอ ยา งย่งั ยนื *

29

กรณีตวั อยา ง ปลกู ทุกอยางท่กี นิ กนิ ทุกอยา งท่ีปลูก ชวี ิตเปน สุขไดอ ยางยั่งยนื
นายบุญเปง จันตะภา เกษตรกรบานหว ยถางปูตา น ตําบลไมยา อําเภอพญาเม็งราย จังหวัด

เชยี งราย ดําเนนิ ชีวติ โดยยดึ แนวทางเศรษฐกจิ พอเพียงจนเปน ที่ยอมรับโดยทว่ั ไป
เดิมนายบุญเปง จันตะ ภา มีฐานะยากจน เคยออกไปขอทาน เพ่ือหาอาหารมาใสท อ ง หลังจาก

ไปเรียนในวัดไดนําหลักคุณธรรมมาใชใ นชีวิตและการประกอบอาชีพ โดยยึดหลักอิทธิบาท 4 และ
พรหมวหิ าร 4 ในป 2529 ไปทํางานประเทศบรูไน หวงั ใหฐานะครอบครวั ดีขึน้ แตไ มสาํ เรจ็ จงึ เดินทางกลบั
มาเก็บเงนิ ไดเพยี งสองพนั กวาบาท ตอ มาไดป รับความคิดวา ถามีความขยันเหมือนทํางานท่ีประเทศบรูไน
อยเู มืองไทยก็มีรายไดอยางพอเพียง ป 2542 รัฐบาลใหมีการพักชําระหน้ี แตบ ุญเปง พักไมได เนื่องจาก
มียอดหน้ีเปนแสน ไดนําเอารูปในหลวงมาต้ังสัจอธิษฐานวา ขา พเจาและครอบครัวจะขยันเพ่ิมข้ึน ลด
ละ เลิก ในสง่ิ ท่ไี มจําเปน กนิ ทกุ อยางทีป่ ลกู ปลูกทกุ อยางทีก่ นิ และจะขอปลดหนี้ภายใน 4 ป

นายบุญเปง พ่ึงพาตนเองดวยการทําเกษตรทฤษฎีใหม ลงแรงทุกอยางดว ยตนเอง ใชภูมิปญ ญา
ทอ งถ่ินประยุกตกบั ความรูใหม ๆ ท่ีไดไ ปศึกษาดูงานอีก การใชท รัพยากรอยา งรูคุณคา ทําใหประหยัดเงิน
ลงทุน เกิดรายไดจากการขายผลผลิตการเกษตรตลอดท้ังป รูจักอดออม ไมเปนหน้ีทําใหดําเนินชีวิตไม
เดอื ดรอ น ไมเบียดเบียนตนเองและผูอ่นื พัฒนา ปรับปรุงการประกอบอาชีพจนประสบความสําเร็จและยัง
ถา ยทอดความรู ชวยเหลอื สังคม

บนพ้ืนที่ 10 ไร 1 งาน 35 ตารางวา มีการแบงสัดสว นตามหลักทฤษฎีใหมไ ดอยางลงตัว
เปนนาขาว 5 ไร ปลูกขาวเหนยี วปล ะ 1 ครั้ง โดยปลูกสลับกับขา วโพด แตงโม แตงไทย อีก 5 ไร ปลูกผัก
สมนุ ไพร ไมผ ล เชน ลําไย มะมวง กลวย และสวนสุดทา ยเปน เรือนพักอาศัยพอเหมาะกับครอบครัว มีโรง
เลย้ี งสตั ว กระบอื สุกร ไกพ ้นื เมืองและจ้งิ หรีด

ความสําเร็จในชีวิตของนายบุญเปง นับเปน บทพิสูจนไดเปน อยา งดีวา “เศรษฐกิจพอเพียง”
สามารถนํามาปรับใช ใหเกิดประโยชนส ูงสุดตอครอบครัว ชุมชน หากรูจักคิด ใช กิน อยูอ ยางพอเพียง
ชวี ิตกด็ ํารงไดอ ยางดีย่ิงขึ้นและมัน่ คง

* จากหนงั สือพิมพเ ดลนิ ิวส หนา 10 ฉบับวนั พฤหสั บดีที่ 12 กุมภาพนั ธ พ.ศ. 2552

การแนะนําสง เสรมิ ใหสมาชกิ ในครอบครวั เห็นคุณคา และนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต
ใช

เมอื่ เราเรยี นรปู รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจนเกิดความเขา ใจอยา งถองแทและนําสูก ารปฏิบัติ
ในการดาํ เนินชีวิตและการประกอบอาชีพแลว เราจะเห็นประโยชนแ ละคุณคาของปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ซึ่งสมควรอยางย่งิ ทีเ่ ราจะตอ งแนะนําสงเสรมิ ใหส มาชกิ ในครอบครัวเหน็ คณุ คา และนาํ ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใชใ นการดําเนินชีวติ และการประกอบอาชีพดว ยเชน กัน หลักในการแนะนํา
คอื การทส่ี มาชิกในครอบครัวใชชีวิตบนพ้ืนฐานของการรูจักตนเอง สามารถพ่ึงตนเองไดและดําเนินชีวิต

30

อยา งพอกนิ พอใช โ ดยไมเบยี ดเบยี นผูอื่น ทําใหเกดิ ความสขุ และความพอใจในการดําเนนิ ชวี ติ อยา งพอเพียง
พยายามพัฒนาตนเองอยา งตอเนื่อง เพ่ือใหสามารถอยูอยา งพอเพียงไดในทุกสถานการณ ทั้งน้ีสมาชิก
ในครอบครวั อาจจะรว มกันทาํ แผนชีวติ

เรอ่ื งท่ี 2 แผนชีวิต

ในการดําเนินชวี ติ ทุกคนตองการไปใหถ งึ เปา หมายดว ยกันทั้งสิน้ แตก ารทจ่ี ะไปถึงเปา หมายไดจะ
ตองมีการวางแผนชีวติ ท่ดี ี มคี วามมงุ ม่ันในการทีจ่ ะกาวไปใหถ งึ

การวางแผนอยางนอยกท็ ําใหเ รารูวา เราจะเดินไปทิศทางไหน ยาํ้ เตือนวาตองทําอะไร ยงั ไมไ ดท ํา
อะไร แมแ ตแ มบ า นจะทาํ อาหารในแตละม้อื ยงั ตองวางแผน และเห็นอาหารจานน้ันอยูในจิตนาการ
เหลอื แตอ อกไปหาวัตถดุ บิ และลงมอื ปรุงอาหารใหสาํ เร็จ ซึ่งแมบ านก็ตองเขยี นรายการวตั ถุดบิ ทตี่ อ งซ้อื
เปนการวางแผนกอนปรงุ อาหารซึ่งจะไดไมม ปี ญหาวา กลับบา นแลว ลมื ซ้ือ ซึง่ เหตกุ ารณนี้มักเกดิ ขน้ึ บอย ๆ
ชวี ิตคนเรากเ็ ชนเดียวกนั ตอ งคดิ กอ นปรงุ โดยตองรวู าจะปรงุ ใหเ ปน อะไร ซง่ึ เรยี กวาแผนชวี ติ แตส ําหรับคน
ทยี่ ังไมร ูก ต็ องเขียนวา ตัวเองชอบอะไร หรอื ตองการอะไรจะดกี วา ดาํ เนนิ ชีวติ โดยไรจ ดุ หมาย

แผนชวี ติ คอื ส่งิ ที่เราฝนหรอื คาดหวังอยากจะใหเกดิ ข้ึนจรงิ ในอนาคตโดยเราจะตอ งวางแผน กาํ หนด
ทศิ ทางหรอื แนวทางในการดาํ เนนิ ชีวิต เพ่ือใหเ ราไปถงึ เปา หมาย ทาํ ใหเราเกิดความพึงพอใจ
และความสุข

แผนชีวิต มีหลายดา น เชน แผนชีวิตดา นอาชีพ แผนชีวิตดา นครอบครัว เปนตน แผนชีวิต
แตละคนแตล ะครอบครัวจะแตกตา งกนั ขนึ้ อยูก ับวา ใครจะใหความสําคญั กับแผนชีวิตดา นใดมากกวา กนั

แผนดา นการพัฒนาอาชีพ ใหมองถงึ ศกั ยภาพท่มี กี ารพัฒนาได ความถนัด ความสามารถของตน
เอง มองถึงทนุ ทม่ี ีในชมุ ชน เชน ทรพั ยากร องคค วามรู ภูมิปญญา แหลงเงินทุน การตลาด ความตองการ
ของคนในชุมชน โดยมกี ารจดั การความรขู องตนเอง เพ่อื ใหเ กดิ ความรูใหม

แผนชีวิตดา นครัวเรือน ใหมองถึงหลักธรรมในการดํารงชีวิต การสรา งภูมิคุมกันใหก ับคนใน
ครอบครัวท่ีมีการเรยี นรูตลอดชวี ติ เพื่อนําองคค วามรูมาสรา งภมู ิคุม กันที่ดี นอกจากนี้การนําบัญชีครัวเรือน
มาวเิ คราะหร ายจา ยทีไ่ มจําเปน มาจดั ทาํ แผนการลดรายจา ย เพิม่ รายได และตอ งมีการประเมินแผนทท่ี าํ
ดวยวาสําเรจ็ มากนอยเพียงใด แผนชีวิตดา นครวั เรือน เชน

(1)การจัดทําบญั ชรี ายรบั - รายจา ยในครวั เรอื น มกี ารวางแผนการใชจ า ย เชน จา ย 3 สวน
ออม 1 สว น เพื่อใหเ กิดการมีระเบียบวินัยในการใชจ า ย การลด ละ เลิกอบายมุข การศึกษาใหรูเทาทัน
กระแสบริโภคนยิ ม การวางแผนควบคุมรายจายในครวั เรอื น

31

(2)การลดรายจายในครวั เรือน เชน การปลกู ผักสวนครวั การผลิตปยุ ชวี ภาพไวใ ชท ดแทนปยุ เคมี
การผลติ ผลิตภณั ฑเคร่ืองใชภายในครัวเรือน

(3)การเพ่ิมรายไดใ นครัวเรอื น แปรรูปผลผลิต การทําเกษตรแบบผสมผสาน ปลูกพืชสมุนไพร
ฯลฯ หรืออาจจะเริม่ จาก การจดั ทาํ แผนชีวติ ครัวเรอื น อาจจะดาํ เนินการ ดงั นี้

1. จัดทําขอ มูลของครวั เรอื น
2. คน หาศกั ยภาพของตนเอง ทกั ษะในการประกอบอาชพี ทุน

สถานการณในการประกอบอาชพี
3. คน หาปญหาของครัวเรือน
4. กําหนดเปา หมายของครัวเรอื นเพอื่ ใหหลุดพนจากความยากจน
5. วางแผนการแกป ญหาของครวั เรอื น
6. บันทึกการปฏบิ ัตติ ามแผน
7. บันทกึ การประเมนิ ผล

฀฀฀฀

32

กรณตี วั อยาง สรุ ชยั มรกตวิจิตรการ เกษตรพอเพียง แหง บา นปาไผ *

บา นเกษตรกรพอเพียงตามแนวพระราชดาํ รขิ อง สุรชัย มรกตวจิ ติ รการ ต้ังอยทู ีบ่ านปา ไผ
ต.แมโ ปง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม สรุ ชัย ไดเ ลา ชีวติ ของตนเองวา “ชีวิตคงไมมาถึงวันนี้หากไมมศี รทั ธา
แรงกลา ตอ องคพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลท9่ี ) ผมเร่มิ ตน จากศนู ย เดิมผม
คาขายเส้ือผาสําเรจ็ รูป ป 2540 เจอวิกฤตเศรษฐกจิ มหี นสี้ นิ แปดแสนบาท คดิ จะฆาตวั ตาย แมใ หส ตวิ า
ทําไมไมสู ทําใหผมคิดใหม ต้งั สตแิ ลวมงุ หนาไปท่ศี นู ยการศึกษาการพฒั นาหว ยฮอ งไคร อนั เนอื่ งมาจากพระ
ราชดาํ ริ ดวยใจทมี่ งุ มนั่ วามกี ินแนห ากเดินตามแนวทางของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ย
เดช (รชั กาลที9่ ) ที่น่เี องไดเ รียนรแู ละทาํ ความเขาใจคาํ วา “เศรษฐกจิ พอเพยี ง”อยางถองแท”

เราเริ่มตน จากการเล้ียงสัตวต ามความถนัดท้ัง ปลา ไก วัว กบ ตอ มาปลูกพืชผักสวนครัว
โรงเพาะเห็ด กลายเปนไรนาสวนผสมที่ทําทุกอยางเชอ่ื มโยงกนั อยางเปนระบบและมีประสิทธภิ าพ

เวลาผานไปไมก ี่ป สุรชัย กลายเปนผูเ ช่ียวชาญ มีความรูใ นสิ่งท่ีตนเองลงมือทํา ไมว าจะเปน
การทําปุยหมัก ปุย อินทรีย การเลี้ยงหมูหลุม การเลี้ยงไก วัว ปลา กบ การทํากา ซชีวภาพจากมูลสัตว
การนาํ ของเหลวจากสัตวไปเลี้ยงพืช การนําของเหลวจากพชื ไปใชก บั สัตว

“พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รชั กาลที่9) สอนคนไทยมากวา 20 ป วา
ใหเ ชื่อมธรรมชาตเิ ขา ดว ยกนั คนไทยไมชอบคดิ ไมชอบวเิ คราะห ไมลงมือทาํ แตใ ชเงินนาํ หนา ตองแกดวย
5 ร คอื รวมพลงั รว มคดิ รวมกนั ทาํ รว มกันสรุปบทเรียน และรวมกันรบั ผล และยดึ คําสอนที่วา ตอ ง
ระเบิดจากขางใน คอื เขาใจตัวเองกอน ส่ิงแรก คอื ตน ทนุ ต่าํ ทาํ บัญชคี รัวเรอื น ตัดส่งิ ฟุมเฟอยออกจากชีวติ
คดิ อยางรอบคอบ ไมข เี้ กียจ สรางภมู ิคุมกนั ไมหลงกระแส ไมหลงวตั ถุนิยม ทสี่ ําคัญไมแ ขงกบั คนรวย แต
ทกุ คนตอ งคดิ ตองฝน เองวาอะไรเหมาะทสี่ ุด จะสําเรจ็ หรอื ลม เหลวอยทู คี่ ุณภาพคน

ปจจุบัน สุรชัย ยังเดินหนา ตามแผนชีวิตของตนเอง เพ่ือหวังปลดหน้ีภายในไมเกิน 5 ป
ดว ยการกูเงิน 2 ลานบาท ซอ้ื ทด่ี ินหลังบานเพือ่ สรา งฐานการผลติ

ผมตองการพสิ จู นวา คนจนหากมุง มน่ั ทจ่ี ะสแู บบเขาใจศักยภาพตนเองรบั รองอยูไ ดอ ยางมศี ักดศ์ิ รี
และเปนชีวิตทีย่ งั่ ยืนปลอดภัย

------------------------------------
* จนิ ตนา กิจมี หนังสอื พิมพมติชน หนา 10 วันเสารท่ี 28 มีนาคม พ.ศ. 2552

33

กจิ กรรมที่ 5
ใหผูเรียนวางแผนชวี ิตของตนเองดานอาชีพและดานชีวิตครอบครัว โดยคํานึงถึงหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี ง

แผนชวี ติ รายละเอยี ดแผนชีวติ

1. ดานอาชพี 1. ตองการประกอบอาชพี ……………………………………………………………..

ดา นครอบครัว 2. ปจจัยท่ีพจิ ารณาประกอบอาชีพนี้ ..............................................................................
แผนชวี ติ - เงินลงทนุ ....................บาท
- มีความรูวชิ าชพี น้ี……………………………….…….…………………………….
- ประสบการณท ่ีเก่ียวของกบั วิชาชีพ............................................................................
- ลูกคา กลุมเปา หมาย ไดแก… ……………………………….………………………..
- สถานทป่ี ระกอบอาชีพ………………………………………………………………
- ความรู ความสามารถ...................................................................................................
- เครอ่ื งมือและอุปกรณ...................................................................................................
- การประชาสัมพันธ /โฆษณา.......................................................................................
- แรงงาน...................คน
- วัน เวลา เปดบรกิ าร..................................................................................................
- สภาพ / สถานการณอาชพี น้ีในพน้ื ท่ปี ระกอบอาชพี ...................................................
- คแู ขงทางการคา……………………………………………………………………..
- กลยทุ ธการขาย……………………………………………………..………………

บา น / ท่อี ยอู าศยั
- ปรับปรุง…………………….…………………………………..………………
- พัฒนา………………………………………………………..…………………

สขุ ภาพ
- ของตนเอง……………………………………………………..…….…………
- สมาชกิ ในครอบครวั ……………………………………………….……..……

การปฏิบตั ิธรรม
- ยดึ หลักธรรม...............................ในการดาํ เนนิ ชวี ติ
- การรวมกิจกรรมท่ีวดั ……………………………………….……….……..……
- ปฏิบัตธิ รรมในครอบครัวโดย……………………………………………….……

เศรษฐกจิ

แผนชีวติ 34

รายละเอียดแผนชีวิต

- ลดรายจายโดย...............................................................................................
- เพิม่ รายไดโดย................................................................................................

(รายละเอียด/แนวทางปฏิบัต)ิ
- ออม / ฝากเงนิ กบั .....................................................................
- ลงทุนโดย

35

บทที่ 5 การประกอบอาชพี ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง เพ่ือการสรางรายได อยางม่ันคง ม่ังคั่ง
และยง่ั ยืน

สาระสาํ คญั

การประกอบอาชีพตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อการสรางรายได อยางม่ันคง มั่งค่ัง
และยัง่ ยนื มงุ เนน ใหผ ูเรียนมีการพจิ ารณาอยางรอบดา น มคี วามรอบคอบ และระมัดระวัง ในการวางแผน
และการดาํ เนนิ งานทุกขน้ั ตอน เพือ่ มิใหเกดิ ความเสยี หายตอการพัฒนา เปนการประกอบอาชีพท่ีคํานึงถึง
การมรี ากฐานที่มนั่ คงแขง็ แรง ใหเ จรญิ เติบโตอยางมลี าํ ดับขัน้ สามารถยกระดบั คุณภาพชีวิตท้ังทางกายภาพ
และทางจิตใจควบคูกัน การประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงมิไดข ัดกับกระแส
โลกาภวิ ัฒน ตรงกันขามกลบั สง เสรมิ ใหกระแสโลกาภิวฒั นไดรับการยอมรับมากข้ึน ดว ยการเลือกรับการ
เปลี่ยนแปลงท่ีสง ผลกระทบในแงด ีตอประเทศ ในขณะเดียวกันเปนการสรา งภูมิคุมกันในตัวท่ีดีตอการ
เปล่ียนแปลงในแงท่ไี มด แี ละไมอ าจหลกี เลีย่ งได เพอ่ื จํากดั ผลกระทบใหอยูในระดบั ไมกอความเสยี หายหรือ
ไมเปน อนั ตรายรายแรงตอประเทศ

ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวัง

ตระหนักในความสําคัญของการประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการ
สรา งรายได อยา งม่ันคง ม่ังคั่ง และยั่งยืน พฒั นาประเทศภายใตก ระแสโลกาภวิ ัฒนแ ละเลือกแนวทางหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใ ชในการดําเนินชีวิตอยา งสมดุล และพรอ มรับตอความเปล่ียน
แปลงของประเทศภายใตก ระแสโลกาภิวฒั น

ขอบขายเน้อื หา

เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญ ประเภท สาขาอาชีพตา ง ๆ การตัดสนิ ใจประกอบอาชพี
1.1 ความหมาย ความสาํ คญั
1.2 ประเภทของงานอาชีพ
1.3 กลมุ งานอาชพี ตา งๆ
1.4 การตดั สนิ ใจประกอบอาชีพ

36

เรอ่ื งท่ี 2 การสรา งงานอาชีพตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 5 กลมุ อาชพี ใหม ทีเ่ นนความเปน
ไทย

2.1 เกษตรกรรม
2.2 อุตสาหกรรม
2.3 พาณิชยกรรม
2.4 ความคดิ สรา งสรรค
2.5 การอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง
เรื่องท่ี 3 แนวทางการประกอบอาชพี ทีส่ ง ผลตอ ความสาํ เรจ็
3.1 มคี วามรู คอื ตอ งรอบรู รอบคอบ และระมดั ระวัง
3.2 คุณธรรมทส่ี งเสรมิ การประกอบอาชพี ประสบความสําเรจ็ คือ ความสาํ เรจ็ สุจริต

ขยนั อดทน แบงปน

37

เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ ประเภท สาขาอาชีพตาง ๆ การตัดสินใจประกอบ

อาชพี

1.1 ความหมาย ความสําคัญ

1.2 ประเภทของงานอาชีพ

1.3 กลมุ งานอาชพี ตาง ๆ

1.4 การตัดสนิ ใจประกอบอาชพี

1.1 ความหมาย ความสําคัญ

อาชีพ หมายถึง ชนิดของงานหรือกิจกรรมของบุคคลประกอบอยู เปนงานท่ีทําแลวไดรับ
ผลตอบแทนเปนเงินหรือผลผลิต

อาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คืองานที่บุคคลทําแลวไดรับผลตอบแทนเปนเงิน
ผลผลติ โดยยึดหลักสาํ คญั 5 ประการในการดาํ เนนิ การ ไดแ ก

1. ยดึ หลกั ทางสายกลางในการดาํ เนนิ ชีวติ
2. มคี วามสมดุลระหวา งคน ชมุ ชน และส่งิ แวดลอม
3. มีความพอประมาณ พอเพียงในการผลติ การบรโิ ภค และการบริการ
4. มภี มู คิ ุมกนั ในการดําเนินชวี ิตและการประกอบอาชพี
5. มคี วามเทา ทนั สถานการณชุมชน สังคม
อาชีพมีความสําคัญตอชีวิตคนเราอยางมาก เพราะเปนความม่ันคงของตนเองและครอบครัว
คนทีม่ อี าชพี จะเปน คนท่ไี ดรับการยกยอง ไดรบั การยอมรบั นบั ถอื เราตองทาํ งานหาเงิน มีเงินรายได หรือ
สรา งผลผลิต เนื่องจากตองดํารงชีวิตดวยปจจัย 4 คือ อาหาร เคร่ืองนุงหม ยารักษาโรค และที่อยูอาศัย
การประกอบอาชีพจงึ เปน สิ่งสําคัญย่ิงตอมนุษยทุกคน
1.2 ประเภทของงานอาชีพ

อาชพี สามารถแบง ออกไดเ ปน 2 ประเภทคอื
1. อาชีพอสิ ระ คอื อาชพี ที่ตนเองเปน เจาของกจิ การ โดยลงทุนเอง วางแผนเอง ตัดสินใจ
เอง จัดบรกิ ารและขายเอง
2. อาชีพรับจา ง คือ อาชีพที่อยูในกิจการของนายจาง มีรายไดจากคาจางและสวัสดิการ
ตา ง ๆ
1.3 กลุมงานอาชีพตาง ๆ การสรางงานอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในที่น้ี

แบงกลุมอาชีพเปน 5 กลุมอาชีพใหม คือ 1. เกษตรกรรม 2. อุตสาหกรรม (ในครอบครัว)

3. พาณชิ ยกรรม 4. ดา นความคดิ สรางสรรค 5 การอาํ นวยการและอาชพี เฉพาะทาง

38

1.4 การตัดสินใจประกอบอาชีพ
การตัดสินใจท่ีจะประกอบอาชีพอะไรก็ตาม จะตองมีส่ิงที่จะตองคิดหลายดานทั้งตองดู

ขอมูล มีความรู มีทุน แรงงาน สถานท่ี มีกลวิธีการขายและคุณธรรมในการประกอบอาชีพดวย ขอควร
คํานึงในการตดั สนิ ใจประกอบอาชพี มีดงั น้ี

1. การตัดสินใจประกอบอาชีพโดยใชข อมลู อยา งเหมาะสม
ในการประกอบอาชพี ผูเ รยี นตอ งใชขอ มูลหลาย ๆ ดาน เพ่ือการตัดสินใจ ขอมูลท่ีสําคัญ

คอื ตองรจู กั ตนเองวา มคี วามชอบหรอื ไม มสี ภาพแวดลอ มในครอบครัว ชมุ ชน ท่ีเหมาะสมกับการประกอบ
อาชีพนน้ั ๆ หรือไม และขอมลู ทสี่ ําคัญ คือ ความรูทางวชิ าการ

2. มีความรวู ชิ าชพี นัน้ ๆ
การประกอบอาชีพอะไรก็ตองมีความรูในวิชาชีพนั้น ๆ อยางดี เพราะการมีความรูใน

วิชานนั้ ๆ อยา งดี จะทําใหส ามารถปรับปรุงพฒั นาอาชีพน้ัน ๆ ไดด ีย่ิงขึน้
3. มที นุ แรงงาน และสถานท่ี
ทนุ แรงงาน สถานที่ เปนองคป ระกอบสาํ คญั ในการประกอบอาชพี ทําใหเ กดิ ความมน่ั ใจ

ในการประกอบอาชีพเปน ไปอยา งราบร่ืน
4. มวี ธิ ีการปฏิบตั งิ านและจดั การอาชพี
มีขั้นตอน กระบวนการ การจัดการท่ีเหมาะสม มีประสิทธิภาพ ทําใหงานประสบ

ความสําเร็จ ลดตน ทุนการผลติ มีผลผลิตไดมาตรฐานตามที่ต้งั เปา หมายไว
5. มีกลวิธีการขาย การตลาด
กลวิธีการขาย การตลาดที่สามารถตอบสนองความตองการ ความพึงพอใจของลูกคา

ยอมทาํ ใหย อดขายเปนไปตามเปา หมาย
6. มีการจัดการการเงินใหมีเงินสดหมุนเวียนสามารถประกอบอาชีพไปไดอยางตอเน่ือง

ไมข ดั ขอ ง
7. การจดั ทําบัญชรี ายรบั – รายจา ย เพอื่ ใหท ราบผลการประกอบการ
8. มีมนุษยสัมพันธและมีจิตบริการ การมีมนุษยสัมพันธที่ดีกับลูกคา มีความเปนกันเอง

โดยเฉพาะการใชคาํ พดู ทเี่ หมาะสม เพือ่ สรา งความพงึ พอใจใหก บั ลูกคา ไปพรอมกบั การมจี ติ บรกิ ารใหล กู คา
ดวยความจรงิ ใจ ตอ งการเหน็ ลูกคามีความสุขในการบริโภคสนิ คา

39

9. มีคุณธรรมในการประกอบอาชีพ ผูผลิตและผูขายมีความซื่อสัตยตอลูกคาใชวัตถุดิบท่ีมี
คุณภาพ ไมใชสารเคมที ีม่ พี ษิ ในผลติ ภัณฑ ซ่งึ สง ผลตอสขุ ภาพ ส่งิ แวดลอ ม และการดําเนินชีวติ ของลูกคา

เรือ่ งที่ 2. การสรางงานอาชีพตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ในที่น้ีไดแบงกลุม อาชีพ 5 กลมุ อาชพี ใหม คือ 1. เกษตรกรรม 2. อตุ สาหกรรม

(ในครอบครัว) 3. พาณิชยกรรม 4. ดานความคิดสรางสรรค 5. การอํานวยการและอาชีพเฉพาะ

ทาง โดยวเิ คราะหแบง กลมุ 5 กลมุ อาชพี ใหม ดา นการผลติ กับดา นการบรกิ าร

กลมุ อาชีพ ดา นการผลิต ดานการบริการ

1. เกษตรกรรม 1. แปรรูปผลผลิต * พชื ตนไม ตัวอยางการตบแตง

- อาหารหลัก ตนไม การจัดดอกไมประดับใน

- อาหารวา ง - ขนม งานมงคล งานศพ การดูแลตนไม

- เครื่องด่ืม (นํ้าตะไคร กระเจี๊ยบ การจัดสวน

ใบเตย ขงิ สัปปะรด เสาวรส ฯลฯ) * สัตว เชน เล้ียงสุนัข การดูแล

2. เพาะเห็ด (แปรรูป) ตดั ขน

3. เพาะพันธไุ ม

4.การเลี้ยงไกไข

5. ขยายพันธพุ ชื

6. ปลูกสมุนไพร

2. อุตสาหกรรม (ในครอบครัว) 1. ไมน วดเทา ไมก ดเทา * บรรจุสนิ คา

2. ผลติ ภัณฑจากกะลามะพรา ว * สง สินคาตามบาน

3. ผลติ เครอื่ งประดับทาํ มือ ราน โดยใชมอเตอรไซต

4. ผลิตสนิ คาจากวัสดุเหลือใช * ประกอบสนิ คา /ผลติ ภัณฑ เชน

5. รองเทาแตะ เครือ่ งใช ประดบั ตบแตง ประกอบชอ ดอกไม

6. ตะกราจะกาบหมาก

7. เกาอี้ทางมะพรา ว

3. พาณชิ ยกรรม 1. นํ้าเตา หูกบั ปาทอ งโก * การขายตรง

2. เครื่องด่มื น้าํ เตาหู กาแฟ * การขายปลีก

3. ผลติ ปยุ ชวี ภาพ นํ้าหมัก * การขายสง

4. ดา นความคิดสรา งสรรค 1. ออกแบบบรรจุภัณฑ (ผา กระดาษ * บริการผูกผาตบแตงงานพิธี

พลาสติก ฯลฯ) ตางๆ

40

กลมุ อาชีพ ดานการผลติ ดานการบริการ

2. ออกแบบเคร่ืองใชตาง ๆ (ดวยวัสดุ * ลําตดั หมอราํ

เหลอื ใชตางๆ) * รอ งเพลงพื้นบาน

3. ออกแบบเฟอรนเิ จอร * เปา ขลยุ

4. ดนตรพี ื้นบา น (โปงลาง อังกะลงุ )

5. การออกแบบเคร่อื งประดับ

5. การอํานวยการและอาชีพ การแพทยทางเลือก (การนวดแผนไทย * หัวหนางาน

เฉพาะทาง ผอนคลาย บาํ บดั รกั ษา) * Organizer รับจัดงานวันเกิด

ฉลองงานแตง

* รบั ตกแตง สถานท่ี

เรอ่ื งท่ี 3 แนวทางการประกอบอาชีพทส่ี ง ผลตอ ความสาํ เรจ็

แนวทางการประกอบอาชีพใหประสบผลสาํ เรจ็ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

มเี ง่ือนไขความรูแ ละคณุ ธรรมดังนี้
3.1 มีความรูคือ ตอ งรอบรู รอบคอบและระมดั ระวงั
ความรอบรู มคี วามหมายมากกวาคาํ วา ความรูคือนอกจากจะอาศัยความรใู นเชงิ ลกึ เกี่ยวกับ

งานท่จี ะทําแลว ยังจาํ เปน ตอ งมคี วามรใู นเชงิ กวาง ไดแกความรู ความเขา ใจในขอเท็จจริงเกย่ี วกบั

สภาวะแวดลอ มและสถานการณท เ่ี ก่ยี วพันกบั งานทจี่ ะทาํ ทัง้ หมด

ความรอบคอบ คือ การทํางานอยางมีสติ ใชเวลาคิดวิเคราะห ขอมูลรอบดาน กอนลงมือทํา
ซ่ึงจะลดความผิดพลาด ขอบกพรอ งตา ง ๆ ทําใหงานสาํ เร็จไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ใชต น ทนุ ตํ่า

ระมัดระวงั คือ ความไมป ระมาท ใหค วามเอาใจใสในการทํางานอยางตอเน่อื งจนงานสําเรจ็
ไมเ กิดความเสียหายตอ ชีวติ และทรัพยสนิ หรืออบุ ัติเหตอุ นั ไมค วรเกิดขึ้น

3.2 คณุ ธรรมท่สี ง เสริมการประกอบอาชีพใหประสบความสําเร็จ คือ ความซ่อื สัตย สุจริต ขยัน
อดทน แบงปน การประกอบอาชพี ตอ งสัมพนั ธเ กย่ี วขอ งกับบุคคล สงั คม และสิง่ แวดลอม อยางหลีกเลี่ยง
ไมได เพื่อใหการประกอบอาชีพประสบผลสําเร็จตามเปาหมาย ไดรับการสนับสนุนจากผูเก่ียวของ

ผรู ว มงาน และลกู คา ผูป ระกอบอาชีพตองมคี ุณธรรม ซือ่ สตั ย สจุ ริต ขยนั อดทน แบงปน
ความขยัน อดทน คือ ความต้ังใจเพียรพยายามทําหนาที่การงาน การประกอบอาชีพอยาง

ตอเนอ่ื ง สมํ่าเสมอ ความขยันตอ งปฏิบัติควบคกู ับการใชส ตปิ ญ ญา แกปญ หาจนงานเกดิ ผลสาํ เรจ็

ผูท่ีมีความขยัน คือ ผูท่ีต้ังใจประกอบอาชีพอยางจริงจังตอเน่ือง ในเรื่องท่ีถูกท่ีควร มีความพยายาม

เปนคนสงู าน ไมท อ ถอย กลาเผชิญอปุ สรรค รักงานทที่ ํา ตัง้ ใจทาํ หนา ท่อี ยางจริงจงั

41

ซื่อสัตย คือการประพฤตติ รง ไมเ อนเอียง จรงิ ใจ ไมม ีเลหเหล่ียม ผูท ม่ี ีความซื่อสตั ย คือ
ผูท่ีประกอบอาชีพตรงไปตรงมา ไมคดโกง ไมเอาเปรียบผูบริโภค ไมใชวัตถุที่เปนอันตราย และ
คาํ นงึ ถงึ ผลกระทบกับสภาพแวดลอ ม
ความอดทน คือ การรักษาสภาวะปกติของตนไวไมวาจะกระทบกระท่ังปญหาอุปสรรคใด
ผูม ีความอดทน ในการประกอบอาชีพ นอกจากจะอาศัยปญ ญาแลว ลวนตอ งอาศัย ขันติ หรือความอดทน
ในการตอสูแกไขปญหาตา ง ๆ ใหง านอาชพี บรรลุความสําเรจ็ ดว ยกันทง้ั สิ้น
การแบง ปน / การให คือ การแบงปนสิง่ ท่เี รามี หรือส่ิงทส่ี ามารถใหแ กผ ูอ่ืนไดแ ละเปนประโยชน
แกผทู ีร่ บั การใหผูอน่ื ทีบ่ ริสุทธใิ จไมห วังส่งิ ตอบแทนจะทําใหผ ใู หไ ดร บั ความสขุ ท่ีเปนความทรงจําทยี่ าวนาน
การประกอบอาชพี โดยรจู ักการแบง ปน หรอื ใหส งิ่ ตาง ๆ ทส่ี ามารถใหไ ดแก ลกู คาและชุมชนของเรา
ยอ มไดรับการตอบสนองจากลูกคา ในดานความเชื่อถอื

42

กิจกรรมที่ 6

1. การประกอบอาชีพมีความสาํ คญั ตอการดาํ รงชวี ติ ของผูเรียนอยา งไร?
1……………………………………………………………………………………………
2……………………………………………………………………………………………
3…………………………………………………………………………………………..
4……………………………………………………………………………………………
5……………………………………………………………………………………………

2. จงยกตัวอยา งอาชพี ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
อาชีพกลุมเกษตรกรรม เชน ....................................................................................................
..............................................................................................................................................
อาชีพกลุม อตุ สาหกรรม เชน...................................................................................................
...............................................................................................................................................
อาชีพกลุม พาณชิ ยกรรม เชน ...................................................................................................
...............................................................................................................................................
อาชีพดานความคดิ สรา งสรรค เชน ..........................................................................................
...............................................................................................................................................
อาชีพดานการอาํ นวยการและอาชีพเฉพาะทาง เชน ...............................................................
...............................................................................................................................................

3. เม่ือผเู รยี นประกอบอาชีพแลว จะนําคณุ ธรรม.........................มาใชในการประกอบอาชีพ และจะมี
แนวทางปฏบิ ตั ิตามคณุ ธรรมนี้อยางไร...............................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

43

กจิ กรรมท่ี 7
ใหผ เู รยี นวางแผนแนวทางการประกอบอาชีพของตนเองท้ังที่เขาสูอาชีพใหมและพัฒนาอาชีพ

โดยมีขั้นตอนดงั นี้
ขนั้ ตอนท่ี 1 ใหผ เู รียนแบง กลมุ ออกเปนกลุม ละ 5 – 7 คน แตล ะกลุม ใหเลือก หัวหนากลมุ 1 คน
และเลขากลมุ 1 คน รวมระดมพลังสมองแลกเปลีย่ นเรยี นรูตามหัวขอ ดังตอ ไปนี้

1. การประกอบอาชีพตามแนวของหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2. อาชีพที่เชื่อม่ันวา สามารถทาํ ไดใ นครอบครวั ชุมชนของเรา
3. รวมกันรางรายละเอียด ส่ิงท่ีตองใช สิ่งท่ีตองทําในการประกอบอาชีพนั้น ๆ

(ทาํ 1- 2 อาชพี ) ทงั้ นีใ้ หประธานเปน ผูดาํ เนินการ เลขากลุมจดบันทึกสรปุ สาระสาํ คัญ
เพ่อื นําเสนอ
ข้นั ตอนท่ี 2 ใหทุกกลุมรวมกนั คัดเลอื กอาชีพจากกจิ กรรมท่ี 1 ตามท่กี ลุม ตกลงรวมทงั้ อาชีพท่สี ามารถ

ทําเปนรายบุคคล และเปน กลุม นาํ มาเขยี นเปน โครงการประกอบอาชีพท่สี ามารถนาํ ไปปฏบิ ัติไดจริง

ขนั้ ตอนที่ 3 ใหผ เู รยี นแตละคน แตละกลมุ นาํ โครงการประกอบอาชีพทน่ี าํ เสนอ (ตรวจสอบความสมบูรณ)

ไปประกอบอาชีพ โดยมีการรว มระดมทุน จัดหาทนุ การแบงงานกันทํา การลงมตริ วมกนั ตดั สินใจ ระยะเวลา

ดําเนนิ การตามความเหมาะสม แลวสรปุ ผลการประกอบอาชีพเสนอครู กศน.


Click to View FlipBook Version