The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maw.nfe, 2020-04-21 02:38:04

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค11002 ประถม

กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน กศน.

หลกั การสําคญั ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช
รัฐธรรมนูญฉบับปจ จุบันมหี ลกั การและเจตนารมณทจ่ี ะธาํ รงรักษาไวซ ง่ึ เอกราชและความม่ันคง
ของชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย ซึ่งหลักการสําคัญของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 ไดระบุไวในหมวด 1
บททวั่ ไป สรปุ ไดดังนี้
1. ประเทศไทยเปน ราชอาณาจกั รอนั หนงึ่ อนั เดียว จะแบงแยกมไิ ด
2. มีการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยทรงเปน ประมขุ
3. อาํ นาจอธิปไตยเปนของปวงชนชาวไทย
4. ศักดศิ์ รคี วามเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลตองไดร ับความคุม ครอง
5. ประชาชนชาวไทยทุกคนไมแ ยกเพศ ศาสนา และยอ มไดร บั ความคมุ ครองเทา เทยี มกัน

โครงสร้างของรัฐธรรมนูญ

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 แบงโครงสรางออกเปน 15 หมวด และ
มีบทเฉพาะกาล สรปุ สาระสาํ คญั แตล ะหมวดดังน้ี

หมวด บททวั ไป
ประเทศไทย เปนราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียวจะแบงแยกออกมิได มีการปกครองแบบ
ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยเปนประมุข พระมหากษัตริยทรงใชอาํ นาจทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี
และศาล
หมวด พระมหากษตั ริย์
ทรงอยูใ นฐานะอนั เปนทเี่ คารพ ผูใดจะละเมดิ มไิ ด ทรงเลอื กและแตงตงั้ ประธานองคมนตรี และ
องคมนตรีไมเ กนิ 18 คน
หมวดที สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
การใชอํานาจโดยองคกรของรัฐ ตองคํานึงถึงศักด์ิศรีความเปนมนุษย สิทธิและเสรีภาพของ
บุคคล ท้ังดานการประกอบอาชีพ การสื่อสาร การแสดงความคิดเห็น ความเปนธรรมดานการศึกษา
การสาธารณสุข และสวัสดกิ ารของรัฐ เสรภี าพในการชุมนมุ ท่ีไมล ะเมิดสทิ ธผิ อู ื่นและกฎหมาย
หมวด หน้าทีของชนชาวไทย
บุคคลมีหนา ท่ีพทิ กั ษร ักษาชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย และการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมพี ระมหากษัตริยเปนประมุข และมีหนาที่ปองกันรักษาผลประโยชนของชาติ ปฏิบัติตามกฎหมาย
โดยเฉพาะหนาที่ไปใชส ทิ ธิเลอื กตงั้
หมวด แนวนโยบายพนื ฐานแห่งรัฐ
เนนใหประชาชนมีสวนรวม การกระจายอํานาจ การดําเนินการ มุงเนน การพัฒนา คุณภาพ
คุณธรรม มีประสิทธภิ าพ โปรงใส ใหค วามคมุ ครอง และพฒั นาเดก็ เยาวชน สง เสรมิ ความรูรกั สามคั คี
หมวด รัฐสภา
รัฐสภามีหนาที่บัญญัติกฎหมาย และควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร ประกอบดวย 2 สภา คือ
สภาผูแทนราษฎร (ส.ส.) และวฒุ สิ ภา (ส.ว.)

43

หมวด การมสี ่วนร่วมทางการเมอื งโดยตรงของประชาชน
ประชาชนผูมีสทิ ธิเลือกตง้ั มสี ิทธิเขา ช่อื รอ งขอตอวฒุ ิสภาใหถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนงได
เพราะมสี ทิ ธอิ อกเสียงประชามติ
หมวด การเงิน การคลงั และงบประมาณ
เพ่อื กําหนดหลกั เกณฑเกี่ยวกับการจัดหารายได การกําหนดรายจาย การกอหนี้หรือการดําเนินการท่ี
ผกู พนั ทรพั ยส ินของรัฐ หลักเกณฑการกําหนดวงเงนิ สาํ รองจา ยเพื่อกรณีฉกุ เฉินหรือจําเปน ซึ่งเปน กรอบ
ในการกาํ กับการใชจา ยเงนิ ตามแนวทางการรักษาวนิ ยั การเงนิ การคลงั และรกั ษาเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ
อยางย่ังยืน และเปนแนวทางในการจัดทาํ งบประมาณรายจายของแผน ดิน
หมวด คณะรัฐมนตรี
รฐั ธรรมนญู กาํ หนดใหม ีนายกรัฐมนตรี 1 คน และมีรฐั มนตรอี ืน่ อกี ไมเกิน 35 คน โดยไดรบั การแตงตั้ง
จากพระมหากษตั ริย
หมวด ศาล
กําหนดใหศาลหรืออาํ นาจตุลาการ แบง เปน
1. ทั่วไป
2. ศาลรฐั ธรรมนญู
3. ศาลยุติธรรม
4. ศาลปกครอง
5. ศาลทหาร
หมวด องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
กําหนดใหมีองคกรที่จะดําเนินการตรวจสอบ ติดตามการทํางานของบุคคล คณะบุคคล และ
หนว ยงานท้งั ภาครัฐและเอกชน ดงั น้ี

1. องคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ประกอบดวย คณะกรรมการการเลือกต้ัง ผูตรวจการแผนดิน
คณะกรรมการการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ และคณะกรรมการตรวจเงินแผน ดนิ

2. องคกรอันตามรัฐธรรมนูญ ประกอบดวย องคกรอัยการ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แหงชาติ และสภาที่ปรึกษาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ

หมวด การตรวจสอบการใช้อาํ นาจรัฐ
กาํ หนดใหมกี ารตรวจสอบขา ราชการประจํา และขา ราชการการเมือง
หมวด จริยธรรมของผ้ดู ํารงตาํ แหน่งทางการเมอื ง และเจ้าหน้าทีของรัฐ
การพจิ ารณา สรรหา แตงตั้งบุคคลเขาสูตําแหนง ตองเปนไปตามระบบคุณธรรม และคํานึงถึง
พฤตกิ รรมทางจริยธรรมดวย
หมวด การปกครองส่วนท้องถิน
ใหความเปนอิสระแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น มีสภาพทองถ่ินในการบริหารงาน เนนการ
กระจายอํานาจ ใหก ารสนับสนุนกําหนดนโยบายการบรหิ าร

44

หมวด การแก้ไขเพมิ เตมิ รัฐธรรมนูญ
ใหมีการแกไขเพ่ิมเติมได แตหามแกไขท่ีมีผลตอการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ เ ปน ประมขุ หรือเปลย่ี นแปลงรูปของรัฐ
บทเฉพาะกาล
ใหองคมนตรดี าํ รงตําแหนงอยูในวันประกาศใชร ฐั ธรรมนญู

เรืองที ความรู้เบอื งต้นเกียวกับกฎหมาย

1. ความหมายของกฎหมาย
ไดมผี ูใหความหมายของกฎหมายไวด งั น้ี
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระบิดาแหงกฎหมายไทย ไดใหคาํ จํากดั ความไววา “กฎหมาย คือ

คําสัง่ ท้งั หลายของผูปกครองวา การแผน ดินตอ ราษฎรทั้งหลาย เม่ือไมทาํ ตาม ธรรมดาตองลงโทษ ”
ดร.สายหยุด แสงอุทัย ไดใหความหมายไววา “กฎหมาย คือ ขอบังคับของรัฐซ่ึงกําหนด

ความประพฤติของมนุษย ถา ฝาฝน จะไดร บั ผลรายหรอื ถูกลงโทษ”
สรุป กฎหมาย คือ ขอบังคับของรัฐที่ใชควบคุมความประพฤติของคนในประเทศ โดยมี

จุดมุงหมายท่ีจะคุมครองประโยชนรักษาความสงบเรียบรอยในการอยูรวมกันในสังคม ผูใดฝาฝนจะตอง
ถูกลงโทษ

2. ความสําคญั ของกฎหมาย
1. มีความเกี่ยวของกบั มนษุ ยตั้งแตเกดิ จนตาย เชน
เกิด เก่ียวขอ งกับกฎหมายบุคคล กฎหมายทะเบียนราษฎร
โตขน้ึ เกีย่ วขอ งกบั พ.ร.บ. การศึกษาแหงชาติ
แตง งาน เกยี่ วขอ งกับกฎหมายครอบครวั
ตาย กฎหมายมรดก กฎหมายทะเบียนราษฎร
2. เปนเครอื่ งมือสรา งระเบียบใหสังคมและประเทศชาติ
3. กอ ใหเ กิดความเปนธรรมในสังคม

3. ลกั ษณะทวั ไปของกฎหมาย
3.1 กฎหมายมลี ักษณะเปน ขอบงั คบั ดงั น้ี
3.1.1 บังคบั ใหทํา เชน ชายไทยตองเกณฑทหาร ผูมีรายไดตองเสียภาษี เด็กตองเขาเรียนตาม

พ.ร.บ. การศกึ ษา ฯลฯ
3.1.2 บังคบั ไมใหทาํ เชน หามทาํ รายรา งกาย หามลกั ทรพั ย ฯลฯ

3.2 กฎหมายมีลักษณะเปนคําส่ังท่ีมาจากผูมีอํานาจสูงสุดในประเทศ เชน ประเทศท่ีมี
การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย มีรัฐสภาเปน ผอู อกกฎหมาย และพระราชบัญญัติ มีรัฐบาลเปนผูออก
พระราชกําหนด พระราชกฤษฎกี า และกฎกระทรวง

45

3.3 กฎหมายเปน ขอ บงั คบั ท่ีใชไดทว่ั ไปกับทุกคน โดยไมเ ลือกปฏบิ ัติ
3.4 ผทู ฝ่ี า ฝน กฎหมายตองไดร บั โทษ
4. ความจาํ เป็ นทตี ้องเรียนรู้กฎหมาย
ในฐานะที่เราเปนสมาชิกของสังคมจึงมีความจําเปนตองศึกษาและเรียนรู ทําความเขาใจใน
กฎหมายตา ง ๆ ท่ีเกยี่ วของกับตัวเรา และสงั คมที่เราอยู ท้งั นกี้ ็เพ่ือกอเกิดประโยชนตอตนเอง ซึง่ ไดแ ก
4.1 รจู ักระวงั ตน ไมเ ผลอ หรือพลั้งกระทําความผิดโดยไมร ตู ัว เนือ่ งมาจากเพราะไมรูกฎหมาย
และเปนเหตุใหตอ งไดร ับโทษตามกฎหมาย
4.2 ไมใหถ กู ผูอน่ื เอาเปรียบและถูกฉอโกง โดยทีเ่ ราไมม คี วามรูเ รอื่ งกฎหมาย
4.3 กอเกดิ ประโยชนใ นการประกอบอาชพี ถาหากรูหลักกฎหมายที่เก่ียวกับการประกอบอาชีพของ
ตนเอง แลวยอ มจะปองกนั ความผดิ พลาดอันเกิดจากความไมร กู ฎหมายในอาชีพได
4.4 กอใหเกิดประโยชนทางการเมืองการปกครองของประเทศ เพราะเม่ือประชาชนรูจักใช
สทิ ธแิ ละหนา ท่ีของตนเองตามกฎหมายแลว ยอ มทาํ ใหสงั คมเกดิ ความสงบเรียบรอ ย
5. ประเภทของกฎหมาย
ในชีวิตประจําวันบุคคลมีเสรีภาพในการดํารงชีวิตตามระบบการเมืองการปกครอง ระบบ
กฎหมาย และระบบเศรษฐกิจ เราจะตองรูจักสิทธิและหนาที่ของตนเอง และรูจักใชสิทธิที่มีอยูไป
ประกอบอาชีพ และสรางความสัมพันธกับบุคคลตาง ๆ โดยมีสิทธิเลือกไดวาจะดําเนินชีวิตสวนตัว
อยา งไร แตตอ งอยภู ายในขอบเขตท่ีกฎหมายกําหนด บุคคลจึงตองขวนขวายหาความรูเกี่ยวกับกฎหมาย
เพื่อใชติดตอสื่อสาร การดําเนินวิถีชีวิตประจําวัน ซ่ึงกฎหมายที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน สามารถ
แบงไดเปน
. กฎหมายอาญา

กฎหมายอาญา (Criminal Law) เปน กฎหมายมหาชนที่บัญญัติถึงความสัมพันธระหวางรัฐ
กับเอกชนท่ีอยูใตอํานาจปกครองของรัฐ ผูที่ฝาฝนจะตองไดรับโทษ ตามประมวลกฎหมายอาญา และ
พระราชบัญญัติอื่นที่บัญญัติถึงการกระทําท่ีเปนความผิดและโทษทางอาญา เชน ความผิดตาม
พระราชบญั ญัติจราจรทางบก อาวธุ ปน เครือ่ งกระสุนปน วตั ถรุ ะเบดิ ยาเสพติดใหโทษ ความผิดอันเกิดจาก
การใชเชค็ ศุลกากร การพนนั ปาไม ปาสงวน เปนตน

เนื่องจากกฎหมายอาญามีสภาพบังคับ คือ มีโทษที่จะทําใหบุคคลไดรับผลถึงแกชีวิต
รางกาย เสรีภาพ ทรพั ยส ิน เชน ประหารชวี ิต จาํ คกุ กกั ขงั ปรบั ริบทรัพยสิน ดงั นั้น จึงตองมีหลักประกัน
แกบคุ คลดงั ที่บญั ญัติไวใ นกฎหมายรัฐธรรมนญู วา บุคคลจะไมตองรบั โทษอาญา เวน แตจะไดกระทําการ
อันกฎหมายที่ใชอยูในเวลาที่กระทํานั้น บัญญัติเปนความผิดและกําหนดโทษไว และโทษที่จะลงแก
บคุ คลนนั้ จะหนกั กวา โทษท่ีกําหนดไวใ นกฎหมายที่ใชอยใู นเวลาทก่ี ระทําความผดิ มิได กลาวคือ บุคคล
จะไดรับโทษทางอาญาจะตองไดกระทําการใดที่มีกฎหมายขอหามไว ถาไมมีกฎหมายก็ไมมีความผิด
ไมม โี ทษ เชน ความผิดฐานสูบบุหรี่ในท่ีท่ีกําหนด เดิมไมมีความผิดแตเมื่อประกาศใชพระราชบัญญัติ
คมุ ครองสุขภาพของผูไมสูบบุหรี่ พ.ศ. 2535 แลวผูท่ีสูบบุหร่ีในเขตปลอดบุหรี่ หรือสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ

46

ทกี่ ําหนดยอ มมคี วามผิดและจะตองไดรับโทษ โทษตามประมวลกฎหมายอาญา มี 5 สถาน คือ ประหารชีวิต
จาํ คกุ กกั ขัง ปรบั ริบทรพั ยส นิ

นอกจากนี้ยังมีการรอการลงโทษ หรือรอการลงอาญา เมื่อบุคคลกระทําความผิดและ
จะไดรับโทษจําคกุ ไมเกนิ 2 ป ผูน ัน้ อาจไดร บั ความกรณุ าจากศาลไมตองไดรับโทษจําคุกในเรือนจํา เพราะ
ผูนั้นไมเคยไดรับโทษจําคุกมากอน เมื่อไดพิจารณาถึง อายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปญญา การศึกษา
อบรม สุขภาพ ภาวะแหงจติ นิสัย อาชีพ สิ่งแวดลอม สภาพความผิด หรือเหตุอื่นอันควรปรานีแลว ศาลจะ
กาํ หนดโทษไว หรอื รอการลงโทษไว ทเี่ รียกกนั วา “รอการลงอาญา”

. กฎหมายแพ่ง
กฎหมายแพง คือ กฎหมายทบ่ี ัญญัตถิ งึ ความสัมพนั ธข องบุคคล เปนกฎหมายสารบัญญัติ

และเปน กฎหมายเอกชนท่มี คี วามสาํ คญั แกชวี ิตของบุคคลตงั้ แตแ รกเกิดจนส้ินสภาพบคุ คลไป
กฎหมายพาณชิ ย คอื กฎหมายท่ีบญั ญัติถึงความสัมพันธของบุคคลท่ีมีอาชีพคาขาย และ

นกั ธรุ กจิ กลาวถึงระเบยี บหลกั ปฏบิ ัติในทางการคา ที่บคุ คลในอาชพี คาขายและนักธุรกิจจะตองปฏิบัติใน
การเกีย่ วของสมั พันธก นั เชน กฎหมายเกีย่ วกับหนุ สวนบริษทั ต๋วั เงิน ประกนั ภัย การขนสง สินคา

ประเทศไทยไดรวมบัญญัติกฎหมายพาณิชยเขาไวในประมวลกฎหมายแพง จึงรวม
เรยี กวา “ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย”

สภาพบังคับในทางแพ่ง โทษหรือสภาพบังคับในทางแพงท่ีจะใหผูฝาฝนไมปฏิบัติตาม
กฎหมาย คือ การใชคาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหาย หรือใหชําระหนี้ดวยการสงมอบทรัพยสินให
กระทาํ การ หรืองดเวนกระทาํ การอยางใดอยางหน่ึงตามมูลหนี้ท่ีมีตอกันระหวางเจาหนี้และลูกหนี้ เชน
บงั คบั ใหชาํ ระหน้เี งนิ กพู รอ มดวยดอกเบ้ยี บงั คบั ใหผ ขู ายสงมอบหรือโอนทรัพยส นิ ใหแกผูซอ้ื ตามสญั ญา
ซื้อขาย หรือใหใชคาสินไหมทดแทนในกรณีละเมิดขับรถยนตชนผูอ่ืนบาดเจ็บ หรือทําใหทรัพยสิน
เสยี หาย

เรืองที กฎหมายทเี กยี วข้องกับตนเองและครอบครัว

กฎหมายในชีวติ ประจาํ วนั ท่เี กีย่ วขอ งกับตนเอง และครอบครวั ไดแ ก กฎหมายดังตอไปน้ี
1. กฎหมายเกยี วกบั ชือบุคคล

พระราชบัญญัติขอมูลสวนบุคคล กําหนดไววา (มีสัญชาติไทย ตองมีช่ือตัวและช่ือสกุล
สว นชื่อรองมีหรือไมมีกไ็ ด)

การต้ังช่ือตัวตองไมใหพองกับพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริยและพระนามของ
พระราชนิ ี หรอื ราชทนิ นาม และตอ งไมมคี าํ หยาบคาย ชอ่ื ตัวมีกพ่ี ยางคกไ็ ด และมคี วามหมายดี

การตั้งชือ่ สกลุ ไมเ กิน 10 พยัญชนะ (ยกเวนราชทนิ นามเกา )
ในเร่ืองชื่อสกุล เดิมกฎหมายกําหนดใหหญิงท่ีมีสามีตองเปลี่ยนชื่อสกุลของตนมาใช
ชื่อสกุลของสามี แตปจจุบันกฎหมายไดมีการแกไขใหมมีผลตามพระราชบัญญัติช่ือบุคคล (ฉบับที่ 3)
พ.ศ. 2548 ดงั นี้

47

1. คสู มรสมีสทิ ธิใชชอ่ื สกุลฝายใดฝายหน่ึงไดต ามทีต่ กลง หรอื ตางฝายตา งใชนามสกุลเดิม
ของตนได

2. เมื่อการสมรสสิ้นสุดลงดว ยการหยา หรอื ศาลมีคาํ พพิ ากษาใหเพกิ ถอนการสมรส
ใหฝ า ยทใ่ี ชชอ่ื สกลุ ของอีกฝา ยหนงึ่ กลบั ไปใชช ื่อสกลุ เดิมของตน

3. เม่อื การสมรสสิ้นสุดลงดวยความตาย ฝา ยที่มีชีวิตอยูใชชื่อสกุลของอีกฝาย คงมีสิทธิ
ใชไ ดต อ ไป แตเ มื่อจะสมรสใหมใ หก ลบั ไปใชชอื่ สกลุ เดมิ ของตน

4. หญิงท่ีมีสามี ซ่ึงใชช่ือสกุลสามีอยูแลว กอนการเปลี่ยนแปลงกฎหมายใหมีสิทธิใช
ตอไป หรือจะมาใชส ิทธกิ ลบั ไปใชชื่อสกุลเดิมของตนได

. กฎหมายทะเบียนราษฎร์
“กฎหมายทะเบียนราษฎร” เกิดข้นึ มาเพ่ือการจัดระเบียบคนในสังคม และการที่จะเปน

ประชาชนไทยท่ีถูกตองไมใชเพียงแคลืมตาดูโลกบนแผนดินไทยแลวจะถือวาเปนคนไทยท่ีสมบูรณ
เราจําเปนตองปฏบิ ัติตามกฎหมายการทะเบียนราษฎรอยางเครงครัด ซึ่งการทะเบียนราษฎรพื้นฐานที่ควร
ตระหนักใหค วามสําคัญ ไดแก การเกิด การตาย การยายที่อยู และการทาํ บัตรประชาชน

การติดตอ สถานที่ราชการเพื่อดําเนินการเหลา นีส้ ามารถไปดาํ เนินการไดท ี่
ถาอาศัยอยูในเขตเทศบาลใหแจงที่นายทะเบียนผูรับแจงประจําตําบล หรือหมูบาน ไดแก
ผูใ หญบาน หรอื กาํ นัน หรือแจง โดยตรงตอนายทะเบียนประจําสาํ นกั ทะเบยี นอาํ เภอ ณ ที่วา การอําเภอ
ในเขตเทศบาลใหแ จง ท่ีสํานักทะเบยี นทองถ่ิน ซึง่ ตั้งอยู ณ สํานกั งานเทศบาล
ในเขตกรุงเทพมหานครใหแจงที่สํานักทะเบียนทองถิ่น ซึ่งต้ังอยู ณ สํานักงานเขต
หรอื สาํ นกั งานเขตสาขา
กฎหมายทะเบยี นราษฎร ประกอบดว ย
ก. การแจ้งเกดิ
ตองแจงตอนายทะเบียนที่อําเภอ ภายใน 15 วัน นับตั้งแตวันเกิด แลวทางการจะออก
“ใบสูติบตั ร” ซ่งึ เปนเอกสารที่แสดงชาติกําเนดิ วันเดือนปเกดิ การแจงเกิดนีไ้ มเสียคา ธรรมเนียมใด ๆ แต
ถา ไมแจงเกิดมีความผิดตองระวางโทษ ปรับไมเกิน 1,000 บาท
วธิ กี ารแจ้งเกดิ
 แจงรายละเอียดเกยี่ วกับเด็กทเี่ กิด คอื ชื่อ นามสกุล เพศ สญั ชาติของเด็กท่ีเกิด วันเดือนปเกิด
เวลาตกฟาก ตลอดจนวนั ขางข้ึนขา งแรม ตลอดจนสถานทเี่ กดิ บานเลขที่ ถนน ตําบล เขต
จังหวดั
 แจงรายละเอยี ดเก่ียวกับมารดาของเด็กท่ีเกิด คือ ช่ือ นามสกุล และนามสกุลเดิมกอนสมรส
อายุ สัญชาติ ทีอ่ ยโู ดยละเอยี ด
 แจง รายละเอียดเกี่ยวกบั บดิ า คือ ชื่อ นามสกุล อายุ สญั ชาติ
 หลกั ฐานทีจ่ ะตอ งนาํ ไปแสดงตอนายทะเบียน
 สาํ เนาทะเบียนบาน ฉบับเจา บา น (ท.ร.14)
 บตั รประจาํ ตวั ประชาชน หรือบัตรประจําตัวอืน่ ๆ ของเจา บา น และของคนแจง

48

 หนังสือรับรองการเกิด (ท.ร.1/1) ซ่ึงแพทย หรือพยาบาล หรือเจาหนาท่ีอนามัย หรือ
ผดุงครรภแลว แตกรณี ออกให (ถาม)ี

 บัตรประจาํ ตวั ประชาชน หรอื บัตรประจาํ ตัวอืน่ ๆ ของพอ แมเด็กท่ีเกดิ
ข. การแจ้งตาย
เมื่อมีคนตาย ผูเก่ียวของตองไปแจงการตาย เพื่อใหไดใบมรณบัตรท่ีแสดงวา คนนั้นตายแลว
ภายใน 24 ช่วั โมง การแจงตายไมเ สยี คา ธรรมเนียมใด ๆ แตถ าไมแ จงตายภายในเวลาที่กาํ หนดมีความผิดตอง
ระวางโทษปรับไมเ กนิ 1,000 บาท
วธิ กี ารแจ้งตาย
แจงรายละเอียดเก่ียวกับผูตาย เชน ช่ือ นามสกุล อายุ สัญชาติ เพศ ของผูตาย เวลาที่ตาย ระบุ
วัน เดือน ป เวลาโดยละเอียด สถานท่ตี าย สาเหตุการตาย การดาํ เนนิ การกับศพของผตู าย (เก็บ ฝง เผา) ท่ีไหน
เมื่อไร ฯลฯ
ผูมีลกู บญุ ธรรมจะแตงงานกบั ลกู บญุ ธรรมไมได
ไมเปนคูส มรสของผอู ่ืน
หญิงหมา ยจะแตงงานไมต องรอเกนิ 130 วัน หลังจากที่ชวี ติ สมรสครงั้ แรกสิ้นสดุ
ชาย หญงิ ทม่ี อี ายุไมค รบ 17 ปบริบูรณ จะแตงงานกันไดก็ตองมีคําส่ังของศาลอนุญาต

โดยนาํ คําสง่ั ศาลน้นั ไปแสดงตอ นายทะเบียน
วธิ กี ารจดทะเบยี นสมรส
ชายหญิงตองไปใหถอยคําและแสดงความยินยอมเปนสามีภรรยากันโดยเปดเผยตอหนา
นายทะเบียนท่อี าํ เภอกง่ิ อําเภอเขตหรือสถานทูต สถานกงสุลไทยในตางประเทศแหงใดก็ได โดยไมจําเปนตองมี
ชอ่ื อยใู นทะเบียนบานของทอ งถิน่ น้ัน
หลกั ฐานทีจะต้องนาํ ไปแสดงต่อนายทะเบียน
 บัตรประชาชน
 สําเนาทะเบยี นบา นของท้ังสองคน
 กรณีทท่ี ัง้ คูย ังไมบรรลนุ ติ ภิ าวะ (17 ป แตไ มถ งึ 20 ป) ตองใหบ คุ คลผมู อี ํานาจใหความยินยอม

เชน พอแม หรือผูปกครอง เปนตน โดยอาจใหผ ูยินยอมลงลายมอื ชื่อในขณะจดทะเบียน
หรอื ทําเปนหนงั สอื ยนิ ยอมกไ็ ด
ค. การจดทะเบยี นหย่า
การหยาสําหรับคูสมรสท่ีไดจดทะเบียนสมรสแลวไมวากรณีใดตองไปจดทะเบียนหยากัน
ท่สี ํานกั ทะเบยี น จะไปจดทอ่ี นื่ ไมได และตองทาํ ตอ หนา นายทะเบียนเทานั้น การหยาจะมีผลสมบูรณทําได
2 วิธดี งั น้ี
1. การหยาโดยความยินยอมของท้ังสองฝาย คือ การที่คูหยาไปจดทะเบียนหยาดวยตนเอง
ทสี่ ํานักทะเบียนแหงใดกไ็ ด และจะตอ งนําหลักฐานตดิ ตวั ไปดวยดังตอไปนี้
 บัตรประจาํ ตวั ประชาชน หรือบัตรประจําตัวขาราชการของทง้ั สองฝาย
 หลักฐานการจดทะเบยี นสมรส เชน ใบสาํ คัญการสมรส หรอื สาํ เนาทะเบียนสมรส

49

 สาํ เนาทะเบยี นบา นฉบับเจา บา นของทั้งสองฝาย
 หนงั สือสญั ญาหยา
2. การหยาโดยคาํ พพิ ากษาของศาล หากคูหยา ตอ งการใหนายทะเบียนบันทึกการหยาไวเปน
หลักฐาน จะตองย่ืนสําเนาคําพิพากษาของศาลที่แสดงวาไดหยากันแลวแกนายทะเบียน จากนั้น
นายทะเบียนก็จะบันทกึ คาํ สัง่ ศาลไวเปน หลกั ฐาน ท้ังนห้ี ากมีขอตกลงอยางอื่น เชน ทรัพยสิน อํานาจการ
ปกครองบุตรกส็ ามารถบันทกึ ไวใ นทะเบยี นหยาได
ง. การจดทะเบียนรับรองบุตร
การจดทะเบียนรับรองบุตร พอแมของเด็กซ่ึงเปนสามีภรรยากันโดยไมชอบดวยกฎหมาย
เด็กทีเ่ กิดมาจึงเปน ลูกที่ชอบดวยกฎหมายของแมฝ ายเดียว หากเดก็ จะเปน ลูกที่ชอบดวยกฎหมายของพอก็
ตอ งมกี ารจดทะเบียนรับรองบตุ ร เมื่อจดทะเบียนเรียบรอยเด็กก็จะมีสิทธิใชนามสกุล และรับมรดกของ
พอ แมอ ยา งถกู ตอ ง
การจดทะเบยี นรบั รองบตุ รนี้ ทาํ ไดเฉพาะฝา ยชายเทานั้นสวนหนุมสาวคูใดท่ีมีลกู กอ นแตงงาน
เมื่อแตงงานจดทะเบียนสมรสกันแลว เด็กคนนั้นจะเปนลูกที่ถูกตองตามกฎหมายทันทีโดยไมตอง
จดทะเบียนรับรองบตุ รอกี
หลักฐานที่จะตองนําไปแสดงตอนายทะเบยี น
 ใบสูตบิ ัตร และสาํ เนาทะเบยี นบานของเดก็
 บตั รประจําตัวประชาชน และสําเนาทะเบยี นบานของมารดาเดก็
 บตั รประจําตัวประชาชน และสาํ เนาทะเบียนบานของบดิ า (ผูย่นื คํารอ ง)
 บัตรประจาํ ตวั ประชาชนของเดก็ (ในกรณีที่เด็กอายุเกนิ 15 ป)

เรืองที กฎหมายทีเกยี วข้องกบั ชุมชน

กฎหมายท่ีเก่ียวของกับชุมชนเปนกฎหมายวาดวยการรักษาสภาพแวดลอมที่อยูรอบตัวคนใน
ชมุ ชน มิใหเกิดความผิดปกติจากธรรมชาติท่ีควรจะเปน ตลอดจนการดูแล ปกปอง และปองกันใหเกิด
ความเปนธรรมในสงั คม ไมเ อารดั เอาเปรียบตอ กัน ซง่ึ กฎหมายที่ควรรู ไดแก

1. กฎหมายสงเสริมและรกั ษาคุณภาพส่งิ แวดลอ ม
2. กฎหมายเกีย่ วกบั การคุมครองผูบริโภค
กฎหมายส่งเสริมและรักษาคณุ ภาพสิงแวดล้อม
โดยทั่วไปบุคคลมีสิทธแิ ละหนาทีต่ อ งมีสว นรว มในการจัดการ บํารงุ รกั ษา และใชป ระโยชนจาก
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสมดุล และยั่งยืน รวมถึงมีหนาท่ีตองอนุรักษธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอ มตามท่ีรัฐธรรมนญู บัญญตั ิไว โดยเฉพาะพระราชบญั ญัตสิ ง เสริมและรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดลอม
แหง ชาติ พ.ศ. 2535 กําหนดไวด งั น้ี

50

1. สทิ ธขิ องบุคคลเก่ยี วกับการสงเสริมและรักษาคณุ ภาพส่งิ แวดลอ ม
มีสิทธจิ ะไดรับขอมูลและขาวสารจากทางราชการ มีสิทธิไดรับชดเชยคาเสียหาย หรือ

คาทดแทนจากรัฐ กรณีไดร บั ความเสียหายจากภยั อนั ตรายทเ่ี กิดจากการแพรก ระจายของมลพษิ หรอื ภาวะ
มลพษิ อันมีสาเหตจุ ากกจิ การ/โครงการ โดยสวนราชการ/รัฐวิสาหกจิ

มีสทิ ธริ องเรยี นกลาวโทษผูกระทาํ ผดิ หรือฝา ฝน กฎหมายเกีย่ วกับการควบคมุ มลพษิ
2. หนา ทีข่ องบุคคล

ใหความรวมมือและชวยเหลือเจาพนักงานในการปฏิบัติหนาท่ีท่ีเกี่ยวของกับการสงเสริม
การรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม ปฏิบัติตามกฎหมายที่เก่ียวของกับการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม
โดยเครงครัด

3. ปญ หากระทบตอสงิ่ แวดลอ มในปจ จุบนั มี 2 ประการ คอื
การลดลงและขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ เนื่องจากการทําลายตนไม ปาไม และ

แหลง กาํ เนิดของลาํ ธาร เกดิ มลพิษสิ่งแวดลอม เนื่องจากความเจรญิ ทางเทคโนโลยีและจํานวนประชากร
ที่เพ่ิมข้ึน การใชมากทําใหเกิดสิ่งท่ีเหลือจากการใชทรัพยากร เชน ขยะ นํ้าเสียจากครัวเรือน โรงงาน
ควนั ไฟ สารเคมี ทําใหเกดิ มลพิษทางนํา้ อากาศ และบนดนิ

ซึ่งผูท่ไี ดรับผลกระทบ คือ ประชาชน ดงั นน้ั พ.ร.บ. สงเสริมและรักษาคณุ ภาพส่ิงแวดลอม
แหง ชาติ พ.ศ. 2535 จึงไดก ําหนดใหม ี

1. คณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ทําหนาที่กําหนดมาตรฐานควบคุมคุณภาพ
ส่งิ แวดลอ มที่ประกอบดว ยมาตรฐานคณุ ภาพของนาํ้ อากาศ เสียง และอ่นื ๆ

2. กองทนุ สง่ิ แวดลอม เพ่ือใชในกิจการชวยเหลือใหก ูยมื เพอ่ื การลงทุนแกสวนราชการ
ทอ งถ่ิน รฐั วสิ าหกิจ เอกชน ในการจัดระบบบาํ บดั นํา้ เสยี อากาศเสีย และระบบกาํ จัดของเสีย

3. กองควบคมุ มลพิษ โดยคณะกรรมการควบคมุ มลพิษทําหนาท่ีเสนอแผนปฏิบัติการตอ
คณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ และกําหนดมาตรฐานมลพิษทางน้ํา มลพิษทางอากาศ และมลพิษ
ทางเสียง พรอ มเขาทาํ การปองกนั และแกไขอนั ตรายอันเกิดจากมลพษิ เหลา นนั้

4. ความรับผิดชอบของเจาของหรือผูครอบครองแหลงกําเนิดมลพิษทั้งทางแพงและ
ทางอาญา

กฎหมายเกยี วกบั การค้มุ ครองผ้บู ริโภค
กฎหมายวาดวยการคุมครองผบู รโิ ภคในปจจุบัน คอื พระราชบัญญัติคุมครองผบู ริโภค พ.ศ. 2522 และ
มีการแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 เปนกฎหมายท่ีใหความคุมครองและใหความเปนธรรมแก
ผูบริโภค ซึ่งบคุ คลที่กฎหมายคุมครองผบู รโิ ภค ไดแก บคุ คล 6 ประเภท ดงั นี้
1. ผูซ ้ือสนิ คาจากผูขาย
2. ผไู ดรบั การบริการจากผูขาย
3. ผเู ชาทรัพยส นิ จากผใู หเ ชา
4. ผเู ชา ซือ้ ทรพั ยส นิ จากผใู หเ ชา ซื้อ

51

5. ผูซึง่ ไดร ับการเสนอหรือไดรบั การชกั ชวนใหซ ื้อสินคา หรือรับบรกิ ารจากผูประกอบธุรกจิ
6. ผใู ชส ินคาหรอื ผไู ดรับบรกิ ารจากผปู ระกอบธรุ กิจโดยชอบ แมมิไดเปนผเู สียคา ตอบแทน
สิทธขิ องผ้บู ริโภคทีจะได้รับความค้มุ ครอง มีดังน้ี

 สทิ ธทิ ไ่ี ดรบั ขาวสาร รวมทั้งคําพรรณนาคุณภาพท่ีถูกตอง และเพียงพอกับสินคา
หรือบริการ

 สทิ ธทิ จ่ี ะมอี ิสระในการเลอื กหาสินคา หรือบริการ
 สทิ ธิที่จะไดร บั ความปลอดภยั จากการใชส ินคา หรอื บริการ
 สทิ ธจิ ะไดร ับความเปนธรรมในการทาํ สัญญา
 สทิ ธจิ ะไดร ับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย
จากสทิ ธขิ องผบู ริโภคน้ี กฎหมายไดวางหลักการคุมครองผูบ ริโภคไว 4 ดาน ไดแก
1. คุมครองดานโฆษณา คอื ผบู รโิ ภคมีสิทธิไดร ับขาวสารเก่ยี วกับสนิ คา
2. คุมครองดานฉลาก คือ ผูบ รโิ ภคมีสิทธแิ ละอิสระในการเลอื กซ้ือสนิ คาและบรกิ าร
3. คมุ ครองดานสญั ญา คอื ผูบรโิ ภคมีสิทธิไดรบั ความเปน ธรรมในการซื้อขายและทําสัญญา กรณี
การซือ้ ขายเปน ลายลักษณอกั ษรกบั ผูประกอบธุรกิจหรือผขู าย
4. คุมครองดานความเสียหาย ผูบริโภคมีสิทธิไดรับการชดเชย หากไดรับความเสียหายหรือ
อนั ตรายจากสินคา /บรกิ ารน้ัน ๆ
ซ่ึงผูบริโภคมีสิทธิจะไดรับการคุมครองโดยท่ี พ.ร.บ. คุมครองผูบริโภคไดจัดตั้งองคกร
เพ่อื คุม ครองผบู ริโภคข้ึน โดยมีคณะกรรมการคมุ ครองผบู ริโภคทําหนา ท่ีดําเนนิ การ

เรืองที กฎหมายอนื ๆ

กฎหมายอื่น ๆ ท่ีเกยี่ วขอ งกับชีวิตประจําวันท่ีควรศึกษา ท้ังนี้เพ่ือเปนการรักษาผลประโยชนท่ี
เราพึงมี หรือเปนการปองกันไมใหปฏิบัติตนผิดกฎหมายโดยรูเทาไมถึงการณได ซ่ึงไดแก กฎหมาย
ทสี่ ําคญั ดังตอ ไปน้ี

1. กฎหมายประกนั สังคม
กฎหมายประกันสังคม เปนกฎหมายท่ีใหหลักประกันแกบุคคลในสังคมที่มีปญหาหรือ

ความเดือดรอนทางดา นการเงนิ เนือ่ งจากการประสบเคราะห หรือมเี หตุการณอ นั ทาํ ใหเกิดปญ หา
ขอบเขตการบังคบั ใช้กฎหมายประกนั สังคม
ตาม พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 ท่ีใชบังคับอยูในปจจุบันไดกําหนดให

สถานประกอบกจิ การทม่ี ลี กู จางรวมกนั ตั้งแต 10 คน ขนึ้ ไป และนายจางของสถานประกอบกิจการนั้นตอง
อยภู ายใตข อบังคับของกฎหมายดงั กลา ว

ลกู จา งซ่งึ มฐี านะเปนประกันตน ก็คือ บุคคลที่สมคั รเขา ทาํ งานในสถานประกอบกิจการ
ท่ีมีลูกจางรวมกันต้ังแต 10 คน ขึ้นไป โดยกฎหมายประกันสังคมบังคับใหลูกจางดังกลาวตองจายเงิน

52

สมทบเขา กองทุนประกนั สังคม ซ่ึงนายจา งจะเปน ผูหกั เงนิ คา จางทุกครั้งท่ีมีการจายคาจาง และนําสงเขา
กองทนุ ประกันสังคม เปนเงนิ สมทบสว นของลกู จาง

*ปัจจบุ นั กฎหมายเปิ ดให้ใช้ได้ตงั แต่กจิ การทมี ลี ูกจ้างตงั แต่ คน ขึนไป แล้วแต่เจ้าของ
และลกู จ้างสมคั รใจ

ประโยชน์ทดแทน
ประโยชนทดแทน หมายถึง ความชวยเหลือที่ใหแกผูประกันตน หรือผูท่ีมีสิทธิ
เม่อื รบั ประกันตนประสบเคราะหภัยหรอื เดือดรอน และปฏิบัตติ ามเงื่อนไขทีก่ ฎหมายกาํ หนดแลว
รปู แบบของประโยชนทดแทน มี 4 รูปแบบ คือ
 บรกิ ารทางการแพทย
 เงินทดแทนการขาดรายได
 คา ทําศพ
 เงินสงเคราะห
2. กฎหมายเกยี วกบั ยาเสพตดิ
กฎหมายเก่ียวกับยาเสพติดที่บังคับใชในปจจุบันนี้ คือ พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ
พ.ศ. 2522
ความหมายของยาเสพตดิ
ยาเสพติดใหโ ทษ หมายถงึ สารเคมหี รอื วัตถุชนิดใด ๆ ซึ่งเม่ือเสพเขาสูรางกายไมวาจะ
โดยรบั ประทาน ดม สูบ ฉดี หรอื ดว ยวิธกี ารใดแลวกต็ าม ทําใหเกดิ ผลตอ รางกายและจติ ใจ เชน ตอ งการเสพ
ในปรมิ าณที่เพมิ่ ขนึ้ เลกิ เสพยาก สขุ ภาพทั่วไปจะทรดุ โทรม และบางรายถงึ แกชวี ิต
ประเภทของยาเสพตดิ
ยาเสพติดใหโทษ แบง ได 5 ประเภท คือ
 ประเภท 1 ยาเสพติดใหโ ทษชนิดรา ยแรง เชน เฮโรอีน
 ประเภท 2 ยาเสพตดิ ใหโ ทษท่วั ไป เชน มอรฟน โคเคน ฝน
 ประเภท 3 ยาเสพติดใหโทษที่มีลักษณะเปน ตํารับยา และยาเสพติดใหโทษ ประเภท 2

ผสมอยดู วย ตามหลักเกณฑทร่ี ัฐมนตรีประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
 ประเภท 4 สารเคมีท่ีใชในการผลติ ยาเสพติดใหโทษประเภท 1 หรือประเภท 2 เชน

อาเซตกิ แอนไฮโดรด อาเซตลิ คลอไรด
 ประเภท 5 ยาเสพติดใหโทษที่ไมไดเขาอยูในประเภท 1 ถึงประเภท 4 เชน กัญชา

พชื กระทอ ม
ความผดิ เกยี วกบั ยาเสพตดิ ให้โทษทผี ดิ กฎหมาย
1. ยาเสพติดประเภท 1 ไดแกค วามผดิ ดงั น้ี

 ฐานผลิต นาํ เขา สงออกเพอื่ การจําหนาย ตองระวางโทษประหารชีวติ

53

 ฐานจาํ หนา ยหรือมีไวในครอบครองเพ่ือการจําหนายเปนสารบริสุทธ์ิ ไมเกิน
100 กรัม ตองระวางโทษจําคุก 5 ป ถึงตลอดชีวิต และปรับต้ังแต 50,000 –
500,000 บาท ถา เกนิ 100 กรัม ตอ งระวางโทษจําคกุ ตลอดชีวติ หรือประหารชีวติ

 ถามไี วในครอบครองไมถ ึง 20 กรัม ตองระวางโทษจําคุกตั้งแต 1 – 10 ป และ
ปรับ 10,000 - 100,000 บาท

 ถา มีไวเสพตองระวางโทษจําคกุ ต้ังแต 6 เดือน ถึง 10 ป และปรับต้ังแต 5,000 -
100,000 บาท

2. ยาเสพติดใหโ ทษประเภท2 ไวใ นครอบครองโดยไมไ ดร บั อนุญาต ตอ งระวางโทษจาํ คกุ
ต้งั แต 1 - 10 ป และปรับต้งั แต 10,000 – 100,000 บาท

3. ยาเสพติดใหโทษประเภท 3 มีลักษณะเปนตํารับยา จึงอาจมีการขออนุญาตผลิต
จาํ หนาย หรอื นาํ เขา หรือสง ออกได

4. ยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท 4 และ 5 นน้ั อาจผลติ จาํ หนาย นาํ เขา สงออก หรือมีไวใน
ครอบครองได โดยรัฐมนตรีเปนผูอนุญาต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
เปนราย ๆ ไป

5. หา มเสพยาเสพตดิ ใหโทษประเภท 5 โดยเด็ดขาด หากฝา ฝนจะตองระวางโทษจําคุก
ไมเ กนิ 1 ป และปรับไมเกิน 10,000 บาท

3. กฎหมายค้มุ ครองแรงงาน
กฎหมายวาดว ยการคมุ ครองแรงงานของประเทศไทยปจจุบันน้ีคือ พระราชบัญญัติคุมครอง

แรงงาน พ.ศ. 2541 ซ่ึงถือไดวาเปนแมบทในการคุมครองแรงงาน บุคคลที่ไดรับการคุมครองจาก
กฎหมายฉบบั นี้ คือ “ลูกจา ง” ซงึ่ หมายความถึง ผซู งึ่ ตกลงทาํ งานใหน ายจางโดยรบั คา จา ง สาระสําคัญของ
พระราชบญั ญัตคิ ุม ครองแรงงานประกอบดว ย

 การคมุ ครองกําหนดเวลาในการทํางาน
 สิทธขิ องลูกจางในการพกั ผอนระหวา งทํางาน
 สทิ ธขิ องลกู จางในการมวี ันหยุด
 สทิ ธลิ าของลูกจา ง
 สทิ ธิไดรบั เงนิ ทดแทน
 การคมุ ครองการใชแ รงงานหญงิ
 การคมุ ครองการใชแรงงานเด็ก

54

เรืองที การปฏบิ ตั ติ นตามกฎหมาย และการรักษาสิทธิ เสรีภาพของตนในกรอบของกฎหมาย

ในฐานะพลเมอื งของประเทศ ซึง่ มกี ารปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง
เปนพระประมขุ ท่มี สี ิทธิ เสรีภาพ บทบาทหนาท่ี ตองปฏิบตั ิตนตามกรอบขอกําหนดของกฎหมายตาง ๆ
ทเี่ กี่ยวของดวยการใชสทิ ธติ ามกฎหมาย และตองรักษาปกปอ งสทิ ธขิ องตนเองและชุมชน เมือ่ ถกู ละเมดิ สิทธิ
หรือผลประโยชนอ ันชอบธรรมของตัวเองและชมุ ชน ซงึ่ การปฏบิ ตั ิตามกฎหมายดําเนนิ การได ดังนี้

1. เริม่ จากการปลูกฝงและประพฤติปฏิบัติตนตามกฎหมายท่ีเกี่ยวของกับตนเองและครอบครัว
เชน เมือ่ มีคน เกิด ตาย ในบานตอ งดาํ เนนิ การตามกฎหมายทะเบียนราษฎร จัดการใหก ารศกึ ษาแกบ ตุ ร หลาน
ตามกฎหมายการศึกษาภาคบังคบั ปฏบิ ตั ติ นใหถกู ตอ งตามกฎหมายการสมรส กฎหมายมรดก ฯลฯ

2. ในชมุ ชน/สังคม ตอ งปฏิบัตติ นใหเ หมาะสมกับการอยูในสังคมประชาธปิ ไตย ตามบทบาทหนาที่
โดยยดึ กฎหมายท่เี ก่ียวของ เชน การปฏบิ ัตติ ามกฎหมายสง เสรมิ และรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดลอม ไมทําลาย
ธรรมชาติ เผาปา สรางมลพิษใหแ กผอู ่นื เคารพสทิ ธิของตน ไมล ะเลยเมอ่ื เห็นผอู น่ื ในชมุ ชน/สงั คมกระทําผิด
ดว ยการตกั เตือน ชี้แจง ใหความรวมมือในการปฏิบัติตามกฎหมายคุมครองผูบริโภค กฎหมายแรงงาน
กฎหมายจราจร ฯลฯ
การรักษาสิทธติ ามกรอบของกฎหมาย

กฎหมายใหสิทธิแกบุคคลหรือหนวยงานสามารถเรียกรองปองกัน เพื่อรักษาสิทธิของตนที่ถูก
บุคคลหรือหนวยงาน ไมวาจะเปนหนวยงานของเอกชนหรือรัฐมาละเมิดสิทธิของบุคคลหรือชุมชน
โดยใหเปนหนาท่ีของบุคคล องคกร และผูเกี่ยวของทําหนาท่ีรวมกันในการเรียกรองเพื่อรักษาสิทธิ
ผลประโยชนท ีถ่ ูกละเมิด ซง่ึ การละเมดิ สทิ ธิ มี 2 กรณี ดังนี้

1. การละเมิดสทิ ธิ/ผลประโยชนสว นบคุ คล กรณีตัวอยาง นักศึกษาสาวไปเดินหางสรรพสินคาถูก
ผไู มป ระสงคด ีแอบถายภาพขณะเดินลงบันไดเลื่อน แลวนําไปเผยแพรหรือไปไวเอง ผูเสียหายสามารถ
แจง ความใหเจา หนาทต่ี าํ รวจดําเนินคดีตามกฎหมายแกผ ูไมประสงคดีได

2. การละเมิดสทิ ธ/ิ ผลประโยชนข องชุมชน กรณีตัวอยาง หนวยงานการไฟฟาฝายผลิตไดถูกรัฐ
จัดการแปรรปู ใหเปน บริษัทเอกชน มกี ารซือ้ ขายหุนมงุ เก็งกําไร ทําใหป ระชาชนเสยี ประโยชน ท้ัง ๆ ท่ไี ฟฟา
จัดเปน สาธารณปู โภคที่รฐั พงึ จดั ใหบ ริการแกประชาชน ไมค วรมงุ การคากาํ ไร ซ่งึ ตอมามคี ณะบุคคลทเี่ ปน
วุฒิสมาชิก (ส.ว.) ไดดําเนินการฟองรองไปยังศาลปกครอง เรียกรองสิทธิ/ผลประโยชนในเรื่องนี้ใหแก
ประชาชน และในท่ีสุดศาลก็ไดตัดสินใจใหรัฐเปนผูแพ ผลประโยชนจึงไดกลับคืนมาสูประชาชน คือ
การไฟฟาฝา ยผลติ กลบั มาเปนรัฐวิสาหกจิ อยูในการกาํ กับของรัฐ

กรณีตัวอยางนี้ ทําใหเห็นวาการมีความรูความเขาใจในเรื่องกฎหมาย เขาถึงสิทธิอันชอบธรรม
ที่ควรได/มีตามกฎหมาย บคุ คลหรอื องคกร และผูเก่ียวของสามารถดําเนินการเรียกรอง ปกปอง รักษาสิทธิ
และผลประโยชนของตนและสวนรวมได

55

กิจกรรมที ให้ผ้เู รียนเลอื กคาํ ตอบทถี ูกต้อง

1. ความหมายคําวา “ประชาธปิ ไตย” ตรงกับขอใด

ก. ประชาชนเปน ใหญในประเทศ
ข. ระบอบการปกครองท่ถี อื มติของปวงชนเปนใหญ หรือการถือเสียงขา งมากเปนใหญ
ค. การปกครองที่ยดึ หลกั สิทธิเสรีภาพ
ง. การปกครองท่ีมี 3 อํานาจ
2. การใชช ีวิตประชาธปิ ไตยตอ งเร่ิมตน ท่ใี ดเปนแหงแรก
ก. ครอบครัว ข. โรงเรยี น
ค. ไปใชส ิทธเิ ลือกต้งั ง. การเลือกตั้งผูใ หญบาน
3. หลักสาํ คญั ในการประชมุ รวมกันคอื อะไร
ก. รกั ษาระเบยี บ ข. มีสวนรวมในการจดั ประชมุ
ค. ยอมรับฟง ความคดิ เหน็ ผูอื่น ง. เคารพกฎกติกา
4. สถานภาพการสมรสไดแกข อ ใด
ก. โสด ข. สมรส
ค. หมา ย ง. ถกู ทุกขอ
5. ขอตอ ไปนข้ี อใดหมายถงึ “หนา ทข่ี องปวงชนชาวไทย”
ก. ชาวไทยมหี นา ที่เกณฑทหาร เมอ่ื อายคุ รบ 20 ป
ข. หนาที่เลอื กตง้ั ผูแ ทนราษฎร
ค. หนา ท่ีทะนุบาํ รุงศาสนา
ง. หนา ที่รักษาสถาบันทกุ สถาบนั

6. เม่ือมคี นตายเกดิ ขนึ้ ในบาน ใหแ จง การตายภายในเวลาเทาใด
ก. 24 ชัว่ โมง ข. 2 วนั
ค. 3 วนั ง. 7 วนั
7. อาชีพลกู จา งอยใู นความคมุ ครองของกฎหมายใด
ก. กฎหมายแพง ข. กฎหมายอาญา
ค. กฎหมายครอบครวั ง. กฎหมายประกันสังคม
8. โทษสูงสดุ เกีย่ วกับคดียาเสพติด คืออะไร
ก. จําคกุ 20 ป ข. จาํ คกุ 20 ป ทง้ั จําทงั้ ปรับ
ค. จําคกุ ตลอดชวี ติ ง. ประหารชีวิต

56

9. ผูใดขาดคณุ สมบัติในการสมคั รเลอื กตงั้ เปนสมาชิกสภาผูแ ทนราษฎร
ก. นายแดงจบการศกึ ษาระดับปริญญาตรี
ข. นายแดงไมไ ปเลอื กต้ังทกุ คร้ัง
ค. นายเขียวไปเลอื กตัง้ ทกุ ครงั้
ง. นายเขียวสังกดั พรรคการเมือง
10. ประเทศไทยปกครองระบอบประชาธปิ ไตยตงั้ แตป พ.ศ. อะไร
ก. 2455 ค. 2465
ค. 2475 ง. 2485

กจิ กรรมที ให้ผ้เู รียนศึกษากรณตี วั อย่างอปุ สรรคการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยของไทย

แล้วนํามาแลกเปลยี นเรียนรู้

57

เรอื่ งที่ 10 การมีสวนรวมในการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ

สังคมไทยใหความสําคัญกับเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ความซ่ือสัตยสุจริตมาต้ังแต
โบราณจนถึงปจจุบัน มีสุภาษิตและคําพังเพยท่ีคนไทยใชสอนลูกหลานใหเปนคนดี มีความซ่ือสัตย
ไมคดโกงผอู ่ืนใหไดยนิ เสมอมา เชน “ซอ่ื กนิ ไมหมด คดกนิ ไมนาน” “คนดีตกนํา้ ไมไ หล ตกไฟไมไ หม”
“ทาํ ดีไดด ี ทําชวั่ ไดชั่ว” “ทาํ ดีจะไดขน้ึ สวรรค ทําช่วั จะตกนรก” เปน ตน

กระแสโลกาภิวัตนท่ีกําลังแพรระบาดทั่วโลกรวมท้ังการไหลบาของสังคมและ
วัฒนธรรมนานาชาตทิ ไ่ี มสามารถหยดุ ยงั้ ได ประกอบกับการพัฒนาอยา งรวดเร็วของโครงสรา งเศรษฐกิจ
ทเ่ี จริญเติบโตอยางรวดเรว็ สูภาคอุตสาหกรรม และการทอ งเทยี่ ว สงผลใหประชาชนคนไทยถูกชักนําให
หลงใหลไปสกู ารเปน นักวตั ถุนิยม ตดิ ยดึ อยกู บั วัฒนธรรมสมัยใหมทเี่ ปน ทาสของเงิน ความมัง่ ค่งั มหี นามตี า
ในสังคม ยกยองคนรวยมีอํานาจวาสนาโดยไมคํานึงถึงความเปนคนดีมีคุณธรรมและภูมิปญญา ทุมเท
ใหก บั ความฟุงเฟอ ฟมุ เฟอย สุรุยสุรา ย ไมเหน็ ความสาํ คญั ของครอบครัว และสายใยผูกพันในครอบครัว
เหมือนเดมิ มกี ารชงิ ดชี ิงเดนกนั รุนแรงทง้ั ในการทํางาน การดาํ รงชวี ติ ในชมุ ชน ตลอดถงึ การเรยี นของเด็ก
และเยาวชน ความเอ้ือเฟอเผื่อแผ ความเมตตาอารี การชวยเหลือเก้ือกูล สมัครสมานสามัคคี การพ่ึงพา
อาศัยระหวางผูคน เพ่ือนบานในชุมชน และศรัทธาในพระศาสนาท่ีบรรพบุรุษเคยนับถือ เกือบไมมี
ปรากฏใหเ หน็ ในวิธีการดํารงชีวิต พฤติกรรมท่ีเปนปญหาเหลานี้หลายคร้ังกลายเปนเร่ืองท่ีนิยมยกยอง
ในสังคม เชน พอ แม ผูมีฐานะดีบางคนสงเสริมใหล กู หลานเท่ยี วเตรกอ ความวนุ วายแกส งั คม เชน ต้ังกลุม
เด็กแวน กลุมเด็กตีกัน เปนตน หรือในภาคสวนของผูบริหารและนักการเมืองบางกลุมท่ีมีพฤติกรรม
ไมถูกตองแตกลับไดรับการยกยองเชิดชูในสังคม เชน ผูที่มีอํานาจออกกฎหมายหรือโครงการเพื่อ
ประโยชนของสงั คมสว นรวม แตเบื้องหลังกลับพบวา กฎหมายหรือโครงการเหลาน้ันไดมีการวางแผน
ใหญ าตพิ ี่นองหรือพรรคพวกของตนมีโอกาสไดประโยชนมหาศาลท่ีเรียกกันวา ผลประโยชนทับซอน
เปนท่ีประจักษในปจจุบัน พฤติกรรมเหลาน้ีเกิดข้ึนบอยคร้ังและทวีความรุนแรงข้ึนทุกทีสงผลใหเกิด
ปญหาทุจริตประพฤติมิชอบซึ่งเปนปญหาใหญและมีความสําคัญย่ิงตออนาคตของชาติบานเมืองท่ีตอง
ไดรบั การแกไขเยียวยาโดยดวนทุกระดับและทุกภาคสวนของสังคม เปนเร่ืองที่ประชาชนจะตองรูเทา
รทู ัน มจี ิตสํานกึ และมสี วนรวมท่จี ะปองกัน แกไข ขจัดปญหาการทุจริตประพฤติมิชอบเหลานี้ใหลดลง
และหมดไป

สาํ นกั งานปองกันและปราบปรามการทุจรติ แหงชาติ (ป.ป.ช.) ซ่ึงมีอํานาจหนาท่ีในการ
ปองกันและปราบปรามการทุจริตตามขอกําหนดของกฎหมายรัฐธรรมนูญไดกําหนดยุทธศาสตรและ
มาตรการในการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ โดยใหประชาชนทุกภาคสวนมีสวนรวมในการเขาไป
มีบทบาทในฐานะเปน สว นหนง่ึ ของผูดําเนนิ การในกจิ กรรมตาง ๆ โดยตองมีการวางระบบที่เปดโอกาส
ใหประชาชนมีความกลาในการแสดงความคิดเห็น และกลาในการตัดสินใจโดยอยูในกรอบของ
การเคารพสิทธ์ิของผูอื่น และสนับสนุนใหประชาชนรวมกันทํางานเปนเครือขายเพ่ือใหเกิดพลังสราง
ความเขม แขง็ เช่อื มโยงกันทั้งระดับบุคคลและระดับองคกรเปนอันหนึ่งอันเดียวกันโดยมีผลประโยชน

58

ของสังคมเปน ท่ีตง้ั ในการสนบั สนนุ สง เสรมิ ใหป ระชาชนมสี วนรวมในการตอ ตานการทุจริตคอรรัปช่ัน
น้ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดก าํ หนดมาตรการเพ่อื การปฏิบตั ริ วมกนั ไวด งั นี้

1. สรางความตระหนักใหป ระชาชนมีสว นรวมในการตอตา นการทจุ รติ

1.1 ปลูกจิตสํานึกและคานิยมการมีคุณธรรมจริยธรรมและการมีวินัยแกประชาชน
ทุกภาคสวน สงเสริมการดํารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สงเสริมใหใชการศึกษาเปน
เครือ่ งมือในการปลูกจติ สํานึกนักเรยี น นักศึกษา เยาวชน และประชาชน อยา งตอเนื่อง

1.2 สงเสรมิ สนับสนุนใหความเขมแข็งแกเครือขายการมีสวนรวมขององคกรตาง ๆ
โดยเนนการประชาสัมพันธ การสรางขวัญและกําลังใจ การสงเสริมขอมูล และทักษะการทํางานดาน
กฎหมาย การขยายเครอื ขา ย การปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ ใหก ระจายลงไปถึงระดบั รากหญา

1.3 สงเสริมความเปนอิสระและมีประสิทธิภาพแกองคกรที่มีหนาท่ีตรวจสอบ
การทุจริตโดยเฉพาะสํานักงาน ป.ป.ช. ใหมีการถวงดุลอํานาจจากภาครัฐท่ีเก่ียวของทุกระดับโดย
ปราศจากการแทรกแซงของอทิ ธิพลจากภาคการเมือง และภาคธุรกจิ ราชการ

1.4 สง เสริมการสรา งมาตรฐานจรรยาบรรณวชิ าชพี แกบ คุ ลากรท่เี ก่ยี วของเพื่อใหเปน
ที่ยอมรบั และมน่ั ใจขององคกรเครอื ขา ย

2. สรา งความเขา ใจท่ถี ูกตองในเรอื่ งกฎหมายท่ีเก่ียวขอ งกับการปองกันและปราบปราม
การทจุ รติ คอรปั ชั่น มกี ฎหมายท่ีเปน หลัก เชน

2.1 รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 87 (3) ท่ีกําหนดให
ประชาชนมบี ทบาทและมสี ว นรวมในกาตรวจสอบการใชอาํ นาจรัฐอยา งเปนรูปธรรม

2.2 พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญวา ดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต
พทุ ธศักราช 2542 (ฉบบั ที่ 2) พทุ ธศกั ราช 2554 มาตรา 19 (13) กําหนดใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหนาท่ี
สงเสรมิ ใหประชาชนหรอื กลมุ บุคคลมีสวนรวมในการปองกันและปราบปราม ทงั้ นีม้ ีรายละเอียดท่ีสามารถ
ศึกษาคนควา ไดจาก www.nacc.go.th (เวบ็ ไซตของ ป.ป.ช.)

3. กระตุนจติ สํานึกการมสี วนรว มในการปองกันและปราบปรามการทุจรติ

เพือ่ ใหผ เู รียนเกิดความเขาใจ ตระหนักและมีจิตสํานึกในการมีสวนรวม ท่ีจะปองกัน
การทจุ ริตประพฤติมิชอบในชุมชน และสงั คม หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พทุ ธศักราช 2551 จึงไดกําหนดแนวทางการเรียนรู ในรูปแบบกรณีศึกษา ใหผูเรียนไดฝกทักษะการคิด
วเิ คราะห การมีสวนรวมในการแกป ญหาการทจุ ริตรปู แบบตา ง ๆ ดวยเจตนาท่ีจะใหผ เู รยี นสามารถนําไป
เปนแนวทางในการปฏิบัติ เพื่อประโยชนตอตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม จนเกิดการพัฒนา
จิตสํานึกในการมีสวนรวมปองกันและปราบปรามการทุจริตได กิจกรรมท้ังหมดประกอบดวย
6 กรณศี กึ ษา ไดแก

1. เร่ือง “ใตโ ตะ หรอื บนโตะ”
2. เรื่อง “ทจุ รติ ” หรอื “คดิ ไมซอ่ื ”

59

3. เร่ือง “เจาบ๊กิ ...เปนเหต”ุ
4. เรื่อง “ฮั้ว”
5. เรื่อง “อาํ นาจ... ผลประโยชน”
6. เรอ่ื ง “เลอื กตัง้ ...อปั ยศ”
ท้ังนี้ผูเรียนและผูสอนจะตองรวมมือกันนําขอมูลทั้งดาน วิชาการ ระเบียบ กฎหมาย ท่ีไดมีการสรุป
รวบรวมไวใ นเอกสาร คูม ือการจดั กจิ กรรมการเรียนรู เรอ่ื ง การมีสวนรวมของประชาชนในการปองกัน
และปราบปรามการทุจริต รวมกับขอมูลปญหาความตองการสภาพแวดลอม ของชุมชนทองถ่ิน และ
คุณธรรม จริยธรรม ทต่ี นเองมอี ยูมาตดั สนิ ใจแกปญหาตา ง ๆ ใหลุลว งไปไดอ ยางเหมาะสมตอ ไป

60

กรณศี ึกษาเรอ่ื งท่ี 1
เรื่อง “ใตโ ตะ หรอื บนโตะ ”
วตั ถุประสงค
1. บอกคุณธรรมในการปฏิบตั ิงานได
2. บอกวธิ ีการปอ งกนั การทุจริตในการปฏิบตั ิงานได
3. เกิดจิตสํานึกในการปองกันการทุจริต
เน้อื หาสาระ
1. พระราชบัญญตั ิจราจรทางบก ฉบบั 8 พ.ศ. 2551
2. คุณธรรม จริยธรรมของผูป ฏบิ ัตงิ าน

กรณศี กึ ษา
นายนภดล ขับรถกระบะจากบานพักไปโรงพยาบาลในกรุงเทพ เพ่ือไปเยี่ยมแมท่ี
ประสบอุบัตเิ หตุ อาการเปนตายเทา กันอยูในหอ ง ICU ขณะขับรถผา นส่แี ยกไฟแดง ดวยความรอ นใจและ
เห็นวาไมมีรถอน่ื ในบรเิ วณนั้นเลย ทาํ ใหน ายนภดลตัดสินใจขบั รถฝา ไฟแดง ตํารวจที่อยูบริเวณน้ันเรียก
ใหห ยดุ และขอตรวจใบขับขี่ นายนภดลจงึ ไดแอบสง เงินจํานวนหน่ึงใหแกตํารวจ เพื่อจะไดไมเสียเวลา
ใหต ํารวจเขียนใบสั่งและตอ งไปจายคา ปรับท่ีสถานีตาํ รวจ หลังจากน้ันตํารวจไดปลอ ยนายนภดลไป
ประเด็น
1. ทานคิดวาการที่นายนภดลขับรถผาไฟแดงดวยเหตุผลเพ่ือจะรีบไปเย่ียมแมท่ีประสบ
อุบัติเหตอุ ยใู นหอ ง ICU เปน การปฏบิ ตั ิท่ถี ูกตองหรอื ไม เพราะอะไร
2. ถาทานเปนนายนภดล จะมวี ิธปี ฏบิ ัตอิ ยา งไรในกรณีดังกลาวใหถูกตองตามกฎหมาย หนาท่ี
พลเมืองและคณุ ธรรมจริยธรรม
3. ตํารวจท่ีรับเงินที่นายนภดลแอบให เพื่อที่จะไมตองเสียคาปรับ ไดช่ือวาเปนการกระทํา
ท่ีทจุ ริตผิดกฎหมาย หรอื คอรรัปชน่ั อยางไร
4. ในฐานะที่เปนประชาชน ทานคิดวา จะมีสวนหรือมีบทบาทในการปองกันพฤติกรรม
ทีเ่ กิดข้ึนไดห รือไม อยางไร
ใบความรู
เรื่อง พระราชบญั ญัติจราจรทางบก ฉบับ 8 พ.ศ. 2551

61

ใบงาน
1. ใหผ เู รียนศกึ ษากรณีศึกษา
2. แบงกลมุ อภปิ ราย แสดงความคิดเห็น ตามประเด็นทก่ี าํ หนดให
3. ใหผ ูสอนและผูเ รยี นรว มกันศึกษาหาขอมูลประกอบการอภปิ รายหาเหตุผล
4. ใหผสู อนและผูเรยี นสรุปแนวคิดทไ่ี ดจ ากการอภิปรายรว มกนั
5. ใหผเู รยี นรวมทํากิจกรรมการเรยี นรตู อ เน่ือง พรอ มสรุปรายงานผล

กิจกรรมการเรยี นรูตอเนอ่ื ง
1. ใหผูเรียนสมั ภาษณประชาชนท่ัวไปและตาํ รวจ ทั้งรายบคุ คลและชมุ ชน (กลุม ) ถงึ ความคิดเห็น
ความรูสึก เจตคตทิ ีเ่ กี่ยวขอ งกบั ปญ หาเหลา นี้ ตลอดจนถงึ วธิ ีแกไ ข แลว ทาํ เปนรายงานเสนอ
ผูสอน
2. ใหผเู รียนตัดขาวหนังสอื พมิ พใ นเรอ่ื งดงั กลา ว และเสนอแนวทางแกไขทําเปนรายงานเสนอ
ผูสอน
3. สรุปขา วโทรทศั นปญหาทจุ รติ ขาดคณุ ธรรม พรอ มเสนอทางออกในการแกไ ขปญหาน้ัน ๆ

สื่อ/แหลงคนควา
1. สาํ นกั งาน ป.ป.ช. ประจาํ จงั หวดั
2. ส่ือ Internet
3. หนังสอื พิมพ
4. โทรทัศน

62

ใบความรู
พระราชบญั ญัตจิ ราจรทางบก ไดมกี ารแกไข ปรับเปลย่ี น และยกเลกิ บางขอกําหนดแลว
ทงั้ หมด 8 ฉบบั และฉบบั ลาสดุ คอื พระราชบญั ญัตจิ ราจรทางบก ฉบับ 8 พ.ศ. 2551 ไดก าํ หนดอัตรา
ความเร็วของยานพาหนะ ดงั รายละเอียดตอ ไปน้ี
อตั ราความเร็วของยานพาหนะตามพระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบก ฉบับ 8 พ.ศ. 2551
ในกรณีปกตใิ หก ําหนดความเรว็ ของรถดังตอ ไปนี้
1. สําหรบั รถบรรทกุ ทีม่ ีน้าํ หนกั รถรวมท้ังนา้ํ หนกั บรรทกุ เกิน 1,200 กโิ ลกรัมหรือรถบรรทกุ
คนโดยสาร ใหข ับในเขตกรุงเทพมหานคร เขตเมอื งพัทยา หรอื เขตเทศบาลไมเกนิ
60 กิโลเมตรตอ ชวั่ โมง หรือนอกเขตดังกลาวใหขบั ไมเกิน 60 กโิ ลเมตรตอ ชวั่ โมง
2. สําหรบั รถยนตอืน่ นอกจากรถทร่ี ะบุไวใ น 1 ขณะท่ีลากจงู รถพว งรถยนตบ รรทกุ ท่ีมีนํ้าหนกั
รถรวมทงั้ น้าํ หนกั บรรทกุ เกิน1,200 กโิ ลกรมั หรือรถยนตส ามลอ ใหขับในเขต
กรงุ เทพมหานคร เขตเมืองพัทยา หรือเขตเทศบาล ไมเ กนิ 45 กโิ ลเมตรตอช่วั โมง หรือ
นอกเขตดงั กลาวใหขบั ไมเกิน 60 กโิ ลเมตรตอ ชว่ั โมง
3. สําหรบั รถยนตอ ่ืนนอกจากรถที่ระบุไวใน 1 หรือ 2 หรือรถจักรยานยนต ใหขับในเขต
กรงุ เทพมหานคร เขตเมอื งพทั ยา หรือเขตเทศบาล ไมเกนิ 80 กิโลเมตรตอช่วั โมง หรอื
นอกเขตดงั กลา วใหข ับไมเ กนิ 90 กิโลเมตรตอชวั่ โมง
ในเขตทางท่มี เี ครือ่ งหมายจราจรแสดงวา เปน เขตอนั ตรายหรอื เขตใหข ับรถชา ๆ ใหล ด
ความเร็วลงและเพ่มิ ความระมัดระวงั ขน้ึ ตามสมควร
ในกรณีท่มี ีเครื่องหมายจราจรกําหนดอตั ราความเรว็ ตาํ่ กวาทกี่ าํ หนดในขา งตน ใหข บั ไมเกนิ
อตั ราความเรว็ ทีก่ ําหนดไวน น้ั
ขอหาหรอื ฐานความผิดตามกฎหมายท่คี วรทราบ
ขอ หา ฐานความผดิ บทมาตรา และอัตราโทษ ตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ. 2522 (แกไขเพ่ิมเติม
ถึง พ.ศ. 2538) และการเปรียบเทียบปรับผกู ระทําผิดน้ัน ใหเ ปนไปตามขอกาํ หนดของสาํ นักงานตํารวจแหง ชาติ
(กรมตํารวจ) ฉบบั ท่ี 3 ลงวันท่ี 9 ก.ค. 40 และเพม่ิ เติมฉบบั ท่ี 4 ลงวนั ท่ี 3 ธ.ค. 2540 ตามลําดบั

63

ลําดบั ขอ หาหรือฐานความผิด อัตราโทษ อตั ราตาม
ขอกําหนด

1 นํารถที่ไมม ่นั คงแข็งแรงอาจเกิดอนั ตรายหรือ ปรบั ไมเ กนิ 500 บาท ปรับ 200 บาท
ทาํ ใหเสือ่ มเสยี สุขภาพอนามยั มาใชใ น
ทางเดินรถ

2 นํารถทไ่ี มตดิ แผนปายทะเบยี นมาใชใ น ปรับไมเกนิ 1,000 บาท ปรับ 300 บาท
ทางเดินรถ

3 นํารถทเี่ คร่อื งยนตก อ ใหเกดิ กา ซ ฝุน ควนั ปรบั ไมเกิน 1,000 บาท ปรับ 500 บาท
ละอองเคมี เกนิ เกณฑท อี่ ธิบดกี ําหนดมาใชใน
ทางเดนิ รถ

4 นาํ รถทเี่ ครือ่ งยนตก อใหเ กดิ เสยี งเกนิ เกณฑท ่ี ปรบั ไมเ กิน 1,000 บาท ปรับ 500 บาท
อธบิ ดีกาํ หนดมาใช ในทางเดินรถ

5 ขับรถในทางไมเ ปด ไฟ หรอื ใชแสงสวางใน ปรับไมเกิน 1,000 บาท ปรบั 200 บาท
เวลาท่มี แี สงสวางไมเพยี งพอทจ่ี ะมองเห็นคน
รถ หรอื สิ่งกดี ขวาง ในทางไดโ ดยชดั แจง
ภายในระยะ 150 เมตร

6 ใชสญั ญาณไฟวับวาบผดิ เง่อื นไขทอ่ี ธบิ ดี ปรับไมเกิน 500 บาท ปรับ 300 บาท
กําหนด

7 ขบั รถบรรทุกของย่ืนเกนิ ความยาวของตวั รถใน ปรับไมเ กนิ 1,000 บาท ปรบั 300 บาท
ทางเดนิ รถไมต ดิ ธงสีแดง ไวต อนปลายสดุ ให
มองเหน็ ไดภายในระยะ 150 เมตร

8 ขบั รถบรรทุกวัตถุระเบิด หรือ วตั ถอุ ันตรายไม จําคุกไมเกิน 1 เดอื น หรอื ปรับ 300 บาท
จดั ใหม ีปายแสดงถงึ วตั ถุ ทบี่ รรทกุ ปรับไมเ กิน 2,000 บาท
หรือท้ังจําท้ังปรบั

9 ขบั รถไมจดั ใหมีส่ิงปองกันมใิ หคน สตั ว หรอื ปรบั ไมเกิน 500 บาท ปรบั 200 บาท
สง่ิ ของทบ่ี รรทุก ตกหลน รั่วไหล สง กลน่ิ สอ ง
แสงสะทอ น หรือปลิวไปจาก รถอนั อาจกอเหตุ
เดอื ดรอ นรําคาญ ทําใหท างสกปรกเปรอะเปอน
ทาํ ใหเ ส่ือมเสียสขุ ภาพ อนามัย แกประชาชน
หรอื กอใหเกดิ อันตรายแกบ ุคคลหรือทรัพยสนิ

64

ลําดบั ขอ หาหรอื ฐานความผิด อตั ราโทษ อตั ราตาม
ขอ กําหนด
10 ขบั รถไมปฏบิ ัติตามสัญญาณจราจร หรือ ปรบั ไมเกิน 1,000 บาท ปรับ 300 บาท
เครื่องหมายจราจรทไ่ี ดติดต้ังไวห รอื ทําให
ปรากฏ ในทาง หรอื ทพี่ นกั งานเจาหนาท่แี สดง ปรับ 300 บาท
ใหทราบ ปรับ 300 บาท

11 ขบั รถฝา ฝน สญั ญาณไฟแดง ปรบั ไมเ กนิ 1,000 บาท

12 ไมห ยดุ รถหลงั เสน ใหร ถหยดุ เม่ือมีสัญญาณ ปรบั ไมเ กนิ 1,000 บาท
ไฟแดง

65












































Click to View FlipBook Version