The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รู้ทันยาเสพติด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by รอฮานี มีซา ศว.ยะลา, 2021-06-21 05:04:17

รู้ทันยาเสพติด

รู้ทันยาเสพติด

บริการวิชาการ

ศู น ย์ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ พื อ ก า ร ศึ ก ษ า ย ะ ล า

๑. ความรู้เบืองต้นเกียวกบั ยาเสพตดิ
-ความหมายของยาเสพตดิ
-ลักษณะสาํ คญั ของสารเสพติด

๒. ประเภทของยาเสพตดิ
-แบ่งตามแหลง่ ทเี กิด
-แบ่งตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.๒๕๒๒
-แบง่ ตามการออกฤทธติ ่อจติ ประสาท
-แบ่งตามองค์การอนามัยโลก

๓. วิธีการเสพยาเสพติด
๔. ยาเสพติดทีแพร่ระบาดในประเทศไทย
๕. สาเหตุของการติดยาเสพติด
๖. โทษ/พิษภัย ของยาเสพติด
๗. วิธีสังเกตุอาการผู้ติดยาเสพติด

-การเปลียนแปลงทางร่างกาย
-การเปลียนแปลงทางจิตใจ
-การสังเกตุอาการขาดยา
๘. การตรวจพิสูจน์หาสารเสพติดในร่างกาย
-การตรวจขันต้น
-การตรวจขันยืนยัน
๙. การบําบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
-ระบบสมัครใจ
-ระบบต้องโทษ
-ระบบบังคับบําบัด
๑๐. สายด่วนยาเสพติด (สถาบันธัญญรักษ์ กรมการแพทย์)

ความหมายของยาเสพติด

ยาเสพติด หมายถึง สารใดก็ตามทีเกิดขึนตามธรรมชาติ หรือสาร
ทีสังเคราะห์ขึน เมีอนําเข้าสู้ ร่างกายไม่ว่าจะโดยวิธีรับประทาน ดม สูบ ฉี ด
หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ทําให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจ นอกจากนี
ยังจะทาํ ให้เกิดการเสพติดได้ หากใช้สารนันเปนประจาํ ทุกวัน หรือวันละ
หลาย ๆ ครัง

ลกั ษณะสําคญั ของสารเสพตดิ

๑. เกิดอาการดือยาหรือต้านยา และเมือติดแล้ว ต้องการใช้สารนันใน
ประมาณมากขึน

๒. เกิดอาการขาดยา ถอนยา หรืออยากยา เมือใช้สารนันเท่าเดิม ลดลง
หรือหยุดใช้

๓. มีความต้องการเสพทังทางร่างกายและจิตใจ อย่างรุนแรงตลอดเวลา
๔. สุขภาพร่างกายทรุดโทรมลง เกิดโทษต่อตนเอง ครอบครัว ผู้อืน
ตลอดจนสังคม และ ประเทศชาติ

๑. แบ่งตามแหล่งทีเกิด

แบ่งออกเปน ๒ ประเภท คือ
๑.๑ ยาเสพติดธรรมชาติ(NATURAL DRUGS) คือยาเสพติดทีผลิตมา

จากพืช เช่น ฝน กระท่อม กัญชา เปนต้น

ฝน เอ๊กซ์ตาซี

๑.๒ ยาเสพติดสังเคราะห์ (SYNTHETIC DRUGS) คือ ยาเสพติดที
ผลิตขึนด้วยกรรมวิธีทางเคมี เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน เปนต้น

เฮโรอีน แอมเฟตามีน

๒. แบ่งตามพระราชบัญญัติ
ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.๒๕๒๒

แบ่งออกเปน ๕ ประเภท คือ
๒.๑ ยาเสพติดให้โทษ

ประเภทที ๑ ได้แก่ เฮโรอีน
แอลเอสดี แอมเฟตามีน
หรือยาบ้า ยาอีหรือยาเลิฟ

๒.๒ ยาเสพติดให้โทษ
ประเภทที ๒ ยาเสพติดประเภทนี
ส า ม า ร ถ นํ า ม า ใ ช้ เ พื อ ป ร ะ โ ย ช น์
ทางการแพทย์ได้ แต่ต้องใช้ภาย
ใต้การควบคุมของแพทย์ และใช้
เฉพาะกรณี ทีจําเปนเท่านัน ได้แก่
ฝน มอร์ฟน โคเคน หรือโคคาอีน
โคเคอีน และเมทาโดน

๒.๓ ยาเสพติดให้โทษ
ประเภทที ๓ ยาเสพติดประเภท
นี เปนยาเสพติดให้โทษทีมียา
เสพติด ประเภทที ๒ ผสมอยู่
ด้วย มีประโยชน์ทางการแพทย์
ก า ร นํ า ไ ป ใ ช้ เ พื อ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ อื น
หรือเพือเสพติด จะมีบทลงโทษ
กํากับไว้ ยาเสพติดประเภทนี
ได้แก่ ยาแก้ไอ ทีมีตัวยาโคเค
อีน ยาแก้ท้องเสีย ทีมีฝนผสม
อยู่ด้วย ยาฉี ดระงับปวดต่าง ๆ
เช่น มอร์ฟน เพทิดีน ซึงสกัด
มาจากฝน

๒.๔ ยาเสพติดให้โทษ
ประเภทที ๔ คือสารเคมีทีใช้ในการ
ผลิตยาเสพติดให้โทษ ประเภทที ๑
หรือประเภทที ๒ ยาเสพติดประเภท
นี ไม่มีการนํามาใช้ประโยชน์ในการ
บาํ บัดโรคแต่อย่างใด และมีบท
ลงโทษกาํ กับไว้ด้วย ได้แก่ นํายาอะ
เซติคแอนไฮไดรย์ และอะเซติล
คลอไรด์ ซึงใช้ในการเปลียน
มอร์ฟน เปนเฮโรอีน สารคลอซูไดอี
เฟครีน สามารถใช้ในการผลิตยาบ้า
ได้ และวัตถุออกฤทธิต่อจิตประสาท
อีก ๑๒ ชนิ ด ทีสามารถนํามาผลิตยา
อีและยาบ้าได้

๒.๕ ยาเสพติดให้โทษประเภทที ๕ เปนยาเสพติดให้โทษทีมิได้เข้า
ข่ายอยู่ในยาเสพติด ประเภทที ๑ ถึง ๔ ได้แก่ ทุกส่วนของพืชกัญชา ทุกส่วน
ของพืชกระท่อม เห็ดขีควาย เปนต้น

เห็ดขีควาย

๓.แบ่งตามการออกฤทธิต่อจิตประสาท

ฝน มอร์ฟน
ยากล่อมประสาท
๓.๑ ยาเสพติด
ประเภทกดประสาท เฮโรอีน
ได้แก่

สารระเหย

๓.๒ ยาเสพติด แอมเฟตามีน
ประเภทกระตุ้น
ประสาท ได้แก่ โคคาอีน

กระท่อม

แอลเอสดีดีเอ็มพี ๓.๓ ยาเสพติด
ประเภทหลอน
เห็ดขีควาย ประสาท ได้แก่

๓.๔ ยาเสพติด กัญชา
ประเภทออกฤทธิผสม
ผสาน กล่าวคือ อาจกด

กระตุ้น หรือ หลอน
ประสาท ได้พร้อม ๆ กัน

ตัวอย่างเช่น

๔.แบ่งตามองค์การอนามัยโลก

๔.๑ ประเภทฝน หรือ ๔.๒ ประเภทยาปทูเรท
มอร์ฟน รวมทังยาทีมี รวมทังยาทีมีฤทธิทาํ นอง
เดียวกัน ได้แก่ เซโคบาร์
ฤทธิคล้ายมอร์ฟน ปตาล อะโมบาร์ ปตาล
ได้แก่ ฝน มอร์ฟน พาราลดีไฮด์ เมโปรบา
เฮโรอีน เพทิดีน เมท ไดอาซีแพม เปนต้น

๔.๓ประเภทแอลกอฮอล ๔.๔ ประเภทแอมเฟตา
ได้แก่ เหล้า เบียร์ วิสกี มีน ได้แก่ แอมเฟตามีน

เมทแอมเฟตามีน

๔.๕ ประเภทโคเคน
ได้แก่ โคเคน ใบโคคา

๔.๖ ประเภทกัญชา
ได้แก่ ใบกัญชา
ยางกัญชา

๔.๗ ประเภทใบกระท่อม

๔.๘ ประเภทหลอนประสาท
ได้แก่ แอลเอสดีดีเอ็นที เม
สตาลีน เมลัดมอนิ งกลอรี

ต้น ลาํ โพง เห็ดเมาบาง
ชนิ ด

๔.๙ ประเภทอืน ๆ นอก
เหนื อจาก ๘ ประเภทข้าง
ต้น ได้แก่ สารระเหยต่าง
ๆ เช่น ทินเนอร์ เบนซิน
นํายาล้างเล็บ ยาแก้ปวด
และบุหรี

สอดใต้ ดม
หนังตา รับประทาน
สูบ เข้าไป

อมไว้
ใต้ลิน

เหน็บทาง ฉี ดเข้า
ทวารหนัก เหงือก
ฉี ดเข้า
ฉี ดเข้า เส้นเลือด
กล้ามเนื อ

แอมเฟตามีน มอร์ฟน
ยาอียาเลิฟ ฝน

หรือ
เอ็กซ์ตาซี

ยาเค

แอลเอสดี

โคเคน สารระเหย
เฮโรอีน
กัญชา

กระท่อม เห็ดขีควาย

สาเหตุของการติดยาเสพติด มีหลายประการ
ดังนี คือ

๕.๑ อยากลอง อยากรู้ อยากเห็น อยาก
สัมผัส ซึงเปนสัญชาตญาณอย่างหนึ งของ
มนุษย์ โดยคิดว่า "ไม่ติด" แต่เมือลองเสพ
เข้าไปแล้วมักจะติด

๕.๒ ถูกเพือนชักชวน ส่วนใหญ่
พบในกลุ่มเยาวชน ทําตามเพือน
เพราะต้องการ การยอมรับจากเพือน
ฝูง หรือถูกชักจูงว่าใช้แล้วทําให้สมอง
ปลอดโปร่ง หรือใช้แล้วทาํ ให้ขยันจึง
เหมาะแก่การเรียนและการทํางาน

๕.๓ ถูกหลอกลวง โดยอาศัยรูป
แบบสีสันสวยงาม ทําให้ผู้รับไม่อาจ
ทราบได้ว่า สิงทีตนได้รับเปนยาเสพติด

๕.๔ ใช้เพือลดความเจ็บปวดทางกาย
อันเนื องมาจากโรคภัยไข้เจ็บ จนเกิดการ
ติดยาเพราะใช้เปนประจาํ

๕.๕ เกิดจากความคะนอง และขาดสติยังคิด ทัง ๆ
ทีรู้ว่าเปนยาเสพติด แต่อยากแสดง ความเก่งกล้า อวด
เพือน จึงชวนกันเสพจนติด

๕.๖ ภาวะสิงแวดล้อมรอบตัว เอืออํานวยทีจะส่งเสริม และผลักดันให้หัน
เข้าหายาเสพติด เช่น ครอบครัวแตกแยก สมาชิกในครอบครัวขาดความ
เข้าใจซึงกันและกัน ภาวะเศรษฐกิจบีบบังคับให้ทาํ เพือความอยู่รอด อยากรวย
เร็ว หรือพักอาศัยอยู่ ในแหล่งทีมีการเสพและค้ายาเสพติด

การใช้ยาเสพติด มีโทษและพิษภัยรอบตัว นอกจากจะส่งผลกระทบ
ในทางไม่ดีโดยตรงต่อตัวผู้เสพแล้ว ทังทางร่างกายและจิตใจ ยังส่งผลกระ
ทบทางอ้อมไปยังครอบครัวผู้เสพ ตลอดจนเศรษฐกิจ สังคม และประเทศ
ชาติอีกด้วย

วิธีสังเกตุอาการผู้ติดยาเสพติด จะสังเกตว่าผู้ใดใช้หรือเสพยาเสพติด
ให้สังเกตจากอาการและการเปลียนแปลงทังทางร่างกาย และจิตใจ
ดังต่อไปนี

๗.๑ การเปลียนแปลง
ทางร่างกาย

การเปลียนแปลงทางร่างกาย จะสังเกตได้จาก
๗.๑.๑ สุขภาพร่างกายทรุดโทรม ซูบผอม ไม่มีแรง อ่อนเพลีย
๗.๑.๒ ริมฝปากเขียวคลํา แห้ง และแตก
๗.๑.๓ ร่างกายสกปรก เหงือออกมาก กลินตัวแรงเพราะไม่ชอบ

อ า บ นํ า
๗.๑.๔ ผิวหนังหยาบกร้าน เปนแผลพุพอง อาจมีหนองหรือนํา

เหลือง คล้ายโรคผิวหนัง
๗.๑.๕ มีรอยกรีดด้วยของมีคม เปนรอยแผลเปนปรากฏทีบริเวณ

แขน และ/หรือ ท้องแขน
๗.๑.๖ ชอบใส่เสือแขนยาว กางเกงขายาว และสวมแว่นตาดาํ เพือ

ปดบังม่านตาทีขยาย

๗.๒ การเปลียนแปลง
ทางจิตใจ

การเปลียนแปลงทางจิตใจ ความประพฤติและบุคลิกภาพ สังเกตุได้จาก
๗.๒.๑ เปนคนเจ้าอารมณ์ หงุดหงิดง่าย เอาแต่ใจตนเอง

ขาดเหตุผล
๗.๒.๒ ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที
๗.๒.๓ ขาดความเชือมันในตนเอง
๗.๒.๔ พูดจาก้าวร้าว แม้แต่บิดามารดา ครู อาจารย์

ของตนเอง
๗.๒.๕ ชอบแยกตัวอยู่คนเดียว ไม่เข้าหน้าผู้อืน ทาํ ตัวลึกลับ
๗.๒.๖ ชอบเข้าห้องนํานาน ๆ
๗.๒.๗ ใช้เงินเปลืองผิดปกติ ทรัพย์สินในบ้านสูญหายบ่อย
๗.๒.๘ พบอุปกรณ์เกียวกับยาเสพติด เช่น หลอดฉี ดยา

เข็มฉี ดยา กระดาษตะกัว
๗.๒.๙ มัวสุมกับคนทีมีพฤติกรรมเกียวกับยาเสพติด
๗.๒.๑๐ ไม่สนใจความเปนอยู่ของตนเอง แต่งกายสกปรก

ไม่เรียบร้อย ไม่ค่อยอาบนํา
๗.๒.๑๑ ชอบออกนอกบ้านเสมอ ๆ และกลับบ้านผิดเวลา
๗.๒.๑๒ ไม่ชอบทาํ งาน เกียจคร้าน ชอบนอนตืนสาย
๗.๒.๑๓ มีอาการวิตกกังวล เศร้าซึม สีหน้าหมองคลาํ

๗.๓ การสังเกตุอาการ
ขาดยา

การสังเกตุอาการขาดยา ดังต่อไปนี
๗.๓.๑ นํามูก นําตาไหล หาวบ่อย
๗.๓.๒ กระสับกระส่ายกระวนกระวาย

หายใจถี ปวดท้อง คลืนไส้อาเจียน เบืออาหาร
นําหนักลด อาจมีอุจาระเปนเลือด

๗.๓.๓ ขนลุก เหงือออกมากผิดปกติ
๗.๓.๔ ปวดเมือยตามร่างกาย ปวด
เสียวในกระดูก
๗.๓.๕ ม่านตาขยายโตขึน ตาพร่า
ไม่สู้แดด
๗.๓.๖ มีอาการสัน ชัก เกร็ง
ไข้ขึนสูง ความดันโลหิตสูง
๗.๓.๗ เปนตะคริว
๗.๓.๘ นอนไม่หลับ
๗.๓.๙ เพ้อ คลุ้มคลัง อาละวาด
ควบคุมตนเองไม่ได้

การตรวจพิสูจน์หาสารเสพติดในร่างกาย
การตรวจหาสารเสพติดในร่างกาย แบ่ง
ออกเปน ๒ ขันตอน

๘.๑ การตรวจขันต้น ๘.๒ การตรวจขันยืนยัน

ราคาถูก ได้ผลเร็ว มีชุดตรวจ เปนการตรวจทีให้ผลแม่นยาํ แต่
สําเร็จรูป ความแม่นยําในการตรวจ ใช้เวลาตรวจนาน ค่าใช้จ่ายสูง
ปานกลาง สะดวกในการนําไปตรวจ
นอกสถานที

การบําบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด หมายถึง
การดําเนิ นงานเพือแก้ไขสภาพร่างกาย และ
จิตใจของผู้ติดยาเสพติดให้เลิกจากการเสพ
และสามารถกลับไปดาํ รงชีวิตอยู่ในสังคมได้
อย่างปกติการบาํ บัดรักษา ผู้ติดยาเสพติด
แบ่งออกเปน ๓ ระบบคือ

๙.๑ ระบบสมัครใจ

ระบบสมัครใจ หมายถึง ผู้ติดยาเสพติด
สมัครใจเข้ารับการบาํ บัดรักษาใน สถาน
พยาบาลต่าง ๆ ทังของภาครัฐและเอกชน

๙.๒ ระบบต้องโทษ

ระบบต้องโทษ หมายถึง ผู้ติดยาเสพติดที
กระทาํ ความผิดและถูกคุมขัง จะได้รับการ บาํ บัด
รักษา ในสถานพยาบาลทีกาํ หนดได้ตามกฎหมาย
เช่น ทัณฑสถานบําบัดพิเศษ กรมราชทัณฑ์
กระทรวงมหาดไทย, สาํ นักงานคุมประพฤติ
กระทรวงยุติธรรมหรือสถานพินิ จและคุ้มครอง
เด็ก กลาง กระทรวงยุติธรรม

๙.๓ ระบบบังคับบําบัด

ระบบบังคับบาํ บัด หมายถึง ผู้ทีทางราชการตรวจพบว่ามีสารเสพติด
ในร่างกาย จะต้องถูกบังคับบาํ บัดตาม พ.ร.บ. ฟนฟูสมรรถภาพ
ผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.๒๕๓๔ ในสถานพยาบาลทีจัดขึน ตาม พ.ร.บ. ดังกล่าว
เปนระยะเวลา ๖ เดือน และขยายได้จนถึงไม่เกิน ๓ ประบบนี ยังไม่เปดใช้ใน
ขณะนี การบําบัดรักษา และฟนฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด มี ๔ ขันตอน
คือ

๙.๓.๑ ขันเตรียมการก่อนบาํ บัดรักษา (PRE -ADMISSION)

เพือศึกษาประวัติภูมิหลังของผู้ติดยาเสพติดทังจากผู้ขอรับการรักษา
และครอบครัว

๙.๓.๒ ขันถอนพิษยา (DETOXIFICATION) เปนการบําบัด
รักษาอาการทางกายทีเกิดจากการใช้ ยาเสพติด

โดยผู้ขอรับการรักษา สามารถเลือกใช้บริการแบบผู้ปวยนอก หรือผู้ปวย
ใน ก็ได้ตามสะดวก

๙.๓.๓ ขันการฟนฟูสมรรถภาพ (REHABILITATION) เปนการ
บําบัดรักษาเพือปรับเปลียน ลักษณะนิ สัย บุคลิกภาพ พฤติกรรม เพือให้รู้จัก
ตนเอง และมีความเข้มแข็งในจิตใจ เพือให้ผู้รับการบาํ บัดมีความเชือมัน
ในการ กลับไปดําเนิ นชีวิตในสังคมได้อย่างปกติ โดยไม่หวนกลับไปเสพซํา
อีก

๙.๓.๔ ขันติดตามดูแล (AFTER - CASE) เปนการติดตามดูแล
ผู้เลิกยาเสพติดทีได้ผ่านการ บาํ บัดครบทัง ๓ ขันตอนข้างต้นแล้ว
เพือให้คําแนะนํา แก้ไขปญหาและให้กาํ ลังใจผู้เลิกยาเสพติด ให้ดําเนิ น ชีวิต
อย่างปกติสุขในสังคมได้ยิงขึน

๑๐. สายด่วนยาเสพติด
(สถาบันธัญญรักษ์ กรมการแพทย์)

แหล่งทีมา

สาํ นักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ (สขร.)
http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER24/DR
AWER070/GENERAL/DATA0000/00000032.PDF


Click to View FlipBook Version