The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชนิดของคำในภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by boosayamart46, 2022-07-12 03:08:31

ชนิดของคำ

ชนิดของคำในภาษาไทย

ชนดิ ของคาํ
7 ชนิด

ครปู วรศิ า ไกรกล

Benjamarachanusorn School

HE L LO

จัดทําโดย

ชอื นางสาวบุษยมาศ เครือภู่
ชนั ม.6/4 เลขที 31
วิชาหลักภาษาไทย
รหสั วิชา ท33201

ชนดิ ของคาํ ชนิดของคาํ มี 7 ชนิดดงั นี
ในภาษาไทย
คํานาม
คาํ สรรพนาม
คํากรยิ า
คําวเิ ศษณ์
คาํ บพุ บท
คําสันธาน
คาํ อุทาน

คาํ นาม working
women !!!!
คํานาม คอื คําทีใชเ้ รยี กชือคน สตั ว์ วตั ถุ
สงิ ของ สถานทีต่างๆ ทังทเี ปนนามธรรมและรูป
ธรรม เชน่ ความรกั การให้ ความดี ความชวั ครู
นกั เรียน ตํารวจ ทหาร แพทย์ พยาบาล ชา้ ง ม้า
วัว ควาย กวาง นก กุ้ง หอย ปู ปลา ปะการัง
โตะ๊ เก้าอี นา ิ กา ทอ้ งฟา ต้นไม้ นําตก ภูเขา
บ้าน โรงเรียน คา่ ยทหาร โรงพยาบาล โรงเเรม
วดั เปนต้น

แบง่ ออกเปน 5 ชนดิ คอื

คํานามทัวไป (สามานยนาม) คอื คํานามทใี ชเ้ ปนชอื ทวั ไป หรอื คาํ เรยี ก
สิงต่างๆ โดยทวั ไปไม่ชเี ฉพาะเจาะจง เช่น ดนิ สอ ปากกา ยางลบ
กระเปา นกั เรยี น ครู หนงั สอื ชิงชา้ นกั กีฬา สุขภาพ เปด นก หมู
ช้าง ม้า ววั ควาย พั ดลม ทหาร วดั

นามชีเฉพาะ (วิสามานยนาม) คอื คํานามทเี ปนชอื เฉพาะของ คน สตั ว์
สงิ ของตลอดจนสถานทตี า่ งๆ เพื อเจาะจงวา่ เปนคนใด สงิ ใด หรอื
ทไี หน

คํานามบอกลักษณะ (ลักษณนาม) คอื คํานามทที าํ หนา้ ทปี ระกอบนามอืนๆ
เพื อบอกรปู รา่ ง ลกั ษณะ ขนาดหรือปริมาณของนาม มักจะอย่หู ลงั คาํ บอก
จํานวน และแยกได้เปนหลายชนิด คอื บอกชนิด เช่น พระ = รปู บอกรูปรา่ ง
เช่น รถ = คัน บอกหมวดหมู่ เชน่ ฟน = กอง บอกจํานวน เชน่ ผ้า = เมตร
เเละ ซําคํา เชน่ วัด = วดั

คํานามบอกหมวดหมู่ (สมหุ นาม) คือ คาํ นามทบี อกหมวดหมขู่ องนามขา้ งหลงั
ทีรวมกันมากๆ เชน่ โขลงชา้ ง ฝงู นก ฝงู ปลา คณะครูอาจารย์ คณะนกั เรยี น
คณะสงฆ์ พวกกรรมกร หม่สู ัตว์ หมวดศพั ท์ ชุดขอ้ สอบ โรงหนงั แบบทรง
ผม

คาํ นามบอกอาการ (อาการนาม) คอื คํานามทีเกิดจากคําวา่ "การ" หรือ "ความ"
นาํ หนา้ คําทีไมไ่ ชค่ าํ นาม เชน่ ความดี ความชัว ความรกั ความสวย ความงาม
ความจริง ความเร็ว การเกิด การตาย การเรียน การงาน การวงิ การศกึ ษา

คาํ สรรพนาม

คาํ สรรพนาม คอื คาํ ทใี ช้แทนคํานามเพื อไมต่ ้องกลา่ วคาํ นามนันซําๆ แบ่ง
เปน 7 ชนิด คือ

สรรพนามแทนผพู้ ู ด ผ้ฟู ง และผทู้ ีกล่าวถงึ (บรุ ุษสรรพนาม) ไดแ้ ก่
1.1 สรรพนามบุรษุ ที 1 แทนชอื ผพู้ ู ด เช่น ฉนั ดฉิ ัน อิฉนั ผม กระผม กู ขา้

ขา้ พเจา้ เรา อาตมา เกลา้ กระผม เกลา้ กระหม่อม ฯลฯ
1.2 สรรพนามบรุ ุษที 2 แทนชือผ้ฟู ง เช่น คุณ เธอ ท่าน เจ้า เอ็ง มงึ แก

โยม พระคุณเจา้ ฝาพระบาท ใตฝ้ าละอองธุลพี ระบาท ฯลฯ
1.3 สรรพนามบรุ ุษที 3 แทนชือผูก้ ล่าวถึง เช่น มนั เขา ทา่ น เธอ แก

พระองค์ท่าน ฯลฯ

สรรพนามชเี ฉพาะ (นยิ มสรรพนาม) คอื สรรพนามชนิด
นีใช้แทนนามทอี ยู่ใกลห้ รือไกลผูพ้ ู ด ได้แก่ นี นนั โนน่ นี
นัน โนน้

สรรพนามใชถ้ าม (ปฤจฉาสรรพนาม) คือ สรรพนาม
ใชแ้ ทนนามในประโยคคาํ ถาม(ตอ้ งการคําตอบ)ไดแ้ ก่
ใคร อะไร อย่างไร ผใู้ ด สิงใด ทีไหน
สรรพนามบอกความไมเ่ จาะจง (อนยิ สรรพนาม) คือ
สรรพนามทีใช้แทนคํานามทไี ม่กําหนดแน่นอนมักใชใ้ น
ประโยคทมี ีความหมายแสดงความไมแ่ น่นอน ไดแ้ กค่ ํา
วา่ ใคร อะไร ผ้ใู ด สงิ ใด ทีไหน

สรรพนามบอกความชซี ํา หรอื สรรพนามแบง่ พวก รวมพวก
(วิภาคสรรพนาม) คอื สรรพนามทีใชแ้ ทนคาํ นามเพื อแยก
นามออกเปนส่วนๆ หรือบอกใหร้ ู้ว่ามนี ามอยู่ หลายส่วนและ
แสดงกรยิ ารว่ มกันหรือต่างกนั ได้แก่คาํ ว่า ต่าง บา้ ง กนั
สรรพนามเชอื มประโยค (ประพั นธสรรพนาม) คอื สรรพนาม
ทีทาํ หน้าทแี ทนนามข้างหน้าและเชือมประโยคให้มคี วามเกียว
พั นกนั ไดแ้ ก่คําวา่ ที ซงึ อัน
สรรพนามใช้เนน้ นามทีอยู่ขา้ งหนา้ คอื สรรพนามทมี กั เรียง
ไวห้ ลงั คาํ นามเพื อเน้นนามทีอย่ขู ้างหน้าและยังช่วยแสดง
ความรสู้ ึกของผู้พู ดดว้ ย อาจเปนความ

คาํ กรยิ า

คํากริยา คอื คําแสดงอาการของคาํ นามหรือสรรพนาม หรือคาํ บอกสภาพทเี ปนอยู่

เช่น "นอ้ งทาํ การบ้าน" "ฉนั เปนหวดั " "ไกข่ นั " "นกรอ้ งเพลง" คํากริยา แบง่ ออกเปน

4 ชนิด

กริยาไม่ต้องมกี รรม (อกรรมกริยา) คือ คํากรยิ าทมี ีใจความ

สมบูรณช์ ัดเจนในตนเองไม่ต้องมกี รรมมารบั ขา้ งท้าย เชน่ ไก่ขัน

นกรอ้ ง

กริยาทตี ้องมกี รรม (สกรรมกริยา) คอื กริยาทีมีใจความไมส่ มบูรณ์

ขาดความชดั เจน จงึ ต้องมีกรรมมารับข้างท้าย เชน่ ครตู นี ักเรยี น

กริยาทอี าศยั ส่วนเติมเตม็ (วกิ ตรรถกรยิ า) คือ กรยิ าทไี มม่ ีความชัดเจน
ขาดความหมายทีกระจ่างชดั ในตัวเอง ดังนันจะใชก้ รยิ าตามลําพั งตวั
เองไม่ได้จะตอ้ งมีคาํ นามหรอื สรรพนามมาขยายจงึ จะไดค้ วาม ไดแ้ ก่คาํ
ว่า เปน คลา้ ย เหมือน เท่า ประดจุ ราวกบั ฯลฯ เชน่
กรยิ าชว่ ย(กริยานเุ คราะห)์ คอื คําทที ําหน้าทชี ว่ ยกริยาอืนใหไ้ ด้ใจความ
ชดั เจนยิงขึน ไดแ้ ก่คําวา่ อาจ ต้อง น่าจะ จะ คง คงต้อง คงจะ จง
โปรด อยา่ ช่วย แล้ว ถูก ไดร้ บั เคย ควร ให้ กําลัง ได.้ ..แล้ว เคย...แล้ว
น่าจะ...แล้ว ฯลฯ

คาํ วเิ ศษณ์

คําวเิ ศษณ์ คอื คําทีทาํ หนา้ ทปี ระกอบคาํ อืนๆ เพื อให้ได้ใจความชดั เจนยิงขึน หรือ
คาํ ทใี ชข้ ยายคาํ นาม คาํ สรรพนาม คาํ กรยิ า และคําวเิ ศษณ์ เพื อบอกเวลา บอกลกั ษณะ
บอกจาํ นวน บอกขนาด บอกคุณภาพ บอกสถานที ฯลฯ อาจแบ่งได้ดังนี

คําวิเศษณ์บอกลักษณะ "นอ้ งคนเล็กชอื เล็ก" "ถาดใบใหญ่ใส่สม้ ผลเลก็ "
คาํ วเิ ศษณบ์ อกเวลา "เขามาสายทุกวนั " "ไปเดียวนี"
คาํ วเิ ศษณ์บอกสถานที "เขาเดินไกลออกไป" "เธอยา้ ยบ้านไปอยู่ทางเหนือ"
คาํ วิเศษณบ์ อกปรมิ าณหรอื จํานวน "ชนทังผอง พี น้องกนั " "คนอว้ นมกั กนิ จุ"
คาํ วิเศษณบ์ อกความชเี ฉพาะ "อย่าพู ดเชน่ นันเลย" "บ้านนันทาสีสวย"
คําวเิ ศษณ์บอกความไม่ชเี ฉพาะ "คนอนื ไปกันหมดแลว้ " "สงิ ใดก็ไม่สาํ คัญเทา่ ความ
สามคั คี"

คาํ วเิ ศษณ์แสดงคาํ ถาม "ประเทศอะไรมจี ํานวนประชากรมาก
ทีสดุ ในโลก" "น้องเธอ อายุเท่าไร"

คําวิเศษณ์แสดงคาํ ขาน "หวานจา๋ ไปเทยี วไหมจ๊ะ" "คุณครคู ะ
กรณุ าอธบิ ายชา้ ๆ หนอ่ ยเถอะค่ะ"

คาํ วิเศษณแ์ สดงความปฏเิ สธ "คนทไี ม่รักชาตขิ องตนเปนคนที
คบไมไ่ ด"้ "บญุ คณุ ของบุพการีประมาณมไิ ด้"

คาํ วเิ ศษณข์ ยายคาํ นาม "เด็กนอ้ ยรอ้ งไห"้ (นอ้ ย ขยาย เด็ก)
"ปลาใหญก่ นิ ปลาเลก็ "(ใหญ่-เลก็ ขยาย ปลา) "ฉันมีกระเปาใบโต"
(โต ขยาย กระเปา) "เดก็ ดใี ครๆ ก็รัก" (ดี ขยาย เด็ก)

คาํ วเิ ศษณข์ ยายสรรพนาม "พวกเราทังหมดเลือกคุณ" (ทงั หมด ขยาย พวก
เรา) "ฉนั เองเปนคนทํา" (เอง ขยาย ฉัน) "ท่านทงั หลายโปรดเงยี บ" (ทังหลาย
ขยาย ท่าน) "ใครเล่าจะลว่ งรไู้ ด"้ (เลา่ ขยาย ใคร)
คาํ วเิ ศษณข์ ยายกรยิ า "ผใู้ หญ่บ้านตนื แตเ่ ชา้ " (เชา้ ขยาย ตืน) "อยา่ กิน
มูมมาม"(มมู มาม ขยาย กิน) "ฝนตกหนัก" (หนกั ขยาย ตก) "เขาดํานําทน"
(ทน ขยาย ดาํ นํา)
คําวเิ ศษณข์ ยายวิเศษณ์ "ม้าวิงเรว็ มาก" (มาก ขยาย เร็ว) "พายพุ ั ดแรงมาก"
(มาก ขยาย แรง) "เขาทอ่ งหนงั สอื หนักมาก" (มาก ขยาย หนกั ) "เธอร้อง
เพลงเพราะจรงิ ๆ" (จริงๆ ขยาย เพราะ)

คาํ บพุ บท

คําบุพบท คอื คาํ ทีใช้นาํ หน้าคําหรอื กลุ่มคาํ หรอื คือคําทีโยงคาํ หน้าหรือกลุ่ม
คาํ หนึงให้สมั พั นธก์ บั คาํ อืน หรอื กล่มุ คําอืนเพื อบอกสถานที เหตผุ ล ลกั ษณะ
เวลา อาการ หรอื แสดงความเปนเจา้ ของ ได้แก่ ใน แก่ ของ ดว้ ย โดย กับ
แต่ ตอ่ ใกล้ ไกล ฯลฯ เช่น

เขาเดนิ ทางโดยเครอื งบิน (ลกั ษณะ)
ฉันซอ่ นเงินไวใ้ ตห้ มอน (สถานท)ี
ครูต้องเสยี สละเพื อศิษย์ (เหตผุ ล)
ฟนของน้องผหุ ลายซี (แสดงความเปนเจ้าของ)

คาํ สนั ธาน

คาํ สนั ธาน คือ คาํ ทใี ชเ้ ชือมคํากับคํา ประโยคกบั ประโยค หรอื ขอ้ ความกบั ข้อความ
เมือเชอื มแลว้ จะได้ประโยคทีมีใจความดงั นี

คําสันธานเชือมความคลอ้ ยตามกนั ไดแ้ ก่ และ กบั ถา้ ก็ แล้ว จงึ ฯลฯ เชน่ ฉนั
และเธอเปนเพื อนกัน
คําสนั ธานเชือมความขดั แยง้ กนั ได้แก่ แต่ กวา่ ก็ ถงึ ...ก็ แมว้ า่ ...แต่ก็ ฯลฯ เช่น
ถงึ มนั จะตายผมกไ็ มเ่ สียใจ
คําสันธานเชอื มความเลือกเอาอย่างใดอย่างหนึง ไดแ้ ก่ หรอื มฉิ ะนัน มฉิ ะนนั ...ก็
ไม.่ ..ก็ ฯลฯ เช่น ผมให้คุณเลอื กระหวา่ งไปสวนสนกุ หรือกินขา้ ว
คาํ สนั ธานเชือมความทเี ปนเหตผุ ลกนั ไดแ้ ก่ เพราะ...จึง ดงั นนั ...จึง จงึ เพราะ
ฉะนัน...จงึ ฯลฯ เชน่ เพราะเธอไมส่ วยเขาจงึ ไมร่ ับรกั เธอ

คําอทุ าน

คําอุทาน คือ คาํ ทเี ปล่งออกมาเพื อแสดงอารมณห์ รือความรู้สกึ ของผพู้ ู ด
มกั จะเปนคาํ ทีไม่มีความหมายแตเ่ น้นความรูส้ ึกและอารมณข์ องผู้พู ดเปนสาํ คญั
เช่น อนจิ จา!ไม่น่าจะด่วนจากไปเลย (สลดใจ) อือฮอื ! หล่อจัง (แปลกใจ) เสียงที
เปล่งออกมาเปนคาํ อทุ านนนั แบ่งได้เปน 3 ลกั ษณะคอื เปนคํา เช่น โอย๊ ! วา้ ย!
โอ้โฮ! โถ! ฯลฯเปนวลี เช่น พุ ทโธ่เอย๋ ! คณุ พระช่วย! ตายละวา! โออ้ นิจจา! ฯลฯ
เปนประโยค เช่น คณุ พระคณุ เจ้าช่วยลกู ดว้ ย! ไฟไหมเ้ จา้ ขา้ ! ฯลฯ

"กับ" ใชแ้ สดงอาการกระชับ อาการรว่ ม อาการกาํ กบั กัน อาการเทียบกนั และ
แสดงระดับ เช่น "ลุงไปกบั ปา" (รว่ ม) "ฉนั เหน็ กบั ตา" (กระชบั )
"แก"่ ใชน้ ําหนา้ คาํ ทีเปนฝายรบั อาการ เชน่ "คนไทยควรเหน็ แกช่ าต"ิ "พ่ อให้เงิน
แก่ ลูก"
"แต"่ ใช้ในความหมายวา่ จาก ตงั แต่ เฉพาะ เช่น "ฉนั จะกนิ แตผ่ ลไม้" "เขามาถงึ
โรงเรยี นแตเ่ ชา้ "
"แด่" ใชแ้ ทนคําวา่ "แก"่ ในทเี คารพ เชน่ "นักเรยี นมอบดอกไมแ้ ด่อาจารย์" "เขา
ถวายอาหารแดพ่ ระสงฆ์"
"ต่อ" ใชน้ าํ หนา้ แสดงความเกยี วขอ้ งกนั ตดิ ต่อกันเฉพาะหน้าถัดไปเทยี บจาํ นวน
เชน่ "ฉนั ตอ้ งรายงานต่อทีประชุม" "เขายืนคําร้องตอ่ เจ้าหน้าทตี าํ รวจ"
"ด้วย" ใช้นําหน้าคาํ นามหรอื คาํ สรรพนาม เพื อบอกใหร้ ูว้ ่าเปนเครืองใช้ และใช้
ประกอบคาํ กริยาแสดงว่าทํากรยิ ารว่ มกัน เชน่ "ยายกนิ ข้าวดว้ ยมอื " "ผมขอทาน
ข้าวด้วยคนนะ"

คําอทุ าน แบง่ ออก
เปน 2 ชนดิ คอื

อุทานเสรมิ บท คอื คําพู ดทเี สรมิ ขนึ มาโดยไมม่ ีความหมาย อาจอยู่หนา้ คาํ
หลงั คําหรือแทรกกลางคาํ เพื อเนน้ ความหมายของคาํ ทจี ะพู ดให้ชัดเจนขนึ
เชน่ กินนาํ กนิ ท่า ลมื หลู ืมตา กระปงกระเปา หนังสอื หนงั หาสตงุ้ สตางค์
ถา้ คําทนี าํ มาเข้าคู่กันมเี นือความหรอื ความหมายไปในแนวเดียวกัน ไม่นับวา่
เปนคาํ อุทานเสริมบท เชน่ ไมด่ ไู ม่แล ไม่หลบั ไมน่ อน รอ้ งรําทาํ เพลง คํา
เหล่านีเรยี กว่า คาํ ซ้อน ในคําประพั นธ์ประเภทโคลงและรา่ ย มีการใช้คาํ
สร้อย ซึงนบั ว่าเปนคาํ อุทานเสรมิ บทได้ เชน่ เสยี งลอื เสยี งเล่าอา้ ง อนั ใด
พี เอย ฯลฯ

It's lovely to meet
all of you!

thank you


Click to View FlipBook Version