The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2560

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by รอฮานี มีซา ศว.ยะลา, 2020-12-22 03:19:22

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2560

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2560

รายงาน

การประเมินคณุ ภาพสถานศกึ ษาด้วยตนเอง
ประจาปีงบประมาณ 2560

ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษายะลา

สานกั งาน กศน.
สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คานา

พระราชบัญญัติการศึกษาแหํงชาติ พ.ศ. 2542 ฉบับที่ 3 พ.ศ.2553 ในมาตรา 48
กาหนดใหห๎ นํวยงานต๎นสังกัดและสถานศกึ ษาจัดให๎มรี ะบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให๎ถือวําการ
ประกันคณุ ภาพภายในเป็นสํวนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีต๎องดาเนินการอยํางตํอเนื่อง โดยมีการ
จัดทารายงานประจาปีเสนอตํอหนํวยงานต๎นสังกัด หนํวยงานท่ีเก่ียวข๎องและเปิดเผยตํอสาธารณชนซึ่งเป็นการ
ประชาสัมพันธ์และเผยแพรํถึงผลการดาเนินงานของสถานศึกษาวําสามารถดาเนินงานได๎บรรลุวัตถุประสงค์ตาม
เปา้ หมายไว๎มากน๎อยเพียงใด เพ่ือนาไปสูํการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพ่ือรับรองการประกัน
คณุ ภาพภายนอก

ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา เป็นสถานศึกษา สังกัด สานักงานสํงเสริมการศึกษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ซง่ึ มีภารกิจในการสํงเสริม สนับสนุนและจัดกจิ กรรมการศึกษาด๎านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และส่งิ แวดลอ๎ ม จงึ ได๎จัดทางานรายงานการประเมินตนเอง ประจาปี งบประมาณ 2560 ขึ้น ตาม
มาตรฐานและตวั บํงชี้ของสานักงานสงํ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จานวน 6 มาตรฐาน
23 ตัวบํงช้ี ภายใต๎กระบวนการบริหารงานอยํางมีคุณภาพหรือวงจร PDCA สาระสาคัญของรายงานการ
ประเมินตนเองฉบบั นีม้ ํุงเน๎นเพื่อให๎ไดข๎ อ๎ มลู สารสนเทศ อนั จะนาไปสกํู ารปรบั ปรุงและพฒั นาศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อ
การศกึ ษายะลาให๎เป็นองคก์ รทีม่ ีคณุ ภาพ

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา ขอขอบคุณ คณะกรรมการสถานศึกษา บุคลากร
ผเู๎ กีย่ วข๎องทุกสํวน ที่ให๎ความรวํ มมอื มสี วํ นรวํ มในการแลกเปลยี่ นความคิดเห็น เพื่อเปน็ ขอ๎ มูลในการจัดทารายงาน
การประเมินตนเองในครั้งน้ี และหวงั เปน็ อยํางยงิ่ วําเอกสารฉบบั น้จี ะเป็นประโยชนแ์ กํผู๎เก่ยี วข๎องตอํ ไป

ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศึกษายะลา
กนั ยายน 2560

๒ รายงานการประเมินตนเอง 2560 : ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษายะลา

สารบญั

บทท่ี 1 ข๎อมลู พนื้ ฐานของสถานศกึ ษา หนา้
บทที่ 2 ทศิ ทางและผลการดาเนนิ งานของสถานศึกษา 4
บทท่ี 3 ผลการประเมนิ ตนเอง 18
บทท่ี 4 สรุปผลการประเมินตนเองและแนวทางการพฒั นาสถานศกึ ษา 23
คณะผู๎จดั ทา 40
48

๓ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษายะลา

บทที่ 1
ขอ้ มลู พื้นฐานของสถานศึกษา

1. ช่อื สถานศกึ ษา ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษายะลา
2. ที่ต้ัง/การติดต่อ เลขท่ี 1/29 ถนน อาคารสงเคราะห์ ตาบลสะเตง อาเภอเมือง จังหวัดยะลา
รหัสไปรษณีย์ 95000 โทรศัพท์ 073-214920 , 073-215292 โทรสาร 073-216755
E-mail [email protected] Website : yalasci.com
3. สงั กดั สานกั งานสงํ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ โดยมเี ขตพ้นื ท่ีในการบรกิ ารคือจังหวัดยะลา จงั หวดั สตลู และจงั หวดั สงขลา
4. ประวัตคิ วามเปน็ มาของสถานศึกษา

4.1 ประวัตสิ ถานศึกษา
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพอื่ การศกึ ษายะลา เป็นประเภทสถานศึกษาข้นึ ตรงกบั สวํ นกลางสงั กดั สานกั งาน

สงํ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานักงานปลดั กระทรวง-ศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ
มีหน๎าที่ในการจัดกจิ กรรมและสงํ เสริมการเรยี นรดู๎ ๎านวิทยาศาสตร์ใหก๎ ับเยาวชนและประชาชนในทกุ ระบบการศึกษา
ด๎วยรปู แบบการเรียนรู๎ทห่ี ลากหลาย

กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได๎ประกาศจดั ตงั้ ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษายะลาเมอ่ื วันที่ 8 พฤศจกิ ายน
พ.ศ. 2538 (ตามมติคณะรัฐมนตรี 16 สิงหาคม พ.ศ. 2537) โดยระยะแรกใช๎ชื่อวํา ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือ
การศึกษาจังหวัดยะลา ตํอมาเปล่ียนชื่อเป็น ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา (ตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการเมอื่ วันท่ี 26 มนี าคม พ.ศ. 2551) ไดเ๎ ริ่มดาเนินการกํอสร๎างในวันที่ 10 ตุลาคม 2539 ใน
วงเงินงบประมาณกํอสรา๎ ง 5,000,000 บาท (ห๎าล๎านบาทถ๎วน) แล๎วเสรจ็ และเปิดใหบ๎ ริการเมอ่ื วนั ท่ี 10 มถิ ุนายน
พ.ศ. 2540 โดยทาพธิ เี ปิดอยํางเป็นทางการเมื่อวันท่ี 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 (นางสาว กัญจนา ศิลปะอาชา
รฐั มนตรีชํวยวําการกระทรวงศึกษาธิการเปน็ ประธานในพธิ ีเปิด)

ปจั จบุ ันศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษายะลา กระจายอยํูในเขตกรุงเทพมหานคร และภูมิภาคท่ัว
ประเทศรวมจานวน 19 แหํง ดังนี้

1. ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษา
2. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษารงั สิต
3. อุทยานวิทยาศาสตรพ์ ระจอมเกล๎า ณ หว๎ากอ จังหวดั ประจวบคีรขี ันธ์
4. ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษากาญจนบุรี
5. ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษาขอนแกํน
6. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษาตรงั
7. ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษานครราชสมี า
8. ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษานครสวรรค์
9. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพอื่ การศกึ ษานครศรธี รรมราช
10.ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษาพระนครศรอี ยุธยา

๔ รายงานการประเมินตนเอง 2560 : ศูนย์วิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษายะลา

11.ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษายะลา
12.ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ การศกึ ษาลาปาง
13.ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศกึ ษาสมทุ รสาคร
14.ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษาสระแก๎ว
15.ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษาอุบลราชธานี
16.ศนู ยว์ ิทยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมเพ่ือการศึกษารอ๎ ยเอด็
17.ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษาพิษณโุ ลก
18.ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพ่อื การศึกษานครพนม
19.ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษานราธิวาส

มีหนา๎ ท่ีความรับผดิ ชอบดงั นี้
1. จัดและบรกิ ารการเรยี นรดู๎ า๎ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสงิ่ แวดลอ๎ มให๎กับนักเรียน นักศึกษา
ทง้ั ในและนอกระบบ และประชาชนในพื้นท่ที รี่ บั ผิดชอบ
2. ศึกษา ค๎นควา๎ วิจัยและพัฒนารูปแบบกิจกรรม หลักสูตร สื่อ และกระบวนการเรียนรู๎ด๎าน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและส่ิงแวดล๎อม อาทิ ดาราศาสตร์ ธรรมชาติวิทยา เทคโนโลยีท่ี
เหมาะสม
3. เผยแพรํและบรกิ ารรูปแบบกิจกรรม หลักสูตร ส่ือ และกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู๎
ดา๎ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและส่ิงแวดล๎อม
4. พัฒนาครู อาจารย์ วิทยากร และบุคลากรทางการศึกษา ผู๎รับผิดชอบการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรดู๎ า๎ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอ๎ ม
5. สงํ เสรมิ สนบั สนุน และประสานงานรํวมกับภาคีเครือขํายในการจัดกิจกรรมการเรียนรู๎ด๎าน
วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ๎ ม
6. ปฏบิ ตั ิงานอืน่ ๆตามที่ไดร๎ ับมอบหมาย

4.2 อาณาเขต
เขตพ้ืนที่ใหบ้ ริการ
ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษายะลา รบั ผิดชอบให๎บรกิ ารทางด๎านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ

สิง่ แวดลอ๎ มให๎แกนํ กั เรยี น นักศกึ ษา และประชาชนทัว่ ไป ในเขตจงั หวดั ยะลา จงั หวดั สตลู และจังหวัดสงขลา

ทศิ เหนอื จรดอาเภอสะบ๎าย๎อย จงั หวดั สงขลา และอาเภอโคกโพธิ์ จังหวดั ปัตตานี
ทศิ ใต้ จรดรัฐเปรัด ประเทศมาเลเซีย
ทิศตะวันออก จรดอาเภอบาเจาะ อาเภอเสาะ จงั หวัดนราธวิ าส รฐั เปรดั ประเทศมาเลเซยี
ทศิ ตะวันตก จรดจังหวดั สงขลา และรัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซยี

๕ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษายะลา

แผนทจี่ งั หวัดยะลา

4.3 สภาพชุมชน
ลักษณะภมู ิประเทศ
ภูมปิ ระเทศโดยท่ัวไปของจงั หวดั ยะลา มีลกั ษณะเปน็ ภูเขา เนินเขาและหุบเขา ตัง้ แตํตอนกลาง

จนถงึ ใตส๎ ดุ ของจงั หวัด มีทรี่ าบบางสวํ นทางตอนเหนอื ของจงั หวดั ได๎แกํ บรเิ วณทร่ี าบแมนํ ้าปตั ตานี และแมนํ ้าสาย
บุรีไหลผาํ น อยสูํ งู กวําระดบั น้าทะเลปานกลางถงึ สงู มาก โดยเฉลย่ี ระหวําง 100- 200 เมตร พนื้ ทสี่ ํวนใหญปํ กคลมุ
ด๎วยปา่ ดงดิบ และสวนยางพารา มเี ทอื กเขาทสี่ าคญั อยูํ 2 เทอื กเขา คือ เทอื กเขาสนั กาลาคีรี เร่มิ จากอาเภอเบตง
เปน็ แนวยาวกัน้ พรมแดนระหวํางประเทศไทย กับประเทศมาเลเซียและเทือกเขาปิโล ซ่งึ เปน็ เทอื กเขาอยํูภายใน
จงั หวัด ในเขตตาบลบดุ ี บันนงั สาเรง ของอาเภอเมอื งยะลา กงิ่ อาเภอกรงปินงั และอาเภอรามนั

จังหวดั ยะลา มแี มํนา้ ทส่ี าคญั คือ แมนํ ้าปตั ตานี ตน๎ น้าเกดิ จากภูเขาในท๎องท่อี าเภอเบตง ไหลผําน
อาเภอธารโต อาเภอบันนงั สตา อาเภอเมืองยะลา จงั หวดั ยะลา อาเภอยะรงั อาเภอหนองจกิ จังหวัดปตั ตานีและไหล
ลงสํทู ะเลท่อี าเภอเมอื งปตั ตานี จงั หวดั ปตั ตานี ความยาวประมาณ 210 กโิ ลเมตร บรเิ วณที่แมํน้าปัตตานีไหลผําน
เขตอาเภอเบตง อาเภอธารโตและอาเภอบันนงั สตาเป็นพืน้ ทร่ี ะหวํางภเู ขา การไฟฟา้ ฝ่ายผลติ แหงํ ประเทศไทยจงึ ได๎
กํอสร๎างเขอ่ื นบางลางขน้ึ ทตี่ าบลบาเจาะ อาเภอบันนงั สตา เป็นเข่อื นไฟฟ้าพลงั นอ้ี กี แหงํ หนง่ึ ของภาคใต๎ ติดตัง้
เคร่อื ง กาเนินไฟฟา้ 3 เคร่อื ง มกี าลงั ผลติ รวม 72,000 กิโลวตั ต์

๖ รายงานการประเมินตนเอง 2560 : ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษายะลา

แมํนา้ อกี สายหนงึ่ ท่ไี หลผาํ นจงั หวดั ยะลา คอื แมนํ า้ สายบรุ ี ต๎นกาเนิดจาภูเขา สันกาลาคีรี ซ่งึ กั้น
เขตแดนระหวํางประเทศไทยกบั ประเทศมาเลเซยี ไหลผํานอาเภอแว๎ง อาเภอเสาะ จังหวัดนราธิวาส ผาํ นอาเภอรา
มนั จงั หวดั ยะลา แล๎วไหลลงสูํทะเลทอี่ าเภอสายบรุ ี จงั หวดั ปตั ตานี ความยาวประมาณ 150 กโิ ลเมตร

ภูเขาทสี่ าคัญ ของจงั หวดั ยะลา คอื ภูเขาสนั กาลาคีรี ซง่ึ เริ่มตน๎ จากเขตอาเภอโคกโพธ์ิ จงั หวัด
ปตั ตานี ผาํ นอาเภอยะหา อาเภอบันนงั สตา อาเภอธารโต และอาเภอเบตง เป็นสนั เขาที่แบงํ เขตแดนระหวําง
ประเทศไทยกันประเทศมาเลเซีย และเป็นตน๎ นา้ ที่สาคญั คอื แมํน้าสายบรุ ี อีกภเู ขาหนงึ่ คอื ภูเขาปโิ ล อยํรู ะหวาํ ง
ตาบลบดุ ี ตาบลบนั นงั สาเรง และตาบลกรงปนิ งั อาเภอเมอื งยะลา เปน็ เทือกเขา ยาวเหยียดติดตํอกบั เขตอาเภอรา
มันและอาเภอบันนงั สตา นอกจากนน้ั ยงั มีภเู ขาปรินยอ ซงึ่ อยํูระหวํางเขตอาเภอรามันและอาเภอบันนงั สตา

จากสภาพภมู ิประเทศทีอ่ ดุ มไปด๎วยภเู ขา ทาใหจ๎ งั หวดั ยะลามฝี นตกเกือบตลอดท้ังปี ทาให๎อากาศ
ชมุํ ชน้ื อากาศอบอํุนในตอน กลางวนั และเยน็ สบายในเวลากลางคืน

ลักษณะภูมอิ ากาศ
จังหวดั ยะลาต้งั อยํใู นเขตมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต๎ ทาให๎มีสภาพ

อากาศแบบรอ๎ นชืน้ มี 2 ฤดู คือ ฤดรู ๎อน เริ่มตงั้ แตเํ ดอื นกุมภาพันธ์ - พฤษภาคม และฤดูฝนเริ่มต้ังแตํ พฤษภาคม -
กุมภาพันธ์ อุณหภูมิต่าสุดเฉลี่ยประมาณ 23.1 องศาเซลเซียส และสูงสุด เฉล่ีย 32.7 องศาเซลเซียส ปริมาณ
น้าฝนเฉลย่ี 2,281.6 มลิ ลเิ มตร ตํอปี มีฝนตกเฉลย่ี 135 วันตอํ ปี เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน มฝี นตกชกุ ทส่ี ุด

การปกครอง

จังหวดั ยะลา แบํงเขตการปกครองตามลักษณะพืน้ ทอ่ี อกเป็น 8 อาเภอ 58 ตาบล 379 หมํูบ๎าน

แยกได๎ตามตารางขา๎ งลาํ ง

ที่ อาเภอ/กิ่งอาเภอ เขตการปกครอง พน้ื ท่ี

ตาบล หมู่บา้ น เทศบาล อบต. (ตร.กม.)

1. อาเภอเมืองยะลา 14 80 6 9 462.24

2. อาเภอรามนั 16 90 3 14 516.031

3. อาเภอบนั นังสตา 6 50 2 5 715

4. อาเภอกรงปินงั 4 23 - 4 185

5. อาเภอธารโต 4 37 1 4 675

6. อาเภอเบตง 5 32 2 3 1,328

7. อาเภอยะหา 7 49 2 7 499.9

8. อาเภอกาบงั 2 18 - 2 451

รวม 58 379 11 52 4,832.171

๗ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษายะลา

ข้อมูลกลมุ่ เป้าหมาย
จานวนสถานศกึ ษาในเขตพ้นื ท่บี ริการของศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษายะลา จาแนกรายจงั หวัด

จังหวดั ประชากร จานวนสถานศึกษา (โรง)
(คน)
ยะลา เขตพื้นท่ี ร.ร.เอกชน กศน. รวม หมายเหตุ
สตลู 522,279 214
สงขลา 317,612 180 177 8 399
1,417,440 471
รวม 2,257,331 865 58 7 245

84 16 571

319 31 1,215

จานวนอาเภอและประชากรในเขตพ้ืนที่บริการของศูนย์วิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษายะลา
จาแนกรายจงั หวดั

จงั หวดั จานวนอาเภอ ชาย ประชากร (คน) รวม หมายเหตุ
259,452 หญงิ 522,279
ยะลา 8 157,889 317,612
สตลู 7 691,618 262,827 1,417,440
สงขลา 16 1,108,959 159,723 2,257,331
31 725,822
รวม 1,148,372

ประเพณวี ัฒนธรรม
การแขง่ ขันนกเขาชวาอาเซยี น ยะลาเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต๎ตอนลํางที่นิยมเสียง

ของนกเขาและยังเช่ือวาํ นกเขาเป็นสัตวม์ งคลท่ีจะนาโชคลาภมาให๎แกํผู๎เป็นเจ๎าของ โดยเฉพาะหากเป็นนกเขาท่ีมี

ลักษณะถูกต๎องตามตารา ด๎วยเหตนุ ีท้ างเทศบาลเมืองยะลารํวมกับชมรมผ๎ูเล้ียงนกเขาชวาจังหวัดยะลา จึงจัดให๎มี
การแขํงขนั นกเขาชวาเสียงชงิ แชมป์อาเซยี น ครั้งที่ 1 ขนึ้ ในประเทศไทย เม่ือปี 2529 ตํอมาได๎จัดเป็นงานเทศกาล
ประจาปีของจังหวัดยะลา ณ บริเวณสนามสวนขวัญเมือง กาหนดการจัดงานคือ วันเสาร์-อาทิตย์ แรกของเดือน

มีนาคม ทกุ ปี ผลปรากฏเป็นทีน่ ิยมของผู๎ทเ่ี ลี้ยงนกเขาจากทัว่ ภูมภิ าคของประเทศไทยและประเทศในกลุํมอาเซียน
เชํน มาเลเซยี สิงคโปร์ บรูไน อินโดนีเซยี

ในการแขงํ ขนั ไดแ๎ บํงระดับเสียง 3 ระดบั ไดแ๎ กํ ระดบั เสียงเลก็ ระดบั เสียงกลาง และระดบั เสยี ง

ใหญํ
ปัจจบุ นั เทศบาลนครยะลารวํ มกับชมรมนกเขาชวาเสียงจังหวัดยะลาและกลํุมประเทศอาเซียนเป็น

ผู๎จัดการแขงํ ขนั นอกจากมกี ารแขงํ ขันนกเขาชวาเสยี งแลว๎ ยังมีกิจกรรมอนื่ ๆ เชํน การชนโค ชนแกะ ชนไกํ ตกปลา

และจาหนาํ ยสินค๎าผลติ ภณั ฑ์ อปุ กรณก์ ารเลีย้ งนกเขาชวาทุกชนดิ
งานสมโภชหลกั เมอื งยะลา เดมิ จังหวดั ยะลาเปน็ อาณาเขตหนึ่งในบรเิ วณ 7 หวั เมือง ซึง่

เป็นสํวนหน่งึ ของจงั หวดั ปตั ตานี เมอ่ื แยกออกเป็นเมืองหนง่ึ ตํางหากในสมัยกรุงรตั นโกสนิ ทร์ (ในรัชกาลที่ 1 พ.ศ.

2333) มีเจ๎าเมอื งปกครองนบั ตั้งแตํแยกเปน็ จังหวัดมาจนกระทง่ั ปัจจบุ ัน (พ.ศ. 2505) รวม 31 คน

๘ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา

จากการดาริของ พ.ต.อ. (พิเศษ) ศริ ิ คชหริ ญั ครง้ั ดารงตาแหนํงผูว๎ าํ ราชการจังหวดั ยะลารวํ มใจกัน
กอํ สรา๎ งหลักเมืองขนึ้ ท่บี ริเวณศูนยว์ งเวียน หน๎าศาลากลางจงั หวัด โดยเรมิ่ วางศลิ าฤกษ์กํอสร๎างเมอ่ื วันที่ 21
พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2504 เวลา 10.30 น. โดยกรมปา่ ไมเ๎ ปน็ ผ๎จู ัดหาไม๎ชยั พฤกษ์ จากปา่ เมืองกาญจนบรุ ี

เสาหลกั เมืองมลี กั ษณะเปน็ แทํงกลม ต๎นเสาวัดโดยรอบได๎ 105 เซนติเมตร ปลายเสา 48
เซนติเมตร สงู 1.25 เมตร มีเทพารกั ษจ์ ากกาญจนบรุ มี าประจาอยํูวางบนฐานกลมแกะสลกั ลวดลายแบบไทย ลง
รกั ษป์ ิดทองรอบฐานชน้ั บนและกลางแกะสลกั เปน็ รปู นกั รบโบราณถือโลํและดาบ กลําวกันวําเปน็ วิญญาณแมํทพั คน
หนง่ึ ของพระเจ๎าตากสนิ มหาราช

พระบาทสมเดจ็ พระเจ๎าอยหํู ัว รัชกาลปจั จบุ ัน ทรงพระสหุ รํายและทรงเจิมยอดเสาหลักเมืองและ
พระราชทานแกํ พ.ต.อ. (พเิ ศษ) ศิริ คชหริ ัญ เมอ่ื วนั ศกุ ร์ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 และไดฤ๎ กษ์ประกอบพิธฝี งั
เสาและปักยอดกลกั เมอื งเมือ่ วนั ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 เวลา 12.11 น.

ยอดเสาหลกั เมอื งแกะเป็นรปู พระพรหมมี 4 หนา๎ อนั เป็นหลักแหงํ ความเมตตา กรุณา มทุ ิตา และ
อุเบกขา สํวนศาลหลกั เมืองกํอสรา๎ งด๎วยคอนกรีตเสรมิ เหลก็ ตบแตํงดว๎ ยหนิ ขัดทงั้ หลังเป็นรปู จัตรุ มขุ หันหนา๎ ไปตาม
ทศิ ทั้ง 4 มีบันไดขนึ้ ท้ัง 4 ทศิ รูปลกั ษณส์ เ่ี หลย่ี มยํอมมุ ไมส๎ อบสอง หลังคามงุ ดว๎ ยกระเบ้ืองเคลือบสลบั สี ตวั ศาลา
กว๎าง 6.00 เมตร สงู 6.50 เมตร มีถนนทางเข๎า 4 ทศิ รอบ ๆ ตัวศาลมีสระนา้ และปลกู ไม๎ประดบั พนั ธ์ุไม๎ไทย

หลงั จากพิธีกรรมในการฝงั หลกั เมอื งผาํ นพ๎นไปแลว๎ ได๎จดั ให๎มงี านเฉลมิ ฉลองสมโภช 7 วัน 7 คนื
ตัง้ แตํวนั ที่ 25 – 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 และไดย๎ ึดถือเปน็ งานสมโภชประจาปีทกุ ปีตลอดมาจนกระทง่ั ปัจจุบัน

ลเิ กฮลู ู หรอื ดีเกฮลู ู เป็นการละเลนํ ข้นึ บทเปน็ เพลงประกอบดนตรแี ละจังหวะตบมือมี
รากฐานเดมิ มาจากคาวํา ลเิ ก คอื การอาํ นทานองเสนาะและคาวาํ ฮลู ู ซง่ึ หมายถงึ ทศิ ใต๎ ซง่ึ เมื่อรวมความแลว๎ คือ
การขบั กลอนเปน็ ทานองเสนาะจากทศิ ใต๎ บทกลอนท่ใี ช๎ขับเรียกวํา ปนั ตน หรอื ผาตง ในภาษามลายูถ่ินปตั ตานี

ผ๎ูรบู๎ างทาํ นไดก๎ ลําวไวว๎ ํา ลิเดฮูลู เกิดขึ้นเรม่ิ แรกทอี่ าเภอรามนั ซงึ่ ไมทํ ราบแนวํ ํา ผรู๎ ิเร่มิ นค้ี ือใคร
ชาวปตั ตานีเรียกคนในอาเภอรามันวาํ คนฮลู ู แตชํ าวมาเลเซียเรยี กศิลปะชนิดนว่ี าํ ดเี กปารัต ซง่ึ ปารตั แปลวาํ เหนือ
จงึ เปน็ ที่ยืนยันไดว๎ าํ ลเิ กฮลู ู หรอื ดีเกปารตั นม้ี าจากทางเหนือของมาเลเซยี และอยํูทางใต๎ของปตั ตานี

๙ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่อื การศกึ ษายะลา

4.4 ทาเนยี บผบู้ รหิ าร

ลาดบั ชื่อ-สกลุ ตาแหนง่ ระยะเวลาที่
ที่ ดารงตาแหนง่
พ.ศ.2540 - พ.ศ.2545
1. ดร.วชิ ัย สงั ขรัตน์ ผอ.ศว.ยะลา พ.ศ.2545 - 7 พ.ย.2548
8 พ.ย. 2548 – 30 ก.ย. 2549
2. นายอทุ ัย พงศจ์ นั ทรเสถยี ร ผอ.ศว.ยะลา 1 ต.ค. 2549 - 30 ก.ย. 2551
3 ต.ค. 2551 - 30 ก.ย. 2556
3. ผอ.กศน.จ.ยะลา 3 ต.ค. 2556 - 17 ก.พ. 2557
18 ก.พ. 2557 - 1 ม.ิ ย. 2557
นายวริ ตั น์ มะลิสุวรรณ รักษาการตาแหนํง 2 มิ.ย. 2557 – 1 ก.พ. 2558

ผอ.ศว.ยะลา 2 ก.พ. 2558 – 16 พ.ย. 2558
16 พ.ย. 2558 – 30 ก.ย. 2559
4. เรืออากาศเอกหญงิ ทพิ ยา แสงทอง ผอ.ศว.ยะลา
1 ต.ค. 2559 – 15 ม.ค. 2560
5. นายชัยฤทธิ์ เบญญากาจ ผอ.ศว.ยะลา
16 ม.ค. 2560 – 31 ส.ค. 2560
6. ครูชานาญการพเิ ศษ 1 ก.ย. 2560 – ปจั จุบนั

นางดวงแก๎ว อัลภาชน์ รักษาการตาแหนงํ

ผอ.ศว.ยะลา

7. นางสริ กิ าญจน์ จนั ทรสงค์ ผอ.ศว.ยะลา

8. ครชู านาญการพเิ ศษ

นางดวงแกว๎ อัลภาชน์ รักษาการตาแหนํง

ผอ.ศว.ยะลา

9. นายสชุ าติ ถาวระ ผอ.ศว.ยะลา

10. ครูชานาญการพเิ ศษ

นางดวงแกว๎ อลั ภาชน์ รักษาการตาแหนํง

ผอ.ศว.ยะลา

11. ผอ.กศน.จ.ยะลา

นายอุดร สทิ ธพิ าที รักษาการตาแหนํง

ผอ.ศว.ยะลา

12. ผอ.กศน.จ.ยะลา

นายธนกร เก้ือกลู รักษาการตาแหนงํ

ผอ.ศว.ยะลา

13. นายณฐั ภมู นิ ทร์ สังข์พงศ์ ผอ.ศว.ยะลา

๑๐ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศึกษายะลา

5. โครงสรา้ งสถานศึกษา

ผู้อำนวยกำรศูนย์วทิ ยำศำสตร์เพ่ือกำรศกึ ษำ
ยะลำ
คณะกรรมกำรสถำนศกึ ษำ

สถำนศึกษำ

กล่มุ อำนวยกำร กล่มุ งำนวชิ ำกำร กล่มุ งำนส่งเสริมและบรกิ ำร
อำนวยกำร บริกำร

หน.ส่วนอานวยการ หน. ส่วนวชิ าการ หน. ส่วนส่งเสริมและบริการ
-งานธุรการและสารบรรณ - งานกิจกรรมการศึกษา
-งานการเงินและบญั ชี - งานนิทรรศการ - งานผลิตและเผยแพร่
-งานพสั ดุ - งานกิจกรรมคา่ ย - งานส่วนเสรมิ และสนับเครือข่าย
-งานบุคลากร - งานบรกิ ารวชิ าการ - งานการตลาดและประชาสัมพันธ์
-งานยานพาหนะ - งานประกนั คุณภาพการศกึ ษา - งานเทคนิคและซ่อมบารงุ
-งานแผนงานและโครงการ - งานวัดผลและประเมนิ ผล - งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ
-งานอาคารสถานที่

6.งบประมาณที่ไดร้ ับ

6.1 เงินงบประมาณ

ประเภทรายจ่าย ได้รบั จดั สรร (บาท)

งบดาเนนิ งาน 5,246,620.00

ไตรมาส 1 - 2 2,767,310.00

ไตรมาส 3 - 4 2,479,310.00

งบรายจํายอื่น(คําปรบั ปรุงลานรอบอาคารจดั กิจกรรม ศว.ยะลา) 1,377,000.00

งบรายจํายอ่นื (คาํ ปรบั ปรงุ นทิ รรศการเมืองเด็ก) 3,000,000.00

งบรายจํายอ่ืน โครงการมหกรรมวทิ ยาศาสตร์เพอ่ื คนชายแดนใต๎ 424,600.00

(จชต.)

รวม 15,294,840.00

6.2 เงินนอกงบประมาณ

- ประเภทรายไดส๎ ถานศกึ ษา

การจัดเกบ็ เงินรายได้ จานวน (บาท)

ยอดยกมาจากปี 2559 336,544.24

รายไดป๎ ี 2560 392,530.00

รวม 729,074.24

- โครงการเทศกาลภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตร์นานาชาติ จานวน 75,000 บาท

๑๑ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษายะลา

7. การใชจ้ า่ ยงบประมาณ ไดร้ บั จัดสรร (บาท) เบกิ จา่ ย (บาท) คงเหลอื (บาท) หมายเหตุ
ประเภทรายจา่ ย 15,294,840.00
15,294,840.00 0.00.00 -
งบดาเนินงาน 75,000.00
75,000.00 0.00.00 -
โครงการเทศกาล 15,369,840.00
ภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์ 15,369,840.00 0.00.00 -
นานาชาติ

รวม

เงินรายไดส้ ถานศึกษา ผลการเบิกจ่าย (บาท) คงเหลือ (บาท)
366,399.00
729,074.24 362,675.00

8. สิ่งอานวยความสะดวก จานวน

ข้อมูลอาคาร 1 หลงั
1 หลงั
ที่ ประเภท 1 หลงั
1. อาคารสานักงาน
2. อาคารจดั กจิ กรรมเอนกประสงค์ 1 หลัง
3. อาคารนิทรรศการเมืองเดก็ 1 หลัง
4. อาคารจดั นทิ รรศการไฟฟา้ ในชีวติ ประจาวนั 1 หลัง
5. อาคารจัดนทิ รรศการพลังงาน
6. อาคารจดั นทิ รรศการสมุนไพรและการปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ 1 หลงั
7. เรอื นสวนผเี สอื้ 1 หลัง
8. อาคารศูนย์เรียนรคู้ ืนชีวิตใหแ้ ผ่นดิน 1 หลงั
9. อาคารเรยี นร้นู ทิ รรศการคมนาคมขนสง่ และการส่อื สาร
10. อาคารเรียนรู้นิทรรศการวทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื ชีวิต 1 หลงั
11. ห้องน้า-หอ้ งส้วม 26 ห้อง
12. อาคารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 3 ชน้ั 1 หลัง

๑๒ รายงานการประเมินตนเอง 2560 : ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพ่อื การศึกษายะลา

ยานพาหนะ

ประเภทรถยนต์ ทะเบียน จานวน หมายเหตุ
1. รถยนต์ปกิ อัพ 2 ประตู 1 คัน ได๎รบั มอบจากศนู ยว์ ิทยฯ์ เอกมัย
2.รถยนตต์ ๎ู บง 4263
3.รถนทิ รรศการเคลอื่ นท6ี่ ลอ๎ ยะลา 1 คนั TOR พลังงานในชวี ติ ประจาวนั
4.รถยนต์ต๎ู(เชาํ เหมาบรกิ าร)
นข 1061 1 คัน จัดซ้อื ด๎วยเงินงบประมาณแผนํ ดิน
ยะลา ปี 2548

80–5046 1 คัน เชาํ เหมาจากเอกชน ธ.ค.57 – ก.ย.62
ยะลา

36 - 0016
ยะลา

9. แหล่งเรยี นรแู้ ละภาคเี ครือขา่ ย

9.1 แหลง่ เรยี นรู้ ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษายะลาจัดกิจกรรมใหค๎ วามรูด๎ า๎ นวิทยาศาสตร์โดยแบงํ เป็น

กจิ กรรมการเรยี นร๎ูดงั นี้

ช่อื กิจกรรมการเรียนรู๎ ผรู้ ับผดิ ชอบ

กิจกรรมการเรยี นรู๎ STEM ศกึ ษา นายคณุ ากร สายธารจิตต์

กจิ กรรมการเรยี นรป๎ู ลกู พืชไร๎ดนิ นายคุณากร สายธารจิตต์

กิจกรรมการเรยี นรว๎ู ทิ ย-์ คณิต นายคณุ ากร สายธารจติ ต์

กจิ กรรมการเรยี นร๎ูวิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน นายฐานนั ดร์ สุทธิศกั ดา

กจิ กรรมการเรียนร๎คู วามหลากหลายทางชีวภาพ นายคณุ ากร สายธารจติ ต์

กิจกรรมการเรยี นรู๎คมนาคมขนสงํ และการสือ่ สาร นายธนาธิป ชูเมอื ง

กิจกรรมการเรียนรภ๎ู าพยนตร์วทิ ยาศาสตร์ 3 มติ ิ นายสถาพร สัตยารกั ษ์

กิจกรรมการเรยี นรว๎ู ทิ ยาศาสตรก์ ลางแจง๎ นายสกุ รี สาเมา๏ ะ

กิจกรรมการเรียนรไ๎ู ฟฟา้ ในชวี ติ ประจาวัน นายธนาธิป ชูเมอื ง

กิจกรรมการเรยี นร๎ูแรงโนม๎ ถวํ ง นายธนาธิป ชเู มือง

กิจกรรมการเรียนรู๎ภูเขาไฟ นางสาวรอฮานี มีซา

กจิ กรรมการเรียนรู๎เมืองเดก็ นางสาวนูรใอนี ดอเลาะ

กจิ กรรมการเรียนรู๎ยาหมํองสมุนไพร นายสถาพร สตั ยารกั ษ์

กจิ กรรมการเรยี นรวู๎ ทิ ยาศาสตร์เพอื่ ชวี ิต นางสาวนูรใอนี ดอเลาะ

กจิ กรรมการเรียนรูพ๎ ลังงาน นายสุกรี สาเม๏าะ

กิจกรรมการเรยี นรกู๎ ารแสดงทางวทิ ยาศาสตร์(Science Show) นายสถาพร สัตยารกั ษ์

๑๓ รายงานการประเมินตนเอง 2560 : ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษายะลา

กจิ กรรมการเรียนร๎ูดาราศาสตร์และอวกาศ นายสถาพร สัตยารกั ษ์
กจิ กรรมการเรยี นรบู๎ อลลูนอากาศรอ๎ น นายสถาพร สัตยารกั ษ์
กิจกรรมการเรยี นรป๎ู ยุ๋ ชีวภาพ นายธนาธปิ ชูเมือง
กิจกรรมการเรยี นรห๎ู อ๎ งปฏบิ ตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตร(์ LAB) นางสาวนูรดี า สาและ
กจิ กรรมการเรียนรน๎ู ้ามันมะพร๎าวสกดั เยน็ นางวรรณี อามะ
กิจกรรมการเรียนรู๎ภาวะโลกร๎อน นางวรรณี อามะ
กจิ กรรมการเรียนรเ๎ู จลล๎างมือฆําเชอ้ื โรค นางสาวนูรใอนี ดอเลาะ
กิจกรรมการเรียนร๎ูโฮโลแกรม นายธนาธิป ชูเมือง
กิจกรรมการเรียนรู๎คอปเตอรก์ ระดาษ นายสถาพร สตั ยารกั ษ์
กิจกรรมการเรียนรู๎ฉนั บินได๎ นายมะยารี ยาฝาด
กจิ กรรมการเรียนร๎ูจรวดขวดน้า นายธนาธปิ ชูเมือง
กจิ กรรมการเรียนรู๎จรวดกระดาษ นายมนญู เศษแอ
กิจกรรมการเรยี นร๎ู The xvolutions นายมนูญ เศษแอ

9.2 ภาคีเครือขา่ ย ทต่ี ั้ง/ที่อยู่
ชอ่ื ภาคีเครือขา่ ย ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา
ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา
สถานีอุตนุ ิยมวิทยาจงั หวัดยะลา 133 ถ.เทศบาล3 ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา
หนวํ ยงานบรกิ ารธรุ กิจพลงั งานจงั หวดั ยะลา ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา
มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา ถ.อาคารสงเคราะห์ ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา
สานกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดยะลา
สานกั งานสงํ เสริมสวสั ดภิ าพครูและบคุ ลากรทางการ ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา
ศึกษาจงั หวดั ยะลา ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา
สานกั งานพฒั นาทีด่ นิ จงั หวัดยะลา ต.สะเตง อ.เมือง จ.ยะลา
สานกั งานปศสุ ตั ว์ ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา
สานกั งานเกษตรจงั หวัดยะลา ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา
องค์การบรหิ ารสํวนจังหวดั ยะลา ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา
สถานตี ารวจภูธรจงั หวัดยะลา ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา
โรงพยาบาลจังหวดั ยะลา ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา
ชมรมผส๎ู งู อายจุ งั หวดั ยะลา ต.สะเตง อ.เมอื ง จ.ยะลา
เทศบาลนครยะลา อ.เมอื ง จ.ยะลา
สมาคมอสิ ลามประจาจงั หวดั ยะลา อ.เมือง จ.ยะลา
สานักงาน กศน.จังหวัดยะลา
สานักงาน กศน.จังหวัดนราธิวาส

๑๔ รายงานการประเมินตนเอง 2560 : ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษายะลา

สานกั งาน กศน.จงั หวัดปตั ตานี อ.เมอื ง จ.ปัตตานี
สานกั งาน กศน.จงั หวัดสตูล อ.เมอื ง จ.สตลู
โรงเรียนในสังกัด สพป.จงั หวดั ยะลา จ.ยะลา
โรงเรยี นในสงั กดั สพป.จงั หวัดนราธิวาส จ.นราธวิ าส
โรงเรียนในสงั กัด สพป.จังหวัดปัตตานี จ.ปัตตานี
โรงเรยี นในสงั กดั สพป.จังหวดั สตลู จ.สตลู
โรงเรียนในสงั กดั สานักงานเอกชนจงั หวัดยะลา จ.ยะลา
โรงเรียนในสังกดั สานักงานเอกชนจงั หวดั นราธวิ าส จ.นราธวิ าส
โรงเรียนในสังกดั สานักงานเอกชนจงั หวัดปตั ตานี จ.ปตั ตานี
โรงเรียนในสังกดั สานกั งานเอกชนจังหวัดสตลู จ.สตลู
โรงเรียนในสังกดั เทศบาลจงั หวดั ยะลา ยะลา

10. เกยี รติยศ ชอ่ื เสยี ง และผลงาน/โครงการดเี ด่นของสถานศึกษา

ผลงานดีเดํนและเปน็ ท่ภี าคภมู ใิ จของศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษายะลา คือ
- โครงการการประกวดการแสดงทางวทิ ยาศาสตร์ (Science Show) ระดับประเทศ ประถมศึกษา ได๎รับ
รางวลั ชมเชย และระดับประเทศ มัธยมศึกษาตอนตน๎ ได๎รับรางวลั ชมเชย โครงการดังกลําว เป็นการเสนอรูปแบบ
การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ที่นําสนใจ มีความสนุกสนาน ต่ืนเต๎น เร๎าใจ เพื่อสํงเสริมให๎ครู
และนักเรยี นได๎มีเวทีแสดงความสามารถฝกึ ความกลา๎ แสดงออกในทางท่ถี กู ตอ๎ งและเหมาะสม โดยศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์
เพอ่ื การศกึ ษายะลาได๎จัดเวทกี ารประกวดคัดเลอื กเพอื่ เปน็ ตัวแทนศูนย์ฯ ในเขตพื้นท่ี จังหวัดยะลา สงขลา และ
สตูล
- โครงการการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ นักศึกษา กศน. ระดับประเทศ มัธยมศึกษาตอนต๎น ได๎รับ
รางวลั ชมเชย

๑๕ รายงานการประเมินตนเอง 2560 : ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษายะลา

11. ผลการประเมินคุณภาพภายในและภายนอกท่ีผา่ นมา

11.1 ผลการประเมินคุณภาพภายใน ปี 2555 – ปี 2557

สรปุ ผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยตน๎ สงั กดั ในภาพรวม

ผลการประเมนิ คุณภาพ

มาตรฐาน คะแนนเต็ม สถานศกึ ษาโดยตน้ สงั กัด

คะแนนท่ไี ด้ ระดับคุณภาพ

มาตรฐานท่1ี คุณภาพผเ๎ู รยี น/ผร๎ู บั บริการ 35 32.32 ดมี าก

มาตรฐานที่2 คุณภาพการจดั การศึกษา/ 25 21.40 ดี
การใหบ๎ รกิ าร

มาตรฐานท่ี3 การบรหิ ารการศึกษา 10 9.60 ดีมาก

มาตรฐานท่ี4 การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 10 7.40 ดี

มาตรฐานท่ี5 อัตลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา 10 10.00 ดีมาก

มาตรฐานที่6 มาตรการสงํ เสรมิ 10 10.00 ดมี าก

คะแนนโดยภาพรวม 100 90.72 ดมี าก

สรปุ ผลการประเมินภาพรวม ดีมาก
1. การประเมนิ ภาพรวม

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา มีผ๎ูบริหารท่ีมีสมรรถนะในการบริหารและมีวิสัยทัศน์ในการจัด
กิจกรรมการศึกษาด๎านวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและสิ่งแวดล๎อม สถานศึกษาใช๎มาตรฐานการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศยั เปน็ เปา้ หมายในการบริหารจัดการ คณะกรรมการสถานศึกษาและภาคีเครือขํายมีสํวนให๎

การสนบั สนนุ กาจดั กิจกรรมการศึกษาดา๎ นวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล๎อม สถานศึกษามีหลักสูตรและสื่อ
การเรียนรูด๎ า๎ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละส่งิ แวดลอ๎ มท่ีหลากหลาย มีการประเมินความพึงพอใจของผ๎ูรับบริการ
ครูผ๎สู อนและบุคลากรมคี วามร๎คู วามสามารถและมปี ระสบการณ์ในการจัดกิจกรรมจัดการความรูแ๎ ละปฏบิ ัติงานตาม

ภารกิจ

2. นวตั กรรมหรือแนวปฏิบัติทีด่ ี
1. การจดั กจิ กรรมคํายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสง่ิ แวดลอ๎ ม ไดป๎ ระกันคณุ ภาพตามมาตรฐาน ตัวชว้ี ดั

ตามโครงสร๎างหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ.2551 และมผี ูม๎ าขอใชบ๎ รกิ ารจานวนมาก
2. ไดร๎ บั รางวลั รองชนะเลิศ ในการเข๎ารํวมกจิ กรรมวนั วทิ ยาศาสตรแ์ หงํ ชาติ
3. ฐานการเรียนรก๎ู ารผลติ ปยุ๋ ชีวภาพเดือนดิน และฐานการเรียนรคู๎ นื ชีวติ ให๎แผนํ ดิน

3. จุดทคี่ วรพัฒนา
1. สถานศกึ ษาควรมีการประเมนิ การใช๎หลกั สตู รกจิ กรรมคาํ ยวทิ ยาศาสตร์
2. สถานศกึ ษาควรสนบั สนุนใหบ๎ ุคลากรได๎รบั การพฒั นาตนเองในหลักสตู รการอบรมทางดา๎ นวิทยาศาสตร์

เทคโนโลยีทสี่ อดคล๎องกบั หลกั สูตรกจิ กรรมคาํ ยวทิ ยาศาสตรท์ เี่ ปดิ ใหบ๎ รกิ าร

๑๖ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศกึ ษายะลา

3. สถานศกึ ษาควรมกี ารจดั ทาแบบประเมินและสรุปผลการประเมินทกั ษะด๎านวทิ ยาศาสตร์ตรงตาม
วตั ถุประสงค์ของหลกั สูตร และประเมนิ จติ วิทยาศาสตรข์ องผรู๎ บั บริการ

4. สถานศกึ ษาควรมกี ารนเิ ทศติดตามผลการดาเนนิ งานรวํ มกับภาคีเครือขาํ ย
4. จุดเด่นของสถานศึกษา

1. ผบู๎ รหิ ารมสี มรรถนะในการบรหิ ารองคก์ ร และมีวิสยั ทัศน์ทช่ี ดั เจน
2.บคุ ลากรของสถานศึกษามีความร๎ูความสามารถทางดา๎ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและสงิ่ แวดล๎อม
3. บคุ ลากรมคี วามเข๎าใจในความแตกตํางของความเช่ือในศาสนาและวฒั นธรรมของผร๎ู ับบรกิ าร
4. สถานศกึ ษามีวสั ดอุ ปุ กรณท์ ท่ี ันสมัยในแตลํ ะฐานการเรยี นรูว๎ ทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี
5. ภาคีเครอื ขํายมีสํวนรวํ มสนบั สนนุ ในการจัดกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ด๎าน
วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละส่ิงแวดลอ๎ ม
5. ข้อเสนอแนะในการพฒั นาสถานศกึ ษา
1. ควรมีการพฒั นาบคุ ลากรให๎มคี วามรูค๎ วามเขา๎ ใจและจดั ระบบการทางานใหค๎ รบวงจร PDCA
2. ควรมีการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นากจิ กรรมการจดั การเรียนรู๎คาํ ยวทิ ยาศาสตร์ และนวัตกรรมทเี่ ป็นประโยชนใ์ น
การสรา๎ งระบบคิดปลูกจิตวทิ ยาศาสตร์
6.ทิศทางการพฒั นาของสถานศึกษา
1. พัฒนาเทคนิคการจัดกจิ กรรมในฐานการเรียนรูท๎ ม่ี ีคุณภาพ
2. สํงเสรมิ บุคลากรให๎ทาการวิจยั ทางด๎านเน้อื หาและรปู แบบการจัดกจิ กรรมคํายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
และสงิ่ แวดล๎อม
3. พัฒนาระบบการจดั การฐานข๎อมูลในการบรหิ าร

11.2 ผลการประเมินคุณภาพภายนอก
ยังไมไํ ด๎รับการประเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษาภายนอก

๑๗ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษายะลา

บทท่ี 2
ทิศทางและผลการดาเนินงานของสถานศึกษา

ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษายะลา ได๎กาหนดทิศทางการดาเนนิ งานไว๎ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
และแผนปฏบิ ตั ิการประจาปี โดยไดด๎ าเนินงานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี และมผี ลการดาเนินการดังน้ี

2.1 ทศิ ทางการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา

ปรัชญา
สร๎างระบบคดิ ปลูกจติ วทิ ยาศาสตร์

วิสัยทศั น์
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา สํงเสริม สนับสนุน สังคมแหํงการเรียนรู๎ ด๎วยกระบวนการสร๎าง

ระบบคดิ ปลกู จติ วิทยาศาสตร์

อัตลกั ษณ์
คิดเปน็ เน๎นการมีสวํ นรวํ ม เกิดทักษะวทิ ยาศาสตร์

เอกลกั ษณ์
เรียนรู๎วิทยาศาสตรก์ ับวถิ ีชวี ิต

พนั ธกจิ

1. จดั และสํงเสรมิ กระบวนการเรยี นรู๎ดา๎ นวทิ ยาศาสตร์ ทกุ รปู แบบ ทงั้ ในระบบนอกระบบ และอธั ยาศยั
สาหรบั เดก็ เยาวชนและประชาชนท่ัวไป

2. วิจัยและพฒั นา นวัตกรรมการจัดกระบวนการเรียนร๎ู และการบรกิ ารจดั การองค์กรด๎านวิทยาศาสตร์
3. สงํ เสรมิ พฒั นาบคุ ลากรทเี่ กี่ยวข๎องในการจัดการเรยี นร๎ู ดา๎ นวทิ ยาศาสตร์อยาํ งตอํ เนอื่ ง
4. นานวัตกรรมการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมํ มาใชใ๎ นการบริหารงานศูนย์
5. จดั ขยาย และแสวงหาเครอื ขําย แหลงํ การเรยี นรูด๎ ๎านวิทยาศาสตร์
6. สํงเสริม สนับสนุน และพัฒนาเครือขาํ ย ในด๎านการจัดกระบวนการเรียนรู๎ ด๎านวิทยาศาสตร์

๑๘ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษายะลา

เป้าประสงค์และตัวช้วี ดั ความสาเรจ็ ตวั ชี้วัดความสาเรจ็

เป้าประสงค์ 1. จานวนผร๎ู บั บรกิ าร
1. ผ๎ูรับบริการได๎รับความร๎ู เกิดทักษะ
2. ร๎อยละความพงึ พอใจของผ๎ูรบั บรกิ าร
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเจตคติ 3. ร๎อยละของผ๎ูรับบริการท่ีมีความรู๎ ทักษะ
เชิงวิทยาศาสตร์ ตลอดจนมีความพึงพอใจ
ในการรบั บรกิ าร และเจตคติเชิงวทิ ยาศาสตร์
2. มีองค์กรภาคสํวนตํางๆ รํวมเป็นภาคี
เครอื ขํายในการสนับสนุนและจัดกิจกรรม 4. จานวนภาคเี ครือขาํ ย
การเรียนรดู๎ ๎านวทิ ยาศาสตรอ์ ยาํ งตอํ เน่ือง 5. ร๎อยละผ๎ูรับบริการมีความพึงพอใจในการ
3. มีงานวิจัย หลักสูตร สื่อ นิทรรศการ และ
รู ป แ บ บ ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู๎ ท่ี บริการในระดบั ดีขึ้นไป
หลากหลาย ทนั สมัยและมีคุณภาพ พร๎อม
การเขา๎ สูปํ ระชาคมอาเซียน 6. จานวนชมุ ชนทไ่ี ด๎รับความรแ๎ู ละทักษะทาง
4. ชมุ ชนไดร๎ บั การสํงเสรมิ กระบวนการเรยี นรู๎ วิทยาศาสตร์
และมสี ํวนรวํ มในการแก๎ปัญหาเพ่ือพัฒนา
ชุ ม ช น โ ด ย ใ ช๎ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง 7. จานวนบุคลากรท่ไี ดร๎ ับการพัฒนา
วิทยาศาสตร์
5. มีระบบการบริหารจดั การท่มี ีประสทิ ธภิ าพ 8. จานวนระบบฐานข๎อมูลสารสนเทศ
9. หนํวยงานผาํ นการประเมนิ คุณภาพ
10.ระบบโครงสร๎างพื้นฐานที่ได๎รับการพัฒนา

และปรับปรุง

ยุทธศาสตร์ในการดาเนินงาน
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 จัดและให้บรกิ ารการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรเ์ ชงิ รุกอยา่ งมคี ุณภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สรา้ งสมั พนั ธ์และขยายภาคีเครือข่าย

ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ผลิตและพฒั นานวตั กรรมทีท่ ันสมัย
ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 นาความรูแ้ ละทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร์สชู่ มุ ชน
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการให้มีประสิทธิภาพ

๑๙ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษายะลา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ 1. แหล่งเรียนรทู้ ่ีมคี ุณภาพ

ลาดับที่ ยุทธศาสตร์ ชอ่ื ยทุ ธศาสตร์ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ เงินนอก
งบประมาณ

1 1 พัฒนาคุณภาพ โครงการคํายวิทยาศาสตร์

ผูเ๎ รยี น/ เทคโนโลยแี ละสิง่ แวดลอ๎ ม 720,000

ผู๎รบั บริการ (พลงั งาน สิง่ แวดลอ๎ ม

ดาราศาสตร)์

โครงการเทศกาลภาพยนตร์ 75,000
200,000
วิทยาศาสตร์ 300,000
300,000
2 2 พัฒนาคุณภาพการ โครงการเสรมิ สรา้ งศักยภาพ 200,000
จัดการศกึ ษา/ บคุ ลากรศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่ือ 200,000
การใหบ๎ รกิ าร การศึกษายะลา
300,000
โครงการเปดิ โลกวิทยาศาสตร์
เพ่ือการเรยี นรชู้ ายแดนใต้

โครงการ สะเต็มศกึ ษา STEM
EDUCATION สาหรบั ครู กศน.

โครงการเผยแพร่
ประชาสมั พนั ธ์กจิ กรรม
วิทยาศาสตร์

3 3 พัฒนาภาคี โครงการพลงั วิทย์ พลงั ชมุ ชน
เครอื ขาํ ยการจัด ภายใตห้ ลกั แนวคดิ เศรษฐกจิ
การศกึ ษา พอเพียง

โครงการวทิ ยาศาสตรส์ ญั จรสู่
ชุมชนในพนื้ ทชี่ ายแดนใต้

๒๐ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษายะลา

ลาดับท่ี ยุทธศาสตร์ ช่อื ยุทธศาสตร์ โครงการ/กิจกรรม งบประมาณ เงินนอก
งบประมาณ
1,597,310
4 4 พฒั นาระบบการ โครงการบรหิ ารศูนย์
บรหิ ารองคก์ รใหม๎ ี วิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษา 20,000
ประสทิ ธิภาพ ยะลา ประจาปี 2560 20,000

โครงการประกันคุณภาพ 20,000
การศกึ ษา -

โครงการประชมุ คณะกรรมการ 20,000
สถานศกึ ษา
40,000
โครงการพฒั นาระบบขอ้ มลู 3,937,310 75,000
สารสนเทศเพอ่ื การบรหิ าร
จดั การ

โครงการบริหารความเสี่ยง

โครงการนิเทศภายใน
สถานศกึ ษา

5 5 พฒั นาองคก์ ร โครงการพฒั นาภูมทิ ศั น์ศนู ย์
สถานศึกษาเพือ่ วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษา
เขา๎ สูมํ าตรฐาน ยะลา

๒๑ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษายะลา

เปา้ หมายความสาเรจ็ รายมาตรฐาน

มาตรฐาน รายละเอียดมาตรฐาน น้าหนกั เปา้ หมายความสาเร็จ
(คะแนน) คา่ เฉลี่ย ระดบั
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู๎เรียน/ผรู๎ บั บรกิ าร
มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การ 35 คุณภาพ

ให๎บริการ 25 29.81 ดี
มาตรฐานท่ี 3 การบริหารการศกึ ษา
มาตรฐานท่ี 4 การประกนั คุณภาพการศกึ ษา 10 23.1 ดีมาก
10
มาตรฐานที่ 5 อัตลกั ษณ์ของสถานศึกษา 10 9.2 ดีมาก
มาตรฐานที่ 6 มาตรการสงํ เสริม 10 7.4 พอใช๎
100 10 ดีมาก
ภาพรวมสถานศึกษา 10 ดีมาก
89.51
ดี

2.2 ผลการดาเนินงานของสถานศึกษา

ผลการดาเนินงานของสถานศึกษาในรอบ 2 ปี ท่ีผํานมาและปีท่ปี ระเมนิ ตนเอง ดงั น้ี

โครงการ/ งบประมาณ ปี 2557 งบประมาณ ปี 2558 งบประมาณ ปี 2559

กจิ กรรม เปา้ หมาย ผลผลิต เปา้ หมาย ผลผลิต เป้าหมาย ผลผลิต

(คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน)

การจดั

กิจกรรม 48,000 54,588 48,000 49,437 48,000 58,122
เสริมทกั ษะ

วิทยาศาสตร์

คําย

วทิ ยาศาสตร์

เทคโนโลยี 10,000 17,072 10,000 11,060 10,000 10,102

และ

สิ่งแวดลอ๎ ม

กจิ กรรม 30,000 38,578 30,000 31,799 30,000 51,476
การศกึ ษา

กิจกรรม

บรกิ าร 32,000 32,771 32,000 33,514 32,000 38,322

วชิ าการ

รวม 120,000 143,009 120,000 125,810 120,000 158,022

๒๒ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษายะลา

บทที่ 3
ผลการประเมินตนเอง

ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษายะลา ประเมินตนเองตามมาตรฐาน และตัวบํงชี้ การศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย จานวน 6 มาตรฐาน 23 ตัวบํงชี้ ไดผ๎ ลการประเมินดงั นี้

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผเู้ รียน/ผู้รับบรกิ าร
ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลากาหนดเป้าหมายความสาเร็จของมาตรฐานที่ 1 ไว๎ท่ี ระดับ

คณุ ภาพ ดี ซ่งึ ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศึกษายะลาไดป๎ ระเมินตนเองในมาตรฐานที่ 1 ได๎ผลดงั นี้

มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ น้าหนกั ระดบั คุณภาพ
(คะแนน) คา่ เฉล่ีย ระดบั คุณภาพ

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น/ผ้รู ับบริการ 5
5
การศึกษาต่อเน่ือง 5
5
1.1 ผเู๎ รียนมคี วามใฝร่ ู๎และเรียนรอู๎ ยํางตอํ เนอื่ ง 5.00 ดมี าก
15 3.71 ดี
1.2 ผเ๎ู รยี น คดิ เปน็ /ทาเปน็ (ทกั ษะกระบวนการทาง 35 3.84 ดี
วทิ ยาศาสตร)์
4.45 ดี
1.3 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของผเ๎ู รยี นการศกึ ษาตอํ เนือ่ ง
(ผํานตามเกณฑ)์

ผเ๎ู รียนมีงานทาหรอื มรี ายไดเ๎ สริม มที กั ษะในการ

1.4 ทางาน สามารถทางานรํวมกบั ผอู๎ น่ื ไดแ๎ ละมีเจตคติ

ทีด่ ีตํออาชพี สจุ รติ

การศกึ ษาตามอธั ยาศัย

1.5 ความพึงพอใจตํอการใหบ๎ รกิ ารการศึกษา 12.81 ดี
(ดา๎ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสิ่งแวดลอ๎ ม) 29.81 ดี

ภาพรวมมาตรฐานท่ี 1

ผลการประเมินตนเองดังกลาํ ว เกดิ จากความตระหนกั และความพยายามในการดาเนนิ โครงการ/
กจิ กรรมของศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษายะลา ดังตํอไปนี้

ขอ้ มลู ความตระหนกั

๒๓ รายงานการประเมินตนเอง 2560 : ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศกึ ษายะลา

ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพือ่ การศึกษายะลา ตระหนักถึงความสาคัญของผ๎ูเรียน/ผู๎รับบริการ ในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู๎ที่มุํงเน๎นให๎ผ๎ูเรียน/ผู๎รับบริการ มีการแลกเปล่ียนเรียนรู๎ ท้ังระหวํางผู๎เรียน/ผู๎รับ บริการกับ
ครูผูส๎ อนหรอื ผูเ๎ รยี น/ผรู๎ บั บรกิ ารดว๎ ยกัน โดยสามารถทางานรวํ มกันกับผอู๎ ืน่ ได๎ รวมทั้งสามารถนาประสบการณ์การ
เรียนรแ๎ู ละทกั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตรม์ าใช๎ในการแก๎ปญั หาไดอ๎ ยาํ งเหมาะสม ทาให๎สามารถปฏิบัติงานท่ีได๎รับ
มอบหมายได๎อยํางครบถ๎วนสมบูรณ์ตามที่กาหนดไว๎ในแผนการจัดการเรียนร๎ูและผํานตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
กาหนด ซึ่งใช๎กระบวนการจัดการศึกษาในรูปแบบตํางๆ ในการพัฒนาศักยภาพของผ๎ูเรียน/ผ๎ูรับบริการ มี
วตั ถุประสงค์เพ่ือสร๎างเสริมความรู๎ ความเขา๎ ใจด๎านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสงิ่ แวดลอ๎ ม และมีความคาดหวัง ให๎
ผ๎ูเรียนสามารถนาความรู๎ ไปพัฒนาอาชีพ/ใช๎ในชีวิตประจาวัน และเกิดความพึงพอใจของผ๎ูรับบริการในการ
ใหบ๎ รกิ ารการศึกษาของศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษายะลา

ขอ้ มูลความพยายาม
ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา มีการกาหนดเป็นนโยบาย เพ่ือสร๎างความเข๎าใจให๎กับครู

หรือผ๎ูสอน/วิทยากร ในการพัฒนาผู๎เรียน/ผรู๎ ับบริการให๎เป็นผมู๎ ีความใฝร่ ๎ู และเรยี นร๎ูอยํางตอํ เน่อื งโดยกาหนดให๎ครู
หรือผูส๎ อน/วทิ ยากร มกี ารออกแบบกจิ กรรมสมดุ บันทกึ ท่ีให๎ผูเ๎ รยี น/ผร๎ู ับบรกิ าร ร๎จู ักวธิ ีการและการแสวงหาความรู๎
จากส่ือตํางๆ ด๎วยวิธีการท่ีหลากหลาย โดยมี กิจกรรม สมุดบันทึก ให๎ผู๎เรียน/ผ๎ูรับบริการได๎ฝึกปฏิบัติด๎วยวิธีการ
ตํางๆ พรอ๎ มทง้ั สอดแทรกทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นทุกกิจกรรม โดยใหผ๎ ๎เู รยี น/ผ๎ูรบั บริการ สรุป บันทึก
ผลของการแสวงหาความร๎ูและแหลํงที่มาของความรู๎ และต๎องให๎ครูหรือผ๎ูสอน/วิทยากร ประเมินผลการแสวงหา
ความรู๎ของผ๎เู รียน ตามกิจกรรมและใบงานท่กี าหนดให๎ เพอื่ ให๎ผู๎เรยี นรบั ทราบความก๎าวหน๎า ของตนเองและเพื่อให๎
บรรลุวัตถปุ ระสงค์หลักสูตรและสูํเปา้ หมายที่ต้งั ไว๎ และสอดคล๎องกับความต๎องการของผเู๎ รยี น/ผู๎รบั บรกิ าร

หลกั ฐานประกอบการดาเนินงาน
1. คาสงั่ แตงํ ต้งั คณะกรรมการดาเนนิ งานการจดั กิจกรรมการเรียนรู๎
2. รายงานการประชมุ
3. หลกั สตู ร/โปรแกรมการเรียนร๎ู
4. ทะเบยี นคุมวฒุ ิบัตร
5. บันทึกจานวนผ๎ูเรียน/ผู๎รับบริการที่ผํานเกณฑ์การประเมินความสามารถด๎านการคิดและ
ฝึกปฏบิ ตั ิ
6. แผนการจัดการเรยี นร๎ู
7. ตัวอยํางใบงาน/ใบกจิ กรรม ผลงานผ๎เู รยี น/ผ๎ูรบั บริการ
8. บนั ทึกการเรยี นร๎ขู องผ๎เู รยี น/ผูร๎ บั บรกิ าร
9. บนั ทกึ จานวนผ๎เู รยี นทีผ่ ํานเกณฑ์การประเมินความสามารถดา๎ นทกั ษะกระบวนการวทิ ยาศาสตร์
10. แฟม้ สะสมผลงานครู
11. ภาพถํายผลงาน กิจกรรม

จากการประเมินตนเองของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ในมาตรฐานที่ 1 พบวําศูนย์
วิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษายะลา บรรลุ ตามเปา้ หมายความสาเร็จของมาตรฐานที่ 1 ทกี่ าหนด โดยมจี ดุ เดนํ จุดควร
พัฒนาและข๎อเสนอแนะในการพัฒนา ดังน้ี

๒๔ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษายะลา

จดุ เด่น

1. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของผูเ้ รียนการศึกษาตอ่ เน่อื ง(ผ่านตามเกณฑ์) ศูนย์วิทยาศาสตร์
เพ่ือการศึกษายะลา มีกระบวนการจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย มํุงเน๎นการปฏิบัติกิจกรรม โดยให๎ลงมือ
ปฏิบัติจริง เพื่อพัฒนาศักยภาพของผ๎ูเรียน และเสริมสร๎างความร๎ู ความเข๎าใจให๎มีความสุขกับการเรียนร๎ู ด๎าน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละส่ิงแวดลอ๎ ม จากหลักสตู ร แตํละหลกั สตู ร/โปรแกรม/โครงการ/กิจกรรม ตํางๆ ได๎ผําน
ตามเกณฑท์ สี่ ถานศึกษากาหนด

2. ความพงึ พอใจตอ่ การให้บริการการศกึ ษา(ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม)
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา มีการจัดระบบการให๎บริการการศึกษาด๎านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
สิง่ แวดล๎อมท่มี คี วามหลากหลาย สอดคลอ๎ งกับความต๎องการของผู๎เรียน/รบั บรกิ าร ทาใหผ๎ ๎ูเรียน/ผู๎รับบริการมีความ
พงึ พอใจในการใหบ๎ รกิ ารการศึกษา รวมทั้งมีการนาผลจากการประเมินความพึงพอใจของผู๎เรียน/ผู๎รับบริการ มา
วเิ คราะหเ์ พอื่ ปรับปรุงและพัฒนาการจดั การศกึ ษาดา๎ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่งิ แวดล๎อม

3. ผู้เรียน คิดเป็น/ทาเป็น (ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์) ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือ
การศกึ ษายะลา มีรปู แบบของหลกั สตู ร/โปรแกรม/โครงการ/กจิ กรรม ท่ีสงํ เสรมิ ให๎ผเ๎ู รียนได๎มที ักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ มีการเรียนรด๎ู ว๎ ยตนเอง มีการฝึกปฏบิ ตั ิ ทาใหผ๎ เ๎ู รยี นสามารถคิดวิเคราะห์ในการแก๎ไขปัญหาตําง ๆ ท่ี
เกดิ จากการเรียนร๎ู และสงํ เสริมการทางานรํวมกบั ผ๎ูอืน่ เน่ืองจากการเรียนรูต๎ ลอดจนการทากิจกรรมตาํ ง ๆ มีการให๎
ผเ๎ู รียน/ผ๎ูรับบริการทางานรํวมกนั เป็นทีม

4. ผ้เู รียนมคี วามใฝ่รู้และเรียนรู้อยา่ งต่อเนอื่ ง ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษายะลา มีรูปแบบ
การจดั กจิ กรรมการเรียนร๎ู ท่สี ํงเสรมิ ให๎ผ๎ูเรียน/ผ๎ูรับบริการ มีพฤติกรรมใฝ่รู๎และใฝ่เรียนผํานการทากิจกรรม สมุด
บันทึกกิจกรรม ช้ินงานตําง ๆ รวมท้ังมีการบันทึกผลของการเรียนร๎ู จากแหลํงเรียนร๎ูท่ีหลากหลายและสามารถ
ปฏิบัตงิ านทไี่ ด๎รบั มอบหมาย ได๎อยาํ งถกู ตอ๎ ง บรรลวุ ัตถุประสงคห์ ลกั สตู รและสเูํ ป้าหมายทีต่ ัง้ ไว๎

5. ผู้เรียนมีงานทาหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้
และมเี จตคตทิ ีด่ ีต่ออาชพี สุจริต ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษายะลา มีการจัดรปู แบบกิจกรรมการเรียนร๎ทู สี่ ํงเสรมิ
ความคาดหวงั ของผ๎เู รยี น/ผูร๎ ับบริการ ในการนาความรู๎ ความเข๎าใจ ด๎านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล๎อม
ไปประยุกตใ์ ชใ๎ นการพัฒนาอาชพี /นาไปใชใ๎ นชีวติ ประจาวัน โดยมีทกั ษะในการทางานรํวมกับผู๎อ่ืนได๎และเจตคติที่ดี
ตอํ อาชีพสุจริต

จดุ ควรพัฒนา
ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษายะลา ควรจดั ใหม๎ กี ิจกรรมการเรียนรทู๎ ่ีสํงเสริมการเรียนรู๎ทางด๎าน

เทคโนโลยีท่ีมคี วามทนั สมยั และสมยั ใหมํ ใหม๎ ากขึน้ เพื่อใหผ๎ เู๎ รียนมีการเรยี นรู๎ทางดา๎ นเทคโนโลยีเทําทันเหตุการณ์
ในปัจจบุ นั

๒๕ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษายะลา

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา
ควรมีหลักสตู ร/โปรแกรม/โครงการ/กจิ กรรม ทส่ี งํ เสรมิ การเรยี นรวู๎ ทิ ยาศาสตร์ มคี วามหลากหลาย

และสอดคล๎องกบั ความตอ๎ งการของผูเ๎ รียน/ผูร๎ ับบริการ ในด๎านเทคโนโลยสี มัยใหมํใหม๎ ากขึ้น

มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การการศึกษา/การใหบ้ ริการ

ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศกึ ษายะลา กาหนดเป้าหมายความสาเร็จของมาตรฐานที่ 2 ไว๎ที่ ระดับ
คุณภาพ ดีมาก ซ่งึ ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพ่อื การศึกษายะลา ได๎ประเมินตนเองในมาตรฐานท่ี 2 ได๎ผลดงั นี้

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ค่า ระดับคุณภาพ
น้าหนัก คา่ เฉลี่ย ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษา/การใหบ้ รกิ าร 2.4 ดี
4.0 ดมี าก
2.1 คุณภาพของหลกั สูตร/โปรแกรมการเรยี นรู๎ 3 2.5 ดี
4 3.2 ดี
2.2 คุณภาพของครู/ผ๎ูสอน/วิทยากร 4.0 ดมี าก
3 4.0 ดีมาก
2.3 คุณภาพการจัดการเรยี นการสอนของครแู ละผส๎ู อนท่ี 3.0 ดีมาก
เนน๎ ผเู๎ รียน/ผร๎ู บั บรกิ ารเปน็ สาคญั 4 23.1 ดมี าก
4
2.4 คุณภาพผู๎สอน/วทิ ยากรสอนการศกึ ษาตํอเนอื่ ง 4
3
2.5 คณุ ภาพสอื่ ทเี่ ออื้ ตอํ การเรียนรูข๎ องผู๎เรยี น/ผรู๎ บั บริการ 25
2.6 คณุ ภาพการจดั การศึกษาตามอัธยาศยั

2.7 การสรา๎ งสังคมแหงํ การเรยี นรู๎

ภาพรวมมาตรฐานที่ 2

ผลการประเมินตนเองดังกลาํ ว เกดิ จากความตระหนักและความพยายามในการดาเนินโครงการ/
กจิ กรรมของศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษายะลา ดังตอํ ไปนี้

ข้อมลู ความตระหนกั
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา มีหลักสูตรที่จัดทาขึ้นโดยผํานความเห็นชอบของ

คณะกรรมการสถานศึกษา ซ่ึงได๎รับการอนุมัติในการใช๎หลักสูตร เป็นหลักสูตรที่มีองค์ประกอบของโครงสร๎าง
ครบถ๎วนตามกระบวนการพัฒนาหลกั สูตร มกี ารจดั ทาหลกั สูตรและโปรแกรมการเรยี นรู๎ด๎านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี

๒๖ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศกึ ษายะลา

และส่ิงแวดล๎อม ทมี่ ีนโยบายในการพัฒนาหลกั สูตร ส่อื สาหรบั นักเรยี น นักศึกษานอกระบบ โดยเฉพาะ และมีการ
มอบหมายให๎ครูและผส๎ู อนของศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษายะลา จดั ทาหลักสตู ร/โปรแกรมการเรียนรู๎ อยาํ งน๎อย
คนละ 1 หลักสูตร เพื่อนามาใช๎ในการจัดกิจกรรมการเรียนร๎ูด๎านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่ิงแวดล๎อม แตํ
อยาํ งไรก็ตามการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู๎ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่อื การศึกษายะลากย็ งั มีข๎อจากัดในเร่ืองของสถานท่ี
ในการทากจิ กรรมบางสวํ น ทาให๎ไมํสามารถรองรบั ผูเ๎ ขา๎ รํวมกิจกรรมในแตํละครั้งได๎เพียงพอ

ขอ้ มูลความพยายาม
ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษายะลา มีการแตํงตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและโปรแกรม

การเรียนร๎ูด๎านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล๎อมเพ่ือนาเสนอผํานคณะกรรมการสถานศึกษา ในการ ท่ี
สอดคล๎องกับสภาพปัญหาและความต๎องการของผู๎รับบริการ โดยได๎ดาเนินการสารวจความต๎องการของผู๎เรียน/
ผ๎ูรับบริการ และนาข๎อมูลที่ได๎มาวางแผนพัฒนาหลักสูตรและโปรแกรมการเรียนร๎ูที่หลากหลาย เพื่อนาไปใช๎จัด
กจิ กรรมการเรยี นรูใ๎ หแ๎ กผํ ๎ูเรียน/ผ๎รู บั บรกิ ารมีการประเมินการใชห๎ ลักสูตร และนาผลการประเมินมาปรับปรุงพฒั นา
หลักสูตรและโปรแกรมการเรียนรู๎ เพ่ือการพัฒนาคุณภาพผู๎รับบริการให๎เป็นไปตามที่หลักสูตรกาหนด และได๎
ดาเนนิ การสารวจสือ่ และแหลํงเรียนรู๎ด๎านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล๎อม มีการจัดทาข๎อมลู สอ่ื และแหลํง
เรียนร๎ูท่ีหลากหลาย สํงเสริมให๎ผู๎รับบริการใช๎ส่ือหรือแหลํงเรียนร๎ู ผํานทางเว็บไซต์ ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ
การศกึ ษายะลา และสือ่ อิเลคทรอนิกสต์ าํ งๆ จากน้ันจัดทาแบบประเมิน ทาการประเมิน และสรุปผลการประเมิน
ความพึงพอใจใชส๎ อ่ื หรอื แหลงํ เรยี นร๎ู เพ่อื นาผลการประเมนิ มาปรบั ปรุงพัฒนาสื่อและแหลงํ การเรยี นร๎ู ใหด๎ ขี ้นึ ตํอไป

หลักฐานประกอบการดาเนินงาน
1. คาสง่ั แตงํ ต้ังกรรมการพฒั นาหลักสตู ร ปี 2559
2. คาสง่ั แตํงต้ังการมอบหมายปฏบิ ัตหิ นา๎ ที่
3. คาสง่ั แตํงต้ังคณะกรรมการจดั การสือ่ การเรียนร๎ู
4. บันทึกรายงานการประชุมการพัฒนาหลักสตู ร
5. รายงานการประชมุ
6. ผลการวิเคราะห์ข๎อมลู /เน้อื หาหลักสตู ร
7. หลักสตู รสถานศกึ ษา/คูํมอื การใชห๎ ลักสตู ร
8. แผนการจดั การเรียนรู๎/ใบงาน/กจิ กรรมการเรียนร๎ู
9. บนั ทกึ หลงั การจัดการเรียนร๎ู
10. แฟม้ สะสมผลงานของครู
11. รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านของครู
12. รายงานผลการนิเทศการจดั การเรียนร๎ู
13. รายงานผลการประเมินครู
14. รายงานการติดตามและประเมิน
15. รายงานผลการประเมนิ การจัดการเรยี นรู๎
16. เกยี รตบิ ตั ร/วุฒบิ ตั ร

๒๗ รายงานการประเมินตนเอง 2560 : ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษายะลา

17. ทาเนียบสอ่ื /แหลงํ เรยี นร๎/ู ภูมปิ ญั ญาทอ๎ งถ่นิ
18. รายงานผลการสารวจความตอ๎ งการการใช๎สื่อแหลงํ เรียนร๎ู
19. รายงานผลการประเมินความพงึ พอใจของผู๎รบั บรกิ าร
20. รายงานการปรบั ปรุงและพฒั นาสอื่ และแหลงํ เรยี นรู๎
21. คมูํ อื การจัดกจิ กรรม

สรุปผลการประเมนิ ตนเองในมาตรฐานที่ 2
จากการประเมินตนเองของศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษายะลา ในมาตรฐานที่ 2 พบวําสถานศึกษา

บรรลุ ตามเปา้ หมายความสาเร็จของมาตรฐานที่ 2 ที่กาหนดไว๎ โดยมีจดุ เดํน จุดควรพัฒนาและขอ๎ เสนอแนะในการ
พัฒนา ดงั น้ี

จดุ เด่น
1. คุณภาพของครูผู้สอน ศูนย์วิทยาสาสตร์เพื่อการศึกษายะลามีข๎าราชการครู ที่มี

ใบประกอบวิชาชีพครูหรือใบประกาศตามคุณวุฒิด๎านวิทยาศาสตร์หรือได๎รับการพัฒนาการอบรมทางด๎าน
วิทยาศาสตร์ และเป็นผู๎มีความรู๎ ทักษะ ประสบการณ์และมีความสามารถในการใช๎เทคนิควิธีในการสอน ใน
เนื้อหาวิชาได๎อยํางเหมาะสม มีการประเมินผลอยํางหลากหลาย และเป็นผ๎ูมีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตาม
จรรยาบรรณ มจี ติ วิญญาณของครดู า๎ นการสอนและเปน็ แบบอยาํ งใหก๎ ับผ๎ูเรียนทงั้ กาย วาจา และจิตใจ

2. คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูและผู้สอนที่เน้นผู้เรียน/ผู้รับบริการเป็นสาคัญ ศูนย์
วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษายะลา มกี ารศกึ ษา วเิ คราะห์หลักสตู รสถานศึกษา เป้าหมายการจดั การเรยี นรตู๎ ามรายวชิ า
ท่จี ัดการเรยี นการสอน โดยใช๎รปู แบบการจดั การเรียนการสอนที่หลากหลายและจัดบรรยากาศท่ีเอ้ือตํอการเรียนรู๎
ทาให๎ผเู๎ รียนมีความกระตือรอื รน๎ ในการเรยี นร๎ู

3. คุณภาพผู้สอน/วิทยากรสอนการศึกษาต่อเน่ือง ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา
มีผู๎สอนทจ่ี บวทิ ยาศาสตร์โดยตรง ทาให๎มคี วามรู๎ ความสามารถในการถํายทอดในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล๎อม ตลอดจนมีการประเมินผลการจัดการเรียนร๎ูเพื่อปรับปรุงและพัฒนา
หลกั สูตร

4. คุณภาพของหลกั สูตร/โปรแกรมการเรียนรู้ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา มีหลักสูตรท่ี
จัดทาขึ้นโดยคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรและผํานการอนุมัติการใช๎หลักสูตรจากคณะกรรมการสถานศึกษา มี
ความครบถ๎วนตามองค์ประกอบของหลักสูตร และเป็นหลักสูตรที่มีความสอดคล๎องกับสภาพปัญหาและความ
ตอ๎ งการของผู๎เรยี น/ชมุ ชน

5. คุณภาพของส่ือท่เี ออ้ื ต่อการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น/ผรู้ ับบรกิ าร ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศึกษายะลา
มีการจัดทาทาเนียบสือ่ การเรยี นร/๎ู แหลํงการเรียนรู๎ ทั้งภายในและภายนอกสถานศกึ ษาท่ีหลากหลายและมีคุณภาพ
เพอื่ ใหส๎ อดคลอ๎ งกบั ความต๎องการของผเู๎ รียนและผ๎ูรับบริการ ตลอดจนมีการประเมินความพึงพอใจของการใช๎ส่ือ
การเรยี นร/ู๎ แหลงํ การเรียนร๎ู เพ่ือนาผลที่ไดม๎ าพัฒนาให๎มปี ระสทิ ธิภาพตอํ ไป

6. คณุ ภาพการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษายะลามกี ารจดั และสํงเสรมิ
การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย โดยการใช๎ส่ือ กิจกรรมการเรียนร๎ูท่ีหลากหลายเพื่อตอบสนองความต๎องการของ
ผูร๎ ับบริการและการประชาสัมพันธ์การให๎บริการทางการศกึ ษาเพือ่ กระต๎ุน หรอื ใหผ๎ ๎ูรับบรกิ ารเขา๎ ถึงได๎

๒๘ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพอื่ การศึกษายะลา

จุดควรพัฒนา
การสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษายะลา ควรสํงเสรมิ การจดั กระบวนการ

เรียนรู๎ ทสี่ ํงเสริมและสนบั สนุนให๎ผร๎ู ับบรกิ ารเกดิ การเรยี นรโู๎ ดยผาํ นสอื่ เทคโนโลยี สารสนเทศ แหลงํ การเรียนรู๎ องค์
ความร๎ตู าํ งๆ และสามารถถาํ ยทอดความร๎ู แลกเปลีย่ นเรียนรู๎รํวมกัน ให๎มากย่ิงข้ึน การสรุปและรายงานผลการจัด
กระบวนการเรียนรู๎ทสี่ ร๎างสงั คมแหํงการเรียนรู๎ จากการประเมนิ ไปเพื่อปรับปรุงพฒั นายังไมตํ ํอเนื่อง

ข้อเสนอแนะในการพัฒนา
1. ควรสงํ เสรมิ การจัดกระบวนการเรียนรู๎ ที่สํงเสริมและสนับสนุนให๎ผู๎รับบริการเกิดการเรียนร๎ูโดย

ผํานสื่อ เทคโนโลยี สา รสนเทศ แ หลํงการเรี ยนรู๎ องค์ความรู๎ตํางๆ คุณภาพของ ครูและผู๎สอ น
ครูและผสู๎ อนควรนาความรคู๎ วามสามารถจากการพัฒนาตนเองไปพัฒนางานให๎มากข้ึน

2. ควรนาผลการประเมนิ ไปพฒั นาเพือ่ ปรบั ปรุงการจดั กระบวนการเรียนรู๎ท่สี รา๎ งสงั คมแหํงการเรียนร๎ู
อยาํ งตํอเนอื่ ง

มาตรฐานท่ี 3 การบริหารการศกึ ษา

สถานศกึ ษากาหนดเปา้ หมายความสาเรจ็ ของมาตรฐานท่ี 3 ไวท๎ ี่ ระดับคุณภาพ ดีมาก ซึ่ง
สถานศึกษาไดป๎ ระเมนิ ตนเองในมาตรฐานที่ 3 ดังน้ี

นา้ หนกั ระดับคุณภาพ

มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี (คะแนน) คะแนนท่ีได้ ระดบั
คณุ ภาพ

มาตรฐานที่ 3 การบรหิ ารการศึกษา

3.1 คณุ ภาพของการบรหิ ารสถานศกึ ษา 2 2.0 ดมี าก

3.2 ระบบฐานขอ๎ มลู เพอื่ การบรหิ ารจดั การ 2 1.6 ดี

3.3 ผลการบรหิ ารความเส่ยี ง 2 2.0 ดมี าก

3.4 ผลการปฏบิ ตั หิ นา๎ ที่ของผบู๎ รหิ ารสถานศกึ ษา 2 2.0 ดมี าก

3.5 ผลการปฏบิ ตั ติ ามบทบาทของคณะกรรมการ 2 1.6 ดี
สถานศกึ ษา

ภาพรวมมาตรฐานที่ 3 10 9.2 ดมี าก

ผลการประเมินตนเองดังกลาํ ว เกิดจากความตระหนกั และความพยายามในการดาเนนิ โครงการ/
กจิ กรรมของสถานศึกษา ดังตํอไปน้ี

ข้อมูลความตระหนัก

๒๙ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษายะลา

ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษายะลา เห็นความสาคญั ในการบริหารการศึกษาโดยได๎นามาตรฐาน
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั เป็นเป้าหมายในการบริหารจัดการ เพ่ือจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ
ทางการศึกษา ระยะ 3 ปี ( 2558 – 2560) และแผนปฏิบัติการประจาปี มีความสอดคล๎องระหวํางโครงการ
กิจกรรมและมาตรฐาน กศน. และกจิ กรรมเป็นแนวทางการดาเนนิ งานทช่ี ดั เจนทุกปี มกี ารจดั ทาคมํู ือการดาเนนิ งาน
มีการแตํงตั้งคณะกรรมการดาเนินงานตามโครงการและกิจกรรม ได๎มีระบบข๎อมูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารที่
ถูกตอ๎ งและครบถ๎วนเปน็ ปัจจุบันทคี่ รอบคลมุ ภารกิจด๎านการบริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหาร
บคุ คล และบริหารทว่ั ไป รวมท้งั การบริหารความเส่ียงเพอ่ื ลดมลู เหตขุ องโอกาสท่จี ะทาให๎เกิดความเสยี หายจากการ
ดาเนินงานซึ่งสามารถตรวจสอบไดอ๎ ยาํ งเปน็ ระบบมกี ารนิเทศติดตามประเมินผลเพอ่ื ใชใ๎ นการปรับปรงุ พัฒนา โดยมี
คณะกรรมการสถานศึกษาให๎คาปรกึ ษาและพจิ ารณาให๎ขอ๎ เสนอแนะแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการ
ประจาปี ให๎ความเหน็ ชอบหลกั สูตรสถานศึกษาสงํ เสรมิ ใหม๎ กี ารระดมทนุ ทางสงั คมและทรพั ยากรจากชมุ ชน องค์กร
ปกครองสํวนทอ๎ งถ่ิน มีสํวนรํวมในการจดั การศกึ ษา

ขอ้ มลู ความพยายาม

คุณภาพของการบริหารสถานศึกษา ได๎นามาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั เปน็ เป้าหมายในการบรหิ ารจัดการ ในทุกโครงการ/กิจกรรม ดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพและ
แผนปฏิบัติการประจาปี โดยใช๎วิธีประชุมปฏิบัติการเพ่ือให๎ทุกคนมีสํวนรํวมกาหนดทิศทางการดาเนินงานทั้งใน
อนาคตและปจั จุบนั ไดด๎ าเนนิ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบรหิ ารงานหลายระบบ ได๎แกํ ระบบการบริหาร
งบประมาณ ระบบบริหารบุคลากร ระบบบรหิ ารพัสดุ ทะเบียนเอกสารวชิ าการ ทะเบยี นสือ่ และทาเนียบแหลํง
เรยี นร๎ู มีการนิเทศติดตามประเมินผลไปใชใ๎ นการตดั สนิ ใจและปรับปรงุ พัฒนา

ระบบฐานข๎อมูลเพ่อื การบริหารจัดการมกี ารแตํงต้งั คณะกรรมการพัฒนาฐานข๎อมูล จัดประชุมเพ่อื
จัดทาแผนการพัฒนาใช๎ระบบฐานข๎อมูลการบริหารจัดการหลายระบบ ที่ถูกต๎องพร๎อมท่ีจะนามาใช๎การบริหาร
จัดการทคี่ รอบคลมุ ภารกจิ ดา๎ นการบริหารวิชาการ การบรหิ ารงบประมาณ การบริหารบคุ ลากร ฐานข๎อมูลครุภัณฑ์
GFMIS ฐานขอ๎ มลู สือ่ รวมท้งั เวบ็ ไซต์ของศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษายะลา

ผลการบริหารความเสีย่ ง ได๎นาระบบควบคุมภายในของสถานศึกษามาปฏิบัติเพ่ือนามาวิเคราะห์
ลาดับความสาคญั ของความเสี่ยง ( ด๎านกลยุทธ์ ด๎านการดาเนินงาน ด๎านการเงิน ด๎านการปฏิบัติตามกฎหมาย
กฎระเบยี บ ) จัดทาแผนบริหารความเส่ยี ง เพ่อื ลดมลู เหตุท่ีจะทาใหเ๎ กดิ ความเสียหาย

ผลการปฏิบัติหน๎าท่ีของผ๎ูบริหารสถานศึกษา บริหารงานโดยใช๎หลักธรรมมาภิบาล เน๎นการ
บริหารงานแบบมีสํวนรํวม โดยใช๎วิธีการประชุมปรึกษาหารือในการจัดทาแผนการดาเนินงานและแนวทางการ
ดาเนนิ งานโครงดารและกิจกรรมตําง ๆ มอบหมายให๎ปฏิบัติงานในรูปของคณะกรรมการซึ่งเป็นวิธีการแบบความ
รับผดิ ชอบอยาํ งเป็นระบบผู๎บรหิ ารมงํุ ผลสมั ฤทธข์ิ องงานโดยกาหนดให๎ ขา๎ ราชการครู แตํละคนรบั ผดิ ชอบ 2 สํวน
สํวนแรกเปน็ งานทป่ี ฏบิ ัตอิ ยเํู ป็นประจาตามโครงสร๎างการบริหารงาน เชํน งานการเงนิ งานพสั ดุ งานบุคลากร งาน
แผนงาน งานพัฒนาหลกั สตู รและพฒั นาสื่อ งานประชาสัมพันธ์ สํวนที่ 2 ให๎รับผิดชอบการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน ได๎แกํ การจดั กิจกรรมคาํ ยวิทยาศาสตร์สาหรับนักเรียนในระบบ นักศึกษา กศน. และประชาชนทั่วไป
กจิ กรรมนิทรรศการเคล่อื นที่ โดยมวี ิทยากรนาชม เปน็ ทมี งาน เพ่อื ให๎ทกุ คนได๎พัฒนาและปรับปรุงงานทร่ี ับผิดชอบ

๓๐ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษายะลา

ได๎อยาํ งเต็มความสามารถ เพื่อให๎งานมีคุณภาพมากท่ีสุด รวมทั้งมีการกากับติดตามผลการดาเนินงานทุกไตรมาส
และมกี ารสรุปผลการดาเนินงานวําบรรลุเป้าหมายหรือไมํ นอกจากนีใ้ นการประชุมประจาเดือน ผูบ๎ ริหารได๎เน๎นย้า
ในเรื่องการมจี ติ บริการทดี่ ี ให๎ผรู๎ ับบริการมคี วามพึงพอใจ และใหบ๎ รกิ ารเทําเทียมกนั ทุกกลํุมเปา้ หมาย

ผลการปฏิบัติตามบทบาทของคณะกรรมการสถานศกึ ษา มีความร๎ู ความเขา๎ ใจ สํงเสริม สนับสนุน
ให๎คาปรึกษาเสนอแนะในการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปี ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือ
การศึกษายะลา
หลกั ฐานการประกอบการดาเนนิ งาน

1 .แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา
2 .แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี
3. คาส่งั แตํงตง้ั คณะกรรมการ
4. บนั ทกึ การประชุมประจาเดอื น
5. คาสั่งมอบหมายงานข๎อมลู การบรหิ ารงบประมาณ
6. GFMIS
7 .ระบบบรหิ ารงานบุคลากร
8. การเรยี นรผู๎ ํานสอื่ อเิ ลคทรอนิกส์
9. การจองกจิ กรรมผํานเว็บไซต์
10. ทะเบยี นครุภัณฑ์
11. ทาเนยี บแหลงํ เรยี นร๎ู
12. คาสง่ั คณะกรรมการบริหารความเส่ยี ง
13. รายงานการประชมุ การวิเคราะห์ความเสีย่ ง
14. แผนบรหิ ารความเสี่ยง แผนปฏบิ ตั กิ าร
15. หลักสตู รสถานศกึ ษา
16. หนังสือเชญิ จากเครอื ขาํ ย
17. ภาพถาํ ยกจิ กรรม
18. ขอ๎ มลู การสารวจความตอ๎ งการการพฒั นาตนเองของบคุ ลากร
19. หนงั สือเชญิ เขา๎ รับการอบรม
20. วฒุ บิ ตั ร
21. แผนปฏิบตั ิการใช๎เงนิ ทะเบียนคมุ ตาํ งๆ
22. แผนพฒั นาบคุ ลากร/แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี
23. โครงการพฒั นาบุคลากร
24. แฟ้มสะสมผลงานครแู ละบุคลากร
25. แผนการนเิ ทศ/รายงานการนเิ ทศ
26. รายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา
27. ผลการสารวจความพงึ พอใจ
28. รายงานการประชมุ

๓๑ รายงานการประเมินตนเอง 2560 : ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษายะลา

สรปุ ผลการประเมินตนเองในมาตรฐานท่ี 3

จากการประเมินตนเองของศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษายะลา ในมาตรฐานที่ 3 พบวํา บรรลุ
ตามเป้าหมายความสาเรจ็ ของมาตรฐานท่ี 3 ทกี่ าหนดไว๎ โดยมีจดุ เดนํ จุดควรพัฒนาและขอ๎ เสนอแนะในการพัฒนา
ดงั นี้

จุดเด่น
1.คณุ ภาพของการบรหิ ารสถานศกึ ษา มีการบรหิ ารงานทีเ่ ปน็ ปจั จุบันการจัดกิจกรรมการเรียนรู๎ตํางๆ

เน๎นการสร๎างบรรยากาศการเรียนให๎กับผู๎เรียน โดยพัฒนาภูมิทัศน์ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา เป็น
พื้นท่ีสาธารณะเพ่อื การเรียนรู๎ตามอธั ยาศัย ที่เออ้ื ตํอการเรยี นของผร๎ู บั บรกิ าร

2. ผลการปฏิบัติหน๎าที่ของผ๎ูบริหารสถานศึกษา ผู๎บริหารปฏิบัติตนเป็นแบบอยํางท่ีดีและเป็นผ๎ูมี
วิสยั ทัศนใ์ นการจัดการศกึ ษา มีการบรหิ ารจัดการตามหลกั ธรรมาภิบาล ครอบคลุมครบถ๎วนท้ัง 4 ด๎าน ทั้งในด๎าน
วิชาการ ดา๎ นงบประมาณ ดา๎ นการบริหารบคุ คล และดา๎ นบริหารทว่ั ไป

จุดควรพัฒนา
1. ผลการบริหารความเสี่ยง การกากับติดตามและนาผลมาวิเคราะห์การบริหารความเส่ียงเพื่อ

นามาจัดทาแผนบริหารความเสย่ี งยงั ไมชํ ดั เจน
2. ระบบฐานข๎อมูลเพ่ือการบริหารจัดการ การตดิ ตามประเมินผลการใช๎ระบบฐานข๎อมูล ท่ีนาผล

การประเมินไปปรบั ปรงุ พัฒนาฐานข๎อมลู และนาขอ๎ มูลไปบริหารจัดการยงั ไมํชดั เจน
3. ผลการปฏบิ ัตติ ามบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา ในการกากบั ตดิ ตามผลการดาเนนิ งาน

ของสถานศึกษายงั ไมํตอํ เนอื่ ง

ขอ้ เสนอแนะในการพฒั นา
1. คุณภาพของการบริหารสถานศึกษา ควรมีการติดตามผลเพื่อนาข๎อมูลการประเมิน

ไปใช๎ใน การปรบั ปรงุ พัฒนางานใหเ๎ ป็นรูปธรรม
2. ระบบฐานข๎อมูลเพ่ือการบริหารจัดการ ควรมีแผนระบบฐานข๎อมูลให๎เป็นปัจจุบันโดยมีการ

รายงานการติดตามและประเมินผลการใช๎ระบบฐานข๎อมูล สภาพปัญหา อุปสรรค แนวทางการแก๎ไข และการ
พฒั นาทีเ่ ป็นปจั จบุ นั

3. ผลการบรหิ ารความเสี่ยง ควรวเิ คราะห์การบรหิ ารความเสี่ยงโดยจัดลาดับความสาคัญเรํงดํวน
ของความเส่ยี ง เพื่อนามาจดั ทาแผนบริหารความเสยี่ งอยาํ งชดั เจน

4. ควรให๎คณะกรรมการสถานศึกษามีบทบาทในการมีสํวนรํวม การติดตามผลการดาเนินงานท่ี
สาคัญ นอกจากการขอการให๎คาปรึกษาเพยี งอยํางเดยี ว

มาตรฐานท่ี 4 การประกนั คุณภาพการศึกษา
สถานศึกษากาหนดเป้าหมายความสาเร็จของมาตรฐานที่ 4 ไว๎ที่ ระดับคุณภาพ พอใช๎ ซึ่ง

สถานศกึ ษาไดป๎ ระเมินตนเองในมาตรฐานที่ 4 ดังน้ี

๓๒ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษายะลา

น้าหนกั ระดับคุณภาพ

มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ (คะแนน) คะแนนทไี่ ด้ ระดบั
คณุ ภาพ
มาตรฐานท่ี 4 การประกนั คุณภาพการศึกษา
4.1 การประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา 54 ดี
4.2 การประเมินคุณภาพภายในโดยตน๎ สังกดั
5 3.4 พอใช้
ภาพรวมมาตรฐานที่ ๔
10 7.4 พอใช้

ผลการประเมินตนเองดงั กลําว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดาเนินโครงการ/
กจิ กรรมของสถานศกึ ษา ดังตํอไปน้ี

ขอ้ มลู ความตระหนัก

ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา เห็นความสาคัญของกระบวนการพัฒนาการจัดการศึกษา
ตามกฎกระทรวงวําด๎วย ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา โดยกาหนดมาตรฐาน ตัวบํงชี้
และเกณฑก์ ารพจิ ารณาท่ีสอดคลอ๎ งกับเป้าหมาย พนั ธกจิ และวิสยั ทศั น์ของสถานศกึ ษา และไดม๎ ีการมอบหมายให๎มี
ผ๎ูรบั ผิดชอบงานประกันคณุ ภาพสถานศกึ ษาอยาํ งชัดเจน มีคาสงั่ แตงํ ตง้ั คณะกรรมการดาเนินงานประกนั คณุ ภาพ มี
คํมู อื ดาเนินงาน มกี ารจัดทารายงานการประเมนิ ตนเอง 3 ปีย๎อนหลังและมีการนาผลการประเมินตนเองไปพัฒนา
และปรบั ปรุงการดาเนินงานในปตี ํอไป

ข้อมลู ความพยายาม

การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาได๎ใช๎มาตรฐานตัวบํงชี้และเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ เป็น
หลักในการพฒั นาสถานศึกษา โดยการช้แี จงทาความเขา๎ ใจกับบุคลากรทุกคน แตงํ ต้งั คณะกรรมการดาเนินงานและ
ผรู๎ ับผดิ ชอบรายตวั บํงช้ี ติดตามความก๎าวหน๎าในการดาเนินงานเป็นระยะ แตํงตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพ
ภายในโดยการตรวจไขว๎ และนาผลการตรวจมาพจิ ารณาความเหมาะสมรํวมกนั กํอนสรุปเปน็ ผลการประเมนิ ตนเอง
ภายในของสถานศกึ ษา และจัดประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารเขยี นรายงานการประเมินตนเอง เพอื่ ให๎การเขียนรายงานเป็นไปใน
ทิศทางเดียวกนั ดาเนนิ การเขยี นรายงาน การประเมินตนเองโดยใหผ๎ ป๎ู ระเมินเป็นผเู๎ ขยี น และนาผลการประเมินมา
ใช๎เปน็ แนวทางในการพัฒนาสถานศกึ ษาในปีตํอไป

การประเมินคุณภาพภายใน โดยต๎นสงั กดั มกี ารตรวจสอบเพื่อยืนยันคุณภาพการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา โดยคณะบุคคลที่ผํานการอบรมตามหลักสูตรอบรมผ๎ูประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้ังสังกัด ได๎มีการ
แตงํ ตั้งคณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพภายในโดยต๎นสงั กดั จากสานักงาน กศน.

๓๓ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศกึ ษายะลา

หลักฐานการประกอบการดาเนนิ งาน
1. มาตรฐาน กศน.
2. มาตรฐานและตัวบงํ ช้ี กลุมํ ศว.
3. ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ
4. อตั ลกั ษณข์ องสถานศึกษา
5. หลกั สตู รสถานศึกษา
6. แผนพฒั นาการศกึ ษา
7. แผนปฏบิ ตั ิการประจาปี
8. คาส่งั มอบหมายงาน
9. โครงการ
10. รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
11. เอกสาร/รปู แบบ การจัดข๎อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา
12. คาสัง่ ผรู๎ บั ผดิ ชอบในการติดตาม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
13. คํูมอื การประกันคณุ ภาพ
14. รายงานประชุมประจาเดอื นที่มสี าระเก่ยี วข๎องกบั การประกนั คุณภาพ
15. รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
16. รายงานการประเมนิ คุณภาพสถานศึกษาโดยต๎นสงั กัด
17. นโยบายและจุดเน๎นการดาเนินงาน สานกั งาน กศน.

สรปุ ผลการประเมินตนเองในมาตรฐานที่ 4

จากการประเมินตนเองของศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพือ่ การศกึ ษายะลา ในมาตรฐานที่ 4 พบวาํ ไมบํ รรลุ
ตามเป้าหมายความสาเร็จของมาตรฐานท่ี 4 ที่กาหนดไว๎ โดยมีจุดเดํน จุดควรพัฒนาและข๎อเสนอแนะ ในการ
พฒั นา ดังนี้

จุดเด่น
1. การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา มีการใช๎ผลการประเมินตนเองไปปรับปรุงแผนพัฒนา

คณุ ภาพ
2. การประเมินคุณภาพภายในโดยต๎นสังกัด ได๎ผํานการประเมินคุณภาพภายในโดยต๎นสังกัดท่ี

คาํ เฉลีย่ 3.4 ระดบั คุณภาพ พอใช๎

จดุ ควรพัฒนา
การประกันคุณภาพภาพในสถานศึกษา ควรจะนาเสนอรายงานการประเมินตนเองตํอ

คณะกรรมการสถานศกึ ษาเพื่อนามาสูํการปฏิบัตอิ ยาํ งเปน็ รปู ธรรม และเผยแพรตํ อํ สาธารณชน

๓๔ รายงานการประเมินตนเอง 2560 : ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษายะลา

ขอ้ เสนอแนะในการพฒั นา
1. การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ควรมีการใช๎ผลการประเมินตนเองไปปรับปรุง

แผนพัฒนาคณุ ภาพ และนาเสนอรายงานการประเมินตนเองตํอคณะกรรมการสถานศึกษาและเผยแพรตํ อํ สาธารณะ
ชน

2. การประเมินคุณภาพภายในโดยต๎นสังกัด ควรได๎รับการประเมินคุณภาพภายในโดยต๎นสังกัด

อยาํ งน๎อย 1 ครง้ั ภายใน 3 ปี

มาตรฐานท่ี 5 อัตลกั ษณข์ องสถานศึกษา

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลากาหนดเป้าหมายความสาเร็จของมาตรฐานท่ี 5
ไวท๎ ีร่ ะดบั คุณภาพ ดมี าก ซึง่ ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษายะลาไดป๎ ระเมินตนเองในมาตรฐานท่ี 5 ไดผ๎ ลดงั น้ี

นา้ หนัก ระดับคุณภาพ

มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี (คะแนน) คะแนนท่ี ระดับคุณภาพ
ได้

มาตรฐานท่ี 5 อตั ลักษณข์ องสถานศกึ ษา

5.1 ผลการพฒั นาใหบ๎ รรลเุ ปา้ หมายตามปรัชญา วิสยั ทัศน์ 55 ดีมาก
พันธกิจและวัตถุประสงคก์ ารจัดตัง้ 55 ดีมาก
10 10 ดีมาก
5.2 ผลการพฒั นาตามจุดเน๎นและจุดเดํนท่ีสะท๎อน
เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา

ภาพรวมมาตรฐานที่ 5

ผลการประเมินตนเองดงั กลําว เกดิ จากความตระหนกั และความพยายามในการดาเนนิ โครงการ/
กิจกรรมของศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษายะลา ดังตอํ ไปนี้

ขอ้ มลู ความตระหนัก
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ได๎กาหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย

วตั ถุประสงค์ กลยุทธ์และแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติการประจาปี ให๎มีความสอดคล๎องกับ ภารกิจ
พระราชบญั ญัติการศึกษาแหํงชาติ พระราชบัญญัติการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย นโยบายและ
จดุ เนน๎ ของสานกั งาน กศน. ที่สํงผลสะท๎อนความเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา โดยมีการวัดและประเมินผลการ
ดาเนินงานอยํางตอํ เนือ่ งตามตัวบงํ ชี้ที่กาหนด

๓๕ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศกึ ษายะลา

ขอ้ มูลความพยายาม

ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศึกษายะลา กาหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์
กลยทุ ธแ์ ละแผน พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี ให๎สามารถนาไปวางแผนการจัดการศึกษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทป่ี ฏบิ ตั ไิ ด๎จริง เพือ่ ให๎ผู๎เรียน/ผ๎ูรับบริการ เกิดเจตคติ ความร๎ู ความสามารถด๎าน
วทิ ยาศาสตร์และสามารถนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช๎ในการดาเนินชีวิตประจาวันได๎ ตลอดจนเป็นแนว
ทางการดาเนนิ การจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั ให๎บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ ตัวบํงชี้ของสถานศึกษาและนาไปสํูคุณภาพ
ของการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

หลกั ฐานประกอบการดาเนินงาน
1. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาปี 2558 - 2560 ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพ่อื การศกึ ษายะลา
2. แผนปฏิบัตกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
3. รายงานการสนับสนนุ ให๎ภาคีเครือขํายจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ด๎าน

วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่งิ แวดลอ๎ ม
4. รายงานการมีสํวนรํวมของภาคีเครือขํายในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยดา๎ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอ๎ ม
5. รายงานการประชุม
6. การวิเคราะหค์ วามสอดคลอ๎ งของปรชั ญา วิสยั ทัศน์ พันธกิจและเปา้ หมาย
7. รายงานผลการประเมินโครงการตําง ๆ
8. รายงานการประเมินตนเอง (SAR)
9. นโยบายและจุดเน๎นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ
10. แผนปฏิบตั ิการ 3 ปี สานักงาน กศน. 2558 – 2560 สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

กระทรวงศกึ ษาธิการ
11. รางวัล เกียรตบิ ตั ร โลปํ ระกาศเกียรตคิ ุณ

จุดเดน่
1. มแี ผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาเปน็ แนวทางในการปฏบิ ัตงิ านของสถานศกึ ษา
2. มแี ผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปที ่กี าหนดปรัชญา วิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ เปา้ หมาย กลยุทธ์วัตถุประสงค์ที่

สอดคลอ๎ งกับพระราชบญั ญัติการศึกษาแหํงชาติ พระราชบัญญัติการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
นโยบายการศึกษานอกระบบของกระทรวงศึกษาธกิ าร ปรัชญาเศรษฐกิจ

จดุ ควรพัฒนา
1. การจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีไมํสามารถดาเนินการได๎อยํางรวดเร็วเพราะจะต๎องรอ

นโยบายรฐั บาล นโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร และนโยบายของสานกั งาน กศน.

๓๖ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษายะลา

2. การจดั สรรงบประมาณในการดาเนนิ งานแตํละกิจกรรมลําชา๎ เนือ่ งจากไดร๎ ับจัดสรรไมํเพียงพอ
เม่ือเทยี บกับรายจํายการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี ทาให๎การดาเนินงานจดั ทาแผนปฏบิ ัติการประจาปีลําช๎าไป
ด๎วย

ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนา
1. ควรมีการวางนโยบายและจัดทาแผนปฏบิ ัติการประจาปใี นการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ

และการศกึ ษาตามอัธยาศัยประจาปไี มเํ กินปลายเดือนตุลาคมของทกุ ปี
2. สานกั งาน กศน. ควรมกี ารจดั สรรงบประมาณในการจดั กิจกรรมตําง ๆ ให๎รวดเร็วเพราะจะทา

ให๎การวางแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปเี ปน็ ไปอยาํ งถกู ต๎องและรวดเร็ว

มาตรฐานที่ 6 มาตรการส่งเสรมิ
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลากาหนดเป้าหมายความสาเร็จของมาตรฐานที่ 6

ไว๎ที่ ระดบั คุณภาพ ดีมาก ซ่ึงศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษายะลาได๎ประเมินตนเองในมาตรฐานที่ 6 ได๎ผลดงั น้ี

นา้ หนัก ระดบั คุณภาพ

มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ (คะแนน) คะแนนท่ี ระดับคุณภาพ
ได้

มาตรฐานที่ 6 มาตรการสง่ เสรมิ

ผลการสํงเสริมพฒั นาสถานศึกษาเพอื่ ยกระดับ

6.1 มาตรฐาน รกั ษามาตรฐาน และพัฒนาอยาํ งย่ังยนื 55 ดีมาก
เพือ่ ใหส๎ อดคลอ๎ งกบั นโยบายทางการศกึ ษาของ
55 ดมี าก
กระทรวงศกึ ษาธิการ 10 10 ดมี าก

6.2 ผลทเี่ กดิ จากการสงํ เสรมิ การจดั การเรยี นร๎ดู ๎าน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดล๎อม

ภาพรวมมาตรฐานที่ 6

ผลการประเมินตนเองดงั กลาํ ว เกิดจากความตระหนักและความพยายามในการดาเนนิ โครงการ/
กจิ กรรมของศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พือ่ การศึกษายะลา ดังตอํ ไปน้ี

ข้อมลู ความตระหนัก
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา เห็นความสาคัญของการสํงเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือ

ยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาอยํางยั่งยืนเพื่อให๎สอดคล๎องกับนโยบายทางการศึกษาของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และการสงํ เสรมิ การจัดการเรยี นรด๎ู า๎ นวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยแี ละสงิ่ แวดลอ๎ ม โดยได๎กาหนดไว๎
ในพันธกิจของสานศึกษา มีการกาหนดโครงสร๎างการบริหารงานให๎มีงานสํงเสริมและสนับสนุนเครือขําย โดยมี

๓๗ รายงานการประเมินตนเอง 2560 : ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษายะลา

แผนการดาเนินงานประจาปีหรือแผนพฒั นาท่ีปรบั ปรุงตามข๎อเสนอแนะการประเมนิ คณุ ภาพภายในจากต๎นสงั กดั ตาม
มาตรการทนี่ ามาปรับปรงุ และพัฒนา เพ่อื มงุํ ไปสํูสถานศึกษาทีม่ คี ณุ ภาพของกลํมุ ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา มี
คาส่ังแตํงต้ังในการมอบหมายงานประจาปีงบประมาณ 2560 และกาหนดให๎มีโครงการวิทยาศาสตร์สัญจร
โครงการคาํ ยวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและส่งิ แวดลอ๎ ม โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการวทิ ยาศาสตรก์ ารผลติ สือ่ การสอน
อยํางงาํ ย โครงการสัปดาห์วทิ ยาศาสตร์ ประจาปี พ.ศ.2560 มแี ผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560
เพ่ือสํงเสริมสถานศกึ ษาใหม๎ มี าตรฐาน

ขอ้ มลู ความพยายาม

ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษายะลา ได๎มีการสํงเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษา
มาตรฐาน และพฒั นาอยาํ งยงั่ ยนื เพ่ือให๎สอดคลอ๎ งกบั นโยบายทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ ารอยํางตอํ เนื่องใน
การรํวมวางแผน และจดั กจิ กรรม เชํน จดั โครงการกจิ กรรมการศึกษา ประจาปงี บประมาณ 2560 กิจกรรมวัน
เด็กแหํงชาติ และกิจกรรมงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แหํงชาติ จัดโครงการวิทยาศาสตร์สัญจร มีการสํงเสริมการ
จัดการเรยี นร๎ูด๎านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสงิ่ แวดลอ๎ ม โดยศนู ย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา ได๎มีรํวมกับ
ภาคีเครือขํายในการจัดโครงการเพื่อสํงเสริมการทางานรํวมกับเครือขําย เชํน โครงการจังหวัดเคลื่อนที่/อาเภอ
เคล่ือนท่ี เทศกาลภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตรน์ านาชาตริ วํ มกบั สถาบันสํงเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
สิง่ แวดลอ๎ ม เป็นต๎น โดยใหก๎ ารสนบั สนุนงบประมาณและสอ่ื การเรียนการสอน มสี วํ นรํวมในผลการดาเนินงานการ
ตดิ ตามผลและนาผลการประเมินไปปรุงการดาเนินงานตํอไป มีการประกวดการแสดงทางวิทยาศาสตร์และการ
ประกวดโครงงานเพือ่ เขา๎ รํวมการประกวดการแสดงทางวิทยาศาสตร์ ระดบั ประเทศ ณ อทุ ยานวทิ ยาศาสตรพ์ ระจอม
เกลา๎ ณ หวา๎ กอ จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์ และการประกวดโครงงานระดับประเทศ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา
(เอกมัย)การจดั กิจกรรมเพ่อื เฉลิมพระเกียรตเิ นือ่ งในโอกาสวนั มหามงคลตําง ๆ เพ่ือให๎เกิดผลดีตํอการจัดการเรียนรู๎
ดา๎ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิง่ แวดลอ๎ ม

หลกั ฐานประกอบการดาเนนิ งาน
1. แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2559
2. รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR)
3. รายงานผลโครงการ/กจิ กรรม ปงี บประมาณ 2559
4. หนงั สอื เชญิ -หนงั สอื ตอบรับการเข๎ารวํ มกจิ กรรม
5. ภาพการจดั โครงการพัฒนาบคุ ลากร ประจาปี 2559
6. รายงานการประเมนิ โครงการสํงเสรมิ กระบวนการเรยี นรวู๎ ทิ ยาศาสตรส์ ูํชมุ ชน
7. MOU กบั หนํวยงานเครือขาํ ย
8. ภาพการจัดกจิ กรรมตํางๆ

จดุ เด่น
ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา สํงเสริมพัฒนาสถานศึกษาในด๎านการจัดการเรียนร๎ูด๎าน

วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและส่ิงแวดล๎อม โดยมีการทางานกับหนํวยงานเครือขํายในการรํวมจัดกิจกรรมด๎าน

๓๘ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษายะลา

วิทยาศาสตร์ โดยมบี คุ ลากรของศนู ย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษายะลา เป็นผ๎ูจัดกิจกรรมรํวมกับหนํวยงานเครือขําย
และไดร๎ ับการสนบั สนนุ วสั ดุ อุปกรณ์ ทีช่ ํวยในการจัดกิจกรรมการเรยี นรข๎ู องศนู ยว์ ิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศกึ ษายะลา
จุดควรพัฒนา

1. ควรมกี ารสงํ เสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน และรกั ษามาตรฐานใหด๎ ียิ่งขึน้
2. ควรมีการสํงเสริมการจัดการเรียนร๎ูด๎านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล๎อม ให๎มีความ
หลากหลายและตรงตามความต๎องการของผเ๎ู รียน/ผูร๎ บั บรกิ าร รวํ มกบั เครือขาํ ยให๎มากยิง่ ข้ึนตํอไป
ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนา

1. ควรมกี ารศกึ ษาศักยภาพของสถานศึกษาให๎ละเอียดทุกด๎าน เพ่ือยกระดับให๎เป็นสถานศึกษา
ชัน้ นาและในระดับสากลตอํ ไป

2. ควรเปิดโอกาสให๎บคุ ลากรในสถานศกึ ษาไดร๎ บั การพฒั นาอบรม ศึกษาดูงานในด๎านวิทยาศาสตร์
และการให๎บรกิ ารให๎มากขน้ึ เชํน ศึกษาดูงาน ณ ทต่ี าํ งๆทีเ่ กี่ยวกับทางดา๎ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล๎อม
การอบรมสมั มนาด๎านการให๎บริการจากหนํวยงานของรัฐและเอกชนที่ประสบความสาเร็จ

3. ควรสํงเสริมให๎หนํวยงานของรัฐและเอกชน องค์กรปกครองสํวนท๎องถิ่น ภาคีเครือขํายและ
ชุมชนขา๎ งเคียงเขา๎ มามีสวํ นรวํ มในการวางแผนดาเนินงาน รํวมจดั กิจกรรม ตลอดจนสรปุ ประเมินผล ใหม๎ ากย่ิงข้ึน

4. ควรมีการประชาสมั พันธท์ ่หี ลากหลายรูปแบบ และอยํางตอ่ เนอ่ื ง

๓๙ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษายะลา

บทท่ี 4

สรปุ ผลการประเมนิ ตนเองและแนวทางการพัฒนาสถานศึกษา

การประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อการประกัน

คุณภาพการศึกษา สรปุ ผลการประเมิน จุดแข็ง จุดอํอน แนวทางการพัฒนาสถานศึกษา และทิศทางการพัฒนา

สถานศกึ ษาในอนาคต ดงั นี้

4.1 การสรุปผลการประเมินตนเองรายมาตรฐาน

ระดบั คุณภาพ

มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี ค่าเฉล่ีย ต้อง ควร พอใช้ ดี ดมี าก
ปรับปรงุ ปรบั ปรงุ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรยี น/ผู้รับบรกิ าร 29.81 /

ตวั บํงชท้ี ่ี 1.1 ผ๎ูเรยี นมีความใฝร่ ูแ๎ ละเรียนรู๎ 5.00 /
อยาํ งตอํ เนื่อง 3.71 /
3.84 /
ตัวบํงช้ที ี่ 1.2 ผเู๎ รยี น คดิ เปน็ /ทาเปน็ (ทกั ษะ 4.45 /
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร)์
12.81 /
ตัวบํงชี้ที่ 1.3 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ
ผ๎ูเรียนการศกึ ษาตอํ เนอ่ื ง (ผาํ นตามเกณฑ)์

ตัวบํงชท้ี ี่ 1.4 ผ๎เู รียนมีงานทาหรอื มรี ายไดเ๎ สรมิ
มที ักษะในการทางาน สามารถทางานรวํ มกบั
ผ๎อู นื่ ได๎และมเี จตคติทดี่ ีตํออาชพี สจุ ริต

ตัวบงํ ชท้ี ี่ 1.5 ความพึงพอใจตํอการให๎บรกิ าร
การศกึ ษา
(ด๎านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละส่งิ แวดล๎อม)

มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพจัดการศกึ ษา/การ 23.1 /
ให้บริการ (ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
สง่ิ แวดลอ้ ม) 2.4 /
4.0 /
ตวั บงํ ชท้ี ่ี 2.1 คุณภาพของหลักสตู ร/โปรแกรม 2.5
การเรยี นร๎ู /

ตัวบงํ ชีท้ ี่ 2.2 คณุ ภาพของครู/ผ๎สู อน/วิทยากร

ตวั บํงชที้ ่ี2.3 คุณภาพการจัดการเรยี นการสอน
ของครแู ละผสู๎ อนทเี่ นน๎ ผเู๎ รยี น/ผู๎รบั บริการเปน็
สาคัญ

๔๐ รายงานการประเมินตนเอง 2560 : ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพ่อื การศึกษายะลา

ระดบั คุณภาพ

มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี ค่าเฉลยี่ ตอ้ ง ควร พอใช้ ดี ดมี าก
ปรบั ปรงุ ปรับปรุง

ตัวบํงช้ีท่ี 2.4 คุณภาพผ๎ูสอน/วิทยากรสอน 3.2 /
การศึกษาตํอเน่ือง

ตัวบงํ ชี้ท่ี 2.5 คุณภาพสื่อทีเ่ ออื้ ตอํ การเรียนร๎ู 4.0 /
ของผ๎เู รียน/ผ๎รู บั บรกิ าร

ตัวบํงช้ีท่ี 2.6 คุณภาพการจัดการศึกษาตาม 4.0 /
อธั ยาศยั

ตัวบํงช้ที ่ี 2.7 การสร๎างสงั คมแหํงการเรยี นรู๎ 3.0 /

มาตรฐานที่ 3 การบริหารการศกึ ษา 9.2 /

ตัวบงํ ชี้ที่ 3.1 คุณภาพของการบริหาร 2.0 /
สถานศึกษา

ตัวบํงชที้ ี่ 3.2 ระบบฐานข๎อมลู เพอื่ การบรหิ าร 1.6 /
จัดการ

ตัวบงํ ชีท้ ่ี 3.3 ผลการบรหิ ารความเส่ยี ง 2.0 /

ตัวบํงชท้ี ี่ 3.4 ผลการปฏบิ ัติหน๎าทขี่ องผบู๎ รหิ าร 2.0 /
สถานศึกษา

ตัวบํงชี้ที่ 3.5 ผลการปฏบิ ตั ิตามบทบาทของ 1.6 /
คณะกรรมการสถานศึกษา

มาตรฐานท่ี 4 การประกันคณุ ภาพการศึกษา 7.4 /

ตัวบํงช้ีที่ 4.1 การประกันคุณภาพภายใน 4.0 /
สถานศกึ ษา

ตัวบํงช้ีท่ี 4.2 การประเมินคุณภาพภายในโดย 3.4 /
ตน๎ สงั กดั

มาตรฐานท่ี 5 อัตลักษณข์ องสถานศกึ ษา 10 /

ตวั บํงชี้ท่ี 5.1 ผลการพฒั นาใหบ๎ รรลเุ ปา้ หมาย 5.0 /
ตามปรัชญา วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ และวัตถปุ ระสงค์ 5.0 /
การจดั ตง้ั

ตวั บงํ ชท้ี ่ี 5.2 ผลการพฒั นาตามจุดเน๎นและ
จดุ เดํนทสี่ ะทอ๎ นเอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา

๔๑ รายงานการประเมินตนเอง 2560 : ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา

ระดบั คุณภาพ

มาตรฐาน/ตวั บง่ ช้ี คา่ เฉลย่ี ตอ้ ง ควร พอใช้ ดี ดมี าก
ปรับปรุง ปรับปรุง

มาตรฐานท่ี 6 มาตรการส่งเสรมิ 10 /

ตัวบํงชท้ี ่ี 6.1 ผลการสํงเสริมพฒั นาสถานศกึ ษา

เพอ่ื ยกระดบั มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และ 5 /
พัฒนาอยํางยง่ั ยืนเพอ่ื ใหส๎ อดคล๎องกับนโยบาย

ทางการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ

ตวั บํงชท้ี ี่ 6.2 ผลที่เกิดจากการสงํ เสรมิ การ

จดั การเรยี นรดู๎ า๎ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ 5 /

สิ่งแวดลอ๎ ม

4.2 การสรุปผลการประเมนิ ตนเองโดยภาพรวม

ดา้ นท่ี 1 ดา้ นผลการจัดการศึกษา ประกอบด๎วย มาตรฐานท่ี 1 ตัวบํงช้ีที่ 1.1 – 1.5, มาตรฐานที่ 5

ตัวบํงชที้ ่ี 5.1-5.2 และมาตรฐานที่ 6 ตวั บงํ ช้ที ี่ 6.2

นา้ หนกั ระดับคุณภาพ

มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ (คะแนน) คะแนน ระดับ

ทไ่ี ด้ คณุ ภาพ

ด้านท่ี 1 ผลการจดั การศึกษา

ตวั บํงชที้ ี่ 1.1 ผ๎เู รียนมีความใฝร่ ูแ๎ ละเรียนรูอ๎ ยาํ งตํอเน่อื ง 5 5.00 ดีมาก

ตวั บํงชี้ที่1.2 ผเ๎ู รียน คดิ เปน็ /ทาเปน็ (ทกั ษะกระบวนทาง 5 3.71 ดี
วทิ ยาศาสตร์)

ตวั บงํ ชี้ท่ี 1.3 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผเู๎ รยี นการศกึ ษาตอํ เนื่อง 5 3.84 ดี
(ผํานตามเกณฑ)์

ตัวบํงช้ีท่ี 1.4 ผเู๎ รยี นมีงานทาหรอื มรี ายไดเ๎ สรมิ มที กั ษะในการทางาน 5 4.45 ดี
สามารถทางานรวํ มกับผอ๎ู น่ื ไดแ๎ ละมีเจตคตทิ ี่ดีตอํ อาชีพสจุ รติ

ตวั บํงช้ที ี่ 1.5 ความพึงพอใจตํอการใหบ๎ ริการการศึกษา (ด๎าน 15 12.81 ดี
วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสง่ิ แวดลอ๎ ม)

ตัวบํงช้ีที่ 5.1 ผลการพัฒนาให๎บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา 5 5.00 ดีมาก
วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ และวัตถุประสงค์การจดั ตง้ั สถานศึกษา

ตัวบํงช้ีท่ี 5.2 ผลการพัฒนาตามจุดเน๎นและจุดเดํนที่สะท๎อน 5 5.00 ดีมาก
เอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา

ตวั บงํ ช้ที ่ี 6.2 ผลทเี่ กิดจากการสงํ เสรมิ การจดั การเรียนรู๎ดา๎ น 5 5.00 ดมี าก
วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสง่ิ แวดล๎อม

รวมคะแนนผลการจดั การศึกษา 50 44.81 ดมี าก

๔๒ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษายะลา

สรุปผลการวิเคราะหต์ นเองของสถานศกึ ษา

สถานศกึ ษาสามารถสรปุ ผลการประเมินตนเอง ด๎านผลการจัดการศึกษา อยูํในระดับคุณภาพ ดีมาก ซึ่ง
บรรลุตามเป้าหมายความสาเร็จทีต่ ง้ั ไว๎ ดังนี้

จุดเด่น
สถานศึกษา มีการสํงเสริมและสนับสนุนด๎านการจัดการศึกษาตํอเน่ือง สาหรับผู๎ท่ีเข๎ารํวมกิจกรรมตาม
หลกั สูตรคาํ ยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสงิ่ แวดลอ๎ ม รวมท้ังสํงเสริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เนื่องจากเป็น
สถานศึกษาที่เนน๎ จดั การศึกษาตามอัธยาศัย สามารถให๎บริการกลุมํ เป้าหมายทุกระดับ ได๎อยํางมีประสิทธิภาพ จาก
การประเมินตนเองดา๎ นท่ี 1 ท่ีมีคุณภาพดีมาก คือ ตัวบํงช้ีที่ 5.1 ผลการพัฒนาให๎บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา
วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ และวัตถปุ ระสงคก์ ารจดั ตงั้ สถานศึกษา ตวั บํงชที้ ี่ 5.2 ผลการพัฒนาตามจุดเน๎นและจุดเดํนที่
สะท๎อนอตั ลักษณ์ของสถานศกึ ษา ตวั บํงช้ที ี่ 6.2 ผลท่ีเกิดจากการสํงเสริมการจัดการเรียนร๎ูด๎านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยแี ละสิ่งแวดลอ๎ ม และตวั บํงชท้ี ่ี 1.1 ผเ๎ู รยี นมคี วามใฝ่ร๎แู ละเรยี นรูอ๎ ยาํ งตํอเนือ่ ง ผลการจัดการศึกษาท่ี
อยใูํ นระดับคุณภาพดี คอื ตัวบงํ ช้ีท่ี 1.5 ความพงึ พอใจตอํ การใหบ๎ รกิ ารการศึกษา (ด๎านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และสิง่ แวดล๎อม) ตัวบํงช้ีท่ี 1.1 ผเ๎ู รยี นมีความใฝ่ร๎ูและเรียนรอ๎ู ยํางตอํ เนอื่ ง ตวั บํงชท้ี ่ี1.2 ผ๎ูเรียน คิดเป็น/ทาเป็น
(ทกั ษะกระบวนทางวทิ ยาศาสตร)์ ตวั บงํ ชีท้ ี่ 1.3 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของผ๎ูเรียนการศึกษาตํอเน่ือง (ผํานตาม
เกณฑ์) ตัวบงํ ช้ที ี่ 1.4 ผู๎เรียนมงี านทาหรือมรี ายไดเ๎ สริม มีทักษะในการทางาน สามารถทางานรํวมกับผ๎ูอ่ืนได๎และ
มเี จตคติท่ีดตี อํ อาชพี สุจริต

จุดควรพัฒนา
-
แนวทางการพฒั นาสถานศึกษา
พัฒนาสถานศึกษาให๎เปน็ สงั คมแหงํ การเรยี นรูด๎ ๎านวทิ ยาศาสตรแ์ ละควบคํูไปกับวัฒนธรรม ประเพณตี ามวถิ ี
การดาเนินชีวิตและสามารถนาความร๎ูไปพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเน๎นการประชาสัมพันธ์เชิงรุกและรํวมกับภาคี
เครอื ขํายทง้ั ภาครัฐและภาคเอกชนในการให๎ความสาคัญกับการจัดการศกึ ษาด๎านวิทยาศาสตร์

ทศิ ทางการพัฒนาสถานศกึ ษาในอนาคต
1. ต๎องมีการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมด๎านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและส่ิงแวดล๎อม ให๎มีรูปแบบท่ี
แปลกใหมํมากขนึ้ ส่ือทใี่ ช๎มคี วามทันสมยั สีสนั สวยงาม มกี ารเคลื่อนไหวสมั ผัสได๎ ทาใหผ๎ รู๎ บั บริการเขา๎ ใจงํายข้ึน
2. สถานศึกษาควรจดั ให๎มีการประชุมกับภาคีเครือขําย รํวมวางแผนด๎านการจัดการศึกษาอยํางตํอเน่ือง
และการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั ท่ีชัดเจน เน๎นการประชาสัมพันธ์สถานศึกษา และให๎ชุมชนมีสํวนรํวมเป็นฐาน
การเรียนร๎ูทส่ี อดคลอ๎ งกบั แหลงํ เรยี นรขู๎ องชุมชน
3. สถานศึกษาควรสํงเสริม สนบั สนุน โดยการอบรม/พัฒนาบคุ ลกร ทีม่ หี นา๎ ที่จัดการศึกษาตํอเน่ืองและ
การศึกษาตามอัธยาศัย ใหม๎ ีความรู๎ มีทกั ษะ ใช๎สือ่ เทคโนโลยที ี่ทนั สมยั ในการจดั กระบวนการเรยี นรู๎สอดคล๎องกับ
หลกั สูตร
4. สถานศึกษาควรจัดตั้งศนู ยเ์ รียนรอ๎ู าเซยี นเพือ่ กา๎ วเขา๎ สูํประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น

๔๓ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพอื่ การศึกษายะลา

ดา้ นที่ 2 บรหิ ารจดั การศึกษา ประกอบดว๎ ย มาตรฐานที่ 3 ตวั บงํ ชีท้ ี่ 3.1 – 3.5 และมาตรฐานท่ี 6 ตัว
บํงช้ีท่ี 6.1

มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี นา้ หนัก ระดบั คุณภาพ
(คะแนน) คะแนน ระดบั
ดา้ นที่ 2 ดา้ นบรหิ ารจดั การศกึ ษา ทีไ่ ด้ คณุ ภาพ
ตัวบํงชี้ท่ี 3.1 คุณภาพของการบรหิ ารสถานศกึ ษา 2
2 2.0 ดมี าก
ตัวบํงชท้ี ่ี 3.2 ระบบฐานขอ๎ มูลเพ่อื การบรหิ ารจัดการ 2 1.6 ดี
2 2.0 ดีมาก
ตวั บํงชท้ี ่ี 3.3 ผลการบริหารความเสย่ี ง 2 2.0 ดมี าก
1.6 ดี
ตวั บํงชท้ี ่ี 3.4 ผลการปฏบิ ตั หิ น๎าทข่ี องผบ๎ู รหิ ารสถานศกึ ษา 5
5.0 ดมี าก
ตวั บํงช้ที ่ี 3.5 ผลการปฏิบัตติ ามบทบาทของคณะกรรมการ 15
สถานศึกษา 14.2 ดมี าก
ตัวบงํ ช้ีท่ี 6.1 ผลการสงํ เสรมิ พฒั นาสถานศกึ ษาเพ่อื ยกระดบั
มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพฒั นาอยํางยั่งยนื เพ่อื ใหส๎ อดคลอ๎ ง
กับนโยบายทางการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร

รวมผลคะแนนบริหารจดั การศกึ ษา

สรปุ ผลการวเิ คราะห์ตนเองของสถานศกึ ษา

สถานศึกษาสามารถสรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ด๎านผลการจัดการศึกษา อยูํในระดับคุณภาพ ดีมาก ซ่ึง
บรรลตุ ามเปา้ หมายความสาเร็จทตี่ ้ังไว๎ ดังน้ี

จดุ เดน่
สถานศกึ ษามีผ๎ูบรหิ ารท่ีมคี วามสามารถ มวี ิสัยทัศน์ และเปน็ ผน๎ู าแหํงการเปลย่ี นแปลง และสามารถบริหาร
จัดการสถานศึกษาที่ดี จากการประเมินตนเองด๎านที่ 2 ด๎านการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพดีมาก คือ ตัวบํงช้ีที่
6.1 ผลการสํงเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาอยํางย่ังยืนเพื่อให๎
สอดคล๎องกับนโยบายทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ตัวบํงช้ีท่ี 3.1 คุณภาพของการบริหารสถานศึกษา
และตวั บงํ ช้ีที่ 3.4 ผลการปฏิบัตหิ นา๎ ทข่ี องผู๎บริหารสถานศึกษา การจัดการศกึ ษาท่มี ีคุณภาพดี คอื ตัวบํงชี้ท่ี 3.2
ระบบฐานข๎อมูลเพ่ือการบริหารจัดการ และ ตัวบํงช้ีท่ี 3.5 ผลการปฏิบัติตามบทบาทของคณะกรรมการ
สถานศกึ ษา ตามลาดับ

จดุ ควรพัฒนา
แนวทางการพัฒนาสถานศกึ ษา

๔๔ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศกึ ษายะลา

สถานศกึ ษา ควรมกี ารสํงเสริมพฒั นาสถานศกึ ษาเพอ่ื ยกระดับมาตรฐาน และรกั ษามาตรฐานใหด๎ ียิง่ ขึ้นควร
มีการตรวจสอบ ทบทวนปรชั ญา วสิ ัยทศั น์ กลยทุ ธจ์ ดุ เน๎นการดาเนนิ งานทกุ ปอี ยํางตํอเน่ือง และให๎คาปรึกษาและ
พิจารณาให๎ข๎อเสนอแนะและให๎ความเห็นชอบการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษาที่สอดคล๎องกับ
ปรัชญา กลยุทธ์การดาเนินงานของสถานศึกษา ให๎มีการพัฒนาระบบฐานข๎อมูลและจัดทาระบบสารสนเทศ
ครอบคลมุ ทุกด๎าน และทันสมัย สะดวกตํอการสืบคน๎ แกํผตู๎ ๎องการใช๎

ทศิ ทางการพฒั นาสถานศึกษาในอนาคต

1. ใหโ๎ อกาสบุคลากรได๎รับการพัฒนา อบรม สัมมนาด๎านวิทยาศาสตร์และประสบการณ์ด๎านอ่ืนๆ เพื่อ
ปรบั ปรุงการจัดกระบวนการเรียนรท๎ู ่ีสรา๎ งสงั คมแหํงการเรยี นร๎ูอยาํ งตํอเนอื่ ง

2. สถานศกึ ษาจัดทาแผนปฏิบตั ิการประจาปี ใหส๎ อดคลอ๎ งกับนโยบายรฐั บาล นโยบาย
กระทรวงศกึ ษาธิการ และนโยบายของสานักงาน กศน. ตามบทบาทและภารกิจของสถานศึกษา

3. สถานศกึ ษาควรมีการรายงานประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาประจาทุกปีและ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาอยํางตํอเน่ืองทุกปี และให๎มีการติดตามการดาเนินจากต๎นสังกัดอยําง
ตํอเนอื่ ง

ด้านที่ 3 ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ประกอบด๎วย มาตรฐานที่ 2 ตัวบํงช้ีท่ี

2.1 – 2.7

มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ นา้ หนกั ระดบั คุณภาพ
(คะแนน) คะแนน ระดับ
ทีไ่ ด้ คุณภาพ

ดา้ นท่ี 3 ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ

ตวั บํงชท้ี ี่ 2.1 คุณภาพของหลักสูตร/โปรแกรมการเรยี นรู๎ 3 2.4 ดี
4 4.0 ดีมาก
ตัวบํงชท้ี ่ี 2.2 คณุ ภาพของคร/ู ผสู๎ อน/วิทยากร
3 2.5 ดีมาก
ตวั บํงชท้ี ี่ 2.3 คณุ ภาพการจัดการเรียนการสอนของครแู ละผู๎สอนท่ี
เน๎นผเ๎ู รียน/ผร๎ู บั บรกิ ารเปน็ สาคญั 4 3.2 ดมี าก
ตวั บํงชท้ี ่ี 2.4 คณุ ภาพผูส๎ อน/วิทยากรสอนการศึกษาตอํ เน่อื ง
4 4.0 ดีมาก
ตวั บงํ ชี้ท่ี 2.5 คณุ ภาพส่ือท่ีเออื้ ตอํ การเรยี นรู๎ของผ๎ูเรยี นและ
ผรู๎ บั บริการ 4 4.0 ดีมาก
ตัวบํงชที้ ่ี 2.6 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 3 3.0 ดีมาก
25 23.1 ดมี าก
ตวั บงํ ชที้ ่ี 2.7 การสรา๎ งสงั คมแหํงการเรียนรู๎
รวมคะแนนด้านการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ

๔๕ รายงานการประเมินตนเอง 2560 : ศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษายะลา

สรปุ ผลการวิเคราะหต์ นเองของสถานศกึ ษา

สถานศึกษาสามารถสรุปผลการประเมินตนเอง ด๎านผลการจัดการศึกษา อยํูในระดับคุณภาพ ดีมาก ซ่ึง
บรรลุตามเป้าหมายความสาเร็จทต่ี ้งั ไว๎ ดงั น้ี

จุดเด่น

สถานศึกษา มผี ลการประเมนิ ดา๎ นการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น๎นผเู๎ รยี นเป็นสาคัญ บรรลุ เป้าหมายตามตัว
บํงช้ที ี่ 2.2 คุณภาพของคร/ู ผส๎ู อน/วิทยากร ตัวบํงช้ีท่ี 2.4 คุณภาพผ๎ูสอน/วิทยากรสอนการศกึ ษาตอํ เน่อื ง ตวั บํงช้ี

ที่ 2.3 คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูและผู๎สอนที่เน๎นผู๎เรียน/ผ๎ูรับบริการเป็นสาคัญ ซึ่งอยํูในระดับ
คุณภาพ ดีมาก สํวน ตัวบํงช้ีท่ี 2.5 คุณภาพส่ือท่ีเอ้ือตํอการเรียนร๎ูของผู๎เรียนและผ๎ูรับบริการ ตัวบํงชี้ท่ี 2.6
คณุ ภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ตัวบํงชี้ที่ 2.1 คุณภาพของหลักสูตร/โปรแกรมการเรียนรู๎ และตัวบํงชี้ที่ 2.7การ

สร๎างสงั คมแหงํ การเรียนร๎ู อยํูในระดับคุณภาพดี

จดุ ควรพฒั นา
-

แนวทางการพฒั นาสถานศึกษา

จดั โครงการ/กจิ กรรมเพอื่ ปรับปรงุ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
โดยให๎การสนับสนุน สงํ เสรมิ ใหผ๎ ๎สู อนมีคุณวุฒเิ พิม่ เตมิ ตามเนอื้ หาหลักสูตรอยํางเหมาะสมและตํอเนื่อง และควรมี
การปรับปรุง ซํอมแซมส่ือ และพัฒนาส่ือให๎บริการการศึกษาตามอัธยาศัย ด๎านวิ ทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ

ส่ิงแวดลอ๎ ม ใหท๎ ันสมยั และพรอ๎ มใช๎งาน

ทิศทางการพฒั นาสถานศกึ ษาในอนาคต
1. จดั ทาโครงการพัฒนาบคุ ลากรให๎โอกาสบุคลากรได๎รบั การพฒั นา อบรม สมั มนาดา๎ นวทิ ยาศาสตร์และ

ประสบการณด์ า๎ นอนื่ ๆ เพื่อปรบั ปรุงการจัดกระบวนการเรียนรู๎ที่สร๎างสังคมแหํงการเรียนรู๎อยํางตํอเน่ือง เพื่อให๎มี

ความร๎ู มที ักษะ ใช๎สอ่ื เทคโนโลยี ในการจัดกระบวนการเรียนรู๎ สอดคลอ๎ งกับหลกั สตู ร

2. ศนู ย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลา มีทาเนียบส่ือ/แหลํงเรียนรู๎ และฐานข๎อมูลเก่ียวกับแหลํงเรียนรู๎
และการจดั กิจกรรมการเรียนร๎ขู องศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษายะลาทสี่ ามารถสืบคน๎ ไดท๎ างเว็บไซต์

ด้านท่ี 4 ด้านการประกนั คุณภาพภายใน ประกอบดว๎ ย มาตรฐานท่ี 4 ตัวบํงช้ีที่ 4.1 – 4.2

มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี นา้ หนัก ระดับคุณภาพ
(คะแนน)
คะแนน ระดับ
ทไี่ ด้ คณุ ภาพ

ดา้ นที่ 4 ดา้ นการประกนั คุณภาพภายใน

ตัวบํงชที้ ี่ 4.1 การประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา 5 4.0 ดี

ตัวบงํ ช้ีที่ 4.2 การประเมินคุณภาพภายในโดยต๎นสงั กดั 5 3.4 พอใช้

รวม 10 7.4 พอใช้

๔๖ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศูนยว์ ิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษายะลา

สรปุ ผลการวเิ คราะห์ตนเองของสถานศกึ ษา
สถานศึกษาสามารถสรุปผลการประเมนิ ตนเอง ดา๎ นผลการจัดการศึกษา อยูํในระดับคุณภาพ พอใช๎ ซ่ึงมี

จดุ เดํน และจุดควรพฒั นา ดังนี้

จุดเดน่
สถานศกึ ษา มผี ลการประเมนิ ด๎านการประกันคุณภาพภายใน อยํูในระดับคุณภาพ ดี ตามตัวบํงชี้ที่ 4.1
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

จุดควรพัฒนา
สถานศกึ ษา มีผลการประเมินด๎านการประกันคุณภาพภายใน อยํูในระดับพอใช๎ ตามตัวบํงชี้ที่ 4.2 การ
ประเมนิ คุณภาพภายในโดยต๎นสังกดั

แนวทางการพฒั นาสถานศึกษา
สถานศึกษาควรมีการรายงานประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาประจาทกุ ปแี ละรายงานการประเมิน
ตนเองของสถานศกึ ษาอยาํ งตอํ เนอ่ื งทกุ ปี และสถานศกึ ษาควรจัดใหม๎ กี ารนิเทศ ติดตาม ผลการดาเนนิ งาน สามารถ
ตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาได๎ อยํางเปน็ ระบบตามกระบวนการ PDCA

ทศิ ทางการพฒั นาสถานศึกษาในอนาคต
1. สถานศึกษาจดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา รายงานการประเมินตนเอง
ให๎สอดคล๎องกบั นโยบายรฐั บาล นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายของสานกั งาน กศน. ตามบทบาทและ
ภารกจิ ของสถานศกึ ษา เพื่อสร๎างอตั ลกั ษณ์ เอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษาใหเ๎ ป็นท่ยี อมรับของสังคม

2. สถานศกึ ษาควรใหค๎ ณะกรรมการสถานศึกษา ทป่ี รึกษาเครือขําย มีสํวนรํวมในการกาหนด
ปรัชญา วิสัยทัศน์ เพื่อให๎เกิดอัตลักษณ์ของสถานศึกษาอยํางจริงจัง เพื่อจะได๎แนวทางการพัฒนาให๎เกิดความ
สอดคล๎องกับนโยบายและพรอ๎ มทีจ่ ะเข๎าสปํู ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น

๔๗ รายงานการประเมินตนเอง 2560 : ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษายะลา

ทีป่ รึกษา คณะผ้จู ัดทา
นายณฐั ภมู นิ ทร์ สังขพ์ งศ์
ผ้อู านวยการศนู ยว์ ิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษายะลา
คณะทางาน
นายมะยารี ยาฝาด ครชู านาญการ
นายมนญู เศษแอ ครชู านาญการ
นายภัทรพล ทองหล่อ ครูชานาญการ
นางรอหานา สาเมาะ ครู
นางสาวนรู ดี า สาและ ครู
นายสถาพร สตั ยารกั ษ์ พนักงานราชการ-วทิ ยากรนาชม
นายคุณากร สายธารจติ ต์ พนักงานราชการ-วทิ ยากรนาชม
นายธนาธปิ ชูเมอื ง พนกั งานราชการ-วิทยากรนาชม
นางสาวนรู ใอนี ดอเลาะ นักวชิ าการวิทยาศาสตร์ศกึ ษา
นางวรรณี อามะ นักวชิ าการวทิ ยาศาสตร์ศึกษา
นางสาวรอฮานี มซี า นกั วชิ าการวิทยาศาสตร์ศกึ ษา
นายเพาซนั ดีแม นกั วชิ าการวทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา
นายฐานันดร์ สทุ ธศิ กั ดา นักวิชาการวทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา
นายสุกรี สาเมา๊ ะ นกั วชิ าการวิทยาศาสตร์ศึกษา
นางสาวชุมนมุ พร อทุ ยั เจา้ หน้าที่ธรุ การ
นางสาวพนิดา ตงิ้ ดงิ เจ๎าหน๎าทก่ี ารเงนิ และบญั ชี
นายบอื ราเฮง โตะ๊ เขา๊ ะ พนกั งานขับรถยนต์
นางสาวลนิ ดา บนิ เมรุนี พนกั งานทาความสะอาด
นายราเชนทร์ คงแกว๎ นักการภารโรง
นางสาวนูรดี า หะนแิ ร เจ๎าหนา๎ ที่บันทกึ ข๎อมูล

๔๘ รายงานการประเมนิ ตนเอง 2560 : ศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพ่อื การศึกษายะลา


Click to View FlipBook Version