ร
องคก์ ารสนธสิ ญั ญาแอตแลนตกิ เหนือ
(North Atlantic Treaty Organisation )
31 ธันวาคม
ชอื่ บรษิ ทั
แตง่ โดยโ:รชงอื่เรขยี อนงคถุณาวรานุกลู อาเภอเมอื ง จงั หวดั สมุทรสงคราม
สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสมทุ รสาคร สมุทรสงคราม
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
1
2
หนงั สือไฮเปอร์ลงิ ค์อิเลก็ ทรกนกิ สบ์ ุ๊ค (hyperlink E-Book)
เรือ่ ง องค์การสนธิสัญญาแอตแลนตืกเหนอื หรอื นาโท
(north atlantic teraty organisation)
โดย
นายชยพล ปิตวิ ุฒุ เลขท่ี 3
นายจิรายุส เล็กสาคร เลขที่ 4
นายราเชน นิโครธานนท์ เลขท่ี 9
โรงเรียนถาวรานุกลู อำเภอเมอื ง จังหวดั สมุทรสงคราม
สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสมทุ รสาคร สมุทรสงคราม
สำนกั งานคณะกรรมการการศกุ ษาขั้นพืน้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
3
คำนำ
หนงั สือเล่มนี้ (e-book) เปน็ ส่วนหนง่ึ ของวิชา เหตกุ ารณ์ในปจั จุบัน
(ส 33203) เป็นหนังสอื ประกอบการนำเสนอความรู้ เก่ยี วกับเร่ือง องค์การ
สนธสิ ญั ญาแอตแลนติกเหนือ หรือ นาโต้ ซง่ึ เปน็ ประโยชน์ตอ่ ผอู้ ่าน ทก่ี ำลังสนใจ
ศึกษาหาความรู้เก่ียวกับ องค์การสนธสิ ัญญาแอตแลนติกเหนอื
พวกกระผมทุกคนหวังวา่ หนงั สือเลม่ นี้ (e-book) จะทำใหท้ กุ ท่านเห็นถงึ
ความตงั้ ใจในศึกษาหาความรู้มาประกอบเปน็ หนังสอื เลม่ น้ี (e-book) หากเกดิ
ข้อผิดพลาดประการใดพวกกระผมทกุ คนตอ้ งขออภัย ณ ทนี่ ้ดี ้วย
นายชยพล ปติ ิวฒุ ุ เลขท่ี 3
นายจริ ายสุ เลก็ สาคร เลขที่ 4
นายราเชน นิโครธานนท์ เลขท่ี 9
ผจู้ ัดทำ
4
สารบัญ
หนว่ ยที่ 1 ประวตั ิขององค์การสนธิสญั ญาแอตแลนตกิ …………………………………6
จดุ เร่ิมต้น…………………………………………………………………………………….7
สงครามเย็น…………………………………………………………………………………8
ปฏิบตั ิการทางทหาร………………………………………………………………………9
หน่วยที่ 2 โครงสร้างขององค์การสนธสิ ัญญาแอตแลนติกเหนอื …………………….11
องคก์ รฝา่ ยพลเรือน…………………………………………………………………..….12
องคก์ รฝา่ ยทหาร…………………………………………………………………….……13
บรรณานกุ รม………………………………………………………………………………………16
ประวัติผู้เรียบเรยี ง
นายชยพล ปิตวิ ฒุ ิ………………………………………………………………….…….17
นายจิรายุส เล็กสาคร……………………………………………………………………18
นายราเชน นิโครธานนท์………………………………………………………….……19
5
หนว่ ยท่ี 1
ประวัติขององคก์ ารสนธสิ ัญญา
แอตแลนตกิ เหนอื
6
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 ประวตั ิขององค์การสนธสิ ัญญาแอตแลนติกเหนือ
1.1 จุดเริม่ ตน้
จากการลงนามในสนธิสญั ญากรุงบรสั เซลส์ เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.
2491 โดยมเี บลเยยี ม เนเธอรแ์ ลนด์ ลกั เซมเบิร์ก ฝร่งั เศส และสหราชอาณาจกั ร
นน้ั ถือเป็นการเรม่ิ ต้นขององคก์ ารสนธสิ ัญญาแอตแลนตกิ เหนือ ซึ่งสนธสิ ัญญาน้ี
และเหตกุ ารณก์ ารปดิ กนั้ เบอร์ลินของโซเวยี ต ทำให้มกี ารก่อต้ังองคก์ รปอ้ งกัน
สหภาพยุโรปตะวันตก (WEU) ในเดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2491 และด้วยการ
สนับสนนุ อย่างดีจากพนั ธมติ รสำคัญคือสหรัฐอเมรกิ าที่ตอ้ งการถว่ งดุลอำนาจทาง
การทหารกับสหภาพโซเวียต ทำใหพ้ ันธมิตรทางทหารท่ีกอ่ ตงั้ ขึ้นมาใหม่นีเ้ รมิ่ เป็น
รปู เป็นรา่ ง
ภาพที่ 1
จุดเรมิ่ ตน้ ขององคก์ ารสนธิสญั ญาแอตแลนติกเหนอื ทีม่ า : https://tuemaster.com
7
การเร่มิ ต้นสนธสิ ัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนอื อย่างเป็นทางการ เกดิ ขนึ้
เม่อื มีการลงนามในวอซิงตันดซี ี วันที่ 4 เมษายน พ.ศ.2492 โดยได้มรี วมสนธิท้งั
ห้าของบรสั เซลส์ไว้ดว้ ยกัน
โดยสมาชกิ ทร่ี ว่ มก่อต้งั ในครัง้ แรก คือ สหรฐั อเมรกิ า แคนาดา โปรตุเกส
อิตาลิ นอร์เวย์ เดนมาร์ก ไอซแ์ ลนด์ โดยมเี สยี งสนบั สนุนในการก่อตงั้ ไม่เปน็
เอกฉันท์
1.2 สงครามเย็น
หลงั จากที่สงครามเย็นสน้ิ สดุ ลง เนโทไดม้ กี ารปรับเปล่ยี นนโยบายในหลายๆ
ดา้ น เพอ่ื ให้สอดคล้องกบั การเปล่ียนแปลงในยุโรปกลางและยโุ รปตะวันออก
1. ใหค้ วามสำคัญแก่ปฏิบตั กิ ารรักษาสันติภาพ ไดแ้ ก่ การสร้างความเขา้ ใจ
ในกระบวนการรกั ษาสนั ตภิ าพ การสรา้ งความรว่ มมือ และการสรา้ งความสพั ันธ์
กับองคก์ ารสหประชาชาติ และองคก์ ารว่าด้วยความมนั่ คงและความรว่ มมอื ใน
ยุโรป
2. หาแนวทางท่ีจะสง่ เสริมความสัมพนั ธ์กบั รศั เซีย โดยมงุ่ เน้นให้รัสเซยี มี
บทบาทสำคัญและสรา้ งสรรค์ในการสร้างเสรียรภาพในยุโรป
8
3.มีการปรบั บทบาททางการทหารให้เอื้อต่อสภาพความเปน็ อย่ทู ี่ดขี อง
ประชาชน ในทางด้านความมั่นคง ดา้ นเศรษฐกจิ และการจดั สรรงบประมาณ
4.ความรว่ มมอื ในโครงการวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะด้านสงิ่ แวดลอ้ ม
5. สร้างเสรมิ ความไวเ้ นอ้ื เช่อื ใจและการพัฒนาความรว่ มมอื กบั ประเทศที่
ไม่ใชส่ มาชก
1.3 ปฏบิ ตั กิ ารทางทหาร
ตามกฎหมายของสหรฐั อเมริกา สถานะ "ชาติพันธมิตรหลักนอกกลมุ่ เนโท"
มี 2 ประเภท คอื สถานะที่ 1 เป็นการให้ตาม title 10 หมวดท่ี 2350
และสถานะที่ 2 เปน็ การใหต้ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยการใหค้ วามชว่ ยเหลือแก่
ต่างประเทศ ปี 2541 (ตามทีไ่ ด้มีการแกไ้ ขโดย title 22 หมวดท่ี 2321
1.) สถานะ MNNA ตาม title 10 หมวดที่ 2350
กฎหมายใหอ้ ำนาจรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหมสหรฐั ฯ ในการให้สถานะ
“ชาติพนั ธมิตรหลกั นอกกล่มุ เนโท” ด้วยความเหน็ ชอบจากรฐั มนตรวี ่าการ
กระทรวงการตา่ งประเทศในการ กำหนดสถานะ "ชาตพิ นั ธมิตรหลักนอกกลมุ่ เน
โท" โดยมีวัตถปุ ระสงคใ์ ห้ประเทศท่ไี ด้รบั สถานะ MNNA สามารถเข้าร่วมใน
โครงการวิจัยและการพฒั นาของกระทรวงกลาโหมสหรฐั ฯ ได้ ประเทศทไ่ี ดร้ บั
สถานะ MNNA ประเภทนม้ี ี 11 ประเทศ ไดแ้ ก่ อสิ ราเอล อียิปต์ ญี่ปนุ่
9
ออสเตรเลยี สาธารณรัฐเกาหลี (2530) จอร์แดน (2539) อารเ์ จนตนิ ่า (2541)
นิวซีแลนด์ บาห์เรน (2545) ฟลิ ปิ ปนิ สแ์ ละไทย (2546)
2.) สถานะ MNNA ตามหมวดท่ี 517 ของกฎหมายว่าดว้ ยการให้ความ
ชว่ ยเหลือแกต่ ่างประเทศ พ.ศ. 2504 ฉบบั แกไ้ ข
กฎหมายให้อำนาจประธานาธบิ ดีสหรฐั ฯ ในการใหส้ ถานะ MNNA แกป่ ระเทศใด
ประเทศหนึ่งได้หลังจากทไี่ ด้แจ้งตอ่ รัฐสภาภายใน 30 วัน โดยมีวัตถปุ ระสงค์ตาม
กฎหมายว่าด้วย การใหค้ วามชว่ ยเหลอื แก่ต่างประเทศและกฎหมายวา่ ด้วยการ
ควบคุมการส่งออกอาวุธ การใหส้ ถานะ MNNA ตามกฎหมายฉบับนม้ี ผี ลบังคบั ใช้
ในปี 2539 โดยเริม่ แรกมีประเทศท่ีได้รับสถานะ คือ ออสเตรเลยี อิสราเอล อยี ปิ ต์
ญ่ีปนุ่ สาธารณรัฐเกาหลี และนิวซีแลนด์ ตอ่ มาไดม้ ีการให้สถานะ MNNA
เพิ่มเตมิ แก่ จอรแ์ ดน (2539) อารเ์ จนตนิ า (2541) บาห์เรน (2545) ฟลิ ปิ ปนิ ส์
และไทย (2546)
ภาพท่ี 2 สมาชิกเนโท ทมี่ า : https://th.wikipedia.org/
10
หนว่ ยที่ 2
โครงสรา้ งองค์การสนธสิ ญั ญา
แอตแลนติกเหนอื
11
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 โครงสรา้ งองค์การสนธิสญั ญาแอตแลนติกเหนือ
2.1 องค์กรฝา่ ยพลเรือน
1.คณะมนตรีแอตแลนตกิ เหนือ (North Atlantic Council - NAC)
องค์กรหลักรับผิดชอบต่อการตัดสนิ ใจในเร่อื งตา่ งๆ ของเนโททีเ่ ก่ยี วกับการ
ตีความสนธิสัญญาและการนำไปปฏิบตั ิ คณะมนตรฯี ประกอบด้วยรัฐมนตรวี ่าการ
กระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงกลาโหม หรอื รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงการคลงั ของประเทศสมาชกิ มีการประชมุ อย่างน้อยปีละ 2 ครงั้
2. สำนกั งานเลขาธิการเนโท
อยทู่ กี่ รุงบรสั เซลส์ ประเทศเบลเยยี ม มีหนา้ ท่บี ริหารงานทวั่ ไปขององค์กร รวมถึง
การวางแผนนโยบาย หวั หนา้ สนง.
- เลขาธกิ ารเนโท คนปจั จุบนั คอื นาย เยนส์ สโตลเทนเบริ ก์
(อดีต นายกรัฐมนตรีนอร์เวย์)
ภาพท่ี 3 เยนส์ สโตลเทนเบิร์ก ที่มา : https://mgronline.com
12
2.1 องค์กรฝา่ ยทหาร
คณะกรรมมาธกิ ารทางทหาร (The military committee)
มีหนา้ ทใ่ี ห้คำแนะนำดา้ นการทหารแก่คณะมนตรีและผูบ้ งั คบั บัญชาการกองกำลงั
ผสม ประกอบดว้ ยเสนาธกิ ารของทุกประเทศชาติ ยกเว้น ประเทศฝรง่ั เศสและ
ไอซ์แลนด์ โดยเนโทแบ่งเขตยุทธศาสตรต์ ามภูมศื าสตรเ์ ปน็ 3 เขต
และมกี ารประชุมอยา่ งน้อยปลี ะ 2 คร้งั
ภาพที่ 4 สนธสิ ญั ญาแอตแลนติกเหนอื ท่มี า : http://nvmu.info/wp-content/uploads/
13
1. เขตยุโรป (The european command)
อยู่ภายใต้การดแู ลของผบู้ ัญชาการกองกำลังผสมยโุ รป โดยมกี องบัญชาการ
“supreme headquaters allied powers europe (SHAPE)”
ประกอบด้วยกองกำลงั เคลอื่ นทเ่ี รว็ จากประเทศสมาชกิ ซึ่งพรอ้ มจะปฏิบัติการได้
ทนั ที เขตการรบั ผดิ ชอบ คอื แอฟรกิ าเหนอื เมดิเตอร์เรเนยี น ยุโรปกลาง และ
ยุโรปเหนือ ยกเวน้ โปรตุเกส และสหราชอาณาจกั ร
2.เขตแอตแลนตกิ (The Atlantic Ocean Command)
อยู่ภายใตก้ ารดูแลของ Supreme Allied Commander Atlantic
(SACLANT) เขตการรบั ผดิ ชอบต้ังแต่ขัว้ โลกเหนอื และจากฝ่งั สหรัฐอเมรกิ าถึง
ยโุ รป SACLANT มหี น้าท่ีหลักในการพทิ กั ษเ์ สน้ ทางเดนิ เรอื ในเขตแอตแลนตกิ
ซ่งึ เน้นลักษณะการปฏิบตั ิการกองกำลงั ทัพเรือแอตแลนตกิ
3.เขตชอ่ งแคบ (The channel command)
อยภู่ ายใต้การดแู ลของ Allied Commander in Chief Channel –
CINCHAN เขตการรับผิดชอบบริเวณชอ่ งแคบองั กฤษ และทะเลเหนือตอนใต้ ทำ
หนา้ ทีค่ ุ้มครองป้องกันเรอื พาณิชย์ในเขตประสานงานกบั SACEUR ในการป้องกัน
ภยั ทางอากาศในเขตช่องแคบ CINCHAN มีกองกำลังเรือรบอยภู่ ายใตก้ ารควบคุม
เรยี กว่า Standing Naval Force Channel (STANAFORCHAN) มี
กองบัญชาการอย่ทู ี่ Nortwood สหราชอาณาจกั ร
14
ภาพท่ี 5 องคก์ ารสนธิสญั ญาแอตแลนตกิ เหนือ (นาโต) ที่มา : https://i.ytimg.com/
15
บรรณานุกรม
วกิ ิพีเดีย . 2565. องคก์ ารสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ.
https://th.wikipedia.org/
สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 31 ธันวาคม 2565
16
ประวตั ิผู้เรยี บเรียง
นายชยพล ปติ วิ ฒุ ิ
เกดิ วันท่ี
14 มนี าคม 2548
ประวัตกื ารศกึ ษา
ประถมศกึ ษา โรงเรยี นอนบุ าลสมทุ รสงคราม
มัธยมศกึ ษา โรงเรียนถาวรานกุ ูล
17
นายจิรายสุ เล็กสาคร
เกิดวันท่ี
27 พฤษภาคม2547
ประวัตกิ ารศึกษา
ประถมศึกษาโรงเรียนวดั ตรีจินดาวัฒนาราม
มธั ยมศกึ ษา โรงเรียนถาวรานกุ ลู
18
นายราเชน นิโครธานนท์
เกิดวนั ท่ี
28 เมษายน 2548
ประวตั ิการศกึ ษา
ประถมศกึ ษาโรงเรยี นเมอื งสมุทรสงคราม
มธั ยมศกึ ษา โรงเรียนถาวรานุกลู
19
20
21