The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by รอฮานี มีซา ศว.ยะลา, 2021-06-04 04:39:52

ผลกรทบของ (2)

ผลกรทบของ (2)

ผลกระทบของ

ไ ว รั ส โ ค โ ร น่ า

ศู น ย์ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ พื อ ก า ร ศึ ก ษ า ย ะ ล า

การระบาดของไวรัสโควิด-19 แพร่ระบาดไปท่ัวโลก
ด้วยความรวดเร็วคร่าชีวิตประชากรหลายแสนคนและยังมี
ผู้ติดเช้ือ อีกนับล้าน

แ ม้ จ ะ เ ป็ น ช่ ว ง ม ร สุ ม ห นั ก ข อ ง ม นุ ษ ย์
แ ต่ ก ลั บ เ กิ ด ง า น วิ จั ย ม า ก ม า ย จ า ก เ ห ล่ า

" นกั วิทยาศาสตรเ์ พ่ือการอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ "

นานาประเทศ ซ่ึงชี้ให้เห็นตรงกันว่า
การระบาดของโรคนน้ั มีความเชอ่ื มโยงกบั

ท่ีผ่าน มา เป็นบทเรียนราคาแพงให้มนุษย์ได้เรียนรู้
แ ล ะ ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง ม นุ ษ ย์

ระบบนิเวศในธรรมชาติทาํ งานคล้ายกับ
ร่างกายมนุษย์ เมื่อแข็งแรงและมีสุขภาพดี โอกาสที่จะเป็น
แหล่งเพาะเชื้อก็แทบ จะไม่มี ในแง่น้ี การมีสุขภาพดี หมายถึง
ก า ร มี พ้ื น ที่ ใ ห้ กั บ พื ช แ ล ะ สั ต ว์ ห ล า ก ห ล า ย ส า ย พั น ธ์ุ อ า ศั ย อ ยู่
อ ย่ า ง ส ม ดุ ล

แต่เม่ือ มนุษย์รุกลํา้ พ้ืนที่ป่า มีการ
ล่าและขายสัตว์ป่า พฤติกรรมเหล่าน้ี กลับเปิดโอกาส
ให้มนุษย์ติดโรคจากสัตว์ได้ ทําให้มนุษย์ เพิ่มการสัมผัส
กั บ สั ต ว์ ป่ า แ ล ะ อ า จ ติ ด โ ร ค จ า ก พ ว ก มั น ไ ด้

สั ต ว์ ป่ า ท่ี ถู ก คุ ก ค า ม จ า ก ก า ร แ ส ว ง ห า ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ม นุ ษ ย์

จ น ต้ อ ง สู ญ เ สี ย ที่ อ ยู่ อ า ศั ย มี แ น ว โ น้ ม ท่ี จ ะ เ ป็ น แ ห ล่ ง เ พ า ะ เ ชื้ อ ข อ ง โ ร ค

เพราะการรุกลา้ํ พื้นท่ีป่า ไม่ว่าจะเป็นการตัดไม้
การทาํ เกษตร การทาํ เหมือง เท่ากับทําลายท่ีอยู่อาศัย
ของสัตว์ป่าให้ลด น้อยลง สัตว์เหล่าน้ันก็จําเป็นต้องหาท่ี
อยู่ใหม่ โดยอาจย้ายไปในพ้ืนท่ีที่จาํ กัดหรือแตกต่างจาก
เดิม ทาํ ให้พวกมันมีแนว โน้มท่ีจะเครียดหรือป่วยมากข้ึน

ย่ิงไปกว่าน้ัน เกิดแนวโน้มท่ีสัตว์เหล่าน้ันจะได้สัมผัสกับมนุษย์
หรือสัตว์เลี้ยงในบ้าน อาจ เป็นเหตุให้เกิดการแพร่กระจายของโรค
จากสัตว์ป่าสู่คนได้ การวิจัยใหม่น้ีจึงได้ช้ีให้เห็นว่า การระบาดของ
โรคท่ีเกิดจาก สัตว์อาจเกิดได้บ่อยข้ึนเนื่องจากมีการทําลาย
ธ ร ร ม ช า ติ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น

COVID-19 ส่งผลกระทบ
ตอ่ ธรรมชาตอิ ยา่ งไร?

หลายคนอาจเข้าใจอย่างผิด ๆ ว่าในช่วงท่ีโควิด-19 ระบาด
ธรรมชาตินั้นกําลัง “ฟื้นฟูตัวเอง” จากการโดนกระทาํ จาก
มนุษย์ แต่กลับกัน พื้นท่ีชนบทหลายแห่งต่างเจอกับปัญหาจาก
ท่ีมาจากการใช้ท่ีดิน การลักลอบล่าสัตว์ป่ามากขึ้น คน ตกงาน
หลายคนย้ายจากตัวเมืองกลับไปอยู่บ้านท่ีชนบท สิ่งนี้ทาํ ให้เกิด
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น และยังเพิ่ม ความเส่ียงในการ
แพร่ระบาดของโควิด -19 ไปยังพื้นที่ในชนบทอีกด้วย

โ ค วิ ด - 1 9

ก ร ะ ท บ ต่ อ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง

จากมมุ มองดา้ นสาธารณสุข
วิกฤตการเปล่ยี นแปลงของสภาพภูมิ
อากาศสามารถเพม่ิ การแพรก่ ระจาย
ของโรคบางชนดิ ทีม่ คี วามซบั ซ้อน
และยากท่ีจะรบั มอื ฤดูกาลและอากาศ
เปน็ 2 ปจั จยั สาํ คัญทคี่ วบคมุ อัตรา
การแพรร่ ะบาดของไวรสั ท่มี นษุ ย์
สามารถติดเช้อื ได้ เชน่ ไข้หวดั ใหญ่

สภาพภูมิอากาศยังไงบ้าง ?

แมว้ ่าในตอนนีน้ ักวิทยาศาสตรจ์ ะ
ยงั ไมส่ ามารถรู้ไดว้ ่า สภาพภูมิอากาศ
ที่ผิดปกติจะ สง่ ผลกระทบต่อการ
แพร่กระจายของโควดิ -19 ได้อยา่ งไร
แตจ่ ากการวิจัย อาจสามารถคาด
การณ์ไดว้ า่ การทอ่ี ุณหภูมิ โลกสงู ขน้ึ
อาจจะส่งผลตอ่ ระยะเวลา , การแพร่
กระจาย และความรนุ แรงของโรค
ระบาดในอนาคต

บทเรยี นทีเราต้องลงมือแก้ไขตังแต่วนั นี

ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น สุ ข ภ า พ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ห รื อ แ ม้ แ ต่ ส ภ า ว ะ ท า ง ศ ร ษ ฐ กิ จ
ท้ัง 2 สิ่งล้วนเชื่อมโยงกับความเป็นอยู่ของโลกเรา
อ ย่ า ง แ ย ก แ ย ก จ า ก กั น ไ ม่ ไ ด้

ดังน้ัน การดูแลรักษาธรรมชาติ
จึ ง เ ส มื อ น เ ป็ น ก า ร ดู แ ล ตั ว เ อ ง เ ช่ น กั น

1. การอนุรักษ์ธรรมชาติ

โ ด ย ก า ร รั ก ษ า ส ม ดุ ล ข อ ง ค ว า ม
สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง ม นุ ษ ย์ กั บ ธ ร ร ม ช า ติ ซ่ึ ง
ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ถู ก อ อ ก แ บ บ ขึ้ น ม า เ พื่ อ รั ก ษ า แ ล ะ
ป ก ป้ อ ง ส่ิ ง มี ชี วิ ต ใ น ธ ร ร ม ช า ติ ใ ห้ มี ค ว า ม ส ม
ดุ ล ะ ห ว่ า ง ส า ย พั น ธุ์ ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต แ ล ะ โ ร ค
ต่ า ง ๆ ไ ด้ เ อ ง ห า ก ไ ม่ มี ม นุ ษ ย์ เ ข้ า ไ ป ร บ ก ว น
น่ั น ก้ อ คื อ ก า ร ป ล่ อ ย ใ ห้ สั ต ว์ ไ ด้ อ ยู่ อ า ศั ย ต า ม
แ ห ล่ ง ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ป้ อ ง กั น ก า ร ทาํ ล า ย ที่
อ ยู่ อ า ศั ย ข อ ง พ ว ก มั น

2. ชะลอการตัดไม้ทําลายป่า

ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ก า ร ใ ช้ ที่ ดิ น เ ป็ น
สาเหตุอันดับ 1 ของการเกิดโรคใหม่ ๆ ท่ีไม่
เคยเกิดข้ึนมาก่อน และมีความเก่ียวข้องกับ
ก า ร แ พ ร่ ก ร ะ จ า ย ข อ ง ไ ว รั ส จ า ก สั ต ว์ สู่ ค น
ความเข้าใจผิด ๆ คือ การโค่นต้นไม้ไม่ใช่การ
กาํ จัดการเกิดไวรัสในธรรมชาติ กลับกันดัน
เ ป็ น ตั ว ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ เ กิ ด ก า ร แ พ ร่ ก ร ะ จ า ย ข อ ง โ ร ค
อีกต่างหาก ดังน้ัน การพยายามคงสภาพ
ระบบนิเวศให้ดี จึงมี ส่วนช่วยให้ไวรัสท่ีอาศัย
อยู่ในธรรมชาตไม่แพร่กระจายออกมา และลด
โ อ ก า ส ที่ จ ะ แ พ ร่ ก ร ะ จ า ย ไ ป ยั ง ม นุ ษ ย์ อี ก ด้ ว ย

3. หยุดการค้าสัตว์ป่าอย่างผิดกฎหมาย

ก า ร ลั ก ล อ บ ค้ า สั ต ว์ ป่ า
อ ย่ า ง ผิ ด ก ฎ ห ม า ย อ า จ มี ค่ า ต อ บ แ ท น
สูงเป็นส่ิงจูงใจ แต่การกระทําเช่นน้ีก็
ทาํ ให้สัตว์หลายชีวิตถูก ขนส่งไปยัง
พื้นท่ีท่ีมีประชากรสัตว์หนาแน่น ซ่ึง
นั่ น ถื อ เ ป็ น ก า ร เ พิ่ ม ค ว า ม เ สี่ ย ง ท่ี เ ช้ื อ
โ ร ค จ ะ แ พ ร่ ก ร ะ จ า ย สู่ ม นุ ษ ย์ ไ ด้


Click to View FlipBook Version